The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นาย กษิดิศ ผูกจีน เลขที่ 2
นางสาว กัลยา สุพัฒน์ เลขที่ 20
นางสาว จิตรลดา พรรณพงษ์ศิลป์ เลขที่ 22
นางสาว ชลิตา เดชบุรัมย์ เลขที่ 25
นางสาว ทักษพร พลหาร เลขที่ 27
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jitlada3211, 2019-09-28 03:09:41

เรื่อง เซนเซอร์ตรวจจับความร้อนในบ้าน

นาย กษิดิศ ผูกจีน เลขที่ 2
นางสาว กัลยา สุพัฒน์ เลขที่ 20
นางสาว จิตรลดา พรรณพงษ์ศิลป์ เลขที่ 22
นางสาว ชลิตา เดชบุรัมย์ เลขที่ 25
นางสาว ทักษพร พลหาร เลขที่ 27
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2

Keywords: เซนเซอร์ตรวจจับความร้อนในบ้าน

โครงงานคอมพวิ เตอร์
เร่ือง เซนเซอร์ตรวจจับความร้อนในบ้าน

จดั ทาโดย

นาย กษดิ ิศ ผกู จีน เลขท่ี 2

นางสาว กลั ยา สุพฒั น์ เลขท่ี 20

นางสาว จิตรลดา พรรณพงษ์ศิลป์ เลขท่ี 22

นางสาว ชลติ า เดชบุรัมย์ เลขที่ 25

นางสาว ทักษพร พลหาร เลขที่ 27

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4/2

เสนอ

คุณครูชัชวาลย์ ฝ่ ายกระโทก

โครงงานนเี้ ป็ นส่วนหนงึ่ ของวิชา วิทยาการคานวณ ว31191
ภาคเรียนท่1ี ปี การศึกษา2562

โรงเรียนอทุ ยั วทิ ยาคม อ.เมือง จ.อทุ ยั ธานี



โครงงานคอมพวิ เตอร์
เร่ือง เซนเซอร์ตรวจจับความร้อนในบ้าน

จดั ทาโดย

นาย กษดิ ิศ ผกู จีน เลขท่ี 2

นางสาว กลั ยา สุพฒั น์ เลขท่ี 20

นางสาว จิตรลดา พรรณพงษ์ศิลป์ เลขท่ี 22

นางสาว ชลติ า เดชบุรัมย์ เลขที่ 25

นางสาว ทักษพร พลหาร เลขที่ 27

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 4/2

เสนอ

คุณครูชัชวาลย์ ฝ่ ายกระโทก

โครงงานนีเ้ ป็ นส่วนหนงึ่ ของวิชา วทิ ยาการคานวณ ว31191
ภาคเรียนท่1ี ปี การศึกษา2562

โรงเรียนอทุ ยั วทิ ยาคม อ.เมือง จ.อทุ ยั ธานี

โครงงานเรื่อง -ข-

เซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อนในบา้ น

ประเภทโครงงาน โครงงานพฒั นาส่ือการศึกษา

ระดบั ช้ัน มธั ยมศึกษาตอนปลาย

คณะผู้จัดทา 1. นายกษิดิศ ผกู จีน

2. นางสาวกลั ยา สุพฒั น์

3. นางสาวจิตรลดา พรรณพงศศ์ ิลป์

4. นางสาวชลิตา เดชบรุ ัมย์

5. นางสาวทกั ษพร พลหาร

โรงเรียน อุทยั วิทยาคม

ครูท่ีปรึกษา ครูชชั วาลย์ ฝ่ายกระโทก

บทคัดย่อ

โครงงานคอมพิวเตอร์ เซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อนในบา้ นจดั ทาข้ึนโดยมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อป้องกนั
ไม่ใหเ้ กิดอคั คภี ยั และเพ่ือลดอตั ราการเกิดอคั คีภยั ในปัจจุบนั เพราะในปัจจุบนั มีปัญหาเก่ียวกบั การเสียชีวิต
และการเกิดโรคตา่ ง ๆ ท่ีมาจากสาเหตุของอคั คภี ยั กลมุ่ ของขา้ พเจา้ จึงจดั ทาเซนเซอร์ตรวจสอบความร้อนใน
บา้ น โดยใชโ้ ปรแกรมKidbrightในการจดั ทา โดยถา้ บริเวณท่ีติดเซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อนภายในบา้ นน้นั
ดงั ในอณุ หภูมิที่เกิดเป็นอนั ตรายเซนเซอร์ก็จะดงั ข้ึน

การศึกษาสรุปผลได้ว่า

จากการดาเนินงาน เซนเซอร์ตรวจจบั อุณหภูมิสามารถทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและแม่นยาซ่ึง
สามารถนาไปใชไ้ ดใ้ นชีวิตประจาวนั

-ค-

กติ ติกรรมประกาศ

โครงงานฉบบั น้ีสาเร็จลุลว่ งไดด้ ว้ ยความกรุณาจากคณุ ครูชชั วาลยฝ์ ่ายกระโทก ผใู้ หค้ าปรึกษา
โครงงานที่ไดค้ าเสนอแนะ แนวคดิ ตลอดจนแกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ ง ๆ มาโดยตลอดจนโครงงานเล่มน้ีเสร็จ
สมบูรณ์ คณะผจู้ ดั ทาโครงงานจึงรวมท้งั เป็นกราบขอบพระคณุ เป็นอยา่ งสูง

ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่และผปู้ กครอง ท่ีใหค้ าปรึกษาในเร่ืองต่าง ๆ รวมท้งั เป็น
กาลงั ใจที่ดีเสมอมา

ขอบคณุ เพื่อน ๆ ที่ช่วยใหค้ าแนะนาดี ๆ เก่ียวกบั การเลือกคา และเก่ียวกบั โครงงานชิ้นน้ี

คณะผจู้ ดั ทา

สารบญั

เรื่อง หนา้
บทคดั ยอ่ ……………………………………………………………………………………………………ข
กิตติกรรมประกาศ………………………..…………………………………………………………………ค
บทนา………………………………………………..………………………………………………………1
เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง…………………………………………………………………………………………...2
อปุ กรณ์และวธิ ีการดาเนินงาน……………………………………………………………………………...13
ผลการดาเนินงานโครงงาน………………………………………………………………………………...14
สรุปผลดาเนินงานและขอ้ เสนอแนะ……………….………………………………………………………15
บรรณานุกรม…………………………………………………………………….…………………………17
ภาคผนวก…………………………………………………………………………………………..………18

-1-

บทท่ี1

บทนา

ทม่ี าและความสาคญั
เนื่องจากปัจจุบนั มีอุบตั ิเหตุเน่ืองจากอคั คีภยั ภายใยบริเวณบา้ นหรืออาคารต่าง ๆ ซ่ึงสาเหตุหลกั ๆ

ของการเกิดอคั คีภยั คือการที่บริเวณหน่ึงมีอุณหภูมิสูงข้นึ และนาไปสู่การเกิดอคั คีภยั โดยผจู้ ดั ทาเลง็ เห็นของ
ความสาคญั ของปัญหาน้ีจึงไดค้ ดิ คน้ เซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อนในบา้ น ซ่ึงช่วยในการแจง้ เตือนในขณะที่
บริเวณท่ีติดต้งั เซนเซอร์มีอุณหภูมิที่สูงเกิดกวา่ ที่เซนเซอร์ไดก้ าหนดไว้ และส่งสญั ญาแจง้ เตือนไปยงั เจา้ ของ
บา้ น

วัตถปุ ระสงค์
1.เพอื่ ป้องกนั ไมใ่ หเ้ กิดอคั คภี ยั
2.เพือ่ ลดอตั ราการเกิดอคั คีภยั ในปัจจุบนั

ขอบเขตของการทาโครงงาน
การจดั ทาโครงงานเซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อนในบา้ นมีระยะเวลาในการโครงงานต้งั แต่วนั ที่ 9 กนั ยายน
พ.ศ. 2562- 30 กนั ยายน พ.ศ. 2562 โรงเรียนอทุ ยั วทิ ยาคม อาเภอเมือง จงั หวดั อทุ ยั ธานี

ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รับ
1.ปัญหาการเกิดอคั คีภยั มีนอ้ ยลง
2.อาจนาไปพฒั นาต่อเพ่ือไปใชใ้ นองคก์ รที่ใหญข่ ้นึ

-2-

บทที่ 2

เอกสารท่ีเกยี่ วข้อง

ในการจดั ทาโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง เซนเซอร์ตรวจสอบความร้อนภายในบา้ น น้ี ผจู้ ดั ทาโครงงานไดศ้ ึกษา
เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง ดงั ตอ่ ไปน้ี

1.kidbright
2.เซนเซอร์หรือตวั รับรู้
3.อณุ ภมู ิท่ีเหมาะสมต่อร่างกาย

2.1 kidbright

ความหมายของkidbright

kidbright เป็นบอร์ดส่งเสริมการเรียนรู้พ้นื ฐานของการเขยี นโคด้ หรือ การเขยี นโปรแกรม (Programming) ที่มจี ุดเร่ิมตน้

จากโครงการสื่อการสอนโปรแกรมมิ่งในโรงเรียน (Coding at School Project) ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ซ่ึงมีจดุ มุ่งหมายในการพฒั นาศกั ยภาพ ระหว่างความคิดเชิงตรรกะ และความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ ในลกั ษณะการเรียนรู้แบบ
learn and play บอร์ด kidbright น้ีไดร้ ับการออกแบบโดยทีมนกั วิจยั และพฒั นาของเนคเทคและสวทช. ให้เหมาะสาหรับเด็ก
และเยาวชน ที่ตอ้ งการเรียนรู้การทางานและการเขยี นโปรแกรมสาหรับอปุ กรณ์สมองกลฝังตวั (Embedded Board) และ
อปุ กรณ์ตวั เซนเซอร์ตรวจจบั พ้นื ฐาน โครงการน้ีไดค้ ดั เลือกให้ บริษทั กราวิเทค เป็นผผู้ ลิตบอร์ด kidbright จานวน 200,000
บอร์ด เพ่ือแจกจา่ ยให้แก่โรงเรียนต่างๆ กวา่ 1,000 โรงเรียน กระจายไปตามแตล่ ะภมู ิภาค ทวั่ ประเทศ

3

-3-

Kidbright IDEคืออะไร ?

kidbright IDE คือโปรแกรมสร้างชุดคาสั่ง เพ่อื นาไปใชท้ างานบนบอร์ด kidbright ดว้ ย ชุดคาสั่งแบบ block-

structured programming คือจะใชก้ ารลากกลอ่ งขอ้ ความหรือบลอ็ กคาสง่ั มาวางต่อกนั (Drag and Drop) จากน้นั โปรแกรม
จะทางานแปลงภาษา ท่ีเรียกวา่ การ compile เพอ่ื ใหไ้ ดเ้ ป็นโคด้ การทางานท่ีใชก้ บั โปรเซสเซอร์ ESP32 ท่ีอยบู่ นบอร์ด

-4-

ส่วนประกอบของ Kidbright

แผงวงจร kidbright มีลกั ษณะเป็นแผงวงจรสีเหลี่ยม ขนาด 5 x 9 เซนติเมตร ใชห้ น่วยประมวลผล ESP32 ที่มี
ความสามารถรองรับการเช่ือมต่อดว้ ย wifi และ Bluetooth ได้ มีหนา้ จอแสดงผลชนิด Matrix LED สีแดง ขนาด 16 x 8 จุด
มีป่ ุมกดใหเ้ รียกใชง้ านไดส้ องป่ ุม มีลาโพงและตวั เซนเซอร์พ้นื ฐานสองตวั ไดแ้ ก่ เซนเซอร์วดั อุณหูมิ และเซนเซอร์วดั ความ
เขม้ ของแสง และมีนาฬิกาฐานเวลาจริง เปรียบเสมือนคอมพวิ เตอร์พกพาสาหรับเดก็

-5-

เซนเซอร์พ้นื ฐานบน kidbright

kidbright มีเซนเซอร์พ้ืนฐานท่ีเหมาะสมสาหรับการเรียนรู้ของเด็กอยสู่ องตวั คือ เซนเซอร์วดั ความเขม้ ของ
แสง และ เซนเซอร์วดั อณุ หภูมิ เซนเซอร์ท้งั สองตวั น้ีสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดม้ ากมาย
ยกตวั อยา่ งเช่น สามารถออกแบบชุดคาสัง่ ท่ีใชใ้ นการเปิ ดปิ ดไฟในแบบอตั โนมตั ิ โดยการใชเ้ ซนเซอร์วดั
ความเขม้ ของแสง เพ่อื วดั ความสวา่ ง (สามารถดูขอ้ มูลเพม่ิ เติมไดจ้ าก คลิปวีดีโอ : KidBright: ตอนท่ี 2 การ
เขียน code เบ้ืองตน้ “โคมไฟและพดั ลมอตั โนมตั ิ” ) และนาไปประมวลผลสัง่ งานเปิ ดปิ ดไฟตามระดบั ความ
เขม้ ของแสง

นอกจากน้ี kidbright ยงั สร้างมารถเชื่อมตอ่ กบั เซนเซอร์อ่ืน ๆ
ดว้ ยการต่อสัญญาณเขา้ ที่ข้วั ต่อ IN1-IN4 เช่น ใชเ้ ซนเซอร์วดั
ความช้ืน เช่ือมต่อเขา้ กบั บอร์ด kidbright แลว้ ใชก้ ารเขียน
โปรแกรมดว้ ย application kidbright ในรูปแบบของ IoT เพือ่ วดั
คา่ ความช้ืนของดิน

-6-

เราจะสร้างชุดคาสง่ั ไดอ้ ยา่ งไร ?

kidbright แยกส่วนประกอบออกเป็นสองส่วนคือ ส่วนของโปรแกรมสร้างชุดคาสั่ง โดยใช้ KidBright IDE
และ ส่วนท่ีสองคอื ตวั บอร์ด kidbright

ข้นั ตอนการสร้างโปรแกรมหรือชุดคาส่ังทางานตา่ ง ๆ จะประกอบดว้ ยการออกแบบโปรแกรมหรือชุดคาส่งั

ในรูปแบบ block-structured programming บน kidbright IDE ท่ีใชว้ ธิ ีการลากชุดคาส่ังท่ีตอ้ งการมาวาง
เช่ือมต่อ ๆ กนั จากน้นั จะเช่ือมตอ่ พอร์ต USB เพื่อส่งโปรแกรมไปใหบ้ อร์ด kidbright ทาการประมวลผล

และดาเนินการตามโปรแกรมที่เขยี น

-7-

การเขียนโปรแกรมสาหรับบอร์ด KidBright

การเขยี นโปรแกรมเพอ่ื ให้บอร์ด KidBright ทางาน สามารถทาไดด้ ว้ ยโปรแกรม Kidbright IDE ซ่ึงเป็นโปรแกรมที่
ถูกพฒั นาข้ึนมา เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถเขยี นโปรแกรม ไดง้ า่ ยมากข้ึน ดว้ ยวิธีการชุดคาสัง่ แบบ block-structured
programming ซ่ึงเป็นการเขยี นโปรแกรมโดยการลากรูปกล่องคาสั่งพ้นื ฐาน มาวางตอ่ กนั (Drag and Drop) เพอ่ื ทาการ
เชื่อมโยงคาส่ัง เหลา่ น้นั ข้นึ มาเป็นโปรแกรม จากน้นั Kidbright IDE จะทาการแปลง (compile) โปรแกรม และส่งโปรแกรม
ดงั กลา่ วไปยงั บอร์ดKidbright เพอ่ื ให้มนั ทางานตามชุดคาส่งั ท่ีเราไดอ้ อกแบบไว้

ชุดคาส่ังแบบ block-structured programming

การเช่ือมต่อบอร์ด สาหรับผทู้ ี่ใชแ้ ทบ็ เลต็ หรือสมาร์ทโฟน

-8-

2.2เซนเซอร์หรือตวั รับรู้

ตวามหมายของเซนเซอร์หรือตวั รับรู้

ตวั รับรู้ หรือ เซ็นเซอร์ (องั กฤษ: sensor) เป็นวตั ถุชนิดหน่ึงที่มีหนา้ ที่ตรวจจบั เหตุการณ์หรือการ
เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอ้ มของตวั มนั เอง จากน้นั มนั กจ็ ะใหผ้ ลลพั ธท์ ่ีสอดคลอ้ งกนั ออกมาและส่งไปยงั
ศูนยค์ วบคุม ตวั รับรู้เป็นตวั แปรสัญญาณ ชนิดหน่ึง มนั สามารถใหส้ ญั ญาณออกมาไดห้ ลากหลายชนิด แต่
โดยทวั่ ไปจะใชส้ ัญญาณไฟฟ้าหรือสัญญาณแสง ยกตวั อยา่ งเช่นคูค่ วบความร้อน จะแปลงค่าอณุ หภมู ิ
(ส่ิงแวดลอ้ ม)ใหเ้ ป็นแรงดนั ไฟฟ้าท่ีสอดคลอ้ งกนั ในทานองที่คลา้ ยกนั เทอร์มอมิเตอร์แบบปรอทใน
หลอดแกว้ จะเปลี่ยนอณุ หภูมิท่ีวดั ไดใ้ หอ้ ยใู่ นรูปการณ์ขยายตวั หรือการหดตวั ของของเหลว ซ่ึงสามารถอา่ น
ไดบ้ นหลอดแกว้ ที่ผา่ นการสอบเทียบแลว้ ตวั รับรู้ทกุ ชนิดจะตอ้ งผา่ นการสอบเทียบ โดยเทียบกบั ค่า
มาตรฐานท่ีเป็ นที่ยอมรับ

ตวั รับรู้ถูกใชใ้ นอุปกรณ์ประจาวนั เช่นป่ มุ กดลิฟทแ์ บบไวตอ่ การสมั ผสั (เซ็นเซอร์สัมผสั ) และโคมไฟที่สลวั
หรือสวา่ งข้ึนโดยการสมั ผสั ที่ฐาน นอกจากน้ียงั มีการใชง้ านเซ็นเซอร์นบั ไม่ถว้ นท่ีคนส่วนใหญไ่ ม่ไดร้ ับรู้
ดว้ ยความกา้ วหนา้ ทางเคร่ืองกลจุลภาคและแพลตฟอร์มไมโครคอนโทรลเลอร์ท่ีงา่ ยต่อการใชง้ าน การใช้
งานของตวั รับรู้ไดข้ ยายออกไปไกลเกินกวา่ การวดั ในสาขาอณุ หภมู ิ, ความดนั หรือการไหลแบบเดิม
ส่วนมาก[1] ยกตวั อยา่ งเช่น MARG (Magnetic, Angular Rate, and Gravity) sensors ยง่ิ ไปกวา่ น้นั ตวั รับรู้
แบบแอนะล๊อกเช่นโปเทนฉิโอมิเตอร์และตวั ตา้ นทานท่ีไวตอ่ แรงยงั คงถูกใชอ้ ยอู่ ยา่ งกวา้ งขวาง การใชง้ าน
จะรวมถึงการผลิตและเครื่องจกั ร, เครื่องบินและยานอวกาศ, รถยนต,์ เครื่องไฟฟ้า, การแพทย,์ และหุ่นยนต์
มนั ยงั รวมถึงในชีวติ ประจาวนั

ความไวของตวั รับรู้หมายถึงวา่ สัญญาณส่งออกของตวั รับรู้จะเปล่ียนแปลงมากแค่ไหนเมื่อปริมาณของ
สญั ญาณที่ป้อนเขา้ เพอ่ื ทาการวดั มีการเปล่ียนแปลง ตวั อยา่ งเช่นถา้ ปรอทในเทอร์มอมิเตอร์เคร่ืองไหวไป 1
ซม. เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 1 องศาเซลเซียส ดงั น้นั ความไวจะมีตา่ เป็น 1 เซนติเมตร/°C (สมมติวา่ สโลป
Dy/Dx มีลกั ษณะเป็นเชิงเส้น) ตวั รับรู้บางตวั ยงั อาจมีผลกระทบกบั สิ่งท่ีมนั วดั ; เช่นเทอร์มอมิเตอร์ที่
อณุ หภมู ิหอ้ งถูกใส่ลงในถว้ ยร้อนท่ีใส่ของเหลว ความเยน็ ของเทอร์มอมิ้ตอร์จะทาใหข้ องเหลวเยน็ ลงใน
ขณะท่ีของเหลวทาให้เทอร์มอมิเตอร์ร้อนข้นึ ตวั รับรู้จาเป็นจะตอ้ งมีการออกแบบเพ่ือใหม้ ีผลขนาดเลก็ กก

-9-

สิ่งท่ีถกู วดั การทาใหต้ วั รับรู้มีขนาดเลก็ ลงมกั จะปรับปรุงใหด้ ีข้นึ ในเรื่องน้ีและอาจทาใหเ้ กิดขอ้ ไดเ้ ปรียบอื่น
ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยจี ะช่วยใหม้ ีการสร้างตวั รับรู้อื่น ๆ มากข้ึนอีกมากมายในขนาด

การจาแนกประเภทของข้อผดิ พลาดในการวดั

ตวั รับส่งสัญญาณอินฟาเรดที่มีชิ้นส่วนการตรวจจบั และการส่งผา่ นทางดา้ นซา้ ย

ตวั รับรู้ท่ีดีตอ้ งทาตามกฎตอ่ ไปน้ี

1.มีความไวตอ่ คุณสมบตั ิท่ีจะวดั

2.มีความไวตอ่ คุณสมบตั ิอื่นใด ๆ ท่ีอาจจะพบไดใ้ นการประยกุ ตใ์ ชข้ องมนั

3.ไมม่ ีอิทธิพลตอ่ คุณสมบตั ิที่จะวดั

ตวั รับรู้ในอดุ มคติจะถูกออกแบบมาใหเ้ ป็นแบบเชิงเส้นหรือเป็นเส้นตรงกบั บางฟังกช์ นั ทางคณิตศาสตร์
อยา่ งง่ายของการวดั ซ่ึงปกติเป็นค่าลอการิทึม เอาตพ์ ุตของตวั รับรู้ดงั กลา่ วเป็นสญั ญาณแอนะลอ็ กและเป็น
สดั ส่วนโดยตรงกบั คา่ หรือฟังกช์ นั ที่เรียบง่ายของคุณสมบตั ิท่ีถูกวดั จากน้นั ความไวจะถูกกาหนดใหเ้ ป็น
อตั ราส่วนระหวา่ งสัญญาณเอาตพ์ ุตกบั คุณสมบตั ิที่ถูกวดั ตวั อยา่ งเช่น ถา้ เซ็นเซอร์ตวั หน่ึงใชว้ ดั อุณหภมู ิและ
มีเอาตพ์ ุตเป็นแรงดนั ค่าหน่ึง ความไวจะเป็นค่าคงที่มีหน่วยเป็นโวลต/์ เคลวิน [V/K]; เซ็นเซอร์น้ีทางานเป็น
เชิงเสน้ เพราะอตั ราส่วนเป็นคา่ คงท่ีท่ีทุกจุดของการวดั

เซ็นเซอร์ในธรรมชาติ

อวยั วะของสิ่งมีชีวติ ท้งั หมดมีเซ็นเซอร์ทางชีวภาพท่ีมีหนา้ ท่ีคลา้ ยกบั อุปกรณ์เชิงกลท่ีไดอ้ ธิบายไว้ เหล่าน้ี
ส่วนใหญ่เป็นเซลลพ์ เิ ศษมีความไวต่อ

1.แสง, การเคล่ือนไหว, อณุ หภูมิ, สนามแม่เหลก็ , แรงโนม้ ถว่ ง, ความช้ืน, การสั่นสะเทือน, แรงดนั ,
สนามไฟฟ้า, เสียงและลกั ษณะทางกายภาพอื่น ๆ ของสภาพแวดลอ้ มภายนอก

2.ลกั ษณะทางกายภาพของสภาพแวดลอ้ มภายในเช่นแรงยดื , การเคล่ือนไหวของอวยั วะ และตาแหน่งของ
อวยั วะที่ยน่ื ออกมาจากร่างกาย (การรับรู้การเคลื่อนไหวของอวยั วะ)

-10-

3.โมเลกลุ สิ่งแวดลอ้ มรวมท้งั สารพษิ , สารอาหาร, และ ฟี โรโมน

4.การประมาณคา่ ของการปฏิสมั พนั ธ์สารชีวโมเลกุลและบางพารามิเตอร์จลนศาสตร์

5.สภาพแวดลอ้ มการเผาผลาญภายในเช่น ระดบั น้าตาล, ระดบั ออกซิเจน หรือ osmolality

6.โมเลกุลสญั ญาณภายในเช่น ฮอร์โมน, สารส่ือประสาท และ cytokines

7.ความแตกตา่ งระหวา่ งโปรตีนของอวยั วะตวั เองและของสภาพแวดลอ้ มหรือสิ่งมีชีวิตตา่ งดา้ ว

เซ็นเซอร์เคมี

เซ็นเซอร์เคมีเป็นอุปกรณ์การวเิ คราะห์ตวั เองที่สามารถใหข้ อ้ มูลเก่ียวกบั องคป์ ระกอบทางเคมีของ
สภาพแวดลอ้ มท่ีเป็นของเหลวหรือกา๊ ซ[2] ขอ้ มูลถกู จดั ให้อยใู่ นรูปแบบของสัญญาณ ทางกายภาพที่สามารถ
วดั ไดท้ ่ีมีสหสัมพนั ธก์ บั ความเขม้ ขน้ ของสารเคมีชนิดหน่ึง (เรียกวา่ เป็นตวั วเิ คราะห์) สองข้นั ตอนหลกั มี
ส่วนร่วมในการทางานของเซ็นเซอร์ทางเคมีคือ การรับรู้ และการถา่ ยเทกระแส ในข้นั ตอนการรับรู้ โมเลกุล
ตวั วเิ คราะห์เลือกปฏิสมั พนั ธก์ บั โมเลกุลหรือไซตข์ องตวั รับท่ีรวมอยใู่ นโครงสร้างขององคป์ ระกอบการรับรู้
ของเซ็นเซอร์ ดงั น้นั พารามิเตอร์คุณลกั ษณะทางกายภาพจะแปรเปลี่ยนและการแปรเล่ียนน้ีจะถกู รายงานโดย
ใชว้ ิธีการถา่ ยเทกระแสแบบบรู ณาการท่ีสร้างสัญญาณเอาตพ์ ตุ เซ็นเซอร์เคมีที่มีพ้นื ฐานจากวสั ดุการรับรู้ของ
ธรรมชาติทางชีวภาพเรียกวา่ ไบโอเซนเซอร์ อยา่ งไรก็ตาม เม่ือวสั ดุสังเคราะห์ biomimetic กาลงั จะแทนท่ี
บางส่วนของวสั ดุ biomaterials เพ่ือการรับรู้ ความแตกตา่ งที่คมชดั ระหวา่ งไบโอเซนเซอร์และเซ็นเซอร์เคมี
มาตรฐานคอื superfluous วสั ดุ biomimetic ทวั่ ไปท่ีถูกใชใ้ นการพฒั นาเซ็นเซอร์ เป็นโพลีเมอ และ aptamers
ท่ีถูกพิมพแ์ บบโมเลกลุ

2.3อุณภูมทิ เ่ี หมาะสมต่อร่างกาย

อุณหภูมิทเี่ หมาะสมต่อร่างกายคือ?

อุณหภูมิร่างกายที่ 36.5 ถึง 37 องศาเซลเซียสถือเป็นปกติสาหรับมนุษย์ ระบบเผาผลาญอาหารและอวยั วะ
ท้งั หมดของเราข้ึนอยกู่ บั อณุ หภูมิแกนกลางน้ี และร่างกายของจะทาทุกอยา่ งเพื่อใหท้ รงสภาพ แกนหลกั ของ
ร่ายกายมีอวยั วะสาคญั ไดแ้ ก่ หวั ใจ ปอด และสมอง ส่วนท่ีเรียกวา่ เปลือกของร่างกาย ไดแ้ ก่ แขน ขา และ

-11-

ผิวหนงั ช้นั ตน้ ไม่วา่ ร่างกายของเราจะมีอุณหภูมิที่เหมาะสมหรือไม่ มนั จะถกู วดั ผา่ นตวั รับ ถา้ หากอุณหภูมิ
ลดลงอยา่ งรวดเร็ว ระบบการเผาผลาญอาหารจะเริ่มทางานเพื่อรักษาสมดุลระบบเผาผลาญจะใหส้ ารอาหารท่ี
จาเป็นแก่ร่างกายเรา มนั ช่วยยอ่ ยอาหารและแปรรูปเพอื่ ใหเ้ ซลลใ์ นร่างกายสามารถนาสารอาหารไปใช้
ประโยชน์ นอกจากน้นั ระบบเผาผลาญอาหารจะช่วยทาใหร้ ่างกายอบอุ่น ต่อเมื่อรู้สึกเยน็ ร่างกายถึงตอ้ งการ
พลงั งานมากข้ึน ความหนาวเยน็ จะทาใหห้ ลอดเลือดหดตวั แคบลง เพื่อไม่ใหส้ ูญเสียความร้อนมากเกินไป

แตเ่ ม่ือใดกต็ ามท่ีเซลลข์ าดเลือดมนั กจ็ ะเปราะ ร่างกายของเราจะเริ่มปวด เริ่มจากอาการปวดท่ีนิ้วมือ นิ้วเทา้
จมูก และหู หากอณุ หภมู ิร่างกายยงั คงลดลงเรื่อย ๆ มนั กจ็ ะกระทบถึงอวยั วะสาคญั อื่น ๆ ต้งั แต่หวั ใจ ปอด
จนถึงสมอง เหล่าน้ีจะทางานไดอ้ ยา่ งมีขอ้ จากดั มนั จะส่งผลกระทบทนั ทีแมอ้ ณุ หภมู ิของร่างกายจะเบี่ยงเบน
ไปจากระดบั ปกติเพียงสององศาเท่าน้นั และเพื่อการปกป้องตนเอง ระบบของร่างกายจะทางานหนกั ข้ึน
กลา้ มเน้ือจะแอก็ ทีฟ ทาใหส้ ั่นสะทา้ นไปท้งั ร่าง

เมื่ออุณหภูมิร่างกายลดลงเหลือ 32 องศาเซลเซียส เราจะหยดุ อาการหนาวส่ัน แตน่ นั่ ไม่ใช่สญั ญาณท่ีดี เพราะ
ร่างกายเริ่มหมดพลงั งานนน่ั เอง ทาใหไ้ มม่ ีเร่ียวแรงแมก้ ระทง่ั สน่ั สมองและปลายประสาทของเราจะไมท่ า
การส่งสญั ญาณอีกต่อไป และเราจะมีอาการชาท่ีแขนและขา ในชวั่ ขณะน้ีเองความปวดจะเริ่มคลาย แต่เราก็
แทบไม่สามารถขยบั เขย้อื นเคลื่อนไหวได้ ไมต่ อ้ งคิดถึงเร่ืองการขยบั ปากพูดเลย เพราะแค่ความคดิ เรากไ็ ม่
สามารถจดั ระบบได้ สมองจะมึนงง และเริ่มสูญเสียการรับรู้ ถึงตอนน้นั ร่างกายจะเริ่มปรับเขา้ สู่โหมด
ประหยดั พลงั งาน และเปิ ดใชโ้ ปรแกรมฉุกเฉิน แต่ทา้ ยท่ีสุดแลว้ มนั ก็จะหยดุ การทางาน

กบั ความร้อนเล่า ร่างกายจะทนได้นานเแค่ไหน

คนเราจะรอดชีวิตจากความร้อนไดน้ านแค่ไหนน้นั ข้ึนอยูก่ บั ระดบั ของความช้ืนของอากาศ ยง่ิ ความช้ืนต่า
ร่างกายจะยงิ่ ทนไดน้ านข้ึน ในหอ้ งซาวนาที่มีอุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส ผใู้ หญจ่ ะทนนง่ั อบตวั อยไู่ ดน้ าน
สุดไมเ่ กิน 3-4 นาที ในอาคารที่ไฟกาลงั ลุกไหมจ้ ะอยไู่ ดน้ านถึง 10 นาที หากวา่ ไม่หมดสติไปเพราะ
คาร์บอนโมนอกไซดเ์ สียก่อน ส่วนเด็กจะทนอยกู่ บั ความร้อนไดไ้ มน่ าน อยา่ งเช่นภายในรถยนตท์ ี่อุณหภูมิ
50 องศาเซลเซียส พวกเขาจะหมดสติไดภ้ ายในเวลาเพยี งไม่ก่ีนาที

-12-

อาการไขท้ ่ีเกิดจากการถกู ความร้อนนานเกินไป หรือ Heatstroke อณุ หภูมิร่างกายจะสูงกวา่ 40 องศา
เซลเซียส ความร้อนสูงแบบเฉียบพลนั ทาใหส้ มองบวม ซ่ึงเป็นสาเหตขุ องอาการเช่นตะคริว หมดสติ ปวด
ศีรษะ และคล่ืนไส้ ในกรณีเลวร้ายที่สุดอาจถึงข้นั สมองถูกทาลายหรือเสียชีวติ ได้

-13-

บทที่3
อุปกรณ์และวธิ ีการดาเนนิ งาน

การจดั ทาโครงงานเซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อนในบา้ นคณะผจู้ ดั ทาโครงงานมีวิธีการดาเนินงาน ตาม
ข้นั ตอนต่อไปน้ี

3.1 วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือหรือโปรแกรมที่ใชพ้ ฒั นา
3.1.1 เครื่องคอมพวิ เตอร์ พร้อมเชื่อมตอ่ ระบบอินเตอร์เน็ต
3.1.2 เวบ็ ไซตท์ ี่ใชใ้ นการติดตอ่ ส่ือสาร เช่น https://m.facebook.com/login/
3.1.3 โปรแกรมตดั ต่อและตกแตง่ kinemaster
3.1.4 โปรแกรมที่ใชใ้ นการนาเสนอ youtube
3.1.5 อปุ กรณ์ที่ใชด้ าเนินงาน สายUSB บอร์ด KidBright

3.2 ข้นั ตอนการดาเนินงานโครงงาน
3.2.1 คดิ หวั ขอ้ โครงงานเพือ่ นาเสนอครูที่ปรึกษาโครงงาน
3.2.2 ศึกษาและคน้ ควา้ ขอ้ มลู ที่เกี่ยวขอ้ งกบั เรื่องท่ีสนใจ คือเร่ือง การตรวจจบั ความร้อนจากเซนเซอร์
จากเวบ็ ไซส์ตา่ ง ๆ และเก็บขอ้ มูลไวเ้ พือ่ จดั ทาเน้ือหาต่อไป
3.2.3 ศึกษาการ เซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อนในบา้ นจากเอกสารและเวบ็ ไซส์ต่างๆ ท่ีนาเสนอเทคนิค
และวธิ ี
3.2.4 จดั ทาโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เพื่อนาเสนอครูท่ีปรึกษาโครงงาน
3.2.5 ปฏิบตั ิการจดั ทาโครงงานอาชีพ เรื่องเซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อนในบา้ นนาเสนอรายงาน
ความกา้ วหนา้ ของงานเป็นระยะ ๆ ซ่ึงครู ท่ีปรึกษาจะใหข้ อ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ เพื่อใหจ้ ดั ทาเน้ือหาและ
นาเสนอท่ีน่าสนใจต่อไป ท้งั น้ีเม่ือไดร้ ับคาแนะนาก็จะนามาปรับปรุง แกไ้ ขให้ดียง่ิ ข้ึน
3.2.6 จดั ทาเอกสารรายงานโครงงานคอมพวิ เตอร์
3.2.7 นาเสนองาน

-14-

บทที่4
ผลการดาเนินงานโครงงาน

จากการศึกษาคน้ ควา้ เร่ือง เซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อนในบา้ น พบวา่ เซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อน
ในบา้ นตวั น้ีช่วยใหป้ ้องกนั การเกิดอนั ตรายท้งั ชีวิตและทรัพยส์ ินจากอคั คีภยั ช่วยใหส้ ัญญาณเม่ือมีความ
ร้อนถึงอุณหภมู ิท่ีกาหนดไว้ (100 องศาเซลเซียส)

ผลการจดั ทาเซนเซอร์ตรวจจับความร้อนในบ้าน
จากการท่ีไดน้ าเซนเซอร์ตรวจจบั ความร้อนไปติดต้งั ในบา้ นในบริเวณหอ้ งครัว และคณะผจู้ ดั ทา

โครงงานในจาลองสร้างสถานการณ์ที่ทาใหบ้ ริเวณน้นั มีอุณหภูมิที่สูงข้ึน ไดผ้ ลวา่ เซนเซอร์ไดท้ าการส่งเสียง
ร้องแจง้ เตือนออกมาไดจ้ ริง ซ่ึงผจู้ ดั ทาไดท้ าการจาลองสถานการณ์เป็นเวลา 5 คร้ัง ซ่ึงเซนเซอร์ตรวจจบั
ความร้อนน้นั มีการทางานที่ดีและตรวจวดั ไดอ้ ยา่ งแม่นยาตามที่คณะผจู้ ดั ทาโครงงานไดต้ ้งั ไว้

-15-

บทที่5

สรุปผลดาเนินงานและข้อเนอแนะ

ในการจดั ทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพฒั นาส่ือเพื่อการศึกษา เรื่อง สบ่สู มนุ ไพร น้ีสามารถ
สรุปผลการดาเนินงานและขอ้ เสนอแนะไดด้ งั น้ี

5.1 การดาเนนิ งานจัดทาโครงงาน
5.1.1 วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน

5.1.1. เพื่อป้องกนั ไม่ให้เกิดอคั คภี ยั
5.1.2. เพือ่ ลดอตั ราการเกิดอคั คีภยั ในปัจจุบนั
5.1.2 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมทใี่ ช้ในการพัฒนา
- เคร่ืองคอมพิวเตอร์ พร้อมเช่ือมต่อระบบอินเตอร์เน็ต
-เวบ็ ไซส์ท่ีใชใ้ นการติดตอ่ ส่ือสาร เช่น https://m.facebook.com/login/
-โปรแกรมตดั ต่อและตกแตง่ kinemaster
-โปรแกรมที่ใชใ้ นการนาเสนอ youtube
-อปุ กรณ์ท่ีใชด้ าเนินงาน -สายUSB บอร์ด KidBright

5.2 สรุปผลการดาเนนิ งาน
จากการดาเนินงาน เซนเซอร์ตรวจจบั อุณหภูมิสามารถทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและแมน่ ยาซ่ึง

สามารถนาไปใชไ้ ดใ้ นชีวติ ประจาวนั

-16-

5.3ข้อเสนอแนะ

5.3.1 ควรที่จะพฒั นาโดยการเพิ่มเซนเซอร์ตรวจจบั ควนั เพ่ิมเพ่ือใหก้ ารตรวจวดั การเกิดอคั คภี ยั เกิด
ประสิทธิภาพดีข้นึ

5.3.2 ควรที่จะติดไวบ้ ริเวณที่เส่ียงในการเกิดอคั คภี ยั เช่นบริเวณหอ้ งครัว

5.3.3ควรปรับปรุงเรื่องรูปทรงภายนอกของเซนเซอร์ใหเ้ หมาะกบั การใชง้ าน

บรรณานุกรม

ตวั รับรู้. (2554). สืบคน้ เมื่อวนั ท่ี 16 กนั ยายน 2562,
จาก https://th.m.wikipedia.org/wiki/ตวั รับรู้?

อณุ หภมู ิร้อนเยน็ กบั การดูแลสุขภาพ. (2560). สืบคน้ เม่ือวนั ท่ี 17 กนั ยายน 2562,
จาก https://goodlifeupdate.com/healthy-body/health-education/60101.html

kidbright. (2562). สืบคน้ เมื่อวนั ที่ 17 กนั ยายน 2562,
จาก https://www.kidbright.org/?

ภาคผนวก

-19-

สมาชิกกลมุ่ ไดท้ าการปรึกษากบั คุณครูที่ปรึกษาโครงงาน
สมาชิกกลุ่มร่วมกนั ทาโครงงาน

-20-

สมาชิกกลุม่ กาลงั จดั ทาบอร์ดนาเสนอ


Click to View FlipBook Version