The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดกิจกรรมการเรียสถาบันการเงิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by supranee_2511, 2022-03-20 23:19:08

สถาบันการเงิน

ชุดกิจกรรมการเรียสถาบันการเงิน

ชดุ กิจกรรมการเรียนรูชดุ ท่ี 4 เร่ืองสถาบนั การเงิน

ชดุ กจิ กรรรมการเรยี นรู้ เรอื ง เศรษฐศาสตรท์ คี วรรู้
โดยใช้กระบวนการบนั ได 5 ขัน (QSCCS)
ชุดที 4 เรือง สถาบนั การเงนิ

นางสุปราณี รอดเซน็

ตาํ แหน่ง ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม
โรงเรียนเฉลิมพระเกยี รตสิ มเดจ็ พระศรนี ครนิ ทร์ ภเู กต็
ในพระราชปู ถัมภส์ มเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

¡ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรชู ดุ ท่ี 4 เร่ืองสถาบันการเงิน

คาํ นาํ

ชดุ กิจกรรมการเรียนรูหนว ยเรียนรทู ี่ 1 เร่ือง เศรษฐศาสตรที่ควรรู โดยใชกระบวนการบันได 5 ขั้น
(QSCCS) สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 1 ไดจัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนรูรายวิชาสังคมศกึ ษา
รหสั วชิ า ส21103 โดยมุงใหน กั เรียนไดฝกการทํางานโดยใชท ักษะกระบวนการคิดอยางเปนระบบ มีเหตุผล
ใหน กั เรียน รูจ กั คดิ วิเคราะห สังเคราะห แสวงหาความจริงจากการสืบเสาะหาขอมูล รูจักการแกปญหาดวย
ตัวเอง รวมทั้งรูจักทํางานรว มกันเปนหมูคณะ นําไปสูการเสริมสรางพลงั ความสามารถของแตละบุคคลให
เต็มขดี ความสามารถดว ยการลงมอื ปฏิบตั ิจริง มที ้งั หมด 6 ชดุ ดังนี้

1. ชดุ ท่ี 1 เรอื่ ง เศรษฐศาสตรเ บอื้ งตน
2. ชดุ ท่ี 2 เรอ่ื ง พฤตกิ รรมการบรโิ ภค
3. ชดุ ท่ี 3 เรอ่ื ง ทรพั ยส นิ ทางปญ ญา
4. ชุดที่ 4 เรอ่ื ง สถาบันการเงิน
5. ชุดที่ 5 เรือ่ ง เศรษฐกจิ ประเทศไทย
6. ชดุ ท่ี 6 เรอ่ื ง เศรษฐกิจพอเพยี ง

ชดุ กิจกรรมการเรียนรฉู บบั น้ี เปน ชุดกิจกรรมการเรียนรูท่ี 4 เร่อื ง สถาบันการเงิน ซ่งึ ผสู อนหวงั
เปนอยางยิ่งวาชุดกิจกรรมการเรียนรู โดยใชกระบวนการบันได 5 ข้ัน (QSCCS) จะมีผลตอการพัฒนาการ
เรียนรูสาระเศรษฐศาสตร ของนักเรียน ทั้งความรู ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะอันพึงประสงค อันจะ
สง ผลใหน กั เรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรสู าระเศรษฐศาสตร สงู ขึ้นและนกั เรยี นมเี จตคติที่ดตี อการเรยี นรู
สาระเศรษฐศาสตร

สปุ ราณี รอดเซน็

¢ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูช ุดที่ 4 เรื่องสถาบันการเงนิ

สารบัญ

เรื่อง หนา

คํานํา......................................................................................................................................... ก
สารบัญ...................................................................................................................................... ข
สวนประกอบชดุ กิจกรรม........................................................................................................... 1
คําชี้แจงสาํ หรบั ครู..................................................................................................................... 2
คาํ ชแ้ี จงสาํ หรบั นักเรียน............................................................................................................ 3
มาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ชว้ี ัด..................................................................................................... 4
จดุ ประสงคการเรียนรู................................................................................................................ 5
แบบทดสอบกอนเรียนเรื่อง สถาบนั การเงนิ ……….................................................................... 6
ใบความรทู ี่ 1 ความหมายของสถาบนั การเงิน 8
ใบกิจกรรมที่ 1.......................................................................................................................... 8
ใบความรทู ี่ 2 สถาบนั การเงินทสี่ ําคญั ………….......................................................................... 10
ใบกจิ กรรมที่ 2........................................................................................................................... 15
ใบกิจกรรมท่ี 3........................................................................................................................... 16
ใบความรทู ี่ 3 ความสัมพันธ 3 ฝาย……..…………...................................................................... 17
ใบกจิ กรรมที่ 4........................................................................................................................... 19
แบบทดสอบหลงั เรยี นเร่ือง สถาบันการเงิน……….................................................................... 20
ภาคผนวก.................................................................................................................................. 23
เฉลยแบบทดสอบกอนเรียน...................................................................................................... 24
แนวการตอบใบกจิ กรรมท่ี 1...................................................................................................... 25
แนวการตอบใบกจิ กรรมท่ี 2...................................................................................................... 26
แนวการตอบใบกจิ กรรมที่ 3...................................................................................................... 27
แนวการตอบใบกจิ กรรมท่ี 4...................................................................................................... 28
เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น....................................................................................................... 29
กระดาษคําตอบ......................................................................................................................... 30

1 ชุดกิจกรรมการเรยี นรูชุดที่ 4 เรื่องสถาบนั การเงนิ

ส่วนประกอบของชุดกจิ กรรม

ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง เศรษฐศาสตรท่ีควรรู โดยใชกระบวนการบันได 5 ข้ัน (QSCCS)
สาํ หรับนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 1

ชุดที่ 4 สถาบนั การเงนิ มีสว นประกอบ ดังน้ี
1. คาํ ชี้แจงสาํ หรบั ครู
2. มาตรฐานการเรยี นรู/ตัวช้วี ดั
3. จุดประสงคการเรยี นรู
4. แบบทดสอบกอนเรียน
5. ใบความรู
6. ใบกิจกรรม
7. แบบทดสอบหลงั เรยี น
8. เฉลยแบบทดสอบกอ นเรยี น
9. แนวคาํ ตอบใบกิจกรรม
10. เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น

2 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรูช ดุ ที่ 4 เร่ืองสถาบนั การเงนิ

คาํ ช้ีแจงสําหรับครู

ศึกษาขั้นตอนในการใชช ดุ กิจกรรมการเรยี นรูนีใ้ หเขาใจ และปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนอยา งเครง ครัด
1. ครูนาํ เขาสูบ ทเรยี นและแจงจดุ ประสงคใ นการเรยี น
2. ครแู บงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 6 คน คละความสามารถ (เกง ปานกลาง ออน) ตัวแทน
กลมุ จะรบั ชุดกจิ กรรม กลุมละ 6 ชดุ (ครบตามจํานวนสมาชิกในกลมุ )
3. ครอู ธิบายวธิ กี ารใชช ุดกิจกรรมการเรียนรูชุดท่ี 4 สถาบนั การเงนิ
4. อธิบายใหน ักเรยี นเขาใจเก่ยี วกับบทบาทของนกั เรียน
5. กอ นเรยี นชดุ กจิ กรรมการเรยี นรแู ตละชุด ตองใหนักเรยี นทําแบบทดสอบกอนเรียนและครูแจง
คะแนนแกนกั เรยี นทุกคน
6. ขัน้ นาํ เขา สูบทเรียน ใหเปน หนาท่ีของครเู ปน ผนู าํ เขาสบู ทเรียนโดยใหนักเรียนมีสวนรวมในการ
ทาํ กจิ กรรม
7. ใหนกั เรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมในเวลาท่กี ําหนดใหอยา งเครง ครัด
8. ขณะท่นี ักเรียนทาํ กิจกรรม ครูผูสอนควรดแู ลอยา งใกลช ิด รวมท้ังอธิบาย ขอสงสัยในการเรียน
เปนรายบุคคลดวย
9. นกั เรียนชว ยกนั สรปุ ส่ิงทไี่ ดเ รยี นมา โดยครูเปน เพียงที่ปรกึ ษาคอยแนะนํา เมื่อนักเรียนมปี ญหา
ขอความชว ยเหลือเทานน้ั
10. นักเรยี นทําแบบทดสอบหลังเรยี น โดยใชเวลาไมเกิน 10 นาที และตองตรวจกระดาษคําตอบ
ทันที เพอ่ื ท่ีนักเรียนจะไดทราบคะแนนพัฒนาของตนและคะแนนพฒั นาเฉลี่ยของกลุม
11. ถา นักเรยี นไมผ านเกณฑท่ีระบุไว ครคู วรหาเวลาใหนักเรยี นกลบั ไปศึกษากิจกรรมนน้ั ๆ ใหม
แลวทําแบบทดสอบหลังเรียนใหผ านเกณฑท ี่กาํ หนดไว

3 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรชู ดุ ที่ 4 เร่ืองสถาบันการเงนิ

คําชแี้ จงสําหรบั นกั เรียน

ในการศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรูเร่ือง เศรษฐศาสตรที่ควรรู โดยใชกระบวนการบันได 5 ขั้น
(QSCCS) สาํ หรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 1 ใหนกั เรียนปฏิบตั ิตามขัน้ ตอน ดังตอ ไปนี้

1. ศึกษาจดุ ประสงคการเรียนรู
2. ทําแบบทดสอบกอนเรียน (Pre-test) พรอมทั้งตรวจคําตอบจากเฉลยแบบทดสอบกอนเรียน
แจงคะแนนที่ไดแกค รผู สู อน เพอ่ื บนั ทึกไวเปน หลักฐาน
3. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูแตละเลม จะประกอบดวย ใบความรู ใบกิจกรรม และแนวการตอบใบ
กจิ กรรม
4. ใหศึกษาใบความรูกอน เมื่อรูและเขาใจแลว ใหตอบคําถามในใบกิจกรรม เสร็จแลวตรวจ
คาํ ตอบจากแนวการตอบใบกิจกรรม
5. ไมควรดคู าํ ตอบกอนตอบคําถาม เพราะจะทาํ ใหน ักเรยี นไมเ ขาใจบทเรยี นอยางแทจริง
6. ถานักเรียนตรวจคําตอบถูกตอง แสดงวาเขาใจดีแลว ใหศึกษาเนื้อหา ใบความรูถัดไป แตถา
ตอบคาํ ถามผิด ตองยอ นกลับไปศกึ ษาเนอ้ื หาใบความรเู ดิมใหม ใหเขาใจ และตอบคําถามอีกครั้งจนถูกตอง
แลวจงึ ศึกษาใบความรตู อไปได
7. เมอื่ ศึกษาทุกเนื้อหา ทุกใบความรูแลวใหทาํ แบบทดสอบหลังเรียน (Post test) และตรวจ
คําตอบจากเฉลยแบบทดสอบหลักเรียน แจงผลคะแนนที่ไดตอครูผูสอน และนักเรียนจะไดทราบ
ความกาวหนา ในการเรียนของตนเอง เมอ่ื เปรียบเทยี บกบั ผลการทดสอบกอนเรียน
8. การประเมนิ ผลการเรียนชุดกิจกรรมการเรียนรูชุดน้ีประเมินจากการทําแบบทดสอบหลังเรียน
ผูเรียนควรไดคะแนนหลังเรียนไมต่ํากวา 7 คะแนน หากผูเรียนไดคะแนนหลังเรียนตํ่ากวา 7 คะแนน
ผเู รียนควรกลับไปอา นทบทวนทํากจิ กรรมใหม แลวทาํ แบบทดสอบใหมอ ีกครัง้
9. การศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรูชุดน้ีจะสําเร็จบรรลุตามวัตถุประสงคไดนั้น นักเรียนตองมี
ความซือ่ สตั ยสุจรติ มวี ินยั ใฝเ รยี นรู และมงุ มน่ั ในการทาํ งาน

4 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรชู ดุ ท่ี 4 เร่ืองสถาบันการเงนิ

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูเ รือ่ ง เศรษฐศาสตรท ่คี วรรู
โดยใชก ระบวนการบันได 5 ขั้น (QSCCS)
สําหรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่ 1
ชดุ ท่ี 4 เรอ่ื ง สถาบนั การเงิน

มาตรฐานการเรยี นร/ู ตัวชวี้ ดั

มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตางๆ ความสมั พันธทางเศรษฐกิจ

และความจําเปนของการรวมมือกนั ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
ตวั ชีว้ ัด
ม.1/1 วเิ คราะหบ ทบาท หนาท่ี และความแตกตางของสถาบันการเงนิ แตล ะประเภท และ

ธนาคารกลาง

5 ชุดกจิ กรรมการเรียนรูชดุ ที่ 4 เร่ืองสถาบันการเงนิ

จดุ ประสงคก ารเรียนรู

ดา นความรู ความเขาใจ
1. อธบิ ายบทบาทหนา ทีข่ องสถาบันการเงนิ ท่สี าํ คญั ได (K)
2. เลอื กรบั บริการของสถาบันการเงนิ ตางๆไดถูกตองตามวตั ถปุ ระสงค (P)
3. วิเคราะหบทบาทหนา ที่และความแตกตางของสถาบันการเงนิ แตละประเภทได (A)
4. นักเรียนมีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคด าน มีวินัย ใฝเรยี นรู มงุ ม่ันในการทาํ งาน (A)

ดานทักษะ/กระบวนการ
1. ทกั ษะการปฏิบตั ิ
2. ทกั ษะการทาํ งานกลุม

สาระการเรียนรู
1. สถาบนั การเงินท่สี าํ คัญ
2. ธนาคารกลาง

ดา นคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค
1. มวี นิ ยั
2. ใฝเ รียนรู
3. มุงมนั่ ในการทํางาน

6 ชุดกิจกรรมการเรียนรูชุดที่ 4 เร่ืองสถาบนั การเงนิ

รายวิชาเศรษฐศาสตร รหัสวชิ า ส21103 ภาคเรียนที่ 2
ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 1

แบบทดสอบกอ นเรียน เรื่อง สถาบันการเงิน
ครูผูส อน : นางสุปราณี รอดเซ็น

คําชีแ้ จง ใหนกั เรียนเลือกคาํ ตอบที่ถูกตองท่ีสดุ เพียงคาํ ตอบเดยี ว
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ธนาคารกลาง หมายถงึ ธนาคารใด

ก. ธนาคารออมสนิ
ข. ธนาคารกรงุ เทพ
ค. ธนาคารกรงุ ไทย
ง. ธนาคารแหงประเทศไทย
2. ธนาคารแหง แรกของประเทศไทย คอื ธนาคารอะไร
ก. ธนาคารกรุงไทย
ข. ธนาคารออมสนิ
ค. ธนาคารกรงุ เทพ
ง. ธนาคารไทยพาณชิ ย
3. ขอใดกลาวถึงความหมายของสถาบันการเงนิ ไดสมบูรณทีส่ ดุ
ก. สถาบนั ทีด่ าํ เนินธรุ กรรมทางการเงนิ
ข. สถาบนั ท่ีดําเนนิ ธุรกิจดานสงั หารมิ ทรัพย
ค. สถาบันที่ดาํ เนินธุรกิจดา นสง ออกและนาํ เขา สินคา
ง. สถาบนั ที่ดาํ เนินธรุ กจิ ดา นการดํากบั ดูแลเงนิ ของรัฐบาล
4. ขอความเก่ยี วกบั ความสมั พนั ธระหวา งผูผลติ ผบู ริโภค และสถาบนั การเงนิ ขอใดถกู ตอ ง
ก. มีการหารายได การใชจ ายรวมกนั
ข. มกี ารลงทนุ และการนาํ เงนิ มาใชใ นการลงทุนรว มกัน
ค. มกี ารระดมเงนิ ออมมาเพ่ือการลงทนุ เปน ประโยชนทกุ ฝาย
ง. มีการหารายได การใชจาย การออม การลงทุนทมี่ ีความสมั พันธก ัน
5. การท่ีธนาคารแหงประเทศไทยทําหนา ทจ่ี ัดพมิ พธนบตั รใหม และเก็บรกั ษาทุนสาํ รองทีห่ นุนหลังการ
พิมพธนบตั รทใี่ ชห มุนเวียนภายในประเทศนนั้ เพื่อจุดมุงหมายในขอ ใด
ก. เพอ่ื ใหเงินทหี่ มุนเวียนในตลาดนั้นมีสภาพคลอง
ข. เพือ่ ใหตางประเทศมีความเชือ่ ถือในมูลคาธนบัตร
ค. เพอื่ ใหธ นบัตรมีคณุ ภาพคงทนสามารถใชไดนาน
ง. เพื่อใหธนบตั รทจ่ี ดั พิมพอ อกมาน้นั มีมูลคา ที่เปนจรงิ

7 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรชู ุดที่ 4 เร่ืองสถาบนั การเงนิ

6. ขอ ความเกีย่ วกับลักษณะสาํ คัญของสถาบนั การเงิน ขอใดถูกตองชัดเจนมากทสี่ ุด
ก. หารายไดจ ากการกยู ืมเงิน
ข. เปนตวั กลางของผูรบั ฝากเงนิ
ค. รบั ความเสยี่ งแทนผูออมและผูกูยมื เงนิ
ง. ทําธุรกจิ เก่ียวกับการเงินที่มผี ลประโยชน

7. ธนาคารใดไมไดรบั ฝากเงนิ จากประชาชน
ก. ธนาคารอาคารสงเคราะห
ข. ธนาคารอิสลามแหง ประเทศไทย
ค. ธนาคารเพ่อื การเกษตรและสหกรณการเกษตร
ง. ธนาคารเพื่อการสง ออกและนําเขา แหงประเทศไทย

8. ขอ ความเกย่ี วกับบทบาทหนาท่ีของธนาคารพาณชิ ยขอใดถูกตอง
ก. สนบั สนนุ นักธุรกิจทน่ี ําเขา สง ออกสนิ คา
ข. การใหสนิ เชอื่ แกธ รุ กิจทเ่ี นน การเกง็ กาํ ไร
ค. สง เสริมการออมทรพั ยของประชาชนผมู รี ายไดนอย
ง. ระดมเงนิ ฝากและใหส นิ เช่ือในระบบเศรษฐกิจมากกวา สถาบันอน่ื

9. สถาบันการเงินใดที่ทําหนาทีร่ ะดมเงนิ ฝากจากประชาชนในรปู ของการขายกรมธรรมใหแกผูซ้ือ
กรมธรรม

ก. บรษิ ทั หลกั ทรัพย
ข. บริษัทประกนั ชวี ติ
ค. สหกรณอ อมทรัพย
ง. บริษัทหลักทรัพยจดั การกองทนุ รวม
10. ขอ ใดไมใชหนา ทหี่ ลักของธนาคารกลาง
ก. ดูแลซ้อื ขายเงนิ ตราตางประเทศ
ข. เปน แหลง กูยมื เงินของประชาชนทว่ั ประเทศ
ค. ควบคุมปรมิ าณเงนิ ของประเทศใหอ ยใู นปรมิ าณทเ่ี หมาะสม
ง. ดแู ลควบคมุ และตรวจสอบสถาบันการเงนิ ตา งๆ ทอี่ ยูในกาํ กับ

8 ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูชุดที่ 4 เร่ืองสถาบนั การเงิน

รายวิชาเศรษฐศาสตร รหสั วชิ า ส21103 ภาคเรยี นที่ 2
ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1

เฉลยแบบทดสอบกอนเรยี น เรอื่ ง สถาบนั การเงิน
ครผู สู อน : นางสุปราณี รอดเซน็

คําช้ีแจง ใหนกั เรียนเลอื กคําตอบท่ีถูกตองทสี่ ุดเพียงคาํ ตอบเดยี ว

1. ธนาคารกลาง หมายถงึ ธนาคารใด
ก. ธนาคารออมสนิ
ข. ธนาคารกรงุ เทพ
ค. ธนาคารกรงุ ไทย
ง. ธนาคารแหงประเทศไทย

2. ธนาคารแหง แรกของประเทศไทย คือธนาคารอะไร
ก. ธนาคารกรุงไทย
ข. ธนาคารออมสิน
ค. ธนาคารกรงุ เทพ
ง. ธนาคารไทยพาณิชย

3. ขอ ใดกลาวถึงความหมายของสถาบันการเงินไดส มบูรณทสี่ ุด
ก. สถาบันท่ีดําเนินธุรกรรมทางการเงนิ
ข. สถาบันที่ดําเนินธรุ กจิ ดานสังหารมิ ทรพั ย
ค. สถาบนั ท่ดี าํ เนนิ ธุรกิจดา นสง ออกและนาํ เขา สินคา
ง. สถาบันท่ีดาํ เนินธุรกิจดานการดาํ กบั ดูแลเงินของรัฐบาล

4. ขอ ความเกีย่ วกับความสัมพนั ธระหวางผผู ลติ ผูบรโิ ภค และสถาบันการเงิน ขอใดถกู ตอ ง
ก. มกี ารหารายได การใชจา ยรวมกัน
ข. มกี ารลงทนุ และการนาํ เงนิ มาใชในการลงทุนรวมกนั
ค. มีการระดมเงนิ ออมมาเพื่อการลงทุน เปน ประโยชนท กุ ฝาย
ง. มีการหารายได การใชจ าย การออม การลงทนุ ท่มี ีความสัมพันธก นั

5. การท่ีธนาคารแหง ประเทศไทยทําหนา ทจี่ ดั พิมพธ นบัตรใหม และเก็บรกั ษาทนุ สํารองทีห่ นนุ หลงั การ
พมิ พธนบตั รทีใ่ ชหมนุ เวียนภายในประเทศนน้ั เพ่ือจดุ มงุ หมายในขอใด

ก. เพ่อื ใหเงนิ ทหี่ มนุ เวยี นในตลาดนั้นมีสภาพคลอ ง
ข. เพ่อื ใหต างประเทศมีความเชื่อถอื ในมูลคาธนบตั ร
ค. เพื่อใหธ นบัตรมีคณุ ภาพคงทนสามารถใชไดน าน
ง. เพ่ือใหธนบัตรท่ีจดั พิมพออกมาน้ันมีมูลคา ท่เี ปนจริง

9 ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูช ุดท่ี 4 เร่ืองสถาบนั การเงนิ

6. ขอความเก่ยี วกับลกั ษณะสําคัญของสถาบันการเงิน ขอใดถกู ตองชดั เจนมากท่สี ดุ
ก. หารายไดจ ากการกูยืมเงิน
ข. เปนตัวกลางของผรู บั ฝากเงนิ
ค. รับความเส่ียงแทนผอู อมและผกู ยู ืมเงิน
ง. ทําธุรกจิ เกย่ี วกับการเงนิ ที่มีผลประโยชน

7. ธนาคารใดไมไดร บั ฝากเงนิ จากประชาชน
ก. ธนาคารอาคารสงเคราะห
ข. ธนาคารอิสลามแหง ประเทศไทย
ค. ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณการเกษตร
ง. ธนาคารเพ่ือการสง ออกและนําเขาแหงประเทศไทย

8. ขอ ความเกย่ี วกับบทบาทหนา ที่ของธนาคารพาณชิ ยขอใดถูกตอง
ก. สนับสนนุ นกั ธุรกิจท่นี ําเขาสงออกสินคา
ข. การใหสินเชื่อแกธรุ กจิ ท่ีเนนการเกง็ กาํ ไร
ค. สงเสรมิ การออมทรัพยของประชาชนผมู รี ายไดน อย
ง. ระดมเงินฝากและใหส ินเชอ่ื ในระบบเศรษฐกจิ มากกวาสถาบนั อนื่

9. สถาบนั การเงนิ ใดที่ทําหนาที่ระดมเงนิ ฝากจากประชาชนในรปู ของการขายกรมธรรมใหแกผซู ื้อ
กรมธรรม

ก. บรษิ ัทหลักทรัพย
ข. บรษิ ทั ประกันชวี ติ
ค. สหกรณออมทรัพย
ง. บริษัทหลักทรพั ยจัดการกองทุนรวม
10. ขอ ใดไมใชหนาทีห่ ลักของธนาคารกลาง
ก. ดแู ลซื้อขายเงินตราตา งประเทศ
ข. เปนแหลงกูยมื เงินของประชาชนทว่ั ประเทศ
ค. ควบคมุ ปริมาณเงนิ ของประเทศใหอ ยูในปริมาณท่ีเหมาะสม
ง. ดแู ลควบคุมและตรวจสอบสถาบนั การเงินตางๆ ที่อยูในกํากับ

10 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรชู ดุ ที่ 4 เรื่องสถาบนั การเงนิ

รายวชิ าเศรษฐศาสตร รหสั วชิ า ส21103 ภาคเรยี นท่ี 2
ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 1

ใบความรูท่ี 1 เร่ือง ความหมายของสถาบนั การเงนิ
ครูผสู อน : นางสปุ ราณี รอดเซ็น

ความหมายของสถาบันการเงนิ

สถาบันการเงิน หมายถึง สถาบันที่ทําหนาท่ีเปนตวั กลางระหวางผูใหกูยืมและผูขอกู โดยอาศัย
เครอ่ื งมอื หรือตราสารทางการเงนิ สถาบนั การเงินจึงมีความสําคัญ ดังน้ี ไดแก
ความสําคัญของสถาบันการเงนิ ทีม่ ตี อระบบเศรษฐกิจ

สถาบันการเงิน เปนองคกรที่มีบทบาท หนาที่อํานวยความสะดวกในการเคล่ือนยายเงิน เปน
ตัวกลางระดมเงินจากผอู อมไปยงั ผูลงทนุ ในธุรกจิ ตาง ๆ หรอื เพื่อการบรโิ ภค สถาบันการเงนิ มีความ สําคัญ
ดงั นี้

1. เปน สื่อกลางในการตดิ ตอ ทางการเงนิ ระหวา งผูอ อมและผูระดมเงนิ ทนุ
2. เปนแหลง เงนิ ทนุ สาํ หรับผูประกอบการ ระดมเงินทุนจากหนวยเศรษฐกิจท่ีมีเงนิ ออม ท้ังจาก
ตลาดเงนิ และตลาดทนุ
3. เปนแหลงออมเงินของหนวยเศรษฐกิจไดมีทางเลือกในการออม โดยพิจารณาจาก
ผลประโยชนที่จะไดร ับจากเงินออม และความเสยี่ งในการนําเงนิ ออมไปลงทนุ
4. ชวยกระจายความเจริญใหท่ัวถึง เปนแหลงระดมทุนของบุคคลท่ีอยูในทองถ่ินตาง ๆ เพ่ือ
สรางงาน และลงทนุ ใหแกภาคเศรษฐกิจตา ง ๆ
5. พฒั นาเศรษฐกิจของประเทศ เปน แหลงกูเงนิ จากรัฐบาลและผูผลติ ในทอ งถิ่น ในการสรางงาน
สรา งรายไดใ หกบั ทองถ่ินตาง ๆ

11 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูชดุ ท่ี 4 เร่ืองสถาบันการเงนิ
¡
รายวิชาเศรษฐศาสตร รหสั วชิ า ส21103 ภาคเรียนที่ 2
ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 1

ใบกจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื ง ความหมายและความสําคัญของสถาบันการเงิน
ครูผสู อน : นางสุปราณี รอดเซน็

คาํ ช้แี จง ใหนักเรียนอธิบายความหมายและความสําคญั ของสถาบนั การเงนิ

ความหมายของสถาบันการเงิน ..........................................................
..........................................................
..........................................................
..........................................................

ความสําคัญของสถาบันการเงนิ ..........................................................
ตอ ระบบเศรษฐกิจไทย ..........................................................
..........................................................
..........................................................
..........................................................

ตัวอยางสถาบนั การเงนิ ในทอ งถิน่ ..........................................................
..........................................................
..........................................................
..........................................................
..........................................................

12 ชุดกจิ กรรมการเรยี นรชู ุดที่ 4 เรื่องสถาบันการเงิน

รายวชิ าเศรษฐศาสตร รหสั วชิ า ส21103 ภาคเรียนท่ี 2
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 1

เฉลยใบกจิ กรรมที่ 1 เรือ่ ง ความหมายและความสําคญั ของสถาบันการเงนิ
ครผู ูสอน : นางสปุ ราณี รอดเซ็น

คาํ ชี้แจง ใหน กั เรยี นอธิบายความหมายและความสําคญั ของสถาบันการเงนิ

ความหมายของสถาบันการเงิน สถาบันทท่ี ําหนา ทเ่ี ปน ตัวกลางในการ
ดาํ เนนิ ธุรกรรมทางการเงนิ เปนผูรับ
ฝากเงนิ และระดมเงินออมรวมถงึ การ

ใหสินเชือ่

ความสําคัญของสถาบนั การเงนิ 1. ดแู ลระบบการเงินของประเทศให
ตอ ระบบเศรษฐกจิ ไทย มีความม่ันคง

2. สรางความสะดวกในการใหบริการ
ดานการเงนิ แกประชาชนในการ
ดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ

3. ชวยพัฒนาและสง เสริมเศรษฐกิจ
ของประเทศชาตใิ หเ จรญิ เตบิ โต
ทดั เทยี มอารยประเทศ

ตวั อยางสถาบนั การเงนิ ในทอ งถนิ่ สหกรณอ อมทรัพยกลุมชาวบาน
ชมุ ชนปาคลอก ทจี่ ัดตง้ั ขนึ้ เพ่ือเปน
แหลง เงินทุนสาํ หรับใชในการพัฒนา
ชมุ ชน เพอื่ แกไขปญ หาคุณภาพชวี ติ

ของสมาชิกในชมุ ชน

13 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรูชุดที่ 4 เร่ืองสถาบนั การเงิน

รายวชิ าเศรษฐศาสตร รหสั วชิ า ส21103 ภาคเรยี นท่ี 2
ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 1

ใบความรูที่ 2 เร่ือง สถาบนั การเงนิ ทส่ี าํ คญั
ครผู ูสอน : นางสุปราณี รอดเซ็น

สถาบันการเงินที่สําคญั

สถาบนั การเงนิ แบงตามลกั ษณะของกจิ การ แบง ออกเปน 2 ประเภท ไดแ ก
1. สถาบันการเงินประเภทธนาคาร หมายถึง สถาบันการเงินท่ีดําเนินงานรับฝากเงนิ ท่ีสามารถ

ไถถอนคนื ได และใหกูยมื เปนชองทางการเชื่อมโยงระหวางผอู อมกับผูตอ งการเงินทุน ไดแ ก ธนาคารแหง
ประเทศไทย ธนาคารพาณิชย ธนาคารทมี่ วี ตั ถุประสงคเ ฉพาะ

2. สถาบันการเงินทไ่ี มใ ชธนาคาร หมายถึง สถาบันการเงินที่จัดต้ังเพ่ือดําเนินธุรกิจเฉพาะสาขา
ของธุรกิจ ตามท่ีระบุไวในกฎหมายของสถาบันการเงินนั้น ๆ เชน บริษัทเงินทุน ตลาดหลักทรัพยแหง
ประเทศไทย บรษิ ทั เครดติ ฟองซิเอร เปน ตน

1. สถาบันการเงนิ ประเภทธนาคาร

ธนาคาร เปนสถาบันการเงินท่ีใหบริการทางการเงิน เปนตัวกลางระหวางผูออม ผูกู โดยการรับ
ฝากเงนิ จากผอู อมและปลอยสินเช่อื ใหก ับผูกหู รอื ผูขอสินเชอ่ื

1. ธนาคารกลาง หรอื ธนาคารแหง ประเทศไทย
ธนาคารแหงประเทศไทย หรือธนาคารกลาง จัดต้ังข้ึนตามพระราชบัญญัติธนาคารแหงประเทศ

ไทย พ.ศ. 2485 อยูภายใตก ารกํากับดแู ลของกระทรวงการคลัง เปดดําเนนิ การเมื่อวันท่ี 10 ธันวาคม
2548 โดยมพี ระวรวงศเ ธอ พระองคเจา วัฒนไชย ไชยันต เปน ผูวา การคนแรก

บทบาทและหนาทีต่ ามพระราชบัญญตั ิธนาคารแหงประเทศไทย พ.ศ.2485 ที่แกไขเพ่ิมเติม พ.ศ.
2551 สรปุ ไดดงั นี้

1. เปนผูออกและจดั การธนบตั รของรฐั บาลและบัตรธนาคารแตผ ูเดียว ในราชอาณาจักร
2. กําหนดและดําเนินนโยบายการเงิน เพ่ือควบคุมปริมาณเงินในระบบการเงินของประเทศ
เพ่ือใหเกิดเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจ

14 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูชุดท่ี 4 เรื่องสถาบันการเงนิ

3. บริหารจัดการสินทรัพยของธนาคารแหงประเทศไทย การนําสินทรัพยไปลงทุนหาประโยชน
โดยคํานึงถึงความมั่นคง สภาพคลอง ผลประโยชนตอบแทนของสินทรัพย และความเส่ียงในการบริหาร
จดั การ

4. เปนนายธนาคารและนายทะเบียนหลักทรัพยของรัฐบาล มีอํานาจหนาท่ีในการรับจายเงิน
เพ่ือบัญชีฝากของกระทรวงการคลัง การรับเก็บรักษาเงิน หลักทรัพย หรือของมีคาอยางอ่ืน เพ่ือประโยชน
ของรฐั บาล

5. เปน นายธนาคารของสถาบันการเงิน มีอํานาจหนาทใ่ี นการใหกูยืมเงินหรือใหความชวยเหลือ
ทางการเงนิ แกสถาบันการเงนิ รับเก็บรักษาเงิน หลกั ทรพั ย หรอื ของมีคาอยางอ่ืนของสถาบันการเงนิ แต
จะไมร ับฝากเงนิ จากประชาชนโดยตรง

6. จัดตั้งหรือสนับสนุนการจัดต้ังระบบการชําระเงิน จัดต้ังระบบการหักบัญชีระหวางสถาบัน
การเงนิ และบริหารจัดการระบบดงั กลาวใหเกดิ ความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ

7. กํากับ ตรวจสอบ วเิ คราะหฐานะและการดําเนินงานของสถาบันการเงิน รวมท้ังการบริหาร
ความเสยี่ งของสถาบนั การเงนิ เพอื่ ใหม ีเสถียรภาพ

8. บรหิ ารจดั การ ควบคุมอตั ราแลกเปล่ียนเงินตรา ภายใตระบบการแลกเปล่ียนเงินตรา รวมทั้ง
บรหิ ารจดั การสินทรัพยในทนุ สํารองเงินตรา ตามกฎหมายวาดวยเงินตรา

9. ควบคุมการแลกเปล่ียนเงินตามกฎหมายวาดวยการ
ควบคมุ การแลกเปลยี่ นเงนิ

2. ธนาคารพาณิชย
ธนาคารพาณิชยแหงแรกของคนไทย

เริ่มตนท่ีการทดลองกิจการกอนในนาม“บุคคลัภย” โดย
พระเจานองยาเธอ กรมหม่ืนมหิศรราชหฤทัย ขณะน้ันทรงดํารง
ตําแหนงเสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เพื่อ
รองรบั การเติบโตทางเศรษฐกิจการเงินของประเทศ จากการท่ีตะวนั ตกขยายเสนทางการคามาสูสยาม

เม่ือพบวากจิ การทดลองประสบความสาํ เร็จดวยดี จึงไดขอพระบรมราชานุญาตจัดต้ังเปนธนาคาร
มีช่ือวา “บรษิ ัท แบงคสยามกัมมาจล ทุนจํากัด” เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2449 ประกอบธุรกิจธนาคาร
พาณชิ ยอ ยางเปนทางการนบั ตง้ั แตนนั้ มา และตอ มาไดเ ปลยี่ นช่ือเปน ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน)
และเปน ตน แบบของธนาคารไทยในปจจบุ นั

ธนาคารพาณิชย เปนธนาคารท่ีมีบทบาท หนาท่ีสําคัญในระบบเศรษฐกิจ เพราะมีปริมาณเงิน
หมุนเวียน และมีความสัมพันธเก่ียวของกับบุคคลมากท่ีสุด เปนแหลงเงินฝากของประชาชน มาใหกูยืมท่ี
สาํ คัญ ที่สดุ ธนาคารพาณชิ ยมีหนาทีบ่ รกิ ารทีส่ าํ คญั ดงั นี้

15 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรชู ดุ ท่ี 4 เร่ืองสถาบนั การเงิน

1. การรับฝากเงนิ ซงึ่ แบงเปนประเภทใหญๆไดแก เงินฝากกระแสรายวนั เงินฝากออมทรัพย เงิน
ฝากประจํา และเงนิ ฝากประเภทอ่นื ๆ ตามท่รี ะบไุ วใ นวตั ถุประสงค โดยใหผลตอบแทน เปน อัตราดอกเบ้ีย
เงินฝากแตละประเภท

2. ใหกยู มื เงนิ เปน บทบาทสําคญั ทางดา นการเงนิ ใหก ยู ืมเพื่อการลงทุนและเพื่อการบริโภค มีท่ีมี
ระยะเวลาในการชาํ ระหน้ีและเสยี อตั ราดอกเบ้ยี ตามท่กี ําหนดในเงอื่ นไขในการกูยมื

3. การใหบ รกิ ารอน่ื ๆ เชน การโอนเงินทัง้ ในประเทศและตา งประเทศ การเรยี กเกบ็ เงินเนื่องจาก
การโอนเงินระหวา งกนั ซ้ือขายเงินตราตางประเทศ การใหเ ชา ตูน ิรภยั เพอื่ เก็บสงิ่ ของมคี าและสิ่งสําคัญของ
ลกู คา เปน ตน
3. ธนาคารท่ีมวี ัตถุประสงคเ ฉพาะ

1. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.)เปนธนาคารของรัฐบาล ท่ีมี
วัตถุประสงคใหความชวยเหลือทางการเงิน อํานวยความสะดวกเพ่ือสงเสริมอาชพี และการดําเนินงานใหแก
เกษตรกรท้ังรายบคุ คล รายกลุม และสถาบันเกษตรกรท้งั ระยะสั้น ระยะปานกลางและระยะยาว

2. ธนาคารอาคารสงเคราะห ( ธ.อ.ส.) เปนธนาคารของรัฐบาล มีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมให
ประชาชนมีอาคารและทีด่ นิ เปนทอ่ี ยอู าศัยของตนเอง

3. ธนาคารออมสิน เปนธนาคารของรฐั บาลมีวัตถุประสงคเ พ่ือระดมเงนิ ออมจากประชาชน แลว
นํามาใหร ฐั บาลกยู ืม สง เสริมการออมของเยาวชนและประชาชนเพ่ือปลูกฝงการประหยดั และการออมเงิน

4. ธนาคารเพ่อื การสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย (Export-Import Bank Of Thailand :
EXIM BANK) อยูภายใตการดูแลของกระทรวงการคลัง มีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมการสงออกและการ
นาํ เขา

5. ธนาคารพฒั นาวสิ าหกิจ ขนาดกลางและขนาดยอมแหงประเทศไทย (Small and Medium
Enterprise Development Bank Of Thailand : SME BANK) มีวัตถุประสงค เพ่ือพัฒนาสงเสริม
ชวยเหลือ และสนับสนุนการจัดตั้ง การดําเนินงานการขยาย หรือการปรับปรุงวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดยอ ม

6. ธนาคารอสิ ลามแหงประเทศไทย หรือ ธอท. เปนธนาคารเฉพาะกิจ ภายใตการกํากับดแู ล
ของกระทรวงการคลัง ใหบ ริการแกป ระชาชนท่วั ไปโดยไมผกู พันกบั ดอกเบ้ียเงิน

16 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรชู ดุ ที่ 4 เร่ืองสถาบันการเงนิ

2. สถาบันการเงนิ ทไ่ี มใ ชธ นาคาร
สถาบนั การเงนิ ท่ไี มประกอบกิจการธนาคาร หมายถงึ สถาบันการเงินที่จัดต้ังขึ้นเพื่อดําเนินธุรกิจ

เฉพาะสาขาของเศรษฐกจิ ท่ีระบไุ วใ นกฎหมายควบคมุ การดาํ เนนิ งานของสถาบันการเงินน้ัน ไดแก

1. บริษัทเงินทุนหลักทรัพย เปนสถาบันการเงินท่ี
ระดมเงินออมจากประชาชน โดยการออกต๋ัวสัญญาใชเงิน
จําหนายแกประชาชน แลวนําเงินท่ีกูยืมแกธุรกิจและ
อุตสาหกรรมโดยท่ัวไป สวนบริษัทหลักทรัพย หมายถึง
สถาบันการเงินที่ไดรับอนุญาตประกอบธุรกิจหลักทรัพย เปนนายหนาซื้อขายหลักทรัพย จําหนาย
หลักทรัพย และถาไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจเงินทุนควบคูกับธุรกิจหลักทรัพย เรยี กวา บริษัทเงินทุน
หลกั ทรพั ย

2. สหกรณการเกษตร มีวัตถุประสงคเพ่ือจัดหาเงนิ ทุน
ใหสมาชิกกูยืม สงเสริมการออม ชวยเหลือในการจัดหาวัสดุ
อุปกรณก ารเกษตรและการจําหนายผลิตผล รวมท้งั สง เสรมิ และ
เผยแพรดานวิชาการการเกษตรสมัยใหมใหแกสมาชิก

3. สหกรณออมทรัพย ทําหนาที่รับฝากและใหกูยืมแก
สมาชิกโดยคิดอัตราดอกเบ้ียตํ่า เปนการระดมเงินในรูปของคา
หนุ และเงินฝาก แลว นํากําไรมาแบงปน ใหแ กส มาชิกในรูปเงนิ ปนผล
4. บริษทั เครดติ ฟองซิเอร เปนสถาบันการเงินของเอกชนที่ระดมเงินทนุ ดวยการออกตัว๋ สัญญาใช
เงนิ ขายใหกบั ประชาชน และใหประชาชนกยู ืมเงนิ เพอื่ ซ้อื ทด่ี นิ และสรา งที่อยูอาศยั
5. ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตั้งข้ึน
ตามพระราชบัญญัติตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
พ.ศ. 2517 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจัดใหมีแหลงกลาง
สําหรับการซือ้ ขายหลกั ทรัพย สงเสริมการออมทรัพยและ
การระดมเงินทุนในประเทศ มีบทบาทสําคัญในการทํา
หนา ที่เปนศูนยกลางการซอ้ื ขายหลักทรัพยจดทะเบยี น อํานวยความสะดวกในการซอื้ ขายหลกั ทรัพย
6. บริษัทประกันภัย เปนสถาบันการเงินท่ีเปนองคกรอิสระอยูภายใตความรับผิดชอบของ
สํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสรมิ การประกอบธุรกิจประกันภัย
(คปภ.) ทําหนา ที่ระดมเงินออมจากประชาชนโดยออกเปนหนังสือสัญญา
เรียกวา กรมธรรม มีท้ังประกันชีวิตและประกันวินาศภัย มีวัตถุประสงค
เพ่อื รับโอนความเสี่ยง หากเกิดความเสียหายแกชีวิตและทรัพยสิน บรษิ ัท
จะชดใชคาเสียหายใหก บั ผเู อาประกันหรอื ผูร ับผลประโยชน

17 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรชู ดุ ที่ 4 เร่ืองสถาบนั การเงิน

7. โรงรับจํานํา เปนสถาบันการเงินขนาดเล็กท่ี
กระจายอยูทัว่ ไป มคี วามสัมพนั ธใกลช ิดกับประชาชนท่ีไมม ี
หลักทรัพยมากพอที่จะกูยืมจากสถาบันการเงิน เปนสถาบัน
การเงินท่ีใหประชาชนทั่วไปกูยืมโดยการจํานําส่ิงของ ซ่ึง
ส ว น ใ ห ญ จ ะ นํ า เ งิ น ไ ป ใ ช เ พื่ อ ก า ร อุ ป โ ภ ค บ ริ โ ภ ค ใ น
ชวี ติ ประจาํ วัน และผูกูย ืมสามารถไถถอนสง่ิ ของคืนได โรง
รบั จาํ นํามที ง้ั เอกชนและดําเนินงานโดยหนว ยงานของรัฐ ถา
ดําเนินการโดยกรมประชา สงเคราะห เรียกวา สถานธนานุ
เคราะห และการดําเนินการโดยเทศบาล
เรียกวา สถานธนานุบาล

8. บริษัทเงินทุน ระดมเงินออมจาก
ประชา ชน แลวออกต๋ัว สัญญา ใชเงิน เ ป น
หลักประกัน กูยืมเงินจากสถาบันการเงินอ่ืนท้ังใน
และนอกประเทศ แลวนาํ เงนิ ไปลงทนุ ในดา นตา งๆ

9. บริษทั หลักทรพั ยจ ัดการกองทุนรวม ระดมทุนโดยการจัดตั้งกองทนุ รวม เงินทุนท่ีไดจากการ
ระดมทุน บรษิ ทั จะนาํ ไปลงทุนตอ ดวยการซ้อื หนุ ของกิจการตา งๆ ทงั้ ในและนอกตลาดหลักทรัพย ลงทุนซ้ือ
ตราสารหน้ี

18 ชุดกิจกรรมการเรียนรูช ุดท่ี 4 เรื่องสถาบันการเงนิ

รายวิชาเศรษฐศาสตร รหัสวชิ า ส21103 ภาคเรยี นที่ 2
ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที่ 1

ใบกจิ กรรมท่ี 2 เรื่อง สถาบันการเงนิ ที่สําคัญ
ครูผสู อน : นางสุปราณี รอดเซน็

คาํ ช้ีแจง ใหนกั เรยี นดภู าพตอไปนี้ แลวตอบประเดน็ คําถามตามที่กําหนด

ชอื่ สถาบันการเงนิ ............................................................................
บทบาทหนา ท.ี่ .................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................

ชอื่ สถาบนั การเงิน............................................................................
บทบาทหนา ท.่ี .................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................

ชอ่ื สถาบันการเงิน............................................................................
บทบาทหนา ท.ี่ .................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................

ช่ือสถาบันการเงนิ ............................................................................
บทบาทหนา ท.่ี .................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................
.........................................................................................................

19 ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูชุดท่ี 4 เร่ืองสถาบันการเงนิ

รายวชิ าเศรษฐศาสตร รหสั วชิ า ส21103 ภาคเรียนท่ี 2
ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 1

เฉลยใบกจิ กรรมที่ 2 เร่อื ง สถาบันการเงนิ ทส่ี าํ คญั
ครูผสู อน : นางสปุ ราณี รอดเซ็น

คาํ ชี้แจง ใหน กั เรยี นดภู าพตอไปน้ี แลวตอบประเด็นคําถามตามที่กําหนด

ช่ือสถาบนั การเงิน ธนาคารพาณิชย
บทบาทหนา ท่ี รบั ฝากเงินจากประชาชนทั่วไป และ
รวบรวมเงนิ ไปใหห นว ยงาน องคกรธรุ กจิ กูยืม รวมถึง
บคุ คลท่วั ไป

ชือ่ สถาบนั การเงิน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ
การเกษตร

บทบาทหนา ที่ ชวยเหลอื ทางการเงนิ สงเสริมการ
ประกอบอาชพี ของเกษตรและสหกรณก ารเกษตร ให
สนิ เช่อื ระยะสัน้ และระยะปานกลางแกเ กษตรกร

ช่ือสถาบนั การเงิน ธนาคารออมสิน
บทบาทหนา ที่ รับฝาเงนิ จากประชนท่ัวไปและนําเงินไป
ลงทุน ซ่ึงถือเปน แหลง เงนิ ทนุ ภายในประเทศของรฐั บาล

ช่อื สถาบันการเงิน โรงรับจาํ นาํ
บทบาทหนา ท่ี สถาบนั กรเงินขนาดเล็ก ไดช่อื วา เปน
ธนาคารของคนยาก ใหบรกิ ารกูเงินในวงเงนิ ไมม าก โดย
ผขู อกูตองนาํ สนิ ทรัพยม าฝากคา้ํ ประกันไว

20 ชุดกิจกรรมการเรยี นรูชุดที่ 4 เร่ืองสถาบนั การเงนิ

รายวชิ าเศรษฐศาสตร รหัสวชิ า ส21103 ภาคเรียนที่ 2
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1

ใบกิจกรรมที่ 3 เร่อื ง สถาบันการเงนิ ท่ีสําคัญ
ครูผูสอน : นางสปุ ราณี รอดเซ็น

คําชี้แจง ใหน ักเรียนบอกช่ือหนว ยงานท่ีกาํ กบั ดูแล และกฎหมายท่ีบงั คบั ใชสําหรับสถาบันการเงินตามท่ี
กาํ หนดให โดยเขยี นลงในชอ งวางใหถกู ตอง

1. ธนาคารอสิ ลามแหง ประเทศไทย
หนว ยงานทกี่ ํากบั ดูแล………………………………………………………………………………………………………………..
กฎหมายที่บังคบั ใช...................................................................................................................................

2. ธนาคารอาคารสงเคราะห
หนวยงานทก่ี ํากับดแู ล………………………………………………………………………………………………………………..
กฎหมายที่บังคบั ใช...................................................................................................................................

3. บรษิ ัทประกนั ชีวิต
หนว ยงานทก่ี าํ กับดูแล………………………………………………………………………………………………………………..
กฎหมายที่บังคบั ใช...................................................................................................................................

4. บรษิ ทั เครดิตฟองซเิ อร
หนวยงานที่กาํ กบั ดูแล………………………………………………………………………………………………………………..
กฎหมายท่บี ังคบั ใช...................................................................................................................................

5. โรงรบั จาํ นาํ
หนวยงานท่กี าํ กับดแู ล………………………………………………………………………………………………………………..
กฎหมายทบ่ี ังคบั ใช...................................................................................................................................

21 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรชู ดุ ที่ 4 เรื่องสถาบันการเงนิ

รายวิชาเศรษฐศาสตร รหัสวชิ า ส21103 ภาคเรียนท่ี 2
ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

เฉลยใบกจิ กรรมท่ี 3 เรอ่ื ง สถาบันการเงินทสี่ าํ คญั
ครูผสู อน : นางสุปราณี รอดเซน็

คาํ ชแ้ี จง ใหน ักเรยี นบอกช่ือหนวยงานท่ีกํากบั ดแู ล และกฎหมายที่บงั คบั ใชสาํ หรับสถาบนั การเงินตามที่
กําหนดให โดยเขยี นลงในชองวา งใหถกู ตอง

1. ธนาคารอิสลามแหง ประเทศไทย
หนว ยงานท่กี ํากบั ดูแล กระทรวงการคลงั และธนาคารแหง ประเทศไทย
กฎหมายทบ่ี งั คบั ใช พระราชบญั ญตั ธิ นาคารอสิ ลามแหงประเทศไทย พ.ศ. 2545

2. ธนาคารอาคารสงเคราะห
หนว ยงานที่กาํ กับดแู ล ธนาคารอาคารสงเคราะห
กฎหมายทบี่ งั คบั ใช พระราชบญั ญตั ิธนาคารอาคารสงเคราะห พ.ศ. 2496

3. บรษิ ัทประกนั ชีวิต
หนวยงานทีก่ ํากับดแู ล กระทรวงการคลัง สํานักงานคณะกรรมการกาํ กบั และสง เสรมิ การประกอบ

ธุรกจิ ประกันภัย
กฎหมายทบ่ี ังคบั ใช พระราชบญั ญตั ิประกันชวี ิต พ.ศ. 2535

4. บรษิ ัทเครดิตฟองซิเอร
หนว ยงานที่กาํ กบั ดแู ล คณะกรรมการกาํ กบั หลักทรพั ย และตลาดหลกั ทรัพย
กฎหมายทีบ่ ังคบั ใช พระราชบญั ญัติหลกั ทรัพย และตลาดหลักทรพั ย พ.ศ. 2534

5. โรงรับจํานาํ
หนวยงานทีก่ ํากบั ดูแล กระทรวงแรงงาน
กฎหมายที่บังคบั ใช พระราชบัญญตั ิโรงรับจาํ นํา พ.ศ. 2505 และแกไขเพิ่มเติม

22 ชุดกิจกรรมการเรยี นรชู ดุ ท่ี 4 เรื่องสถาบนั การเงิน

รายวิชาเศรษฐศาสตร รหัสวชิ า ส21103 ภาคเรียนท่ี 2
ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 1

ใบความรูท ่ี 3 เรื่อง ความสัมพนั ธ 3 ฝาย
ครผู สู อน : นางสุปราณี รอดเซน็

ความสมั พนั ธร ะหวางผผู ลติ ผูบรโิ ภค และสถาบันการเงนิ
ในระบบเศรษฐกจิ ผูผลติ ผูบ ริโภค และสถาบันการเงนิ ลวนมคี วามเกีย่ วของสมั พันธก ันทางดาน
การหารายได การมรี ายจายเพือ่ การอปุ โภคและมีการเก็บเงินบางสว นไวเ พื่อการออมหรือนําไปลงทนุ เพื่อให
มรี ายไดเ พ่มิ ขึน้ ซงึ่ เราสามารถอธิบายความสัมพนั ธ ไดดังน้ี

ความสัมพนั ธร ะหวา งผูผลติ สถาบันการเงิน และผบู รโิ ภค

สถาบนั การเงนิ

ผูบริโภค ซื้อสินคาและบริการ ผูผลิต
จาํ หนา ยสนิ คาและบริการ

ผูบรโิ ภคท่มี รี ายไดจากการทาํ งานใหก ับหนว ยผลติ จะนาํ รายไดมาใชจา ยเพ่อื ซื้อสนิ คา และบริการ
จากผผู ลิต และรายไดสวนหน่ึงเก็บออมไวก ับสถาบนั การเงิน ซง่ึ เปนตัวกลางระหวางผูออมกบั ผตู อ งการ
ลงทนุ เพือ่ ใหกเู งินไปลงทุนผลติ
สนิ คาและบรกิ าร สวนผอู อมกม็ ี
รายไดเปน ผลตอบแทนในฐานะเปน
เจา ของเงินทนุ ความสมั พันธของ
รายได รายจาย การออม และการ
ลงทุนระหวาง
ผูบริโภค ผผู ลิต และสถาบัน
การเงิน เปนดังภาพ

23 ชุดกจิ กรรมการเรียนรูชดุ ที่ 4 เรื่องสถาบันการเงิน

รายได
การประกอบอาชีพเปนแหลงที่มาสําคัญของรายได และนํารายไดนั้นมาเปนคาใชจายใน

ชีวิต ประจําวัน และบางสวนเก็บเปนเงินออม หรือเก็บไวลงทุน ผูที่เปนเจาของปจจัยการผลิตจะใชปจจัย
การผลติ ของตน เพื่อประกอบอาชพี ใหไ ดผลตอบแทนสงู สดุ

ในการวางแผนเลือกประกอบอาชีพจะตองวิเคราะหลักษณะงานใหเขากับกับนิสัย ความถนัด
และความสามารถของแตละบุคคล จากน้ันจึงประเมินโอกาสและขอจํากัดท่ีจะเขาไปประกอบอาชีพนั้น
ควรสํารวจ ตลาดแรงงานในปจจุบัน หาขอมูลและความรูเกี่ยวกับอาชีพที่ตองการทําใฝหาความรูและ
พัฒนาอาชีพมีความขยันและรับผิดชอบตอสังคมสวนรวมและส่ิงแวดลอม ทํางานดวยความซ่อื สัตยสุจริต
นอกจากนน้ั สาํ หรับผูที่มีอาชพี ประจาํ ควรประกอบอาชีพเสรมิ เพ่ือเพิ่มรายไดอีกทางหน่งึ

การใชจ า ย
มนษุ ยท กุ คนตอ งมคี า ใชจายในการซอื้ สนิ คา และบรกิ ารเพ่ือสนองความตองการ มที ัง้ รายจายท่ีตองใช

เปนประจํา เชน คาอาหาร คาเดินทาง เปนตน นอกจากนั้นยังมีรายจายทใี่ ชยามจําเปน หรือรายจายที่ใช
เพื่อการลงทุน และวางแผนการใชจายเงินจากรายไดโดยการทํางบประมาณท้ังในสวนบุคคลและของ
ครอบครัว จากรายไดและรายจาย รวมท้ังเงินออม การใชจายควรคํานึงถึงแนวคิดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ มีเหตุผล และสรางภูมิคุมกัน โดยใชหลักประหยัด จําเปน
ปลอดภัย และประโยชนทจ่ี ะไดร บั จากการใชจา ย

การออม
การออมเปนเงินสวนหน่ึงจากรายได เปนจุดเร่ิมตนรากฐานทางการเงนิ ที่ดี การออมเงินมใิ ชเปน

เพยี งการเก็บเงิน แตเปนการเพิ่มพนู รายไดอ ีกทางหนึง่ ดวย เงินท่ีไดจากการออมนั้น นอกจากจะนํามาใช
จายเมื่อยามจําเปน หรือฉุกเฉิน ยังสามารถเพิ่มคาเงินออมไดโดยลงทุนหรือฝากกับสถาบันการเงิน ซึ่ง
จะตองคํานึงถึงผลประโยชนจากอัตราดอกเบี้ยหรือเงินปนผล รวมท้ังพิจารณาอัตราเงินเฟอและคาเสีย
โอกาสทางการเงนิ จากการนําเงินออมไปใชประโยชนอ ยางใดอยางหน่ึง ทาํ ใหเสยี โอกาสท่ีจะไดรับประโยชน
สูงสุดจากการนําไปใชประโยชนอกี ทางหน่งึ

ปจ จบุ นั การวางแผนการออมมิใชเ งินสวนท่ีเหลือของรายไดห ลังจากหักคาใชจาย แตเปนการออม
เงินโดยหกั จากรายไดก อ น สว นที่เหลือจงึ นํามาจัดสรรเปน คาใชจ า ย ดงั น้ี

"งบประมาณ คอื แผนการออมเงินและการใชจ ายจากรายได
รายได - เงินออม = เงินสาํ หรบั ใชจ าย"

24 ชุดกจิ กรรมการเรียนรูชดุ ที่ 4 เรื่องสถาบนั การเงนิ

การลงทุน
การลงทนุ เปน การนาํ สินทรัพยท ี่ตนมีอยไู ปดาํ เนินการในทางท่ีกอใหเกดิ ประโยชน ทําใหมีผลผลิต

เปนสินคาหรือบริการ เพื่อใหไดผลตอบแทนกลบั คนื มา หรอื เปนคาใชจายในการลงทนุ ทางการเงนิ เชน
ซื้อหนุ หรอื พันธบัตรเปน ตน เงินทนุ มากจากเงินออม หรือจากการกูยืมเงนิ มาลงทุน

ปจจัยที่มีผลตอการลงทุน ไดแก อัตราดอกเบ้ีย กําไรท่ีคาดวาจะไดรับ ความเจริญกาวหนาทาง
เทคโนโลยี ความเชือ่ มัน่ ทางเศรษฐกิจ และนโยบายของรฐั เปน ตน

การลงทุนทําใหเกิดการจางงาน ประชาชนมีรายไดเพิ่มข้ึน การผลิตสินคาและบริการมีผลทําให
เศรษฐกจิ ขยายตวั เพมิ่ ข้นึ ประชาชนกินดอี ยูดมี ากขน้ึ

25 ชุดกจิ กรรมการเรียนรชู ดุ ท่ี 4 เร่ืองสถาบันการเงนิ

รายวชิ าเศรษฐศาสตร รหัสวชิ า ส21103 ภาคเรยี นท่ี 2
ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1

ใบกิจกรรมท่ี 4 เรอื่ ง ความสัมพนั ธ 3 ฝาย
ครผู สู อน : นางสุปราณี รอดเซ็น

คําชี้แจง ใหนักเรยี นอา นกรณีศกึ ษา แลว ตอบคําถาม

กรณศี ึกษา เรื่อง วงเวยี นธุรกิจ
บริษแั อทตา จํากดั เปนบริษัทท่ีผลิตรองเทา หลายชนิด เชน รองเทาคัสชู รองเทา ผาใบ ซ่ึงบริษทั
จะมีโรงงานผลิตซึ่งตั้งอยูบนพื้นที่ 15 ไร มีเครื่องจักรที่ทันสมัยส่ังมาจากตางประเทศ เพื่อใชในการผลิต
สินคา มีคนงาน 40-50 คนสําหรับการสรางแบบ การสรางแบทเทรนิ  กอนเขาสูขั้นตอนการผลิต และการ
บรรจุลงกลอง เพื่อสงจําหนายท่ีทําการของบริษัทจะมีฝายตางๆ เชน ฝายการตลาด ฝายโฆษณา
ประชาสัมพันธ ฝายสงสินคา ฝายการเงินการบัญชี ฯลฯ บริษัทแอทตา มีหุนสวนท่ีนําเงินทุนมารวมกัน
จัดตัง้ บริษัทเปนจํานวนเงิน 30 ลานบาท เมื่อมีรายไดก็นําไปฝากธนาคาร ตอมาบริษัทสามารถหาตลาด
สงสินคาออกไปขายไดจํานวนมากจึงขยายกิจการ และไปกูเงินจากธนาคารเสียดอกเบ้ียตามกฎหมาย
พนักงานฝายตาง ๆ ของบริษัทตางก็ไดรับเงินเดือนในอัตราคอนขางสูงกวาบริษัทอื่น เพราะกิจการของ
บริษัทมีความเจริญกาวหนา ผลกําไรสงู จึงสามารถใหโบนัสแกพนักงานไดจํานวนมากทุกป พนักงานทุกคน
มรี ายจายประจาํ เพอื่ ซ้ือสินคา และบริการในการดํารงชีวิตประจําวัน เชน คาอาหาร คาเสื้อผา คายารกั ษาโรค
คานํ้า คาไฟฟา คาโทรศัพท พนักงานสวนใหญจะมีเงินออมและนําไปฝากธนาคารทุกเดือน และไดรับ
ดอกเบี้ยจากธนาคารอยางสมํ่าเสมอ แตพนักงานบางคนมีความจําเปนตองไปซ้ือ เครื่องใชที่จําเปนแต
รายไดมีไมพอก็ไปกูเงินทางธนาคารมาใชจาย เชน ซื้อตูเย็น เคร่ืองปรับอากาศ โทรทัศน รถยนต หรือบางคน
กูเงินมาซื้อท่ดี ินและบานซึ่งตองเสียดอกเบี้ยใหแกธนาคาร ดังนนั้ ธนาคารจึงมีทั้งรายรับ และรายจายจาก
การบรหิ ารงาน

คาํ ถาม
1. กรณศี กึ ษานแ้ี สดงถึงความสัมพนั ธระหวา งผผู ลิต ผูบรโิ ภค และสถาบนั การเงินอยางไร
2. ขอคิดที่ไดรบั จากกรณีศกึ ษา เรื่อง วงเวยี นธุรกจิ คืออะไร

26 ชดุ กจิ กรรมการเรียนรชู ุดที่ 4 เรื่องสถาบันการเงิน

รายวิชาเศรษฐศาสตร รหสั วชิ า ส21103 ภาคเรียนที่ 2
ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที่ 1

เฉลยใบกจิ กรรมท่ี 4 เร่อื ง ความสมั พนั ธ 3 ฝาย
ครผู สู อน : นางสุปราณี รอดเซน็

1. กรณศี กึ ษาน้แี สดงถึงความสัมพันธระหวา งผผู ลิต ผบู ริโภค และสถาบันการเงนิ อยางไร
กรณศี กึ ษานแี้ สดงถึงความสมั พนั ธร ะหวา งผูผ ลิต และสถาบันการเงนิ ดังน้ี

1. ผูผลิต คอื บริษัทแอทตา จาํ กัด มีรายไดจ ากการจาํ หนายรองเทา มรี ายจา ยในการผลิต คอื
เงินทุนในการ ซ้ือเคร่อื งจกั ร ท่ดี ิน วัตถุดบิ ที่นาํ มาผลติ รองเทา คาแรงงาน ระหวา งการจําหนายสนิ คา ก็จะ
นําไปฝากธนาคารเม่ือมกี ําไรจากการจําหนา ยสนิ คาก็นาํ ไปฝากธนาคาร ตอ มาเม่ือบริษัทตองการเงินทนุ
มากขึน้ ก็ตองไปกูเ งินจากธนาคารมาลงทนุ และตองเสียดอกเบี้ยใหกับธนาคาร

2. ผบู รโิ ภค คือ ลูกจา งและพนักงานของบรษิ ัท ตา งก็ไดร บั เงินเดือนจากบรษิ ัทในอัตราสูง เพราะ
บริษทั มรี ายไดด รี ายไดข องลกู จางและพนกั งานก็นํามาใชจ ายในการซอ้ื สนิ คา เชน อาหาร เสือ้ ผา ยารักษา
โรค คานา้ํ คา ไฟฟา คา โทรศัพท พนักงานบางคนเงนิ เดือนเหลอื จากคาใชจา ยแลวนาํ ไปฝากธนาคารได
ดอกเบี้ย พนกั งานบางคนตองไปกูเ งนิ จากธนาคารมาใชจายซอ้ื ของ เชน ตเู ยน็ เครอื่ งปรับอากาศ โทรทศั น
รถยนต ที่ดิน และบาน และตองเสยี ดอกเบีย้ ใหกับธนาคาร

3. สถาบนั การเงนิ คือ ธนาคาร มรี ายไดจากการใหบ ริษทั แอทตา จํากดั กูเ งนิ ไปลงทุน ลูกจางและ
พนักงานของบรษิ ทั กูเงนิ ไปใชจายธนาคารมีรายจา ยจากการจายดอกเบี้ยใหผ ฝู ากเงนิ ทุกราย และจายคา
บริหารจดั การของธนาคาร
2. ขอคดิ ที่ไดรับจากกรณีศกึ ษา เร่ือง วงเวียนรธู รุ กิจ คืออะไร

1. ถาผูผลิตมรี ายไดด ี ยอมสงผลดตี อ ลูกจางและพนกั งาน ทําใหมรี ายได หรอื ผลตอบแทนสูงขึน้
หรอื สวสั ดกิ ารดขี ้นึ

2. ธนาคารเปน ตัวกลางระหวางผูผลติ และผูบริโภค หรอื ระหวา งประชาชนกบั นายทุน
3. ผมู ีรายไดด ขี ึ้นยอมสามารถออมเงนิ ฝากธนาคารได
4. เมื่อผูบริโภคมีความจาํ เปนหรอื เดือดรอนทางการเงิน ยอมพงึ่ พาธนาคารไดตามสมควร

27 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรูชุดท่ี 4 เรื่องสถาบันการเงนิ

รายวิชาเศรษฐศาสตร รหัสวชิ า ส21103 ภาคเรยี นท่ี 2
ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปท่ี 1

แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง สถาบนั การเงิน
ครูผูสอน : นางสปุ ราณี รอดเซ็น

คาํ ชแี้ จง ใหน กั เรยี นเลอื กคาํ ตอบที่ถูกตองท่สี ุดเพียงคาํ ตอบเดียว
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. ธนาคารกลาง หมายถึง ธนาคารใด

ก. ธนาคารออมสนิ
ข. ธนาคารกรุงเทพ
ค. ธนาคารกรุงไทย
ง. ธนาคารแหงประเทศไทย
2. ธนาคารแหง แรกของประเทศไทย คือธนาคารอะไร
ก. ธนาคารกรุงไทย
ข. ธนาคารออมสนิ
ค. ธนาคารกรุงเทพ
ง. ธนาคารไทยพาณชิ ย
3. ขอ ใดกลาวถึงความหมายของสถาบันการเงินไดสมบูรณท่ีสุด
ก. สถาบันท่ีดําเนินธรุ กรรมทางการเงนิ
ข. สถาบันท่ีดําเนนิ ธรุ กจิ ดา นสงั หารมิ ทรพั ย
ค. สถาบันที่ดาํ เนนิ ธรุ กิจดา นสง ออกและนําเขาสนิ คา
ง. สถาบนั ท่ีดาํ เนินธุรกจิ ดา นการดาํ กบั ดูแลเงนิ ของรัฐบาล
4. ขอ ความเกย่ี วกับความสมั พนั ธร ะหวา งผผู ลิต ผบู รโิ ภค และสถาบนั การเงนิ ขอใดถกู ตอ ง
ก. มกี ารหารายได การใชจา ยรว มกัน
ข. มกี ารลงทุน และการนําเงินมาใชในการลงทุนรว มกัน
ค. มีการระดมเงนิ ออมมาเพื่อการลงทนุ เปนประโยชนท ุกฝา ย
ง. มกี ารหารายได การใชจาย การออม การลงทนุ ท่มี ีความสัมพนั ธก ัน
5. การทธี่ นาคารแหงประเทศไทยทาํ หนาที่จดั พิมพธ นบตั รใหม และเก็บรักษาทนุ สํารองทห่ี นนุ หลังการ
พิมพธ นบตั รทใี่ ชหมุนเวยี นภายในประเทศนั้น เพ่ือจุดมงุ หมายในขอ ใด
ก. เพอื่ ใหเงินทห่ี มุนเวียนในตลาดน้นั มีสภาพคลอง
ข. เพอื่ ใหต างประเทศมีความเชือ่ ถอื ในมลู คา ธนบตั ร
ค. เพอื่ ใหธ นบัตรมีคุณภาพคงทนสามารถใชไดน าน
ง. เพอื่ ใหธ นบัตรทจ่ี ัดพมิ พออกมาน้นั มมี ูลคา ทเี่ ปนจริง

28 ชุดกิจกรรมการเรียนรชู ุดที่ 4 เร่ืองสถาบนั การเงนิ

6. ขอ ความเก่ยี วกบั ลกั ษณะสาํ คัญของสถาบันการเงิน ขอใดถูกตองชดั เจนมากทีส่ ุด
ก. หารายไดจ ากการกูยืมเงิน
ข. เปนตวั กลางของผรู ับฝากเงนิ
ค. รับความเสี่ยงแทนผูอ อมและผูกยู ืมเงนิ
ง. ทําธรุ กจิ เกย่ี วกับการเงนิ ที่มผี ลประโยชน

7. ธนาคารใดไมไดร ับฝากเงนิ จากประชาชน
ก. ธนาคารอาคารสงเคราะห
ข. ธนาคารอสิ ลามแหง ประเทศไทย
ค. ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณก ารเกษตร
ง. ธนาคารเพือ่ การสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย

8. ขอความเกี่ยวกับบทบาทหนา ที่ของธนาคารพาณชิ ยขอใดถกู ตอง
ก. สนับสนุนนกั ธรุ กจิ ที่นาํ เขา สง ออกสนิ คา
ข. การใหส ินเช่อื แกธรุ กจิ ทเี่ นน การเกง็ กําไร
ค. สงเสริมการออมทรพั ยของประชาชนผมู ีรายไดน อย
ง. ระดมเงินฝากและใหสินเชือ่ ในระบบเศรษฐกจิ มากกวา สถาบนั อ่นื

9. สถาบนั การเงนิ ใดที่ทาํ หนา ท่รี ะดมเงนิ ฝากจากประชาชนในรูปของการขายกรมธรรมใหแ กผ ูซ้ือ
กรมธรรม

ก. บริษทั หลักทรพั ย
ข. บริษัทประกันชีวติ
ค. สหกรณอ อมทรัพย
ง. บริษทั หลักทรพั ยจัดการกองทนุ รวม
10. ขอใดไมใ ชห นา ทห่ี ลักของธนาคารกลาง
ก. ดูแลซื้อขายเงนิ ตราตา งประเทศ
ข. เปนแหลงกยู มื เงินของประชาชนท่ัวประเทศ
ค. ควบคมุ ปริมาณเงินของประเทศใหอยูในปรมิ าณท่เี หมาะสม
ง. ดแู ลควบคมุ และตรวจสอบสถาบันการเงินตางๆ ทอี่ ยูในกาํ กับ

29 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรชู ุดท่ี 4 เรื่องสถาบนั การเงนิ

รายวิชาเศรษฐศาสตร รหัสวชิ า ส21103 ภาคเรียนที่ 2
ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1

เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น เรื่อง สถาบันการเงิน
ครผู สู อน : นางสุปราณี รอดเซน็

คําชี้แจง ใหนกั เรียนเลอื กคําตอบท่ีถูกตองท่สี ุดเพียงคาํ ตอบเดียว

1. ธนาคารกลาง หมายถึง ธนาคารใด
ก. ธนาคารออมสนิ
ข. ธนาคารกรุงเทพ
ค. ธนาคารกรุงไทย
ง. ธนาคารแหงประเทศไทย

2. ธนาคารแหง แรกของประเทศไทย คือธนาคารอะไร
ก. ธนาคารกรงุ ไทย
ข. ธนาคารออมสนิ
ค. ธนาคารกรุงเทพ
ง. ธนาคารไทยพาณิชย

3. ขอ ใดกลาวถึงความหมายของสถาบันการเงินไดสมบูรณทส่ี ดุ
ก. สถาบนั ท่ดี าํ เนนิ ธรุ กรรมทางการเงนิ
ข. สถาบันที่ดําเนนิ ธุรกจิ ดา นสงั หารมิ ทรพั ย
ค. สถาบันท่ดี ําเนินธุรกจิ ดา นสงออกและนําเขา สินคา
ง. สถาบนั ที่ดําเนนิ ธุรกิจดา นการดํากบั ดูแลเงินของรัฐบาล

4. ขอความเก่ียวกบั ความสัมพันธระหวางผูผ ลติ ผูบริโภค และสถาบันการเงิน ขอใดถกู ตอ ง
ก. มกี ารหารายได การใชจายรวมกัน
ข. มีการลงทุน และการนาํ เงนิ มาใชในการลงทนุ รวมกัน
ค. มีการระดมเงนิ ออมมาเพื่อการลงทุน เปน ประโยชนทุกฝาย
ง. มกี ารหารายได การใชจ า ย การออม การลงทนุ ที่มีความสมั พนั ธกนั

5. การทีธ่ นาคารแหงประเทศไทยทาํ หนาทจี่ ดั พิมพธนบตั รใหม และเก็บรักษาทนุ สาํ รองท่หี นนุ หลงั การ
พมิ พธนบตั รทใี่ ชห มนุ เวียนภายในประเทศนนั้ เพื่อจุดมงุ หมายในขอใด

ก. เพือ่ ใหเงนิ ทีห่ มนุ เวียนในตลาดนัน้ มีสภาพคลอ ง
ข. เพ่อื ใหต า งประเทศมีความเชือ่ ถือในมูลคา ธนบัตร
ค. เพอื่ ใหธนบตั รมีคุณภาพคงทนสามารถใชไ ดน าน
ง. เพอื่ ใหธนบัตรท่จี ดั พมิ พอ อกมานัน้ มมี ลู คา ท่เี ปน จริง

30 ชดุ กิจกรรมการเรยี นรชู ุดท่ี 4 เรื่องสถาบนั การเงนิ

6. ขอความเกยี่ วกับลกั ษณะสาํ คญั ของสถาบนั การเงิน ขอใดถูกตองชดั เจนมากที่สดุ
ก. หารายไดจ ากการกยู ืมเงนิ
ข. เปนตวั กลางของผรู ับฝากเงนิ
ค. รบั ความเส่ยี งแทนผูอ อมและผกู ยู ืมเงนิ
ง. ทาํ ธรุ กิจเกยี่ วกับการเงนิ ที่มีผลประโยชน

7. ธนาคารใดไมไดร บั ฝากเงนิ จากประชาชน
ก. ธนาคารอาคารสงเคราะห
ข. ธนาคารอสิ ลามแหง ประเทศไทย
ค. ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณการเกษตร
ง. ธนาคารเพอื่ การสงออกและนําเขา แหงประเทศไทย

8. ขอ ความเกยี่ วกบั บทบาทหนาทข่ี องธนาคารพาณชิ ยข อใดถูกตอง
ก. สนบั สนนุ นกั ธุรกิจทนี่ ําเขาสงออกสินคา
ข. การใหส นิ เช่อื แกธ ุรกจิ ท่เี นนการเก็งกําไร
ค. สงเสรมิ การออมทรัพยของประชาชนผูม รี ายไดน อย
ง. ระดมเงนิ ฝากและใหสนิ เชอ่ื ในระบบเศรษฐกจิ มากกวา สถาบนั อ่นื

9. สถาบันการเงินใดที่ทําหนา ทีร่ ะดมเงนิ ฝากจากประชาชนในรูปของการขายกรมธรรมใหแ กผ ซู ้อื
กรมธรรม

ก. บรษิ ัทหลักทรพั ย
ข. บรษิ ทั ประกันชีวติ
ค. สหกรณออมทรัพย
ง. บรษิ ทั หลกั ทรัพยจ ัดการกองทุนรวม
10. ขอใดไมใชหนา ทหี่ ลักของธนาคารกลาง
ก. ดแู ลซ้ือขายเงนิ ตราตางประเทศ
ข. เปน แหลง กูยืมเงนิ ของประชาชนทว่ั ประเทศ
ค. ควบคมุ ปริมาณเงินของประเทศใหอยใู นปรมิ าณทเ่ี หมาะสม
ง. ดแู ลควบคุมและตรวจสอบสถาบนั การเงินตา งๆ ทอี่ ยูในกํากับ

31 ชุดกิจกรรมการเรยี นรูชุดที่ 4 เรื่องสถาบนั การเงนิ

กระดาษคาํ ตอบ

ชดุ กจิ กรรมท่ี 4 เรือ่ ง สถาบนั การเงิน

ชอื่ ..............................................................................................เลขท.ี่ ..............ชนั้ ............
โรงเรยี น.............................................................................................................................

วันท.่ี ..........................เดอื น..........................พ.ศ. .....................

ก่อนเรียน หลังเรียน

ขอ ก ข ค ง ขอ ก ข ค ง ขอ ก ข ค ง ขอ ก ข ค ง
1 11 1 11
2 12 2 12
3 13 3 13
4 14 4 14
5 15 5 15
6 16 6 16
7 17 7 17
8 18 8 18
9 19 9 19
10 20 10 20

คะแนนเตม็ ...................คะแนน คะแนนเตม็ ...................คะแนน
คะแนนทไี ด้..................คะแนน คะแนนทไี ด้..................คะแนน

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูชุดที่ 4 เรื่องสถาบันการเงิน

คูม่ อื การใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้

เรือง เศรษฐศาสตรท์ คี วรรู้ โดยใชก้ ระบวนการบันได 5 ขนั (QSCCS)

สาํ หรับนักเรยี นชนั มธั ยมศกึ ษาปี ที 1


Click to View FlipBook Version