The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพานบายศรีและการสู่ขวัญ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Nim Thitiphun, 2022-06-10 06:35:06

ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพานบายศรีและการสู่ขวัญ

ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพานบายศรีและการสู่ขวัญ

ตอนท่ี ๑
ความรู้เกี่ยวกบั บายศรีและการสู่ขวญั

การประดษิ ฐพ์ านบายศรีส่ขู วัญ------------------------ ๒

แผนการเรยี นรู้ตอนท่ี ๑

ชดุ การเรียน การศกึ ษาตอ่ เน่ืองหลกั สูตรการประดิษฐ์พานบายศรสี ูข่ วญั

ตอนท่ี ๑ ความรู้เก่ียวกับบายศรีและการสู่ขวัญ

เร่ืองท่ี
๑.๑ ความหมายและความสาคัญของบายศรี
๑.๒ ประเภทและรูปแบบของบายศรี
๑.๓ ส่วนประกอบและการนับชน้ั ของบายศรี
๑.๔ วฒั นธรรมประเพณีการบายศรสี ขู่ วญั

สาระสาคญั

บายศรีเป็นภาชนะบรรจุอาหารท่ีเป็นมงคลเพื่อใช้ในพิธีกรรมที่เป็นมงคล ใช้ในการบูชา
สิ่งเคารพ และใช้ในการสู่ขวัญ บายศรีมีหลายประเภทหลายรูปแบบ ตัวบายศรีมีหลายชั้นและมี
ความหมายของการนับชั้นที่แตกต่างกันออกไป การบายศรีสู่ขวัญเป็นวัฒนธรรมไทยที่สืบทอดกันมา
นานโดยมกี ารส่ขู วัญ ๓ อยา่ งคือ สขู่ วญั คน สขู่ วญั สัตว์ และสูข่ วญั สิ่งของ

จุดประสงค์การเรียนรู้

เมอื่ เรียนรตู้ อนท่ี ๑ แลว้ ผู้เรยี นสามารถ
๑. บอกความหมายและความสาคัญของบายศรีได้
๒ จาแนกประเภทและรูปแบบของบายศรีได้
๓. บอกส่วนประกอบและนบั ชน้ั ของบายศรีได้
๔. บอกแนวทางการสบื ทอดและอนรุ กั ษ์วฒั นธรรมประเพณีการบายศรสี ูข่ วญั ได้

กิจกรรมระหวา่ งเรียน

๑. ศกึ ษาชุดการเรียน เร่ืองท่ี ๑.๑ – ๑.๔ ไปพร้อมกับเรียนรู้จากผสู้ อน
๒. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามที่ไดร้ ับมอบหมายตามเอกสารชดุ การเรียนแต่ละเรอื่ ง
๓. ศึกษาเพิ่มเตมิ จากวดี ิทศั น์

การประดิษฐพ์ านบายศรสี ่ขู วัญ------------------------ ๓

สอื่ การเรยี นรู้
๑. รูปภาพ
๒. ตวั อย่างของจริง
๓. เอกสารประกอบการเรียน
๔. กิจกรรม่ี ๑
๕. วดี ทิ ัศน์ประกอบชดุ การเรียน

การประเมนิ ผล
๑. ประเมนิ จากผลการทากจิ กรรมท่ี ๑
๒. ประเมนิ ผลจากการทากิจกรรมประเมินครั้งสดุ ท้าย

เมือ่ อา่ นแผนการเรยี นรู้ประจาตอนท่ี ๑ แล้ว โปรดศึกษาเอกสาร
และฝกึ ปฏบิ ตั ติ ามคาแนะนาอย่างต่อเน่ือง และเม่ือศึกษาเอกสารจบตอนแลว้ ให้
ทากจิ กรรมท่ี ๑ ในแบบฝกึ ปฏิบตั ิ

การประดษิ ฐพ์ านบายศรสี ขู่ วัญ------------------------ ๔

เร่ืองท่ี ๑.๑ ความหมายและความสาคญั ของบายศรี

๑.๑.๑ ความหมายของบายศรี
ในปัจจุบันการดาเนินชีวิตของประชาชนชาวไทยส่วนหน่ึงยังมีการผูกพันกับความเชื่อใน
สิ่งศกั ดสิ์ ิทธ์ิท่ตี นนับถอื และมักจะหาสิ่งของ เช่น ดอกไม้ ธปู เทียน บชู าสง่ิ ศกั ด์ิสิทธ์ิน้ันส่ิงท่ียังพบอยู่และ
นบั วันจะมคี วามนยิ มมากขนึ้ และพบมาก ในการประกอบพธิ กี รรมต่าง ๆ เพอ่ื เคารพสิ่งศักด์ิสิทธ์ิทั้งหลาย
และพิธกี รรมทเ่ี ก่ยี วกบั การดาเนินชีวิตในช่วงต่าง ๆ ของมนษุ ย์ สิง่ น้ันคือ บายศรี
บายศรเี ปน็ งานเครอื่ งสดประเภทงานใบตอง เปน็ การประดิษฐ์ใบตองเป็นน้ิว หรือเป็นกาบ หรือ
เปน็ เกรด็ เข้าตวั เปน็ ชั้น ๆ จดั ลงในชาม หรือพาน หรอื ภาชนะอื่น ตกแต่งด้วยดอกไม้มงคล บายศรีเป็น
ของสูงเป็นสิ่งท่ีมีค่าสาหรับชาวไทยต้ังแต่โบราณมาจนถึงบัดน้ี นับแต่แรกเกิดจนเติบใหญ่เราจะจัดพิธี
สังเวย และทาขวัญในวาระต่าง ๆ ซ่ึงต้องมีบายศรีเป็นส่ิงสาคัญในพิธีน้ัน ๆ มีผู้รู้ได้ให้ความหมายของ
บายศรไี วด้ งั น้ี
บายศรี พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายไว้ว่า “เครื่องเชิญ
ขวัญหรือรับขวัญ ทาด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทงเป็นช้ัน ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบข้ึนไปตามลาดับ เป็น
๓ ช้ัน ๕ ชั้น ๗ ชั้น ๙ ช้ัน มีเสาปักตรงกลางเป็นแกนมีเคร่ืองสังเวยวางอยู่ในบายศรี และมี
ไข่ขวญั เสียบอยูบ่ นยอดบายศรี บายศรมี หี ลายอยา่ ง เช่น บายศรปี ากชาม บายศรใี หญ่”
บายศรี ในภาษาถิ่นอสี านแปลความหมายเป็นดังน้ี บาย ภาษาถิ่นอีสาน แปลว่า จับต้อง สัมผัส
ศรี เป็นคามาจากภาษาสนั สกฤตตรงกบั ภาษาบาลี วา่ สริ ิ แปลว่า มง่ิ ขวัญ คาว่า “บายศรี” ความหมาย
ของชาวอีสาน แปลว่า ขา้ วขวญั หรอื สงิ่ ที่น่าสมั ผสั กับความดีงาม
บายศรี ผู้รู้หลายท่านอธิบายว่ามาจากคาว่า “บาย” ในภาษาเขมร แปลว่า “ข้าว” ส่วนคาว่า
“ศร”ี หมายถึง มง่ิ สงา่ ความเจรญิ รวมกันแล้ว หมายถงึ “โภชนาการอันเปน็ มง่ิ มงคล”

ดังน้ันจึงอาจสรุปได้ว่า บายศรี หมายถึงภาชนะบรรจุอาหารที่เป็นมงคลเพื่อใช้ใน
พิธีกรรมท่ีเป็นมงคล โดยอาจประดิษฐ์ตกแต่งด้วยเคร่ืองสด เช่น ใบตอง ดอกไม้ จัดตกแต่งบนภาชนะ
รองเช่นพาน โตก วางเรียงเป็นช้นั ๆ ขึ้นไป จานวนช้ันขนึ้ อยู่กับโอกาสการใชง้ าน

ภาพที่ ๑.๑ บายศรีปากชาม

การประดิษฐพ์ านบายศรีสขู่ วัญ------------------------ ๕

๑.๑.๒ ความสาคัญของบายศรี
บายศรีมีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของชาวไทยต้ังแต่เกิด บายศรีถือเป็นของสูงอันทรงคุณค่า จึงมี
คณุ คา่ และมคี วามสาคัญในด้านต่าง ๆ ในการบอกเล่าความสาคัญของบายศรีหรือการใช้บายศรีที่มี
ความผกู พันกับวิถีชีวิตของประชาชนชาวไทย จะเห็นได้จากภาพวาดในสถานท่ีต่าง ๆ ตัวอย่างภาพจาก
โบสถ์วัดพระใส อาเภอเมือง จังหวัดหนองคาย ได้บอกเล่าเร่ืองราววัฒนธรรมประเพณีต่าง ๆ และ
จะเหน็ ว่ามีการใชบ้ ายศรีในพธิ ีกรรมเหล่านั้นดว้ ย ดังปรากฏในภาพด้านล่างน้ี

ภาพที่ ๑.๒ เหลา่ เทวดา นางฟา้ และ อสรู เข้าเฝ้าพระอนิ ทร์พรอ้ มพานบายศรแี บบตา่ ง ๆ

ภาพที่ ๑.๓ การถวายพานบายศรใี นพิธีงานบุญของวดั

ภาพที่ ๑.๔ ผเู้ ฒ่าผ้แู ก่และภาพสาว ๆ ชว่ ยกนั จัดทาพานบายศรสี าหรบั ใช้ในพิธตี า่ ง ๆ

ภาพท่ี ๑.๕ พิธีบายศรีส่ขู วญั กนิ ดอง (แตง่ งาน) ของชาวบ้านพน้ื ถนิ่ อีสาน

การประดิษฐพ์ านบายศรสี ูข่ วัญ------------------------ ๖

จากภาพเลา่ เรื่องราวเก่ียวกับการใช้บายศรีในพิธีกรรมต่าง ๆ จะเห็นได้ว่าบายศรีมีความสาคัญ
ในด้านต่าง ๆ ดงั นี้

๑) ดา้ นประเพณแี ละพธิ ีกรรม
งานพิธีท่ีนิยมจดั ทาบายศรีขึน้ บชู า ได้แก่
 ในงานพระราชพิธีต่าง ๆ เช่น การบวงสรวงเทพ เทวดา และดวงพระวิญญาณของ
บุรพมหากษัตริย์ การเปลย่ี นเครื่องทรงของพระแก้วมรกต พระราชพธิ สี มโภชต่าง ๆ
 การทาขวัญต่าง ๆ เช่น ขวัญเดือน การตัดจุก โกนจุก การบวช การแต่งงาน
การรบั ขวัญ สง่ ขวัญ การทาขวัญเรือน การทาขวัญชา้ ง การทาขวญั นา การทาขวญั ขา้ ว ฯลฯ
 การสงั เวยพระภมู ิเจา้ ท่ี
 การยกเสาเอก
 การไหว้ครตู า่ ง ๆ เช่น ครลู ะคร ครดู นตรี ครูฟ้อนรา ฯลฯ
 การบวงสรวงสังเวยเทวดาอารักษใ์ นกรณีตา่ ง ๆ เช่น การแกบ้ น
 การฉลองพระพุทธรปู
 การสมโภชกรุง

ภาพท่ี ๑.๖ การใชบ้ ายศรีในพิธยี กเสาเอก (ภาพประกอบจากเว็บไซต)์
๒) ด้านจติ ใจ
การประดิษฐ์บายศรี จะทาให้ผปู้ ระดิษฐ์เป็นผู้ที่มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดทน มีสมาธิ
และความริเริม่ สร้างสรรค์ เนื่องจากกระบวนการของการประดิษฐ์นั้นต้องอาศัยเวลา และความอดทน
ความประณีต จงึ จะทาให้ผลงานออกมาสวยงาม และส่งผลใหเ้ กดิ ความภาคภูมใิ จในผลงานนัน้

ภาพที่ ๑.๗ เด็ก ๆ ท่ีประดิษฐ์บายศรีมีสมาธิและภาคภูมิใจกับผลงาน

การประดษิ ฐพ์ านบายศรีส่ขู วัญ------------------------ ๗

๓) ด้านการสบื สานและการอนรุ ักษ์
ปัจจุบันเยาวชน คนรุ่นใหม่ มีความความรู้และสนใจเรื่องของการประดิษฐ์งานบายศรี
น้อยลง ดังน้ันในการสนับสนุนส่งเสริมการประดิษฐ์บายศรีเพื่อใช้ในพิธีต่าง ๆ หรือการถ่ายทอด
การประดิษฐ์บายศรีด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การบอกเล่า การฝึกอบรม การเผยแพร่ในรูปแบบหนังสือ
ตารา จงึ เป็นสิง่ ซ่ึงจะทาให้เกิดการสบื สานและการอนรุ กั ษ์ศิลปวัฒนธรรมแขนงนีส้ ืบไปได้

ภาพท่ี ๑.๘ การถา่ ยทอดความรู้ใหก้ บั เด็กนกั เรยี น
๔) ด้านการพฒั นาอาชีพ
ดา้ นการพัฒนาอาชพี การประดิษฐ์บายศรี ผปู้ ระดิษฐเ์ มือ่ ได้ฝึกฝนจนชานาญแล้ว สามารถ
ท่ีจะใช้ความรู้ความสามารถในการประกอบอาชีพหลักหรืออาชีพเสริม สร้างงานสร้างรายได้ให้กับ
ครอบครวั และชุมชน

ภาพท่ี ๑.๙ การประกอบอาชพี ประดิษฐ์พานบายศรสี รา้ งรายได้

(ภาพประกอบจากเว็บไซต์ http://www.thaibaisri.com/portal.php)

การประดษิ ฐพ์ านบายศรีส่ขู วัญ------------------------ ๘

เรอื่ งที่ ๑.๒ ประเภทและรปู แบบของบายศรี

๑.๒.๑ ประเภทของบายศรี
บายศรี แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท คอื

๑) บายศรีหลวง
บายศรีหลวง ใชส้ าหรับพระมหากษตั ริยม์ ี ๓ แบบ คอื
๑.๑) บายศรีสารับเล็ก มีบายศรีแก้ว มีลักษณะเป็นพานแก้ว ๓ ชั้น กับบายศรีทอง
มีลักษณะคล้ายพานทอง ๓ ชั้น และบายศรีเงิน มีลักษณะเป็นพานเงินซ้อนกัน ๓ ช้ัน เป็นขนาดเล็ก
ต้งั บายศรแี ก้วไว้กลาง บายศรที องอยู่ข้างขวา บายศรีเงินอยู่ข้างซ้ายของเจ้าของขวัญ สาหรับทาขวัญใน
งานเล็กนอ้ ย
๑.๒) บายศรีสารับใหญ่ มีลักษณะเหมือนบายศรีสารับเล็ก แต่ขนาดใหญ่ มีชุดละ ๕ ชั้น
ใชส้ มโภชในการอยา่ งใหญ่
๑.๓) บายศรีตองรองทองขาว เปน็ บายศรีใหญ่ ทาดว้ ยใบตอง ต้งั บนพานทองขาว
๒) บายศรีราษฎร
บายศรีราษฎร เป็นบายศรีสาหรับประชาชนทั่วไป แบ่งออกได้ตามขนาดของบายศรี
๓ ขนาด คอื
๒.๑) บายศรีปากชาม ทาด้วยใบตอง มีตัวบายศรี ๓ ตัว กรวยข้าว และแมงดา ๓ ตัว
ประกอบลงในชาม
๒.๒) บายศรีใหญ่ ทาด้วยใบตอง จัดวางในภาชนะ พานหรือโตก มีจานวนชั้นของพาน
ต้งั แต่ ๑ ๓ และ ๕ ชน้ั ตามแต่งานพธิ ี
๒.๓) บายศรตี ้น ทาด้วยใบตอง ใช้ตน้ กล้วยเปน็ แกน ประกอบข้นึ เป็นช้ันเรียวสูงในลักษณะ
สามเหลี่ยม บนยอดมีกรวยหรือพุ่ม ในปัจจุบันใช้ไม้หรือเหล็กทาเป็นโครงแกนไว้ จานวนช้ันท่ีนิยมทา
บายศรีต้น ๓ ชั้น ๕ ช้นั ๗ ช้ัน และ ๙ ชนั้ ตามแตง่ านพธิ ี

๑.๒.๒ รูปแบบของบายศรี
บายศรีมีหลายรูปแบบ มีวิธีการประดิษฐ์ที่แตกต่างกันออกไปถึงแม้จะเรียกช่ือเดียวกัน ก็ยังมี
ความแตกตา่ ง ในเร่ืองของรปู แบบ รูปทรง จานวนชน้ั ของบายศรี บายศรีบางอย่างมีรูปทรงหรือ รูปแบบ
การจัดวางที่เหมือนกันทุกประการบางทีก็เรียกช่ือไม่เหมือนกัน แม้กระทั้งวัตถุประสงค์ การนาไปใช้ก็
แตกต่างกันออกไปตามความเชื่อของท้องถ่ินนั้น ๆ ด้วย เน่ืองจากบายศรีมีรูปแบบที่หลากหลาย ขึ้นอยู่
กับแต่ละทอ้ งถิน่ จะประดษิ ฐค์ ดิ ค้น เพอ่ื ประโยชน์การใช้งานที่แตกต่างกันออกไป จึงขอยกบายศรีท่ีนิยม
ประดิษฐ์และนิยมใช้ในพิธีหรืองานต่าง ๆ ที่พบเห็นมากและเป็นรูปแบบ รูปทรง ที่คล้ายคลึงกันท้ัง
จานวนชนั้ ของบายศรี การจัดวางลงภาชนะ ประโยชน์การใชง้ าน มานาเสนอดงั น้ี
๑) บายศรปี ากชาม
๒) บายศรีเทพ
๓) บายศรีพรหม
๔) บายศรีสขู่ วญั
๕) บายศรีต้น

การประดิษฐ์พานบายศรสี ูข่ วัญ------------------------ ๙

๑) บายศรีปากชาม
บายศรีปากชามจัดเป็นแม่แบบของบายศรีแบบอื่น ๆ ตัวบายศรีใช้ใบตองตานีเย็บพับ

จับจีบ กลางชามบายศรีทาเป็นกรวย ภายในกรวยใส่ข้าวตอกดอกไม้ ยอดกรวยประดับด้วย
ไข่ต้ม รอบบายศรี ประดับดอกไม้มงคล บายศรีจัดตั้งอยู่บนปากชาม ถ้าประดับตกแต่งมาก จนวิจิตร
อาจเรียกวา่ บายศรปี ากชามทรงเครอื่ ง

บายศรีปากชาม เป็นบายศรี ขนาดเล็ก ใช้ชามขนาดย่อมๆ ใบงาม ๆ เช่น ชามเบญจรงค์
ถ้าหาชามท่ีสวยไม่ได้ก็ใช้ต้นกล้วยตัดเป็นท่อนแทนชาม เม่ือเสร็จพิธีก็นาไปจาเริญ หรือท้ิง ไปเลย
ปจั จุบนั นยิ มจดั ใสพ่ านเงนิ พานทอง

บายศรีปากชามนี้มีตงั้ แต่ ๓ ช้นั ๕ ช้นั ๗ ชน้ั และ ๙ ช้ัน (จานวนเกรด็ ,น้ิว,กาบ) ตามแต่
ขนาดของภาชนะและขนาดของพิธีตามฐานะของครอบครัว หรือขนาดของโรงพิธี ซึ่งเป็นงานของ
หมู่คณะ เชน่ พธิ บี วงสรวง สงั เวย บูชาครู เทพยดา อารักษ์ท่วั ไป

ไขต่ ้ม

กรวยข้าว

ตัวบายศรี แมงดา

ชาม

ภาพที่ ๑.๑๐ ลกั ษณะและส่วนประกอบของบายศรปี ากชาม

๑.๑) ประโยชนข์ องพานบายศรีปากชาม
บายศรีปากชาม ใช้ในการไหว้ครูของนักเรียนนักศึกษา ใช้ในงานบวงสรวง สังเวย บูชาเทวา
อารักษ์ ใช้ในพิธีไหว้ครูของศิลปินและช่างทุกสาขา พิธีการรับขวัญ พิธีฉลองต่าง ๆ พิธีไหว้ครูดนตรี
โขน ละคร ขับร้อง ฟอ้ นรา ในการทาพิธีบูชาครปู ระจาปี หรอื การบูชา ก่อนจะมีการแสดงคร้ังสาคัญน้ัน
ต้องมีการตั้งเคร่ือง สังเวย บายศรี อัญเชิญบรรดาครูท้ังหลายมาอวยชัยให้พร เริ่มจากปฐมบรมครูคือ
สมเด็จพระบรมศาสดา มารดาบิดา คู่สวดอุปัชฌาย์ ครูอาจารย์ท่ีให้สรรพวิชาหาเลี้ยงจนทุกวันน้ี
ท้าวมหาพรหม บรมมหา เทวราช ผู้สร้างมนุษย์โลก พระอิศวรจอมเทวาวรฤทธิ์ผู้ครองสกลพิภพ
พระนารายณ์ พระอินทร์ พระขันธกุมาร พระพิฆเนศ พระปัญจะสังขร พ่อแก่ พระพิราพ
พระวิศณุกรรม ฯลฯ โดยปกติต้องมีบายศรีปากชาม ๗-๙ ชั้น ๓ คู่ จัดวางเป็นคู่ ๆ ที่ตั้งเครื่องสังเวย
๓ สารบั จะลดจานวนหรอื จัดทาบายศรีใหญ่ก็ข้ึนอยกู่ บั โรงพธิ ี
ดอกไม้ท่ีใช้ประดับตกแต่ง บายศรีปากชาม ใช้ดอกไม้ท่ีมีสีสันงดงามและมีความเช่ือว่าเป็น
สริ ิมงคล เชน่ ดอกบวั ดอกดาวเรือง ดอกบานไม่ร้โู รย

การประดิษฐพ์ านบายศรสี ู่ขวัญ------------------------ ๑๐

ภาพที่ ๑.๑๑ ดอกไมม้ งคลทใ่ี ช้ในการจัดทาพานบายศรี

๑.๒) ความหมายของชน้ั บายศรี
ความหมายของช้ันบายศรีมิได้มีการกาหนดไว้ตายตัว หากแต่เป็นเพียง ผู้ท่ีประดิษฐ์บายศรีมี

ความเช่ือศรัทธาต่อส่ิงใดแล้ว ก็มักจะน้อมนาคาสอนหรือความเชื่อต่าง ๆ มาประดิษฐ์บายศรีเป็น
ช้ัน ๆ และแปลความหมายตามนยั ท่ีตนประสงคต์ ่อสงิ่ ศรัทธาน้นั ๆ ตวั อย่างเชน่

๓ ช้ัน เพื่อระลึกถึง พระรัตนตรัยมีองค์ ๓ ในศาสนาพุธ ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม และ
พระสงฆ์ หรือเทพเจ้า ๓ พระองค์ ในศาสนาฮนิ ดู ได้แก่ พระศวิ ะ พระนารายณ์ และพระพรหม

๕ ช้ัน เพื่อระลึกถึง ขันธ์ท้ัง ๕ หรือ ท่ีทางพระพุทธศาสนาเรียกว่าเบญจขันธ์ ได้แก่ รูป เวทนา
สัญญา สงั ขาร และวิญญาณ

๗ ช้ัน เพื่อระลึกถึง โพชฌงค์ ๗ ซ่ึงเป็นธรรมท่ีเป็นองค์แห่งการตรัสรู้ ได้แก่ สติ ธัมมวิจยะ
วิริยะ ปตี ิ ปสั สัทธิ สมาธิ และอเุ บกขา (พจนานุกรมพธุ ศาสตร์ : ๒๓๙)

๙ ช้ัน เช่ือเป็นมงคลสูงสุดในการดาเนินชีวิตจะได้ก้าวหน้ารุ่งเรือง ไม่ว่าจะทาการ
ใด ๆ มักนยิ มเลข ๙ มากกว่า เลขอ่ืน เพอ่ื ระลึกถงึ พทุ ธคณุ ๙ หรือคุณของพระพทุ ธเจ้า ๙ ประการ หรือ
นวารหาทิคุณ ได้แก่ ๑. อรหัง เป็นผู้ บริสุทธ ไ์ิ กล จากกิเลส เป็นผู้ควรแนะนาสั่งสอนผู้อื่น ควรได้รับ
ความเคารพบูชา ๒. สัมมาสัมพุทโธ เป็นผู้ตรัสรู้ชอบเอง ๓. วิชชา จรณสัมปันโน เป็นผู้พร้อมด้วยวิชชา
คือความรู้ และจรณะคือความประพฤติ ๔. สุคโต เป็นผู้เสด็จไปดีแล้ว ๕. โลกวิทู เป็นผู้รู้แจ้งโลก
๖. อนตุ ตโร ปรุ ิสทมั มสารถิ เปน็ ผฝู้ ึกคนไดด้ เี ยย่ี มไม่มผี ู้ใดเทียมเท่า ๗. สัตถา เทวมนุสสานัง เป็นศาสดา
ของเทวดาและมนษุ ยท์ ั้งหลาย ๘. พธุ โธ เป็นผตู้ ืน่ และเบิกบานแลว้ คือ ทรงตนื่ เองจากความเช่ือถือ และ
ข้อปฏิบัติท่ีถือกันมาผิด ๆ ด้วย ทรงปลุกผู้อื่นให้พ้นจากความหลงงมงายด้วยฯ ๙.ภคว ทรงเป็นผู้มีโชค
คอื จะทรงทาการใด ก็ลุล่วง ปลอดภยั ทุกประการ (พจนานกุ รมพทุ ธศาสตร์:๒๖๒-๒๖๓)

ส่วนในบายศรีแบบอ่ืน ๆ ที่ประดิษฐ์ อาจมีมากกว่า ๙ ชั้น แล้วแต่รูปแบบของบายศรีและมี
ความหมายที่แตกต่างกนั ออกไป

๒) บายศรีเทพ
บายศรีเทพท่ีนิยมประดิษฐ์ส่วนมากจะมีรูปแบบคือ ประกอบด้วยตัวบายศรี ๙ ชั้น ทั้งหมด
๘ ตัว ตัวบายศรีใช้ใบตองตานีเย็บพับจับจีบ กลางพานบายศรีทาเป็นกรวย ภายในบรรจุข้าวตอก
ดอกไม้ กล้วยน้าว้า รอบพานบายศรี ประดับด้วยดอกไม้มงคล ห้อยอุบะดอกรัก ประดับยอดกรวยด้วย
ดอกดาวเรอื ง หรือดอกบัว บายศรเี ทพใช้การบูชาเทพยดาเจ้าทั้งหลาย ใช้บูชาเป็นคู่ บางตาราอาจใช้ตัว
บายศรี ๙ ชั้น จานวน ๔ ตัว และใช้ ๗ ช้ัน อีก ๔ ตัวส่วนการเรียกบายศรีเทพท่ีแตกต่างออกไปนั้น
บางคนอาจคดิ ว่าบายศรีเทพ และบายศรีพรหม เป็นพานเดยี วกันจึงเรียกวา่ บายศรี พรหม - เทพ
การประดับตกแต่งบายศรีเทพ มักตกแต่งด้วยดอกไม้มงคล เช่น ดอกดาวเรือง ดอกรัก
ดอกกุหลาบ กรวยตกแต่งด้วยมาลัยชาร่วย ปักด้วยดอกบัวหรือดอกดาวเรือง ส่วนมุมทั้ง ๔ ของปาก
พานตกแต่งด้วยอุบะปดิ ทับด้วยดอกบวั หรือดอกดาวเรอื ง แล้วแต่ความต้องการและความสวยงาม

การประดิษฐ์พานบายศรสี ู่ขวัญ------------------------ ๑๑

ภาพท่ี ๑.๑๒ บายศรเี ทพแบบตา่ ง ๆ ซา้ ยประดิษฐ์จากใบตอง ขวาประดิษฐจ์ ากผา้
๓) บายศรพี รหม
บายศรีพรหมเป็นบายศรีท่ีจัดลงในพานทอง ใช้ในงานพิธีใหญ่ ๆ นิยมใช้เป็นคู่ เช่นเดียวกับ
บายศรปี ากชาม บายศรีพรหมประกอบด้วยบายศรี ๙ ชั้น ๔ ตวั และบายศรี ๑๖ ชัน้ ๔ ตวั

๑๖ ชนั้

๙ ช้ัน

ภาพที่ ๑.๑๓ ส่วนประกอบของบายศรีพรหม
บายศรพี รหมใช้ในการทาพธิ บี ชู าเทพยดาเจา้ ในเทวโลกและพระพรหม ตลอดจนรูปพรหมทุก ๆ
องค์ในช้ันพรหมโลก บายศรีพรหมยังจัดแบ่งเป็นบายศรีมหาพรหม บายศรีกบิลพรหม บายศรีพรหมส่ี
หน้า และอีกมาก แต่โดยทั่วไปจะนิยมใช้องค์บายศรี ๙ ชั้น ๔ ตัวและบายศรี ๑๖ ชั้น ๔ ตัว
บางท้องถ่ินจะเพิม่ บายศรี ๑๕ ช้ันอีก ๔ ตัว โดยให้ความหมายเพ่ิมข้ึนว่าบูชาเทวดาทั้ง ๑๖ ช้ันฟ้า และ
๑๕ ชั้นดิน ผู้ท่ีจะยกบายศรีพรมไหว้เทพยดาหรือ องค์พรหม ส่ิงที่ขาดไม่ได้คือต้องใส่ปัจจัยลงไปใน
พานบายศรีด้วย จะเป็นจานวนเท่าไรก็ได้ไม่ได้กาหนด เมื่อเสร็จสิ้นพิธีมักจะเก็บบูชาไว้
๓ - ๗ วัน จึงลาบายศรี แล้วนาไปลอยน้าฝากแม่พระคงคาเพ่ือความร่มเย็นเป็นสุข ปัจจัยก็จะนาไป
ทาบญุ หรอื ซือ้ ของใส่บาตร

การประดษิ ฐ์พานบายศรสี ขู่ วัญ------------------------ ๑๒

การตกแต่งพานบายศรีพรหมขั้นตอนท้ายสุดตกแต่งด้วยดอกไม้สิริมงคล เช่น ดอกดาวเรือง
ดอกกหุ ลาบ การตกแต่งส่วนกรวยประกอบตรงกลางบายศรีใช้ดอกบัว ดอกดาวเรือง หรืออาจเป็นมาลัย
ชาร่วยคลอ้ งยอดกรวย ตกแตง่ ใหส้ วยงามและตรงกับความต้องการ

๔) บายศรีสู่ขวัญ
บายศรีสู่ขวัญ เป็นบายศรีขนาดใหญ่จัดวางใส่ภาชนะวางซ้อนทับกันเป็นช้ัน ๆ ข้ึนไป ใช้ในพิธี
สู่ขวัญให้กับคน สิ่งของ ธรรมชาติ แล้วแต่ความเชื่อของท้องถิ่นน้ัน ๆ ส่วนใหญ่แล้วจะมีรูปแบบ
ทค่ี ล้ายคลงึ กัน
๔.๑) บายศรใี นภูมิภาค
- บายศรีสู่ขวัญบางกอก เป็นบายศรีขนาดใหญ่ จัดประดิษฐ์ในภาชนะรูปพานซ้อนกัน ๕ ชั้น
ใช้ในพิธีสู่ขวัญ สมโภชของชาวภาคกลาง ประกอบด้วยตัวบายศรีชั้นละ ๕ ตัว แต่ละช้ันลดหลั่นกันมี
พมุ่ กรวยยอดบายศรี ตกแต่งดว้ ยดอกดาวเรือง บางทีเรยี กวา่ บายศรดี าวเรือง
- บายศรีสู่ขวัญภาคอิสาน หรือเรียกตามภาษาท้องถ่ินว่า พาขวัญ เป็นบายศรีขนาดใหญ่
จัดประดิษฐ์ใส่ในภาชนะขนาดใหญ่ เช่น โตกโดยซ้อนเรียงกัน ๓ ชั้น ใช้ใน พิธีสู่ขวัญของชาวอีสาน
ประกอบด้วยตัวบายศรีวางสบั -หวา่ งกนั ในภาชนะแตล่ ะช้ันประดิษฐ์ในหลายรูปแบบแตกตามตามโอกาส
การใช้งาน ประดับตกแต่งด้วยดอกไมม้ งคล เชน่ ดอกรกั ดาวเรือง กหุ ลาบ พดุ ฯลฯ

ภาพที่ ๑.๑๔ บายศรีบางกอก ภาพท่ี ๑.๑๕ บายศรสี ่ขู วญั อิสาน

- บายศรีสู่ขวัญกาแพงเพชร บายศรีขนาดใหญ่ จัดประดิษฐ์ในภาชนะเคร่ืองปั้นดินเผา ใช้ในพิธี
สูข่ วัญ สมโภช และบชู าพระบรมธาตุ ประกอบดว้ ยตัวบายศรี และกาแพงแกว้ ทกุ ช้ันประดับด้วย ดอกไม้
ใบไม้มงคล

- บายศรีสู่ขวัญภาคเหนือ บายศรีช้ันเดียวขนาดใหญ่ จัดประดิษฐ์ในขันน้าพานรอง ใช้ในพิธี
สขู่ วญั ของชาวภาคเหนือ ประกอบดว้ ยตัวบายศรี ๖ ตวั และดอกไมใ้ บไม้มงคลสสี นั สดใส

การประดษิ ฐพ์ านบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๑๓

ภาพที่ ๑.๑๖ บายศรีสู่ขวญั กาแพงเพชร ภาพท่ี ๑.๑๗ บายศรีส่ขู วญั ภาคเหนอื

๔.๒) โอกาสการใช้บายศรสี ่ขู วญั
ช่วงเวลา พธิ ีบายศรี-สูข่ วัญ สามารถทากันได้ทุกเวลาไม่มีข้อกาหนดหรือข้อยกเว้น หรือข้อห้าม
ไม่ให้ปฏิบัติจัดทา การบายศรี-สู่ขวัญ เป็นกิจกรรมท่ีจัดขึ้นเพ่ือความเป็นสิริมงคล นิยมจัดทากันใน
โอกาสอันเป็นมงคลต่าง ๆ เช่น ขึ้นบ้านใหม่ บวชนาค แต่งงาน เล่ือนยศ เล่ือนตาแหน่ง พระภิกษุเล่ือน
สมณศักดิ์ หรือผู้ใหญ่ท่ีเคารพนับถือมาสู่ท้องท่ี จะต้องเดินทางไกลย้ายที่อยู่ เป็นพิธีมงคลท่ีนิยมทากัน
มากทง้ั ในงานเลก็ นอ้ ยภายในครอบครัว หรอื จดั เปน็ พิธีใหญโ่ ต ตามฐานะ
พิธีสู่ขวัญ หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า บายศรี จัดทากันดังน้ี ผู้เฒ่าผู้แก่จะช่วยกันจัดทาพาขวัญ
(พานบายศรี) นิยมใช้ใบตองจบั จบี ตามแบบโบราณจัดใสพ่ าน จะเป็นพานขวัญธรรมดา ๓ ช้ัน ๕ ช้ัน ชั้น
ล่างมีบายศรีดอกไม้ ข้าวต้ม ขนม กล้วย ช้ันท่ี ๒ ช้ันท่ี ๓ และ ชั้นที่ ๔ มีบายศรีดอกไม้ ชั้น ๕
มีบายศรีดอกไม้ ฝ้ายผูกแขน เทียนเวียนหัว ส่วนพานบายศรี ๗ ช้ัน จัดพานรอง ๓ ชั้น บายศรี ๔ ชั้น
แล้วจัดพานอีกใบหน่งึ สาหรับใส่ผ้าผืนแพรวา แว่น หวี น้าอบ น้าหอม สร้อย แหวน ส่วนประกอบอ่ืน ๆ
เพ่ิมเติม ได้แก่ หมาก พลู บุหรี่ อาหาร ข้าวต้ม ขนมหวาน ไก่ต้ม สุรา จัดวางประกอบไว้อย่างสวยงาม
พรอ้ มด้วยเส้อื ผา้ เครื่องแต่งตวั ของผเู้ ปน็ เจา้ ของขวญั
พธิ จี ะเร่มิ ดว้ ยการแห่พานบายศรีเป็นขบวนฟ้อนนาพานบายศรีออกมาตั้งบนตั่งที่ปูผ้าขาวรองไว้
จากน้ันหมอสูตรขวัญ (พราหมณ์) จะเป็นผู้สวดชุมนุมเทวดา จุดเทียนเวียนหัว จุดธูปกราบพระพุทธรูป
และพระสงฆ์ ผู้ร่วมวงสู่ขวัญเอามือขวาจับด้ายสายสิญจน์ เจ้าของขวัญจับพาขวัญ ผู้สวดป่าวประกาศ
เชิญขวญั อวยพร แลว้ ผกู ข้อมือเปน็ อนั เสร็จพิธี
การบายศรีสู่ขวัญทาข้ึนเพ่ือเรียกขวัญให้กลับมาอยู่กับตัว อวยพรให้อยู่เย็นเป็นสุข อายุมั่น
ขวัญยืน เจริญก้าวหน้า ประสบโชคชัย ปลอบประโลมจิตใจให้เข้มแข็งมั่นคงปราศจากความหวาดกลัว
เดนิ ทางก็ให้ปลอดภยั

การประดษิ ฐ์พานบายศรสี ู่ขวัญ------------------------ ๑๔

ภาพที่ ๑.๑๙ บายศรีแบบต่าง ๆ ท่ีใช้ในพิธีมงคล ภาพท่ี ๑.๒๐ บายศรีพญานาคใชใ้ นพิธบี วช
นาค

ภาพท่ี ๑.๒๑ บายศรที ่ใี ชใ้ นพิธีแตง่ งาน

การประดษิ ฐพ์ านบายศรีส่ขู วัญ------------------------ ๑๕

๕) บายศรีตน้
บายศรีตน้ บายศรีต้งั หรือบายศรีช้ัน ใช้ต้นกล้วยเป็นแกนต่อมามีการคิดทาแกนให้ถาวรและมั่นคง
ยิ่งข้ึนจึงใช้ไม้ เนื้อแข็งเกลากลึง เป็นต้นมี ๓-๕-๗ และ ๙ ช้ัน บายศรีต้นในแต่ละภาคมีการประดิษฐ์ใน
รูปแบบท่ีแตกต่างกันออกไป บายศรีต้นถือเป็นบายศรีขนาดใหญ่จัดทายากต้องใช้ความพยายามและความ
อดทนในการทา บายศรีต้นจะประดิษฐ์ตัวบายศรีในหลายรูปแบบ เช่น พับเป็นกลีบบัวสัตตบงกช กลีบผกา
กลีบหน้านาค กลีบหน้าช้าง กรวย ฯลฯ จัดวางลงในฐานรอง มีขนาดลดหล่ันกันไป บายศรีต้นจะมีรูปแบบ
เปน็ ทรงตน้ สน ทรงฉตั ร และทรงตรง
โอกาสการใช้บายศรีต้น โอกาสในการใช้บายศรีต้นจะใช้สาหรับผู้ที่มีศักดินาสูง ใช้ในพิธี
สขู่ วัญโดย ครูบาอาจารย์ไดก้ าหนดไว้ ดังน้ี
๕.๑) บายศรีตน้ ๓ ชัน้ ใช้เปน็ เครื่องสมโภช สังเวยในพิธมี งคลต่าง ๆ หรือใช้ในพิธีสมรสของชั้น
หลานเจ้านายฝ่ายเหนอื
๕.๒) บายศรตี น้ ๕ ชนั้ ใช้ในพิธีตา่ ง ๆ สาหรบั เจ้านายท่ที รงกรมหรือเสนาบดี บายศรีต้นนี้เป็น
บายศรีที่เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า บายศรีตองรองทองขาว ซ่ึงแต่ละชั้นของบายศรีจะบรรจุด้วยขนมหวาน
หรือดอกไม้ทีม่ ชี อื่ เป็นมงคล
๕.๓) บายศรีต้น ๗ ชั้นใช้สาหรับเจ้านายชั้นเจ้าฟ้า และพระราชอาคันตุกะชั้นประธานาธิบดี
เรียกอีกช่ือหน่ึงว่า บายศรีต้นกลบี หน้านาคแต่ละชน้ั จะประดับดว้ ยดอกบัวใชใ้ นพธิ ีสมโภชพระพุทธรูป
๕.๔) บายศรีต้น ๙ ช้ัน ใช้สาหรับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้า -
พระบรมราชนิ ีนาถ ในพธิ ีหรือพระราชพธิ ที ี่เป็นมงคลต่างๆ

ภาพที่ ๑.๒๒
บายศรตี น้ ๓ ชน้ั

ภาพที่ ๑.๒๓ ภาพที่ ๑.๒๔
บายศรีต้น ๕ ชัน้ บายศรตี ้น ๗ ช้นั

ภาพท่ี ๑.๒๕
บายศรตี ้น ๙ ช้ัน

การประดิษฐ์พานบายศรสี ขู่ วัญ------------------------ ๑๖

เร่ืองท่ี ๑.๓ สว่ นประกอบและการนับชนั้ ของบายศรี

๑.๓.๑ สว่ นประกอบของบายศรี
ในการทาบายศรีแต่ละตัวในแตล่ ะประเภท จะมสี ่วนประกอบท่คี ลา้ ยกัน ดงั น้ี
๑) ตัวแม่ หรือตัวยอด
๒) ตัวรอง ตัวลกู นมสาว นมแมว หรอื เกรด็ ตามแต่ละท้องถิ่นจะเรยี ก
๓) ผา้ นุ่ง ผ้าซ่นิ ผ้าหม่ ฯลฯ ตามแต่ละท้องถิ่นจะเรียก

ตัวแม่ หรอื ตวั ยอด

ตัวรอง ตัวลกู นมสาว นมแมว หรอื เกรด็

ผ้านงุ่

ภาพที่ ๑.๒๖ แสดงส่วนประกอบของตวั บายศรี
ตวั ลกู ตวั แม่

ผ้านุ่ง

ภาพที่ ๑.๒๗ แสดงสว่ นประกอบของตวั บายศรี
การประดิษฐพ์ านบายศรีสูข่ วัญ------------------------ ๑๗

๑.๓.๒ การนบั ช้นั ตวั บายศรี
การนับชั้นตัวบายศรี สามารถนับได้สองวิธี เพื่อให้ได้จานวนคี่ ๓-๕-๗-๙ ช้ัน ซึ่งถือว่าเป็นเลข
สวยและเป็นมงคล เมอ่ื รวมเป็นบายศรีแลว้ จะเรยี กว่า ตัว หรือ องค์ มีวิธนี ับดงั นี้

๑) วธิ ที ี่ ๑ นบั เฉพาะตัวรอง หรือนมสาว (ความเชื่อของท้องถ่ินภาคกลางหรือท้องถิ่นอ่ืนจะ
นิยมเลขคู่เปน็ มงคล)

๒) วธิ ีที่ ๒ นบั รวมกับตวั ยอด หรือตวั แม่ดว้ ย (ตามความเชื่อของชาวอีสานจะใช้เลขค่ี ตามคา
ทวี่ า่ “คีกอยู่ค่หู นี”)

๓ ชัน้ ๕ ช้นั

๗ ช้ัน การนบั ชน้ั บายศรี ๙ ชัน้

ภาพที่ ๑.๒๘ แสดงวิธกี ารนับชั้นของตวั บายศรี
เมื่อทาตัวบายศรีได้ตามความต้องการแล้ว จะต้องมีกรวยใหญ่สาหรับต้ังไว้เป็นหลักกลางพาน
เพื่อนาตัวบายศรีแต่ละตัวมาตรึงติดไว้ในเวลาประกอบพานบายศรี บายศรีไม่ว่าจะเป็นประเภทใดก็
ตามจะมีลักษณะการพับท่ีคล้ายคลึงกัน แตกต่างกันที่ขนาดและจานวนเท่าน้ัน หากได้ฝึกหัดทาให้
ถูกตอ้ ง และสวยงามกอ่ นก็สามารถทาบายศรีในแตล่ ะพานใหส้ วยงามได้

การประดิษฐ์พานบายศรีส่ขู วัญ------------------------ ๑๘

๑.๔ วัฒนธรรมประเพณีการบายศรีสู่ขวัญ

๑.๔.๑ ความสาคญั ของพิธีบายศรสี ู่ขวัญ
มนสั สขุ สาย (๒๕๒๖:๑๗) กล่าวว่า บายศรี เป็นประเพณีด้ังเดิม เก่าแก่ที่นิยมกระทาสืบเนื่อง
ติดต่อกันมาเป็นเวลานาน ถือว่าเมื่อจัดพิธีน้ีแล้วจะเป็นมงคลแก่ชีวิตเป็นสิริมงคล เป็นกาลังใจในการท่ี
จะประกอบคณุ งามความดตี ่อไป และมคี วามสขุ ความความเจริญในชีวิตต่อไป เดิมน้ันเป็นพิธีท่ีเจ้านาย
ผู้ใหญ่ทากัน จึงเรียกว่า “บาศรี” เพราะคาว่า “บา” ได้แก่เจ้าขุนมูลนาย เช่น เจ้านายมักเรียกว่า
บาคาน บาท้าว บาไทเท้า บาบ่าวเท้า เป็นต้น จะเห็นได้จากหนังสือการะเกดสินไชย แม้ในหนังสือ
เชตุพน ท่ีไปสืบศาสนาในกรุงสารัตถีก็เรียกขุนไทยว่า “บา” เหมือนศัพท์คาว่า “บาศรี” คือการทาสิริ
ให้กับชนผู้ดี หรือสิริแบบอย่างที่ทาให้กับผู้ดี คงไม่ใช้ “บายศรี” อย่างท่ีบางท่านเข้าใจ เพราะคาว่า
“บาย” ภาษาอีสานหมายถึง “จับ” อีสานคงไม่หมายถึง “จับศรี” เพราะฉะนั้น “บาศรี” จึงเป็นศัพท์
ดั้งเดิมเก่าแก่จริง ๆ ที่นิยมเรียกกันมาแต่โบราณกาล เพ่ือเป็นการรักษาประเพณีและศัพท์ดั้งเดิมไว้มิให้
คลาดเคลอื่ น จึงเรยี กว่า “บาศรสี ตู รขวญั ” ซึง่ เป็นคาแตโ่ บราณ
สาร สาระทัศนานันท์ (๒๕๒๗) ได้ให้ความสาคัญของพิธีบายศรีสู่ขวัญไว้ว่า พิธีบายศรีสู่ขวัญ
เป็นพิธีที่สาคัญของชาวอีสาน เป็นเร่ืองท่ีเกี่ยวกับขวัญและจิตใจ เพื่อให้เกิดขวัญและกาลังใจที่ดีข้ึน
การดาเนินชีวิตของชาวอีสานแทบทุกอย่าง จึงมีการบายศรีสู่ขวัญควบคู่กันไปเสมอ เป็นการเรียกร้อง
พลังทางจิต ช่วยให้มีพลังใจที่เข้มแข็ง สามารถฟันฝ่าภัยพิบัติต่าง ๆ ได้ การสู่ขวัญช่วยทาให้เกิดมงคล
ทาให้ดารงอยู่ด้วยความสุขราบร่ืน มีโชคลาภมากข้ึน และอาจดลปรารถนาให้ผู้ท่ีเคราะห์ร้ายพ้นจาก
สรรพเคราะหท์ ้ังปวง ดว้ ยมลู เหตแุ หง่ การสขู่ วญั นีเ่ อง
การประกอบพิธีบายศรีสู่ขวัญของชาวอีสาน เป็นเร่ืองที่เกี่ยวกับขวัญและจิตใจ ช่วยก่อให้เกิด
ขวัญและกาลังใจที่ดีขึ้น ซ่ึงชาวอีสานเห็นความสาคัญทางจิตใจเป็นอย่างมาก ดังนั้นวิถีการดาเนินชีวิต
แทบทุกอย่างจึงมักจะมีการสู่ขวัญควบคู่กันไปเสมอ การสู่ขวัญจะช่วยให้เกิดศิริมงคล ชีวิตอยู่ด้วยความ
ราบร่ืน จิตใจเข้มแข็ง โชคดียิ่งขึ้น ปัดเป่าส่ิงที่ไม่ดี หายจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง ท้ังพิธีบายศรีสู่ขวัญมี
หลายรูปแบบ แล้วแต่ว่าจะจัดพิธีสู่ขวัญในเร่ืองใด เช่น การสู่ขวัญเด็ก การสู่ขวัญนาค การสู่ขวัญบ่าว
สาว หรอื จะเปน็ การสู่ขวญั ในเหตทุ ่ีทาใหเ้ กิดการเสียขวญั จติ ใจไม่ดี เพ่ือเรียกให้ขวัญมาอยู่กับเน้ือกับตัว
สิง่ ไมด่ ีให้ผา่ นพน้ ไป มพี ลังใจทีด่ ี รวมทง้ั การสู่ขวัญสตั ว์ และสิ่งตา่ ง ๆ กอ็ าจทาได้ แตก่ ารปฏิบัตินอกจาก
จะมีเคร่ืองขวัญที่ใช้ในพิธีแล้ว พิธีการต่าง ๆ ก็จะแตกต่างกันไปเป็นปลีกย่อย แล้วแต่ลักษณะพิธี ซ่ึง
ประเพณบี ายศรีสขู่ วญั ในภาคอสี าน เปน็ ประเพณที ่ปี ระชาชนสว่ นมาก ยังนยิ มปฏิบัติกันอยู่ทั่วไป เพราะ
ถือว่าเป็นพิธีท่ีเป็นศิริมงคล เป็นการมอบความปรารถนาดีและดลบันดาลให้ ผู้รับการทาพิธีตลอดจน
ผเู้ กย่ี วขอ้ งมคี วามสุขความเจรญิ และจติ ใจสงบสขุ และส่งเสริมใหป้ ระชาชนมีความรักใคร่กันเป็นอย่างดี
นับเป็นวฒั นธรรมทดี่ ี ควรแกก่ ารอนุรกั ษ์ให้อยสู่ ืบไป
การบายศรีสู่ขวัญ เป็นวัฒนธรรมอันดีของชาวอีสานและชาวเหนือจัดข้ึนเพื่อเป็นการรับขวัญ
และเรียกขวัญของผู้ท่ีจากบ้านไปไกลด้วยเวลาอันยาวนาน หรือผู้ท่ีเพ่ิงหายป่วยไข้ ตลอดจนเป็นการ
แสดงความยนิ ดกี ับผูท้ ี่ไดร้ บั การเลื่อนตาแหน่งในทางราชการ และเป็นการต้อนรับอาคันตุกะผู้มาเยือน ซ่ึงใน
ท้องถ่ินอีสานน้ัน เม่ือมีการจัดงานอะไรก็ตาม ก็จะมีพิธีบายศรีสู่ขวัญควบคู่ไปด้วย การจัดพิธีบายศรี
สู่ขวญั กเ็ พอ่ื ตอ้ นรบั แขกนัน้ มักจะทากนั อยา่ งสวยงาม ใหญโ่ ต

การประดษิ ฐพ์ านบายศรสี ู่ขวัญ------------------------ ๑๙

๑.๔.๒ ประเภทของการสขู่ วัญ
การสู่ขวัญของชาวอีสานเป็นพิธีกรรมท่ีกระทาสืบต่อกันมานาน แบ่งเป็น ๓ ประเภท ตาม
ลักษณะและโอกาสทีใ่ ช้ ดังนค้ี อื
๑) การสู่ขวัญคน
๒) การสู่ขวัญสัตว์
๓) การสขู่ วญั ส่งิ ของ
๑) การสูข่ วัญคน
การสู่ขวัญคน เป็นเร่ืองเก่ียวกับขวัญหรือจิตใจ อันจะก่อให้เกิดขวัญหรือกาลังใจดีขึ้น วิถีการ
ดาเนินชีวิตของชาวอีสาน มักจะมีการสู่ขวัญควบคู่กันเสมอ เพ่ือเรียกร้องหรือระดม พลังทางจิตใจ
นอกจากนีเ้ น้ือหาในบทสูตรขวัญบางบทได้มีการสอดแทรกคติธรรมและแนวทาง ในการดาเนินชีวิตของ
คนกลุม่ ตา่ ง ๆ ของสงั คม การสู่ขวญั มหี ลายประเภท ดงั น้ี

๑.๑ การสู่ขวัญพระสงฆ์ เม่ือพระสงฆ์ได้สมณศักดิ์เป็นยาครู หรือซา ชาวบ้าน จะทา
การสู่ขวัญให้ หรือเวลาจะเอาพระพุทธรูปข้ึนประดิษฐานท่ีแท่นประทับภายในวัด จะทาการสู่ขวัญ
พระสงฆ์ท้ังวดั เป็นการสง่ เสรมิ ใหพ้ ระสงฆ์เปน็ ผู้สบื มรดกทางพทุ ธศาสนาตอ่ ไป

ภาพที่ ๑.๒๙ พิธีบายศรสี ู่ขวัญพระสงฆ์
๑.๒ การสู่ขวัญออกกรรม ผู้หญิงท่ีคลอดบุตรต้องอยู่ไฟ เมื่อออกไฟแล้วก็มีการสู่ขวัญ
ให้เพราะในขณะที่อยู่ไฟน้นั ได้รับความทกุ ข์ทรมานนานัปการ จึงจาเป็นต้องเอาอกเอาใจและให้กาลังใจ
การเอาอกเอาใจอย่างหนงึ่ คือ การสขู่ วญั
๑.๓ การสู่ขวัญเด็กน้อย เด็ก ๆ มักตกใจง่าย ถ้ามีใครหลอกหรือเห็นอะไรที่น่ากลัว ก็
จะตกใจมาก พ่อแม่เชื่อว่าเม่ือเด็กตกใจขวัญจะออกจากร่าง ส่งผลให้เด็กร้องไห้ไม่สบาย จึงจาเป็นต้อง
ทาพิธสี ขู่ วญั ให้

การประดิษฐ์พานบายศรีสูข่ วัญ------------------------ ๒๐

ภาพที่ ๑.๓๐ พิธีบายศรีสู่ขวัญเด็กนอ้ ย
๑.๔ การสู่ขวัญคนธรรมดา คนธรรมดานั้น เม่ือไปค้าขายได้ลาภ หรือได้เลื่อนยศ
ตาแหน่ง หรือเกษียณอายุราชการก็ทาการสู่ขวัญให้ บางทีฝันไม่ดี หรือเจ้านายมาเยี่ยมก็มีการสู่ขวัญ
เพือ่ ให้เกดิ สิรมิ งคล

ภาพที่ ๑.๓๑ พธิ ีบายศรีสู่ขวญั เกษยี ณอายุราชการ
๑.๕ การสูข่ วญั หลวง เวลาพ่อแม่หรือผู้เฒ่าผู้แก่เกิดมีอาการเจ็บป่วยชาวบ้านจะรักษา
ดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ แต่ถ้ายังไม่หาย ลูกหลานจะทาพิธีสู่ขวัญให้เป็นเวลา ๓ คืน เช่ือว่า โรคภัยไข้เจ็บหรือ
อาการป่วยจะหายได้ ส่ิงของท่ีใช้ในพิธีนี้ก็เหมือนสู่ขวัญธรรมดา แตกต่างตรงที่ต้องเพิ่มธูปเทียนให้
เท่ากับอายุของผูป้ ่วย ใหส้ วดเวลากลางคืนประมาณ ๓ - ๔ ท่มุ
๑.๖ การสู่ขวัญนาค เมื่อบุตรชายมีศรัทธา จะบวชเม่ือถึงวันบวชบิดา-มารดาจึงได้จัด
พธิ ีส่ขู วัญให้บุตรชายเพือ่ เป็นสริ ิมงคล

การประดิษฐ์พานบายศรีสู่ขวัญ------------------------ ๒๑

ภาพท่ี ๑.๓๒ พธิ ีบายศรสี ู่ขวญั นาค
๑.๗ การสู่ขวัญน้อยก่อนแต่งงาน (กินดอง) มักกระทาท่ีบ้านเจ้าบ่าวก่อนจะมีพิธี
แต่งงาน พ่อแม่เจ้าบ่าวและญาติของเจ้าบ่าวนิยมสู่ขวัญให้กับลูกของตนก่อน แล้วจึงนาพาขวัญไป
รวมกัน ทบี่ า้ นเจา้ สาว พาขวัญกอ่ นพิธแี ต่งงาน เรยี กพาขวญั น้อย
๑.๘ การสู่ขวัญบ่าวสาวเวลาแต่งงาน ก่อนที่หนุ่มสาวจะอยู่กินร่วมกันเป็นสามีภรรยา
จะต้องจัดให้มีพิธีแต่งงาน หรือชาวอีสานเรียกว่า "กินดอง" เพ่ือให้เกิดความเป็นสิริมงคลกับคู่บ่าวสาว
จงึ ต้องจัดให้มีการสู่ขวญั ขึน้ สว่ นใหญม่ กั กระทาท่ีบ้านเจา้ สาว

ภาพที่ ๑.๓๓ พธิ ีบายศรีส่ขู วัญบ่าวสาวแตง่ งาน
๑.๙ การสขู่ วญั คนปว่ ย คนเจ็บไข้นาน ๆ หรือชาวบ้านเรียกว่า "ป่วยปี" เช่ือว่ามีสาเหตุ
มาจากขวัญออกจากร่างกาย จึงเกิดอาการเจ็บป่วย เมื่อหายป่วยแล้วแต่ร่างกายยังไม่แข็งแรง ถือว่า
ขวญั หนเี นื้อหนคี ีง (ขวัญไมอ่ ยู่กบั เนื้อกบั ตวั ) จึงจาเป็นต้องสู่ขวัญให้เพื่อเรียกขวัญให้มาอยู่กับร่าง จะทา
ให้คนป่วยแขง็ แรง หายจากการเจบ็ ป่วย
๑.๑๐ การสู่ขวัญพา ถ้าผู้ใดเจ็บไข้ได้ป่วย กินไม่ได้นอนไม่หลับ และได้ทาการ
สขู่ วัญ คนป่วยใหแ้ ล้ว แต่โรคภยั ไขเ้ จบ็ ยงั ไม่หาย กจ็ ะทาการสู่ขวญั พาให้อีกคร้ังหน่งึ

การประดษิ ฐ์พานบายศรสี ู่ขวัญ------------------------ ๒๒

๒) การสู่ขวัญสัตว์
การสขู่ วญั สัตวเ์ ป็นการระลกึ ถึงบญุ คุณของสัตว์ ที่ช่วยมนุษยใ์ นการทามาหากินรวมไปถึงการขอ
ขมาท่ีได้ดา่ ว่า เฆี่ยนตี ในระหว่างการทางาน ท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่

๒.๑ การสู่ขวัญควายและงัว (วัว) ควายและวัวเป็นสัตว์ที่มีคุณแก่คนมากเพราะเป็น
แรงงานลากไถในการทานา ทาไร่ ชาวบ้านถือว่าคนได้กินข้าวเพราะสัตว์เหล่าน้ี ดังน้ันก่อนท่ีจะลงมือทา
นา ครั้งแรกหรือเลิกทานาแล้ว เจ้าของมักทาพิธีสู่ขวัญให้ เพื่อเป็นการราลึกถึงบุญคุณ และขอขมาที่ได้
ด่าวา่ เฆ่ียนตีระหวา่ งทางานร่วมกนั พาขวัญจดั ใหม้ ีนา้ อบ นา้ หอมและหญา้

ภาพท่ี ๑.๓๔ พธิ ีสู่ขวัญวัวควาย
๒.๒ การสู่ขวัญม้อน (ตัวหม่อน) ม้อนเป็นสัตว์ตัวอ่อนท่ีชักใยออกจากรังไหม ชาวบ้าน
สามารถนามาทาเป็นเครื่องนุ่งห่ม ม้อนเป็นสัตว์ท่ีมีคุณแก่คน เพราะไหมสามารถทาเป็นเครื่องนุ่งห่ม
เมื่อชาวบ้านลงมือเลี้ยงม้อน หรือหลังจากการชักใยม้อนเสร็จเป็นรังไหมแล้วจะจัดให้มีการสู่ขวัญขึ้น
เพอ่ื เปน็ สริ มิ งคลแกผ่ ู้เล้ยี งม้อนทาใหผ้ ู้เล้ยี งขายเสน้ ไหมได้เงนิ ทอง และเชอื่ ว่าการสู่ขวัญให้ม้อนจะ ส่งผล
ให้ม้อนมีหนงั หนาดงั เปอื กพ้าว (เหมือนเปลอื กมะพร้าว) พาขวัญมีขา้ วตม้ และใบม้อน
๓) การสู่ขวญั สิ่งของ
การสขู่ วัญส่ิงของเปน็ เรื่องเกี่ยวกับความเชือ่ ถือท่วี า่ ส่ิงของเคร่ืองใชต้ า่ ง ๆ เป็นส่ิงท่ี มีประโยชน์
ต่อชีวิตของมนุษย์ จึงจาเป็นต้องจัดให้มีการสู่ขวัญให้กับสิ่งของเหล่าน้ีเพื่อเป็นการสานึกในบุญคุณ
ชาวบ้านเชื่อว่าการสขู่ วญั ส่ิงของจะทาใหผ้ ู้เป็นเจ้าของมีความสขุ มีลาภ เปน็ สิรมิ งคลแก่เจ้าของต่อไป ซึ่ง
การสูข่ วัญสง่ิ ของแยกไดด้ งั น้ี
๓.๑ การสู่ขวัญเฮือน คือ การนาเอาพิธีและขั้นตอนการสร้างบ้านเรือนมาพูดท่ีใน
ประชุม เพ่ือให้คนท่ีมาในพิธีรู้จักสร้างบ้านให้เป็นสิริมงคล ถ้าบ้านเรือนทาไม่ถูกแบบก็จะนาแต่ความไม่
เปน็ มงคลมาให้

การประดษิ ฐพ์ านบายศรสี ู่ขวัญ------------------------ ๒๓

ภาพที่ ๑.๓๕ การสขู่ วญั เฮือน (สขู่ วัญขึน้ บา้ นใหม่)
๓.๒ การสูข่ วัญเกวียน เกวียนเปน็ พาหนะใช้สาหรับลากเข็น การสู่ขวัญเกวียนก็เพื่อให้
เปน็ สิริมงคลและมนั่ คง และสอนให้เจ้าของรู้จักใช้ใหเ้ ปน็ ประโยชน์
๓.๓ การสู่ขวัญข้าว มักทากันในเดือน ๓ ข้ึน ๓ ค่า ชาวบ้านเชื่อว่า "กินบ่บก จกบ่ลง"
(กินเท่าไหร่ ไม่รู้จักหมด) ชาวบ้านจะสู่ขวัญข้าวก่อนทาพิธีเปิดเล้า (ยุ้ง) ข้าวนามากิน จะทาการสู่ขวัญ
ก่อน เพ่ือเปน็ สริ ิมงคล จะทาใหส้ ามารถผลติ ขา้ วในปีตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ ไม่เกิดภาวะอดอยาก

ภาพท่ี ๑.๓๖ พิธบี ายศรสี ู่ขวญั ขา้ ว
ประเพณีการสขู่ วัญทท่ี าในปัจจบุ ันนี้ยังมอี ย่เู พยี งการสู่ขวัญบางประเภท เทา่ นั้น เช่น การสู่ขวัญ
นาค สู่ขวัญบ่าวสาว สู่ขวัญคนป่วย สู่ขวัญข้ึนบ้านใหม่ สู่ขวัญข้าว สู่ขวัญคนธรรมดา และสู่ขวัญควาย
และวัว ทั้งนี้อาจมีสาเหตุเน่ืองมาจากการเปล่ียนแปลงสภาพ ของสังคมในปัจจุบัน สัตว์และสิ่งของ
บางอยา่ งไดห้ มดความสาคัญในชีวติ ประจาวันของชาวอสี านไปแล้ว จึงค่อยๆ เลิกไปในทส่ี ดุ

การประดิษฐ์พานบายศรีสขู่ วัญ------------------------ ๒๔


Click to View FlipBook Version