The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by shwongdlv2, 2021-09-14 21:53:58

e book

โครงงานคอมพิวเตอร 


เรื่อง



ระบบกันขโมยกับดักเลเซอร ( Arduino Laser Tripwire Trap )



จัดทำโดย



1. นายกองภพ ติรัตนะประคม ชั้น ม.5/3 เลขที่ 1
2. นายชัชชน แซออง ชั้น ม.5/3 เลขที่ 3


3. นายณัทภพ เกาเอี้ยน ชั้น ม.5/3 เลขที่ 5

4. นายธราวิธ ใจเย็น ชั้น ม.5/3 เลขที่ 6

5. น.ส.ธนาทิพย โสภณธนะสิริ ชั้น ม.5/3 เลขที่ 30






…เสนอ…

ครูคณิศร เสมพืช











โครงงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาการสรางผลงานดวยคอมพิวเตอร (ว30284)
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2564

โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย

คำนำ








รายงานเลมนี้จัดทำขึ้นเพื่อเปนสวนหนึ่งของวิชาการสรางผลงานดวยคอมพิวเตอร (ว30284) เพื่อฝก





การศึกษาคนควา และทำโครงงานไวเปนประสบการณ และใหเปนประโยชนแกผทำโครงงานในการทำงานตอ










ไปในอนาคต หากรายงานเลมนี้มีขอผิดพลาดประการใด คณะผจัดทำก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย


คณะผจัดทำ



บทที่ 1
บทนำ





1. ที่มาและความสำคัญ



โครงงานระบบปองกันการขโมยกับดักเลเซอร ประดิษฐขึ้นเพื่อปองกันทรัพยสินสูญหายหรือการถูก





ี่


โจรกรรมภายในอาคารทอยอาศัย และการดูแลความปลอดภัยในบาน โดยนำโปรแกรม Arduino IDE 1.8.15




และ บอรด Arduino UNO R3 มาใชในการพัฒนาสิ่งประดิษฐ ซึ่งจะสามารถปองกัน และลดการสูญหายได 



อยางเปนรูปธรรม หลักการทำงานจะใชเลเซอรสองไปทเซนเซอรแสง ซึ่งเซนเซอรแสงจะทำงาน 2 ระบบ โดย
ี่






ี่


ระบบแรกเมื่อแสงเลเซอรกระทบกับเซนเซอรแสงแลวออดจะดัง และระบบทสองเมื่อเซนเซอรไมไดรับแสงจาก


เลเซอรเนื่องจากมการเคลื่อนไหวผานมาบัง การบังจะกระทบกับแสงจากเลเซอรทำใหเซนเซอรไมไดรับแสง











ออดจึงทำงาน ทั้งนี้ การทำงานทั้งหมดจะใชสวิตชเปนตัวเปดปดและเปนตัวควบคุมระบบ



2. วัตถุประสงค 

2.1 เพื่อเพิ่มความปลอดภัยใหคนในบาน

2.2 เพื่อลดความเสี่ยงในการถูกขโมยทรัพยสินจากบุคคลแปลกหนา


3. ขอบเขตของโครงงาน



3.1 ใช Arduino เปนตัวควบคุมอุปกรณ hardware (light sensor, buzzer และ laser)
3.2 ใช Laser ในการตรวจจับการเคลื่อนไหว ทุกๆ 1 มิลลิวินาท ี



3.3 ขอจำกัดของความยาวสายไฟที่ใช แตละเสนยาว 50 ซม.



บทที่ 2
หลักการ ทฤษฎี และงานที่เกี่ยวของ




1. Arduino IDE











Arduino Integrated Development Environment (IDE) เปนแอปพลิเคชันขามแพลตฟอรม


(สำหรับ Windows, macOS, Linux) ที่เขียนดวยฟงกชัน C และ C++ ใชสำหรับเขียนและอัปโหลดโปรแกรม












ไปยังบอรด Arduino อินเทอรเฟซผใชสามารถเขาถึงดบักเกอรที่เพิ่มเขามาใหมไดงายเชนเดียวกับตัวจัดการ







บอรดและตัวจัดการไลบรารีที่ดานซายของอินเทอรเฟซ ความเปนไปไดในการพิมพชื่อของบอรดและการเติม








ตัวแปรและฟงกชั่นอัตโนมัติจากรหัสและไลบรารีที่ติดตั้ง

2. การตอบอรด Arduino R3






เปนบอรด Arduino รนแรกที่ออกมา มีขนาดประมาณ 68.6x53.4mm เปนบอรดมาตรฐานที่นิยมใช 








งานมากที่สุด เนื่องจากเปนขนาดที่เหมาะสำหรับการเริ่มตนเรียนร Arduino และมี Shields ใหเลือกใชงานได 





มากกวาบอรด Arduino รนอื่นๆที่ออกแบบมาเฉพาะมากกวา


3. light sensor































เซนเซอรแสงเปนอุปกรณพาสซีฟที่เปลี่ยนพลังงานแสงเปนเอาตพุตสัญญาณไฟฟา เซนเซอรแสงรจักในชื่อ


อุปกรณโฟโตอิเล็กทริกหรือโฟโตเซนเซอรเนื่องจากการเปลี่ยนพลังงานแสง (โฟตอน) เปนสัญญาณไฟฟา



(อิเล็กตรอน) โฟโตทรานซิสเตอร โฟโตรีซิสเตอร และโฟโตไดโอดคือเซนเซอรวัดความเขมแสงทั่วไป









โฟโตอิเล็กทริกเซนเซอรจะใชลำแสงเพื่อตรวจจับการมีอยของวัตถุ โดยจะเปลงแสง (ชนิดมองเห็นไดหรือ






อินฟราเรด) จากสวนเปลงแสง โฟโตอิเล็กทริกเซนเซอรชนิดสะทอนแสงจะถูกใชเพื่อตรวจจับลำแสงที่สะทอน



จากชิ้นงาน ลำแสงจะถูกเปลงออกมาจากสวนเปลงแสงจะรับโดยสวนรับแสง ทั้งสองสวนนี้จะอยในตัวเรือน




เดียวกัน เซนเซฮรจะไดรับแสงที่สะทอนจากชิ้นงาน




สวนโฟโตทรานซิสเตอรจะใชระดับของแสงที่ตรวจจับไดเพื่อตรวจสอบวามีกระแสไหลผานวงจรเทาใด หากเซน
















เซฮรอยในหองมืด จะมีกระแสไหลผานเพียงเล็กนอยเทานั้น หากตรวจจับแสงสวางได กระแสไหลผานจะมาก



ขึ้น โฟโตรีซิสเตอรถูกสรางขึ้นจากแคดเมียมซัลไฟด ซึ่งมีความตานทานสูงสุดเมื่อเซนเซอรอยในที่มืด เมื่อ




โฟโตรีซิสเตอรไดรับแสง ความตานทานจะลดลงตามความเขมแสง เมื่อเชื่อมตอกับวงจรและปรับสมดุลดวยโพ









เทนชิโอมิเตอร ความเปลี่ยนแปลงของความเขมแสงจะแสดงเปนแรงดันไฟฟาที่เปลี่ยนแปลง เซนเซอรนี้มีค


วามเรียบงาย นาเชื่อถือ และราคาถูก รวมทั้งมีการใชงานอยางกวางขวางเพื่อใชวัดความเขมแสง








4. buzzer





























ลำโพงบัซเซอรเปนอุปกรณที่ใหกำเนิดเสียงทำหนาทเปลี่ยนสัญญาณไฟฟาใหอยในรูปสัญญาณเสียง ลำโพง

ี่





บัซเซอรมีอย 2 ประเภท ไดแก 



ี้

1. แบบแอคทีฟ (Active Buzzer) ลำโพงชนิดนมีวงจรกำเนิดความถี่อยภายใน สามารถสราง



สัญญาณเสียงเตือนไดทันทีเพียงแคจายแรงดันไฟฟาเขาไป


2. แบบพาสซีฟ (Passive Buzzer) ลำโพงชนิดนี้ทำงานเหมือนลำโพงขนาดเล็ก คือ ถาปอน แรงดัน







ไฟฟากระแสตรงเขาไปไมมีเสียงถาตองการใหมีสัญญาณเสียงตองทำการปอนสัญญาณความถี่ เขาไป ลำโพง





ี่


ชนิดนี้สามารถกำเนิดเสียงที่มีความแตกตางกันตามความถที่ปอนเขามา
ในหนวยนี้เปนการใชงาน Arduino กับลำโพงบัซเซอรแบบพาสซีฟ ดังนั้นการใชงานตองทำการ เขียน







โปรแกรมเพื่อสงความถี่จาก Arduino เขาไปยังลำโพงบัซเซอร ปจจุบันเครื่องใชไฟฟาโดยทั่วไปมีลำโพง









บัซเซอรติดตั้งอยภายในดวย เชน ในคอมพิวเตอรใชลำโพงบัซเซอรเพื่อสงสัญญาณใหทราบวาสถานะของ








คอมพิวเตอรมีปญหาอะไร หรือในเครื่องซักผาอัตโนมัต เครื่องปรับอากาศ เมื่อทำการกดปมบนเครื่องหรือรีโม













ตคอนโทรลจะไดยินเสียงปนดังขึ้นมาดวยเพื่อบอกใหรวาขณะนี้ทำการกด สวิตชแลว


5. laser model:SYD1230



























SYD1230 650nm 5 มิลลิวัตตกาชาด / สาย / Dot โมดูลเลเซอรหัวกระจกเลนสที่สามารถโฟกัสเกรด
อุตสาหกรรมชั้น 3-5 โวลต 













บทที่ 3

วิธีการดำเนินงาน






1. วิธีการดำเนินงาน





1. กลมเราทำการออกแบบสิ่งประดิษฐนี้โดยคำนึงถึงสิ่งที่มี แลวคิดไววาทำอะไรที่จะสามารถใชแก 



ปญหาในชีวิตประจำวันได 




2. แลวทำการคนหาสิ่งที่เกี่ยวของกับอุปกรณที่ม ี

3. เสนอโครงงานแกครูที่ปรึกษา

4.ออกแบบตัวสิ่งประดิษฐโดยคำนึงถึงคาใชจายและความซับซอนในการทำสิ่งประดิษฐ 






2. แผนปฏิบัติงาน





สัปดาห 
กิจกรรม ผรับผิดชอบ


1 2 3 4 5 6 7 8


1. การวางแผน นายณัทภพ เกาเอี้ยน ✓


2. การสำรวจ/คนหา นายณัทภพ เกาเอี้ยน ✓ ✓


3. การศึกษาเทคนิคท ี่ นายณัทภพ เกาเอี้ยน ✓


เกี่ยวของ น.ส.ธนาทิพย โสภณธนะสิร ิ


4. การพัฒนาโปรแกรม นายณัทภพ เกาเอี้ยน ✓ ✓ ✓


5. การทดสอบและ นายณัทภพ เกาเอี้ยน ✓

ปรับปรุงโปรแกรม นายชัชชน แซออง



6. การทำรูปเลมโครง นายณัทภพ เกาเอี้ยน ✓

งาน นายธราวิธ ใจเย็น


น.ส. ธนาทิพย โสภณธนะสิร ิ


7. การทำโปสเตอรนำ น.ส. ธนาทิพย โสภณธนะสิร ิ ✓

เสนอ


8. การทำเว็บไซต  นายกองภพ ติรัตนะประคม ✓


นายชัชชน แซออง

9. นำเสนอโครงงาน นายกองภพ ติรัตนะประคม ✓



นายชัชชน แซออง
นายธราวิธ ใจเย็น




3. โปรแกรมที่ใชในการพัฒนา

3.1 Arduino IDE

บทที่ 4

การทดลองและผลการทดลอง




1. ผลที่คาดวาจะไดรับ


1.1 เพิ่มความปลอดภัยภายในบานมากใหขึ้น



1.2 ลดความเสี่ยงในการถูกขโมยนอยลง



2. ตัวอยางการใชงานโปรแกรม (รูปประกอบ)









































บทที่ 5


สรุปผล วิเคราะห และขอเสนอแนะ

1. สรุปผล






การดำเนินงานโครงงานนี้บรรลุวัตถุประสงคที่ไดกำหนดไว คือ เพื่อเปนสื่อใหความรแกผที่สนใจเกี่ยว










กับแผนดินไหว สื่อเพื่อการศึกษาแผนดินไหว แตไดประสบปญหาคือ การติดตั้ง light sensor ใหไดในตำแหนง 






ที่ตองการนั้นทำไดยากและใชเวลานาน การติดตั้งเครื่องใหไดผลลัพธที่ตองการนั้นอาจตองใชมากกวา 1 เครื่อง








2. ขอเสนอแนะ

2.1 ทำระบบใหมใหติดตั้งไดงายขึ้น




2.2 เพิ่มวิธีการแจงเตือน เมื่อ sensor ทำงาน































บรรณานุกรม



- กรัณวิณัฐ วงษไชยมูล.(2559).บอรด Arduino คืออะไร.23 มิถุนายน

2564, จากhttps://sites.google.com/site/karanwinatktech/unit1.


- element14.(2564).เซนเซอรแสง.18 สิงหาคม 2564, จาก https
://th.element14.com/sensor-optical-light-sensor-tech nology



-SUTHINEE KERDKAEW.(2564).เปดตัว Arduino IDE 2.0 การดีบักเกอรและอินเทอรเฟซผใชที่ปรับปรุง





ใหม.18 สิงหาคม 2564, จากhttps://th.cnx-software.com/03/08/2021/arduino-ide-2-0-ดีบักเกอร- 
อินเทอรเฟ/

-สุริยา ศรีวิเศษ.(2564).ลำโพงบัซเซอร (Buzzer).18 สิงหาคม 2564, จาก

https://sites.google.com/site/mikhorkhxnthorllexr1/la-pho-ngbas-sexr-buzzer
-JBot.(2561). ออด. 30 มิถุนายน 2564, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ออด.


-Fgnievinski.(2564). Arduino IDE. 06 กรกฎาคม 2564, จาก

https://en.wikipedia.org/wiki/Arduino_IDE.

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version