รายงาน
ปรัชญาการศกึ ษา เรอื งวิเคราะห์ปรัชญสถานศกึ ษา
โดย
นางสาว สุรญาณี ยูโซะ
รหสั นกั ศึกษา ๖๔๒๑๑๑๓๐๒๖
รายงานน้เี ป็ นสว่ นหน่ึงของเรียนวิชา พฒั นาหลักสูตร
สาขาวิชา ชวี วทิ ยา คบ.
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๔
ก
คาํ นํา
รายงานเล่มนีจ้ ัดทําขึ้นเพ่ือเปน็ ส่วนหนงึ่ ของรายวชิ าการพัฒนาหลักสตู รเพื่อให้ได้ศึกษาหาความร้ใู น
เรือ่ งแนวโนม้ การพฒั นาหลักสตู รในศตวรรษท่ี ๒๑ โดยรายงานเล่มน้ีมเี นหื้ าเก่ยี วกับกับ สภาพปจั จุบนั
หลักสูตรไทย สภาพปญั หาหลักสตู รในประเทศไทย แนวโน้มการพัฒนาหลกั สูตรในศตวรรษท๒่ี ๑ ผู้จดั ทํา
คาดหวังเป็นอยา่ งย่ิงวา่ การจัดทาํ รายงานฉบับน้จี ะมีขอ้ มูลท่เี ปน็ ประโยชนต์ อ่ ผ้ทู ี่สนใจในรายวิชาพัฒนา
หลกั สตู รของสถานศึกษาเป็นอย่างดี
หากผดิ พลาดประการใดผ้จู ดั ทาํ ขน้ึ ขออภัย ณ ท่ีน้ีด้วย
ผจู้ ดั ทาํ โดย
นางสาว สรุ ญาณี ยโู ซะ
สารบัญ ข
เร่อื ง หน้า
สภาพปจั จบุ นั หลกั สตู รไทย ๑
๒
- หลักสตู รปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ๑๑
- หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน ปพี ุทธศกั ราช๒๕๕๑
๒๑
(ฉบบั ปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ๒๑
- หลักสูตรการอาชีวศึกษา ๔๒
๖๐
• ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พุทธศักราช ๒๕๖๒ ๗๓
• หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้นั สงู (ปวส.) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๓ ๘๓
• หลกั สตู รระดบั ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ๘๔
- หลกั สูตรอดุ มศกึ ษา (ภายใต้กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิระดับอดุ มศึกษา) ๘๘
สภาพปญั หาหลักสตู รในประเทศไทย ๙๑
๙๒
- หลักสตู รปฐมวัย พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐ ๙๖
- หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ปพี ุทธศกั ราช๒๕๕๑ ๑๐๑
๑๐๖
(ฉบับปรับปรงุ พุทธศักราช ๒๕๖๐) ๑๑๐
- หลกั สูตรการอาชวี ศกึ หลักสูตรการอาชวี ศึกษา ๑๑๖
๑๒๐
• ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) พุทธศักราช ๒๕๖๒
• หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชน้ั สงู (ปวส.) พุทธศักราช ๒๕๖๓
• หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรีสายเทคโนโลยีหรอื สายปฏบิ ตั กิ าร
- หลกั สูตรอดุ มศึกษา (ภายใต้กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิระดบั อุดมศึกษา)
แนวโนม้ การพฒั นาหลกั สูตรในศตวรรษท่ี๒๑
- หลักสูตรปฐมวยั พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๐
- หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีพุทธศักราช๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐
เรื่อง ค
- หลักสูตรการอาชีวศึกหลกั สูตรการอาชวี ศกึ ษา หนา้
• ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒ ๑๒๕
• หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสงู (ปวส.) พุทธศักราช ๒๕๖๓ ๑๒๖
• หลกั สูตรระดับปริญญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏบิ ตั กิ าร ๑๒๙
๑๒๙
- หลกั สูตรอุดมศึกษา (ภายใต้กรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอดุ มศึกษา) ๑๓๕
๑๔๐
สรุป ๑๔๓
บรรณานุกรม
แนวโน้มการพัฒนาหลกั สตู รในศตวรรษที่ ๒๑
๑. สภาพปจั จบุ นั หลักสูตรไทย
การศึกษาไทยในปัจจุบนั มกี ารจัดการศึกษาตามบรบิ ทของการจัดการศกึ ษาอันเป็นไปตามแผน
การศึกษาของชาติคอื พฒั นาคน พฒั นาครูอาจารย์พฒั นาสังคม ในหลากหลายรปู แบบท่ีเน้นการมีส่วน
ร่วมขององค์กรภาครฐั และเอกชน เปน็ การจัดการศึกษาท่ีเนน้ ดา้ นอาชีวศกึ ษามากขึ้น การมงุ่ เนน้ ให้มีการ
จัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานและระดบั ปริญญาตรีเพ่ือเน้นการมีงานทาโดนอาศยั ปัจจัยหลักในองค์กรหลักจาก
ภายนอกหลายปจั จยั เชน่ ปจั จยั ดา้ นเทคโนโลยีดา้ นเศรษฐกจิ ด้านระบบราชการดา้ นการเมืองการปกครอง
ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมซึง่ ส่งผลใหจ้ ัดระบบบรหิ ารจัดการกระทรวงศึกษาธกิ ารรูปแบบใหม่โดยบรู ณาการ
องค์กรหลักของกระทรวงทั้ง 5 องค์กรหลัก โดยให้ปลดั กระทรวงศึกษาธิการเปน็ ผ้มู ีอานาจสูงสุด กระจายย
อานานไปสู่สว่ นภมู ิภาคไปยงั ศกึ ษาธิการภาค 1-18 โดยแต่ระภาคจะประกอบไปดว้ ยกลุ่มจงั หวดั ในแตล่ ะ
จงั หวัดมศี กึ ษาธิการจังหวดั เป็นฝ่ายกากับดแู ลหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวดั
เขตพื้นทแ่ี ละสถานศึกษาซึ่งเป็นการกระจายอานาจโดยให้มีการกากับควบคุมดูแลกันอย่างเปน็ ระบบมากขน้ึ
๑
๑.๑ หลกั สตู รปฐมวัย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐
๒
๑. ความนํา
กระทรวงศึกษาธกิ าร ได้ประกาศใชห้ ลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๔๖เพื่อใหส้ ถานศึกษาหรือ
สถสนพฒั นาเดก็ ปฐมวัยทุกสังกัดนาํ หลกั สตู รฉบับนี้ไปใช้ โดยปรบั ปรงุ ให้เหมาะสมกับเด็กและสภาพท้องถิน่
ต้ังแต่ปีการศกึ ษา ๒๕๔๖ เป็นต้นมาจนถึงปจั จุบนั สาํ นักงาคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานเปน็ หนว่ ยงานท่ี
รบั ผิดชอบโดยตรง ได้ติดตามและประเมินผลการใชห้ ลักสตู รเปน็ ระยะอยา่ งต่อเน่ืองพบว่า หลักสูตรการศึกษา
ปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๔๖ มจี ุดดหี ลายประการ เช่น เปน็ หลกั สูตรทีม่ คี วามเป็นเอกภาพ ยืดหยุน่ มีความเป็น
สากล บนพืน้ ฐานความเป็นไทยสถานศึกษามีส่วนร่วมและมีบทบาทสาํ คัญในการพฒั นา หลกั สูตรสถานศึกษา
ใหส้ อดคล้องกับบริบทความต้องการของตนเอง และหลกั สูตรใชไ้ ด้กบั ทกุ กลุ่มเป้าหมายอยา่ งไรก็ตาม ผล
การศกึ ษาดังกล่าว ไดส้ ะทอ้ นให้เห็นถึงประเด็นทเี่ ป็นปญั หาท่มี อี ย่รู อบดา้ น และความไม่ชัดเจนของการนํา
หลกั สตู รสกู่ ารปฏิบตั ิ ได้แก่ ปัญความไมช่ ดั เจนของการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาปฐมวัย สถานศึกษาสว่ น
ใหญข่ าดการวเิ คราะห์ความเช่ือมโยงระหว่างพฒั นาการเด็กปฐมวัย มาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และ
สาระการเรยี นรู้ ปัญหาการประเมินพัฒนาการในสภาพจรงิ ปญั หาความเช่ือมโยงกับหลกั สตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ รวมถึงปญั หาคุณภาพเดก็ ทีจ่ บหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ท่ผี ลการ
ประเมินพฒั นาการในภาพรวมไมเ่ ปน็ ไปตามสภาพการเปล่ียนแปลงในปัจจุบัน
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน ไดด้ ําเนินการทบทวนหลกั สูตการศึกษาปฐมวยั พพทุ ธ
ศักราช ๒๕๔๖ ให้มีความสอดคล้องและทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงทุกด้านอย่างต่อเนื่อง่หลกั สูตรการศึกษา
ปฐมวยั พุทธศักราช ๒๕๖๐ โดยนําขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการศกึ ษาวจิ ัยและแผนแมบ่ ทกฎหมายต่าํ ลงไปมาใช้ในกสร
พฒั นาหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั ใหม้ คี วามเหมาะสมชดั เจนยง่ิ ขึ้น ทง้ั เปา้ หมายในการพัฒนาคณุ ภาพเด็กและ
กระบวนการนีห้ ลักสูตรไปส่กู ารปฏิบตั ิในระดับเขตพ้นื ที่การศึกษาและสถานศกึ ษาอย่างไรก็ตามการจดั
หลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ จะประสบความสําเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวงั ได้ หากทุกฝ่าย
ท่เี กี่ยวข้องท้งั ในระดบั ชาตชิ มุ ชน และครอบครวั เหน็ คุณค่าของการศึกษาปฐมวยั มี
ความกระตือรือร้นท่จี ะเขา้ มามสี ว่ นรว่ มรูแ้ ละสนับสนนุ การจัดการศกึ ษา โดยร่วมกันทาํ งานอยา่ งต่อเนอ่ื งเป็น
ระบบในการวางแผน สง่ เสริม สนบั สนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรงุ แก้ไข เพื่อสิทธิทีเ่ ด็กทุกคนจะ
๓
ตอ้ งไดร้ ับจากการอบรมเลยี้ งดูและการศึกษาที่มีคุณภาพ ซึ่งสถานศกึ ษาคุณภาพและมาตรฐานนน้ั จําเป็น
จะตอ้ งมกี ารนําหลักสตู รการศึกษาปฐมวัย พุทธศักรา ๒๕๖๐ลงสู่การปฏิบัติ เพอื่ สรา้ งรากฐานคุณภาพชีวติ
ใหเ้ ด็กปฐมวัยพฒั นาไปสูค่ วามเปน็ มนษุ ย์ที่สมบรู ณ์ เกิดคุณค่าต่อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สังคมและ
ประเทศชาตติ ่อไป
๒. ปรชั ญาการศึกษาปฐมวยั
การศกึ ษาปฐมวยั เป็นการพฒั นาเด็ดต้งั แต่แรกเกดิ ถงึ ๖ ปีบรบิ ูรณ์ อย่างเป็นองคร์ วมบนพน้ื ฐาน
การอบรมเลี้ยงดูและการสเ่ สริม กระบวนการเรยี นรู้ท่ีสนองตอ่ ธรรมชาตแิ ละ พัฒนาการตาม วยั ของเด็กแต่ละ
คนให้เตม็ ตามศักยภาพ ภายใตบ้ รบิ ทสังคมและวฒั นธรรมทเี่ ด็กอาศัยอยดู่ ้วยความมรัก ความเอ้ืออาทรและ
ความเขา้ ใจของทกุ คน เพื่อสร้างรากฐานคุณภาพชวี ิตให้เดก็ พัฒนาไปสคู่ วามเป็นมนุษย์ที่สมบรู ณ์ เกิดคุณคา่ ต่อ
ตนเอง ครอบครวั ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
๓. วิสยั ทศั น์
หลกั สตู รกาํ รศึกษาํ ปฐมวัยมุ่งพฒั นาํ เด็กทุกคนให้ได้รบั การพฒั นาดา้ นร่างกาย อารมณจ์ ิตใจ สงั คม และ
สตปิ ญั ญา อยา่ งงมีคุณภาพและต่อเน่ือง ได้รับการจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้อยา่ งมคี วามสขุ และเหมาะสม
ตามวยั มีทกั ษะชีวิต และปฏิบัตติ นตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ คนดี มวี ินัย และสํานึก
ความเป็นไทย โดยความร่วมมือระหว่างสถานศกึ ษา พ่อแม่ ครอบครวั ชมุ ชน และทุกฝา่ ยที่เกย่ี วข้องกบั การ
พัฒนาเดก็
๔. หลกั การ
เด็กทกุ คนมสี ิทธิทจ่ี ะได้รับการอบรมเลี้ยงดูและการสง่ เสรมิ พัฒนาการ ตามอนุสัญญาว่าดว้ ยสิทธเิ ดก็
ตลอดจนได้รบั การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้อยา่ งเหมาะสมดว้ ยปฏสิ มั พนั ธ์ทีด่ ีระหว่างเด็กกับพ่อแม่ เดก็ กับ
ผู้สอน เด็กกับผู้เล้ียงดหู รือผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งกบั การอบรมเลย้ี งดู การพฒั นา และให้การศึกษาแกเ่ ด็กปฐมวยั
๔
เพอื่ ให้เด็กมีโอกาสพัฒนาตนเองตามลาํ ดับข้ันของพัฒนาการทุกดา้ นอย่างเปน็ องคร์ วมมีคุณภาพและเต็มตาม
ศักยภาพ โดยกําหนดหลักการ ดงั น้ี
๑.ส่งเสรมิ กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาการที่ครอบคลมุ เด็กปฐมวัยทกุ คน
๒.ยดึ หลกั การอบรมเลีย้ งดูและให้การศึกษาทเ่ี น้นเด็กเป็นสําคัญ โดยคํานึงถงึ
ความ แตกต่างระหวา่ งบคุ คลและวถิ ีชวี ติ ของเด็ก ตามบริบทของชุมชน สังคม และวัฒนธรรมไทย
๓.ยดึ พฒั นาการและการพฒั นาเดก็ โดยองค์รวม ผ่านการเล่นอย่างมีความหมาย และมีกิจกรรมท่ีได้ลงมือ
กระทําในสภาพแวดล้อมที่เอ้ือตอ่ การเรยี นรู้ เหมาะสมกับวัย และมีการพกั ผ่อนเพยี งพอ
๔.จัดประสบการณ์การเรยี นรูใ้ หเ้ ด็กมีทกั ษะชีวติ และสามารถปฏิบตั ิตนตามหลักปรชั ญา ของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง เป็นคนดี มีวนิ ัย และมคี วามสุข
๕.สร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสานความรว่ มมอื ในการพฒั นาเดก็ สถานศึกษากับพ่อแม่ ครอบครวั
ชุมชน และทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องกับการพัฒนา เดก็ ปฐมวัย
๕. โครงสร้างหลกั สูตร
หลักสตู รการจดั การเรยี นการสอนระดบั ปฐมวยั โรงเรยี นอนุบาลจนั ท รัตน์เป็นการจดั ประสบการณก์ าร
เรยี นรู้ แบบบรู ณาการ (Integration) โดยเน้นผเู้ รยี นเปน็ ส าคญั ตามแนวธรรมชาติ ท้ังในและนอกห้องเรียน
ซึ่งไดจ้ ัดเน้ือหาออกเปน็ หนว่ ยย่อย ดังนี้ หน่วยการเรยี นการสอน ทางโรงเรียนจัดหนว่ ยการเรียนการสอน
โดยเน้นมวลประสบการณ์เรยี งล าดับเนื้อหาจากสิง่ ที่อยู่ใกลต้ ัวจัดกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกับวยั และความสนใจ
ของผูเ้ รียน ดังนี้
อนบุ าล ๑
สาระการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรอื่ งราวเกย่ี วกบั ตัวเด็ก
หนว่ ยท๑่ี สนุกสขุ ใจฉันไปโรงเรียน
หนว่ ยที๒่ นแี่ หละตวั ฉัน
หน่วยท๓่ี อารมณ์ของฉนั
หนว่ ยที๔่ ร่างกายของฉนั
๕
หน่วยท๕่ี อวัยวะรับสัมผสั
หนว่ ยท่ี๖ เด็กนอ้ ยสขุ ภาพดี
หน่วยท่ี๗ เด็กดีมีมารยาท
สาระการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรอ่ื งราวเก่ยี วกบั บุคคลและสถานท่ีแวดลอ้ มเดก็
หนว่ ยที่๘ ครอบครวั ของฉัน
หนว่ ยท๙่ี บา้ นแสนรัก
หนว่ ยท๑ี่ ๐ โรงเรียนของฉัน
หนว่ ยที่๑๑ ชมุ ชนของฉัน
หนว่ ยท๑ี่ ๒ จังหวดั ของเรา
หน่วยท๑่ี ๓ เรารักประเทศไทย
หนว่ ยท่๑ี ๔ ประเทศเพื่อนบา้ น
สาระการเรยี นรทู้ ี่ ๓ ธรรมชาตริ อบตวั
หนว่ ยท่๑ี ๕ สัตวน์ ่ารัก
หนว่ ยที่๑๖ ต้นไม้
หนว่ ยท๑่ี ๗ สง่ิ แวดลอ้ มตามธรรมชาติ
หนว่ ยท่ี๑๘ กลางวนั กลางคนื
หนว่ ยท่๑ี ๙ ร้อน ฝน หนาว
หนว่ ยที่๒๐ เด็กนอ้ ยผูพ้ ิทักษ์
หนว่ ยท่๒ี ๑ อวกาศ
สาระการเรียนรทู้ ี่ ๔ สงิ่ ตา่ งๆ รอบตัวเด็ก
หนว่ ยที๒่ ๒ สสี นั อนั สดใส
๖
หนว่ ยท๒่ี ๓ รปู ทรงและผิวสัมผสั
หน่วยที๒่ ๔ สิ่งของเคร่ืองใช้
หน่วยท่ี๒๕ เครือ่ งทุ่นแรง ๑
หน่วยที่๒๖ คมนาคม
หน่วยท่๒ี ๗ การตดิ ต่อส่อื สาร
หนว่ ยท๒่ี ๗ เทคโนโลย
อนบุ าล ๒
สาระการเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื งราวเกี่ยวกบั ตวั เดก็
หนว่ ยท๑่ี เม่อื ฉันไปโรงเรยี น
หนว่ ยท่ี๒ เมือ่ ฉนั โตขึ้น
หน่วยท๓่ี อารมณ์ของฉัน
หนว่ ยท๔่ี อวัยวะของฉนั
หนว่ ยที่ ๕ ประสาทสัมผสั ทั้ง ๕
หนว่ ยที่๖ สขุ ภาพดีมสี ุข
หน่วยท๗่ี เดก็ นอ้ ยมารยาทงาม
สาระการเรยี นร้ทู ี่ 2 เรอื่ งราวเกย่ี วกบั บุคคลและสถานที่แวดล้อมเดก็
หนว่ ยท๘่ี ครอบครัวแสนรัก
หนว่ ยท๙่ี บ้านของฉัน
หน่วยท๑่ี ๐ โรงเรียนของเราน่าอยู่
หน่วยที่๑๑ เรารกั ชุมชน
๗
หน่วยท๑ี่ ๒ จงั หวัดของเรา
หน่วยที๑่ ๓ ฉันรักประเทศไทย
หน่วยท๑่ี ๔ มิตรประเทศของไทย
สาระการเรียนรู้ที่ 3 ธรรมชาตริ อบตวั
หนว่ ยที่๑๕ ชวี ติ สัตวน์ ่ารู้
หน่วยที่๑๖ พชื
หนว่ ยที่๑๗ ธรรมชาติสวยงาม
หนว่ ยท๑่ี ๘ วันและคืน
หน่วยท๑่ี ๙ฤดูกาล
หนว่ ยท่ี๒๐ เม่ือฉนั รกั โลก
หน่วยท่ี๒๑ อวกาศ
สาระการเรียนร้ทู ่ี ๔ สงิ่ ตา่ งๆ รอบตัวเดก็
หน่วยที่๒๒ สผี สมสีสวย
หนว่ ยท๒ี่ ๓ รปู ทรง รปู รา่ ง ผิวสมั ผัส
หนว่ ยท่๒ี ๔ เคร่ืองมือ เครือ่ งใช้
หนว่ ยท๒่ี ๕ เครื่องทุ่นแรง ๒
หน่วยท๒่ี ๖ คมนาคม
หน่วยท่๒ี ๗ การตดิ ต่อสื่อสาร
หนว่ ยที่๒๗ เทคโนโลยี
๘
อนบุ าล ๓
สาระการเรียนร้ทู ี่ ๑ เร่ืองราวเก่ยี วกับตวั เดก็
หน่วยท๑่ี เรามาโรงเรยี น
หน่วยท๒่ี เม่ือฉันเตบิ โต
หนว่ ยท๓่ี อารมณข์ องฉัน
หนว่ ยท๔่ี อวัยวะภายในของฉนั
หนว่ ยที่๕ อวยั วะรับสัมผัส
หนว่ ยที่๖ อนามัยดมี ีสขุ
หน่วยท๗่ี ฉันมมี ารยาทดีสาระการเรียนรทู้ ่ี 2 เรอื่ งราวเกี่ยวกับบคุ คลและสถานที่แวดลอ้ มเด็ก
หน่วยที่๘ ครอบครวั ของเรา
หนว่ ยที๙่ บา้ นของเรา
หน่วยท่ี๑๐ โรงเรียนของเรา
หนว่ ยท๑่ี ๑ ชุมชนของเรา
หนว่ ยท๑่ี ๒ จังหวดั ของฉัน
หน่วยที่๑๓ ฉนั รกั ประเทศไทย
หนว่ ยท๑่ี ๔ นานาประเทศ
สาระการเรียนรทู้ ่ี ๓ ธรรมชาตริ อบตัว
หนว่ ยที่๑๕ ชีวิตสตั วโ์ ลก
หน่วยที่๑๖ พชื นา่ รู้
หน่วยท๑่ี ๗ สง่ิ แวดลอ้ มตามธรรมชาติ
๙
หนว่ ยท๑่ี ๘ คืนวันท่ีแปรเปลยี่ น
หน่วยที่๑๙ ฤดกู าลน่ารู้
หนว่ ยท๒่ี ๐ รกั โลกกนั เถอะ
หนว่ ยที่๒๑ อวกาศ
สาระการเรยี นรู้ที่ ๔ สง่ิ ตา่ งๆ รอบตัวเดก็
หน่วยท๒ี ๒ สกี ับสญั ลักษณ์
หน่วยที่๒๓ รูปรา่ ง รูปทรง
หนว่ ยท๒่ี ๔ เครอ่ื งมือ เคร่ืองใช้
หนว่ ยท่๒ี ๕ เคร่อื งทนุ่ แรง ๓
หนว่ ยที่๒๖ การเดินทางแสนสนกุ
หนว่ ยท๒่ี ๗ การตดิ ตอ่ ส่ือสาร
หน่วยที่๒๘ เทคโนโลยี
๑๐
๑.๒ หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ปีพุทธศกั ราช๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พทุ ธศกั ราช
๒๕๖๐)
๑๑
๑. ความนํา
กระทรวงศึกษาธิการไดป้ ระกาศใชห้ ลกั สูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๔๔ ใหเ้ ปน็ หลักสตู ร
แกนกลางของประเทศ โดยกาํ หนดจุดมงุ่ หมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเป้าหมาย และกรอบทศิ ทางใน
การพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นให้เป็นคนดี มีปญั ญา มีคณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีและมีขดี ความสามารถในการแข่งขันเวทีโลก
(กระทรวงศึกษาธกิ าร,๒๕๔๔) พร้อมกนั น้ีไดร้ ับกระบวนการพฒั นาหลกั สตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั เจตนารมณ์ของ
พระราชบญั ญตั ิ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแ่ี ก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๔๕ ที่มงุ่ เนน้ การ
กระจายอาํ นาจทางการศกึ ษาใหท้ อ้ งถิ่นและสถานศึกษาได้มบี ทบาทและมีสว่ นร่วมในการพฒั นาหลักสตู ร
เพื่อใหส้ อดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถ่ิน (สาํ นักนายกรัฐมนตรี,๒๕๔๒)
จากการวจิ ัย และติดตามประเมินผลการใชห้ ลักสตู รในช่วงระยะ ๖ ปีท่ผี า่ นมา (สาํ นักวิชาการและ
มาตรฐานการศึกษา,๒๕๔๖ ก,๒๕๔๖ ข,๒๕๔๘ ก,๒๕๔๘ ข.; สํานักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา ๒๕๔๗;
สาํ นักผูต้ รวจราชการและตดิ ตามประเมินผล ๒๕๔๘; สุวมิ ล วอ่ งวานชิ และนงลกั ษณ์ วริ ัชชัย ๒๕๔๗;
Nutravong, 2002 Kittisunrhorn, 2003) พบว่าหลักสตู รการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ มจี ดุ ดี
หลายประการ เช่น ช่วยสง่ เสรมิ การกระจายอํานาจทางการศึกษา ทําให้ท้องถิ่นและสถานศึกษามสี ่วนร่วมและ
มบี ทบาทสาํ คญั ในการพัฒนาหลักสตู รใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของท้องถ่นิ มแี นวคิดและหลักการในการ
สง่ เสรมิ การพฒั นาผู้เรียนแบบองคร์ วมอยา่ งชดั เจน อยา่ งไรกต็ ามผลการศึกษาดังกล่าวได้สะทอ้ นให้เหน็ ถึง
ประเดน็ ทีเ่ ป็นปัญหา และความไม่ชัดเจนของหลักสตู รหลายประการทั้งในสว่ นของเอกสารหลกั สตู ร
กระบวนการการนาํ หลักสตู รสกู่ ารปฏบิ ัติ และผลผลิตท่ีเกิดจากการใช้หลกั สตู รไดแ้ ก่ ปัญหาความสบั สนของผู้
ปฏิบตั ใิ นระดบั สถานศกึ ษาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา สถานศึกษาส่วนใหญ่กําหนดสาระการเรยี นรู้
และผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั ไวม้ าก ทาํ ใหเ้ กิดปัญหาหลักสูตรแนน่ การวัดและประเมนิ ผลไม่สะท้อนมาตรฐาน
ส่งผลตอ่ ปัญหาการจัดทําเอกสารหลกั ฐานทางการศกึ ษาและการเทียบโอนผลการเรยี นรวมทง้ั ปญั หาคุณภาพ
ของผู้เรยี นในด้านความรู้ ทักษะความสามารถและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ยังไม่เปน็ ท่ีนา่ พอใจ นอกจากนัน้
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตฉิ บบั ท่ี ๑๐ (พ.ศ.๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) ไดช้ ใี ห้เห็นถงึ ความจําเปน็ ในการ
ปรบั เปล่ยี นจุดเน้นในการพฒั นาคณุ ภาพ
๑๒
คนในสงั คมไทยใหม้ คี ุณภาพ และมคี วามรอบรู้อยา่ งเท่าทนั ใหม้ คี วามพร้อมทางด้านรา่ งกาย สติปญั ญา
อารมณ์ และศลี ธรรม สามารถกา้ วทนั การเปล่ียนแปลงเพอ่ื นาํ ไปสสู่ ังคมฐานความรูไ้ ด้อย่างมน่ั คง แนว
ทางการปฏบิ ตั ิคนดงั กลา่ วมุ่งเตรียมเดก็ และเยาวชนให้มีพ้ืนฐานจติ ใจทดี่ งี าม มีจิตสาธารณะ พร้อมทง้ั มี
สมรรถนะ ทักษะ และความรู้พื้นฐานทจ่ี าํ เป็นในการดาํ รงชีวิต อันจะสง่ ผลตอ่ การพัฒนาประเทศแบบยง่ั ยนื
(สภาพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ,๒๕๔๙) ซึ่งแนวทางดงั กล่าวสอดคลอ้ งกับนโยบายของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในการพัฒนาเยาวชนของชาติเขา้ สโู่ ลกยุทธศตวรรษที่ ๒๑ โดยมง้ ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นมี
คณุ ธรรม รักความเปน็ ไทย มีทักษะการวิเคราะห์ คิดสงั เคราะห์ มที ักษะด้านเทคโนโลยี สามารถทํางานรว่ มกับ
ผู้อ่ืน และสามารถอยรู่ ว่ มกนั กับผ้อู ืน่ ในสังคมโลกได้อย่างสันติ (กระทรวงศกึ ษาธกิ าร,๒๕๕๑)
จากคอคน้ พบในการศึกษาวจิ ัยและติดตามผลการใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพน้ื ฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ ที่
ผา่ นมา ประกอบกับข้อมลู จากแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตฉิ บับท่ี ๑๐ เกยี่ วกับแนวทางการพัฒนา
คนในสงั คมไทย และจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนส่ศู ตวรรษที่ ๒๑ จึงเกดิ การทบทวน
หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานพุทธศกั ราช ๒๕๔๔ เพื่อนนําไปสูก่ ารพัฒนาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั
พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ พ่ีมีความเหมาะสม ชดั เจน ทางเปา้ หมายของหลกั สูตรในการพัฒนาคุณภาพ
ผเู้ รียน และกระบวนการนําหลักสตู รไปสกู่ ารปฏิบัติในระดบั เขตพื้นทกี่ ารศึกษาและสถานศกึ ษา โดยได้มีการ
กําหนดวิสยั ทศั น์ จุดหมาย สมรรถนะสาํ คญั ของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอาํ เภอประสงค์ มาตรฐานการเรียนร้แู ละ
ตัวชีว้ ดั ทช่ี ัดเจน เพ่อื ใชเ้ ป็นทิศทางในการจัดทาํ หลักสูตร การเรยี นการสอนในแต่ละระดับ นอกจากนน้ั ได้
กําหนดโครงสรา้ งเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรใู้ นแต่ละชั้นปีไวใ้ นหลักสตู รแกนกลาง
การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานและเปดิ โอกาสให้สถานศึกษาเพ่ิมเติมเวลาเรยี นไดต้ ามความพร้อมและจุดเนน้ อีกทาง
ได้รับกระบวนการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรเู้ กณฑก์ ารจบการศึกษาแต่ละระดบั และเอกสารแสดงหลักฐาน
การศึกษาให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และมคี วามชดั เจนต่อการนําไปปฏิบัต
เอกสารหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ นี้ จดั ทําขึน้ สําหรบั ทอ้ งถิน่ และ
สถานศกึ ษาไดน้ ําไปใชเ้ ปน็ กรอบและทศิ ทางในการจัดทาํ หลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรยี นการสอน เพ่ือ
พัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐานถา้ มคี ุณภาพดา้ นความรู้ และทกั ษะที่
๑๓
จําเปน็ สําหรับการดาํ รงชีวิตในสงั คมทีม่ ีการเปลีย่ นแปลงและแสวงหาความรูเ้ พอ่ื พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง
ตลอดชีวิต
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชว้ี ัดทกี่ ําหนดไวใ้ นเอกสารนี้ ชว่ ยทาํ ให้หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้องในทุกระดบั เหน็ ผล
คาดหวังทต่ี ้องการในพัฒนาการเรยี นรขู้ องผเู้ รียนท่ชี ัดเจนตลอดแนวซ่งึ จะสามารถช่วยให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง
ในระดับท้องถิน่ และสถานศกึ ษา ร่วมการพัฒนาหลักสตู รได้อยา่ งม่นั ใจ ทําให้การจัดทําหลกั สูตรในระดับ
สถานศึกษามีคุณภาพและมีความเป็นเอกภาพยงิ่ ข้นึ อีกทง้ั ยังชว่ ยใหเ้ กิดความชัดเจนเรอื่ งการวดั และ
ประเมนิ ผลการเรยี นรแู้ ละชว่ ยแก้ปญั หาการเทยี บโอนระหวา่ งสถานศึกษา ดังนนั้ ในการพัฒนาหลกั สตู รในทุก
ระดบั ตง้ั แตร่ ะดับชาตจิ นกระทงั่ ถงึ สถานศกึ ษาจะตอ้ งสะท้อนคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้และตวั ชี้วัดที่
กาํ หนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน รวมท้ังเปน็ กรอบทศิ ทางในการจดั การศกึ ษาทุกรปู แบบ
และครอบคลุมผู้เรียนทุกกลมุ่ เป้าหมายในระดบั การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
การจดั หลักสตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานจะประสบความสาํ เรจ็ ตามเปา้ หมายท่ีคาดหวงั ได้ทกุ ฝา่ ยท่ีเก่ียวขอ้ งท้ัง
ระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรบั ผดิ ชอบโดยรว่ มกันทํางานอยา่ งเปน็ ระบบตอ่ เน่ืองในการ
วางแผนดาํ เนินการ สง่ เสริมสนับสนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรบั ปรงุ แก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาตไิ ปสตู่ าม
มาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกําหนดไว้
๒. วิสยั ทศั น์
มงุ่ พัฒนาผเู้ รียนทุกคน ซ่ึงเป็นกําลงั ของชาติ ให้เปน็ มนุษย์ท่ีมคี วามสมดุล ทางด้านร่างกาย ความรู้
คณุ ธรรม มจี ิตสาํ นึกในความเป็นพลเมอื งไทย และเปน็ พลเมอื งโลก ยดึ มั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมขุ มคี วามรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้งั เจตคตทิ ี่จําเปน็ ตอ่ การศกึ ษาต่อ การ
ประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ติ โดยมุ่งเน้นผูเ้ รยี นเปน็ สาํ คญั บนพ้นื ฐานความเชือ่ วา่ ทกุ คนสามารถ
เรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
๑๔
๓. หลกั การ
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน มีหลกั การที่สาํ คญั ดังน้ี
๑.เป็นหลกั สตู รการศกึ ษาเพ่ือความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดมุ่งหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมาย
สําหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชนให้มคี วามรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเป็นไทยควบคู่กับ
สากล
๒.เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาเพ่ือปวงชน ทีป่ ระชาชนทุกคนมโี อกาสได้รับการศึกษาอยากเสมอภาคและมีคุณภาพ
๓.เป็นหลกั สตู รการศึกษาทีส่ นองการกระจายอาํ นาจ ใหส้ งั คมมสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษาไดส้ อดคล้องกบั
สภาพและความตอ้ งการของท้องถนิ่
๔.เป็นหลักสูตรการศกึ ษาที่มีโครงสรา้ งยดื หยุ่น ทางดา้ นสาระการเรียนรู้ และเวลาการจัดการเรียนรู้
๕.เป็นหลักสูตรการศึกษาท่เี น้นผ้เู รยี นเปน็ สําคัญ
๖.เปน็ หลกั สตู รการศึกษาสาํ หรบั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ ตามอัธยาศัย ครอบคลมุ ทกุ กลุม่ เป้าหมาย
สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
๔.จุดมงุ่ หมาย
หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน มุ่งพฒั นาผู้เรียนใหเ้ ป็นคนดี มปี ัญญา มคี วามสขุ มศี ักยภาพใน
การศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จงึ กําหนดเป็นจดุ หมาย เพื่อให้เกดิ กับผูเ้ รียนเมื่อจบการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
ดังน้ี
๑.มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีเพง่ิ ประสงค์ เหน็ คุณค่าของตนเอง มวี ินัยและปฏิบัติตนตามหลักธรรม
ของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาท่ตี นนับถือ ยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๒.มีความรู้อันเปน็ สากลและมีความสามารถในการส่ือสาร การคิด การแกป้ ญั หา การใช้เทคโนโลยี และมี
ทักษะชวี ิต
๑๕
๓.มสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี มสี ุขนสิ ัย และรักการออกกําลังกาย
๔.มีความรักชาติ มจี ิตสํานกึ ในความเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก ยึดมน่ั ในวถิ ชี ีวติ และการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ
๕.มจี ิตสาํ นึกในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย การอนุรักษแ์ ละพฒั นา สิง่ แวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะที่
ม่งุ ทาํ ประโยชน์และสรา้ งสิ่งที่ดงี ามในสังคม และอยู่รว่ มกนั ใน สงั คมอย่างมีความสุข
๕.คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มงุ่ พัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพอื่ ใหส้ ามารถอยู่
รว่ มกบั ผอู้ ่ืนในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ดังน้ี
๑.รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
๒.ซื่อสัตย์สุจรติ
๓.มีวินยั
๔.ใฝเ่ รียนรู้
๕.อยู่อยา่ งพอเพียง
๖.มงุ่ มัน่ ในการทํางาน
๗.รักความเปน็ ไทย
๘.มีจติ สาธารณะ
๑๖
๖.มาตรฐานการเรยี นรู้
การพฒั นาผ้เู รียนใหเ้ กดิ ความสมดลุ ต้องคํานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมอง และพหปุ ัญญา หลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน จึงกําหนดให้ผ้เู รยี นเรียนรู้ ๘ กลุม่ สาระการเรียนรู้ดังน้ี
๑. ภาษาไทย
๒. คณติ ศาสตร์
๓. วทิ ยาศาสตร์
๔. สงั คม ศาสนา และวฒั นธรรม
๕. สุขศกึ ษาและพลศึกษา
๖. ศิลปะ
๗. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
๘. ภาษาตา่ งประเทศ
ในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรู้ได้กาํ หนดมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเปา้ หมายสาํ คญั ของการพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้ ระบสุ งิ่ ที่ผู้เรียนพึงรแู้ ละปฏบิ ัติได้ มคี ุณธรรมจริยธรรม และค่านยิ มที่พงึ ประสงค์
ที่ต้องการให้เกดิ แกผ่ เู้ รยี นเมอื่ จบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน นอกจากนั้น มาตรฐานการเรยี นรู้ ยงั เป็นกลไกสําคญั
ในการขบั เคล่อื นพัฒนาการศึกษาทั้งระบบเพราะมาตรฐาน การเรยี นรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร
ต้องสอนอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอยา่ งไร รวมทง้ั เปน็ เคร่อื งมือในการตรวจสอบเพื่อการประกนั
คุณภาพการศึกษาโดยใชร้ ะบบการประเมินคณุ ภาพภายใน และประเมินคุณภาพภายนอก ซงึ่ รวมถงึ การ
ทดสอบระดบั เขตพ้นื ที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบ เพื่อประกนั คุณภาพดังกลา่ ว
เป็นสง่ิ สําคญั ที่ช่วยสะท้อนภาพการจัดการศึกษา วา่ สามารถพฒั นาผู้เรยี น
๗.การจัดเวลาเรียน
หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ได้กาํ หนดกรอบโครงสรา้ งเวลาเรยี นพน้ื ฐานสาํ หรบั กลมุ่ สาระการ
เรียนรู้ ๘ กลุ่ม และกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ซ่งึ สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมได้ตามความพร้อมและจุดเนน้ โดย
สามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษาและสภาพของผเู้ รียน ดงั น้ี
๑๗
๑..ระดบั ประถมศึกษา (ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๖) ให้จดั เวลาเรยี นเป็นรายปี โดยมีเวลาเรยี นวนั ละไม่เกิน ๕
ชว่ั โมง
๒.ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ (ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ - ๓)ให้จดั เวลาเรียนเป็นรายภาค มเี วลาเรยี นวนั ละไมเ่ กนิ
๖ ชว่ั โมง คดิ นา้ํ หนักของรายวิชาท่ีเรียนเป็นหน่วยกติ ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรียน ทคี ่านา้ํ หนกั วชิ า
เทา่ กับ ๑ หนว่ ยกิต (นก )
๓.ระดบั มัธยมตอนปลาย (ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔-๖)ให้จดั เวลาเรยี นเปน็ รายภาค มเี วลาเรียนวันละไม่น้อยกว่า
๖ ชัว่ โมง คิดนํ้าหนักของรายวชิ าที่เรยี นเปน็ หน่วยกติ ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชั่วโมงต่อภาคเรียน ทีคา่ นํ้าหนักวิชา
เท่ากบั ๑ หนว่ ยกิต (นก )
๑๘
๘.โครงสรา้ งเวลาเรียน
๑๙
การกาํ หนดโครงสรา้ งเวลาเรียนพื้นฐานและเพิ่มเติม สถานศึกษาสามารถดาํ เนินการดงั น้ี
ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพืน้ ฐานของแต่ละกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ได้ตามความเหมาะสม
ทั้งนีต้ อ้ งมเี วลาเรียนรวมตามท่ีกําหนดไว้ในโครงสรา้ งเวลาเรยี นพนื้ ฐานและผ้เู รียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐาน
การเรยี นรูแ้ ละตัวช้วี ัดท่ีกาํ หนด
ระดับมธั ยมศกึ ษา ต้องจัดโครงสรา้ งเวลาเรียนพื้นฐานใหเ้ ป็นไปตามทีก่ ําหนดและสอดคล้องกับเกณฑ์การ
จบหลักสูตร
สําหรับเวลาเรียนเพม่ิ เติม ทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ให้จดั เปน็ รายวิชาเพิ่มเติม หรอื
กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน โดยพิจารณาใหส้ อดคลอ้ งกับความพร้อม จุดเนน้ ของสถานศกึ ษาและเกณฑ์การจบ
หลกั สตู ร เฉพาะระดับชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑-๓ สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลาสาํ หรับสาระการเรยี นรู้พน้ื ฐาน
ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์
กิจกรรมพฒั นาผ้เู รยี นที่กําหนดไวใ้ นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถึงมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ ปีละ ๑๒๐ ชัว่ โมง และ
มัธยมศึกษาปีท่ี ๔-๖ จาํ นวน ๓๖๐ ช่วั โมงน้ัน เป็นเวลาสําหรบั ปฏบิ ตั ิกิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนกั เรยี น และ
กจิ กรรมเพือ่ สังคมและสาธารณประโยชน์ในสว่ นกจิ กรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชนใ์ ห้สถานศกึ ษา
จัดสรรเวลาให้ผเู้ รยี นไดป้ ฏิบัติกจิ กรรมดังนี้
ระดบั ประถมศกึ ษา ป.๑-๖ รวม ๖ ปี จาํ นวน ๖๐ ชั่วโมง
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ม.๑-๓ รวม ๓ ปี จํานวน ๔๕ ชัว่ โมง
ระดบั มธั ยมตอนปลาย ม.๔-๖ รวม ๓ ปี จํานวน ๖๐ ชัว่ โมง
๒๐
๑.๓ หลักสูตรการอาชีวศึกษา
๑.๓.๑ ประกาศนียบัตรวิชาชพี (ปวช.) พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒
๒๑
๑.หลักการของหลักสูตร
๑. เปน็ หลกั สูตรระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี หลงั มธั ยมศึกษาตอนต้นหรือเทยี บเท่าด้านวชิ าชีพทีส่ อดคล้องกบั
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาตแิ ผนการศกึ ษาแห่งชาติเป็นไปตามกรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ มาตรฐาน
การศึกษาของชาติ และกรอบคุณวุฒิอาชวี ศึกษาแหง่ ชาติ เพื่อผลติ และพัฒนากําลังคนระดบั ฝีมือให้มี
สมรรถนะ มีคณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี สามารถประกอบอาชีพได้ตรงตามความต้องการของ
สถานประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระ
๒. เปน็ หลักสตู รทเ่ี ปดิ โอกาสให้เลอื กเรยี นไดอ้ ย่างกว้างขวาง เนน้ สมรรถนะเฉพาะดา้ นด้วยการปฏบิ ตั จิ รงิ
สามารถเลอื กวธิ ีการเรยี นตามศักยภาพและโอกาสของผู้เรียน เปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเทยี บโอนผลการ
เรียน สะสมผลการเรียน เทยี บโอนความรู้และประสบการณ์จากแหล่งวทิ ยาการ สถานประกอบการและสถาน
ประกอบอาชีพอสิ ระ
๓. เปน็ หลกั สูตรท่สี นับสนุนการประสานความร่วมมือในการจดั การศึกษารว่ มกันระหว่างหน่วยงาน และองคก์ ร
ที่เกีย่ วข้อง ทั้งภาครัฐและเอกชน
๔. เปน็ หลกั สตู รทเี่ ปิดโอกาสใหส้ ถานศกึ ษา สถานประกอบการ ชุมชนและท้องถ่นิ มีส่วนร่วมในการพฒั นา
หลักสตู รให้ตรงตามความต้องการโดยยดึ โยงกับมาตรฐานอาชพี และสอดคล้องกบั สภาพยทุ ธศาสตร์ของ
ภูมภิ าคเพือ่ เพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
๒. จุดหมายของหลกั สูตร
๑. เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ทักษะและประสบการณ์ในงานอาชีพสอดคล้องกับมาตรฐานวชิ าชพี สามารถนําไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในการปฏิบตั งิ านอาชีพได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เลอื กวิถกี ารดาํ รงชีวติ ิและการประกอบอาชีพได้
อยา่ งเหมาะสมกบั ตน สร้างสรรค์ความเจริญต่อชมุ ชน ทอ้ งถิน่ และประเทศชาติ
๒. เพอ่ื ใหเ้ ป็นผมู้ ปี ัญญา มีความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์ใฝ่ เรียนรูเ้ พอื่ พฒั นาคุณภาพชวี ิตและการประกอบอาชพี มี
ทักษะการส่ือสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทกั ษะการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ทกั ษะการคิด วเิ คราะห์
๒๒
และการแก้ปัญหา ทักษะด้านสุขภาวะและความปลอดภยั ตลอดจนทักษะการจัดการ สามารถสรา้ งอาชีพและ
พัฒนาอาชีพใหก้ ้าวหน้าอยูเ่ สมอ
๓. มคี วามมัน่ ใจและภาคภมู ใิ จในวชิ าชีพทาี เรียน รักงาน รักหนว่ ยงาน สามารถทํางานเป็นหม่คู ณะได้ดโี ดยมี
ความเคารพในสทิ ธแิ ละหน้าท่ีของตนเองและผอู้ ่ืน
๔. เพ่อื ใหเ้ ปน็ ผมู้ ีพฤติกรรมทางสงั คมท่ีดงี าม ทั้งในการทาํ งาน การอยู่ร่วมกัน การต่อตา้ นความรุนแรงและสาร
เสพตดิ มีความรับผิดชอบตอ่ ครอบครัว หนว่ ยงาน ท้องถิ่นและประเทศชาติดาํ รงตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งเขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าของการอนรุ ักษ์ศิลปวฒั นธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ินมีจติ สาธารณะ
และจติ สาํ นึกในการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสร้างสิ่งแวดลอ้ มที่ดี
๕.เพื่อให้มบี ุคลิกภาพทดี่ ีมีมนุษยสมั พันธ์มีคณุ ธรรม จริยธรรม และวนิ ัยในตนเอง มีสุขภาพอนามัย ทส่ี มบรู ณ์
ทัง้ รา่ งกายและจติ ใจเหมาะสมกับงานอาชพี
๖.เพอ่ื ใหต้ ระหนกั และมีสว่ นร่วมในการแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกิจ สงั คม การเมืองของประเทศและโลก มีความรัก
ชาติสาํ นึกในความเป็ นไทย เสียสละเพอื่ ส่วนรวม ดํารงรักษาไว้ซ่ึงความม่ันคงของชาติศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็ นประมุข
๓. หลักเกณฑก์ ารใช้หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี พุทธศักราช ๒๕๖๒
๑.การเรยี นการสอน
๑.๑ การเรยี นการสอนตามหลกั สตู รน้ีผู้เรยี นสามารถลงทะเบยี นเรยี นได้ทุกวธิ เี รยี นที่กําหนด และนําผลการ
เรียนแต่ละวธิ ีมาประเมินผลรว่ มกนั ไดส้ ามารถขอเทียบโอนผลการเรียน และขอเทยี บโอนความรู้และ
ประสบการณ์ได้
๑.๒การจดั การเรี ยนการสอนเน้นการปฏบิ ตั ิจริ ง สามารถจัดการเรยี นการสอนได้หลากหลายรปู แบบ เพื่อให้
ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในหลกั การ วิธกี ารและการดําเนนิ งาน มีทกั ษะการปฏบิ ัติงานตามแบบแผนใน
ขอบเขตสาํ คญั และบริบทต่าง ๆ ท่ีสัมพนั ธ์กันซ่งึ ส่วนใหญ่เป็ นงานประจํา ให้คําแนะนําพืน้ ฐานท่ีต้องใชใ้ นการ
ตดั สินใจ วางแผนและแก้ไขปัญหาโดยไม่อยู่ภายใตก้ ารควบคุมในบางเรื่อง สามารถ
๒๓
ประยกุ ตใ์ ช้ความร้ทู กั ษะทางวิชาชพี เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารในการแก้ปัญหาและการปฏิบัติงาน
ในบรบิ ทใหม่ รวมทั้งรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและผู้อน่ื ตลอดจนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชีพ เจตคติ
และกจิ นิสยั ท่ีเหมาะสมในการทาํ งาน
๒.การจัดการศกึ ษาและเวลาเรยี น
การจัดการศึกษาในระบบปกตใิ ชร้ ะยะเวลา ๓ ปี การศึกษา การจดั เวลาเรียนให้ดําเนินการ ดงั น้ี
๒.๑ในปี การศึกษาหนึ่งๆ ให้แบ่งภาคเรียนออกเป็น ๒ ภาคเรยี นปกตหิ รือระบบทวภิ าค ภาคเรียนละ18
สัปดาห์ รวมเวลาการวดั ผล โดยมีเวลาเรยี นและจํานวนหน่วยกติ ตามทีÉกําหนด และสถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษา
หรอื สถาบันอาจเปิ ดสอนภาคเรยี นฤดูร้อนได้อีกตามท่เี หน็ สมควร
๒.๒ การเรยี นในระบบช้ันเรียน ให้สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาหรอื สถาบนั เปดิ ทาํ การสอนไม่น้อยกวา่ สปั ดาห์ละ5
วัน ๆ ละไม่เกิน 7 ช่ัวโมง โดยกาํ หนดให้จัดการเรียนการสอนคาบละ60 นาที
๓.การคดิ หน่วยกิต
ให้มีจํานวนหน่วยกติ ตลอดหลกั สตู รไมน่ ้อยกว่า ๑๐๓-๑๑๐ หนว่ ยกิต การคิดหนว่ ยกิตถอื เกณฑด์ งั น้ี
๓.๑ รายวิชาทฤษฎที ่ีใชเ้ วลาในการบรรยายหรอื อภปิ ราย1 ช่วั โมงตอ่ สัปดาห์ หรอื ๑๘ ชว่ั โมงต่อภาคเรยี นรวม
เวลาการวดั ผล มีคา่ เทา่ กับ ๑ หนว่ ยกิต
๓.๒ รายวิชาปฏิบตั ิทใี่ ชเ้ วลาในการทดลองหรือฝึกปฏิบัติในห้องปฏบิ ัตกิ าร ๒ ชวั่ โมงต่อสัปดาห์ หรือ ๓๖
ช่ัวโมงต่อภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มคี า่ เทา่ กบั ๑ หน่วยกิต
๓.๓ รายวชิ าปฏิบตั ทิ ี่ใช้เวลาในการฝกึ ปฏบิ ัติในโรงฝึกงานหรือภาคสนาม ๓ ช่วั โมงตอ่ สปั ดาห์ หรือ ๕๔ ชวั่ โมง
ตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มคี ่าเท่ากับ ๑ หน่วยกติ
๓.๔ การฝกึ อาชีพในการศึกษาระบบทวภิ าคที ี่ๆกกเกเกกเเเเกกกกฟปใช้เวลาไมน่ ้อยกวา่ ๕๔ ชวั่ โมงตอ่ ภาค
เรียน รวมเวลาการวดั ผล มคี า่ เท่ากับ ๑ หนว่ ยกติ
๓.๕ การฝึกประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชพี ในสถานประกอบการทใี่ ช้เวลาไมน่ ้อยกว่า ๕๔ ชัว่ โมงต่อภาคเรียน
รวมเวลาการวดั ผล มีคา่ เทา่ กับ ๑ หน่วยกติ
๒๔
๓.๖การทําโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชพี ท่ีใชเ้ วลาไม่น้อยกวา่ ๔๕ ช่ัวโมงต่อภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล
มคี ่าเทา่ กบั ๑ หนว่ ยกิต
๔. โครงสร้างหลกั สูตร
โครงสร้างของหลกั สตู รประกาศนียบตั รวชิ าชีพ พุทธศักราช ๒๕๖๒ แบ่งเป็น ๓ หมวดวชิ า และกิจกรรม
เสรมิ หลกั สตู ร ดงั น้ี
๔.๑ หมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง ไม่น้อยกวา่ ๒๒ หนว่ ยกิต
๔.๑.๑ กลมุ่ วชิ าภาษาไทย
๔.๑.๒ กกลุ่มวชิ าภาษาตา่ งประเทศ
๔.๑.๓ กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตร์
๔.๑.๔ กลมุ่ วิชาคณติ ศาสตร์
๔.๑.๕ กลมุ่ วชิ าสงั คมศึกษา
๔.๑.๖ กลมุ่ วชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา
๔.๒ หมวดวชิ าสมรรถนะวิชาชพี ไม่นอ้ ยกวา่ ๗๑ หนว่ ยกติ
๔.๒.๑ กลมุ่ สมรรถนะวชิ าชีพพน้ื ฐาน
๔.๒.๒ กลุ่มสมรรถนะวิชาชพี เฉพาะ
๔.๒.๓ กลมุ่ สมรรถนะวชิ าชพี เลือก
๔.๒.๔ ฝึกประสบการณส์ มรรถนะวิชาชพี
๔.๒.๕ โครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี
๒๕
๔.๓หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกว่า ๑๐ หน่วยกติ
๔.๔ กิจกรรมเสริมหลกั สตู ร (๒ ชัว่ โมง/สัปดาห์) - หนว่ ยกติ
หหมายเหตุ
๑) จาํ นวนหน่วยกิตของแต่ละหมวดวชิ าและกลุ่มวิชาในหลักสูตร ให้เป็ นไปตามทกี่ ําหนดไว้ในโครงสรา้ ง
ของแตล่ ะประเภทวิชาและสาขาวิชา
๒) การพฒั นารายวชิ าในกลุ่มสมรรถนะวชิ าชีพพ้นื ฐานและกลุ่มสมรรถนะวชิ าชพี เฉพาะ จะเปน็ รายวชิ า
บังคบั ทสี่ ะท้อนความเป็ นสาขาวชิ าตามมาตรฐานการศกึ ษาวชิ าชีพ ดา้ นสมรรถนะวิชาชีพของ
สาขาวิชา ซ่ึงยึดโยงกับมาตรฐานอาชีพ จึงต้องพฒั นากลมุ่ รายวิชาใหค้ รบจาํ นวนหนว่ ยกติ ท่กี ําหนด
และผู้เรียนตอ้ งเรียนทุกรายวิชา
๓) สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาหรือสถาบนั สามารถจัดรายวชิ าตามท่กี ําหนดไว้ในหลักสูตร และหรือพัฒนา
เพ่ิมตามความต้องการเฉพาะดา้ นของสถานประกอบการหรอื ตามยทุ ธศาสตรภ์ ูมภิ าค เพื่อเพ่ิมขดี
ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ ท้ังน้ี ต้องเป็ นไปตามเงอื่ นไขและมาตรฐานการศกึ ษาวิชาชพี
ทปี่ ระเภทวชิ า สาขาวชิ าและสาขางานกาํ หนด
๕.การฝึกประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชพี
เปน็ การจดั กระบวนการเรียนรโู้ ดยความรว่ มมอื ระหว่างสถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั กับภาคการผลิต
และหรือภาคบริการ หลงั จากที่ผู้เรียนไดเ้ รยี นร้ภู าคทฤษฎแี ละการฝกึ หดั หรือฝกึ ปฏิบัตเิ บ่ืองต้นในสถานศกึ ษา
อาชีวศึกษาหรือสถาบนั แลว้ ระยะเวลาหนงึ่ ทง้ั น้เี พื่อเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรูจ้ ากประสบการณจ์ ริง ได้
สัมผัสกับการปฏบิ ัติงานอาชีพ เครือ่ งมือเคร่ืองจักร อปุ กรณ์ทท่ี ันสมัย และบรรยากาศการทํางานรว่ มกนั
สง่ เสรมิ การฝกึ ทักษะ กระบวนการคิด กาจัดการ การเผชิญสถานการณ์ ซ่งึ จะช่วยใหผ้ ้เู รยี นทาํ ได้ คิดเปน็ ทาํ
เป็นและเกิดการใฝ่ รอู้ ย่างต่อเนือ่ ง ตลอดจนเกดิ ความม่นั ใจและเจตคติที่ดีในการทาํ งานและการประกอบ
อาชพี อสิ ระโดยการจดั ฝึกประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชีพต้องดําเนนิ การ ดงั น้ี
๕.๑ สถานศกึ ษาอาชวี ศึกษาหรือสถาบนั ต้องจัดใหม้ ีการฝึกประสบการณ์สมรรถนะวิชาชพี ในรูปของการ
ฝกึ งานในสถานประกอบการ แหล่งวทิ ยาการ รฐั วิสาหกิจหรือหนว่ ยงานของรัฐ ในภาคเรียนที่ ๕ และหรอื ภาค
เรียนที่ ๖ โดยใชเ้ วลารวมไมน่ ้อยกวา่ ๓๒๐ ชัว่ โมง กาํ หนดใหม้ คี ่าเท่ากบั ๔ หน่วยกิตกรณสี ถานศึกษา
๒๖
อาชีวศกึ ษาหรือสถาบันต้องการเพิ่มพนู ประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชีพ สามารถนํารายวิชาที่ตรงหรือสมั พันธ์
กับลักษณะงานไปเรียนหรือฝึกในสถานประกอบการ รฐั วิสาหกิจหรอื หน่วยงานของรฐั ในภาคเรียนที่จัดฝกึ
ประสบการณ์สมรรถนะวชิ าชีพได้รวมไม่น้อยกวา่ ๑ ภาคเรียน
๕.๒ การตัดสนิ ผลการเรียนและให้ระดบั ผลการเรยี น ให้ปฏิบัติเชน่ เดียวกบั รายวิชาอน่ื
๖. โครงงานพัฒนาสมรรถนะวชิ าชีพ
เปน็ รายวชิ าท่เี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้ศกึ ษาค้นคว้า บูรณาการความรู้ ทักษะและประสบการณ์จากส่ิงที่ได้
เรียนรู้ ลงมอื ปฏบิ ตั ิดว้ ยตนเองตามความถนัดและความสนใจ ต้ังแตก่ ารเลอื กหวั ข้อหรอื เรื่องทีจ่ ะศึกษา
ทดลอง พฒั นาและหรือประดษิ ฐค์ ิดคน้ โดยการวางแผน กาํ หนดขั้นตอนกระบวนการ ดาํ เนินการ ประเมินผล
สรุปและจดั ทํารายงานเพื่อนาํ เสนอ ซง่ึ อาจทําเป็นรายบุคคลหรือกลุ่มก็ได้ ทง้ั นี้ ขึ้นอยู่กบั ลักษณะของโครงงาน
น้นั ๆ โดยการจดั ทาํ โครงงานดังกลา่ วตอ้ งดําเนินการ ดังน้ี
๖.๑ สถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาหรอื สถาบนั ต้องจดั ให้ผเู้ รยี นจัดทําโครงงานพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี ที่สมั พันธห์ รือ
สอดคลอ้ งกับสาขาวิชา ในภาคเรยี นที่ ๕ และหรือภาคเรยี นท่ี ๖ รวมจํานวน ๔ หนว่ ยกติ ใช้เวลาไมน่ ้อยกว่า
๒๑๖ ชว่ั โมง ทั้งนี้ สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาหรอื สถาบนั ตอ้ งจดั ให้มีชัว่ โมงเรียน ๔ ชวั่ โมง ต่อสัปดาห์ กรณีที่
กาํ หนดใหเ้ รียนรายวชิ าโครงงาน ๔ หนว่ ยกิต หากจดั ให้เรยี นรายวิชาโครงงาน ๒ หนว่ ยกติ คอื โครงงาน ๑
และโครงงาน ๒ ใหส้ ถานศึกษาอาชวี ศึกษาหรอื สถาบนั จดั ใหม้ ชี วั่ โมงเรียนต่อสัปดาห์ท่เี ทียบเคียงกับเกณฑ์
ดังกลา่ วข้างตน้
๖.๒ การตัดสนิ ผลการเรยี นและใหร้ ะดับผลการเรยี น ให้ปฏิบัตเิ ชน่ เดียวกับรายวชิ าอ่ืน
๗. กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตร
๗.๑ สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาหรอื สถาบันต้องจัดใหม้ ีกจิ กรรมเสรมิ หลักสตู รไมน่ ้อยกวา่ ๒ชั่วโมงต่อสัปดาห์ทกุ
ภาคเรียนเพ่อื สง่ เสรมิ สมรรถนะแกนกลางและหรือสมรรถนะวชิ าชีพ ปลูกฝงั คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม
ระเบียบวินัยการต่อต้านความรนุ แรง สารเสพติดและการทุจรติ เสริมสร้างการเปน็ พลเมืองไทยและ พลโลก ใน
ดา้ นการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสรมิ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรง
เป็ นประมุข ทะนบุ ํารงุ ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญาไทย ปลูกฝังจิตสํานึกและจติ อาสาในการ
๒๗
อนรุ กั ษ์สิ่งแวดล้อมและทําประโยชนต์ ่อชุมชนและท้องถน่ิ ท้ังนโี้ ดยใช้กระบวนการกล่มุ ในการวางแผน ลงมอื
ปฏบิ ตั ิประเมนิ ผลและปรับปรุงการทาํ งานสําหรบั นักเรียนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีใหเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมท่สี ถาน
ประกอบการจดั ขึน้
๗.๒ การประเมินผลกจิ กรรมเสริมหลักสูตร ให้เป็นไปตามระเบยี บสาํ นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาวา่
ดว้ ยการจดั การศึกษาและการประเมนิ ผลการเรียนตามหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี
๘.การจัดแผนการเรียน
เปน็ การกําหนดรายวิชาตามโครงสรา้ งหลกั สูตรท่จี ะดาํ เนินการเรียนการสอนในแตล่ ะภาคเรียน โดยจดั
อตั ราส่วนการเรียนร้ภู าคทฤษฎีต่อภาคปฏบิ ัติในหมวดวิชาสมรรถนะวชิ าชีพ ประมาณ ๒๐ : ๘๐ ทง้ั น้ี ขน้ึ อยู่
กับลกั ษณะหรือกระบวนการจดั การเรยี นรขู้ องแตล่ ะสาขาวิชา ซง่ึ มขี ้อเสนอแนะดังน้ี
๘.๑ จัดรายวชิ าในแต่ละภาคเรียน โดยคํานึงถงึ รายวิชาที่ต้องเรียนตามลําดับก่อน-หลงั ความง่าย-ยาก ของ
รายวชิ า ความต่อเน่อื งและเชื่อมโยงสมั พนั ธ์กนั ของรายวิชา รวมท้งั รายวชิ าท่ีสามารถบรู ณาการจัดการเรยี นรู้
รว่ มกันในลักษณะของงาน โครงงานและหรือชนิ้ งานในแตล่ ะภาคเรียน
๘.๒ จดั ให้ผู้เรียนเรียนรายวชิ าบงั คบั ในหมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง หมวดวิชาสมรรถนะวชิ าชีพในกล่มุ
สมรรถนะวิชาชีพพนื้ ฐานและกลุ่มสมรรถนะวิชาชพี เฉพาะ และกจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรให้ครบตามท่ีกาํ หนดใน
โครงสรา้ งหลกั สตู ร
๘.๓ จัดให้ผเู้ รียนได้เลอื กเรียนรายวิชาชีพเลอื กและวชิ าเลือกเสรี ตามความถนดั ความสนใจเพอื่ สนับสนุนการ
ประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อ
๘.๔ จัดรายวชิ าทวภิ าคแี ละรายวชิ าทนี่ าํ ไปเรียนและฝึกในสถานประกอบการ รฐั วสิ าหกจิ หรือหน่วยงานของ
รัฐ โดยประสานงานร่วมกับสถานประกอบการ รฐั วสิ าหกจิ หรื อหนว่ ยงานของรฐั เพ่ือพิจารณากําหนดรายวชิ า
หรอื กลุ่มวิชาทต่ี รงกับลกั ษณะงานของสถานประกอบการ รฐั วสิ าหกจิ หรือหนว่ ยงานของรัฐในภาคเรยี นน้ัน ๆ
๒๘
๘.๕ จัดรายวิชาฝึ กงานในภาคเรียนที่ ๕ หรือ ๖ ครัง้ เดียว จาํ นวน ๔ หนว่ ยกิต (เฉลย่ี ๒๐ ชว่ั โมงตอ่ สปั ดาห์
ต่อภาคเรียน) หรือจดั ใหล้ งทะเบยี นเรยี นเป็น ๒ ครงั้ คอื ภาคเรยี นที่ ๕ จํานวน ๒ หนว่ ยกิต และภาคเรียนท่ี
๖ จํานวน ๒ หนว่ ยกติ (เฉล่ยี ๑๐ ชั่วโมงต่อสปั ดาห์ตอ่ ภาคเรียน) ตามเงื่อนไขของหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ
๘.๖ จดั รายวชิ าโครงงานในภาคเรียนท่ี ๕ หรอื ๖ ครัง้ เดยี วจาํ นวน ๔ หนว่ ยกิต หรือจัดให้ลงทะเบียนเรยี น
เป็น ๒ ครงั้ คอื ภาคเรียนที่ ๕ และภาคเรยี นท่ี ๖ รวม ๔ หนว่ ยกิต ตามเงื่อนไขของหลักสตู รสาขาวชิ านั้น ๆ
๘.๗ จดั กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรในแตล่ ะภาคเรยี น ภาคเรยี นละไม่น้อยกวา่ ๒ ชว่ั โมงต่อสัปดาห์
๘.๘ จัดจํานวนหน่วยกติ รวมในแตล่ ะภาคเรยี น ไม่เกิน ๒๒ หน่วยกติ สาํ หรับการเรยี นแบบเตม็ เวลาและไมเ่ กิน
๑๒ หน่วยกติ สาํ หรบั การเรยี นแบบไมเ่ ต็มเวลา สว่ นภาคเรียนฤดรู ้อนจดั ไดไ้ ม่เกิน ๑๒ หนว่ ยกติ ทัง้ น้ี
เวลาในการจดั การเรียนการสอนโดยเฉล่ยี ไม่ควรเกิน ๓๕ ชั่วโมงตอ่ สปั ดาห์หากสถานศึกษาอาชีวศกึ ษาหรือ
สถาบนั มีเหตผุ ลและความจําเป็นในการจดั หนว่ ยกติ และเวลาในการจดั การเรียนการสอนแต่ละภาคเรียนท่ี
แตกต่างไปจากเกณฑ์ข้างต้น อาจทําได้แตต่ ้องไม่กระทบต่อมาตรฐานและคุณภาพการศึกษา
๔. โครงสร้างหลกั สตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พุทธศกั ราช ๒๕๖๒
ประเภทวิชาพาณชิ ยกรรม สาขาวิชาการตลาด
ผสู้ ําเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม
สาขาวชิ าการตลาดจะต้องศกึ ษารายวชิ าจากหมวดวิชาตา่ ง ๆ รวมไมน่ ้อยกวา่ ๑๐๓ หนว่ ยกิตและเขา้ รว่ ม
กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร ดงั โครงสร้างต่อไปนี้
๑. หมวดวชิ าสมรรถนะแกนกลาง ไมน่ ้อยกว่า ๒๒ หน่วยกติ
๑ ๑ กลุม่ วชิ าภาษาไทย (ไมน่ ้อยกว่า ๓ หน่วยกิต)
๑.๒ กลมุ่ วิชาภาษาตา่ งประเทศ (ไมน่ อ้ ยกว่า ๖ หน่วยกิต)
๑ ๓ กลมุ่ วิชาวิทยาศาสตร์ (ไมน่ ้อยกว่า ๔ หนว่ ยกติ )
๒๙
๑.๔ กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ (ไม่น้อยกวา่ ๔ หน่วยกติ )
๑.๕ กลมุ่ วชิ าสงั คมศึกษา (ไมน่ อ้ ยกวา่ ๓ หน่วยกิต)
๑.๖ กลมุ่ วชิ าสุขศึกษาและพลศึกษา (ไม่น้อยกว่า ๒ หนว่ ยกิต)
๒. หมวดวชิ าสมรรถนะวชิ าชพี ไมน่ ้อยกว่า ๗๑ หนว่ ยกติ
๒.๑ กลมุ่ สมรรถนะวิชาชีพพ้ืนฐาน (๒๑ หน่วยกิต)
๒.๒ กลมุ่ สมรรถนะวชิ าชพี เฉพาะ (๒๔ หนว่ ยกิต)
๒.๓ กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพเลอื ก (ไม่นอ้ ยกว่า ๑๘ หน่วยกิต)
๒.๔ ฝกึ ประสบการณ์สมรรถนะวชิ าชีพ (๔ หนว่ ยกิต)
๒.๖ โครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ (๔ หนว่ ยกติ )
๓. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมน่ ้อยกว่า ๑๐ หน่วยกติ
๔. กิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร (๒ ชวั่ โมงต่อสัปดาห)์
รวม ไม่นอ้ ยกว่า ๑๐๓ หน่วยกิต
๑. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไมน่ ้อยกวา่ ๒๒ หน่วกิต
๑.๑ กลมุ่ วิชาภาษาไทย (ไม่น้อยกวา่ ๓ หน่วยกิต) ให้เรยี นรายวิชา
20000-1101 จ านวน 2 หน่วยกติ แล้วเลือกเรียนรายวชิ าอ่นื จนครบหน่วยกิตทก่ี าหนด
รหัสวชิ า ช่ือวิชา ท-ป-น
20000-1101 ภาษาไทยพน้ื ฐานฯ 2-0-2
20000-1102 ภาษาไทยเพ่ืออาชีพ 0-2-1
20000-1103 ภาษาไทยธรุ กิจ 0-2-1
๓๐
20000-1104 การพูดภาษาไทยในงานอาชีพ 0-2-1
20000-1105 การเขยี นภาษาไทยในงานอาชีพ 0-2-1
20000-1106 0-2-1
20000*1101 ถงึ ภาษาไทยเชิงสรา้ งสรรค์ *-*-*
20000*1199 รายวชิ าในกลุม่ วชิ าภาษาไทย
ทส่ี ถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา
หรอื สถาบันพฒั นาเพิ่มเติม
๑.๒ กลมุ่ วชิ าภาษาตา่ งประเทศ (ไมน่ ้อยกวา่ 6 หนว่ ยกติ )
ใหเ้ รียนรายวชิ า 20000-1201 ส าหรบั ภาคเรยี นที่ 1และรายวชิ า 20000-1208 สาํ าหรับภาคเรียนที่ ๖ รวม
๓ หนว่ ยกติ และเลอื กเรียนรายวชิ าภาษาอังกฤษรายวชิ าอื่นที่สอดคล้องกบั ประเภทวชิ าที่เรียน จนครบ#หน่วย
กิตทก่ี าหนด
๑.๒.๑ กล่มุ ภาษาองั กฤษ
รหัสวชิ า ชื่อวชิ า ท-ป-น
20000-1201 ภาษาองั กฤษในชวี ติ จรงิ 0-2-1
20000-1202 ภาษาอังกฤษฟัง – พดู 0-2-1
20000-1203 การอา่ นสอื่ สิง่ พมิ พภ์ าษาอังกฤษ 0-2-1
20000-1204 การเขียนภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวนั 0-2-1
20000-1205 ภาษาอังกฤษสถานประกอบการ 0-2-1
20000-1206 ภาษาองั กฤษอนิ เทอร์เนต็ 0-2-1
20000-1207 ภาษาองั กฤษโครงงาน 0-2-1
๓๑
20000-1208 ภาษาอังกฤษเตรยี มความพร้อมเพือ่ การทาํ างาน 0-2-1
20000-1210 ภาษาองั กฤษสาหรับงานธุรกจิ 0-2-1
๑.๒.๒ กลมุ่ ภาษาต่างประเทศอนื่
สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาหรือสถาบนั สามารถเลือกรายวิชาต่อไปนี้ไปจดั การเรยี นการสอนเพ่ิมเติมในกล่มุ วชิ า
ภาษาตา่ งประเทศ หรือในกลุ่มทักษะวิชาชพี เลือก หรอื หมวดวชิ าเลือกเสรีได้
รหสั วิชา ช่ือวิชา ท-ป-น
20000-1220 ภาษาจนี เพ่ือการสือ่ สารในชีวติ ประจําวัน 0-2-1
20000-1221 ภาษาจนี เพ่อื การสอ่ื สารในงานอาชีพ 0-2-1
20000-1222 ภาษาญ่ีปุน่ เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวัน 0-2-1
20000-1223 ภาษาญี่ป่นุ เพ่ือการสื่อสารในงานอาชพี 0-2-1
20000-1224 ภาษาเกาหลเี พ่ือการส่ือสารในชวี ติ ประจําวนั 0-2-1
20000-1225 ภาษาเกาหลเี พ่ือการสื่อสารในงานอาชีพ 0-2-1
20000-1226 ภาษาเวยี ดนามเพ่ือการส่ือสารในชีวติ ประจาํ วัน 0-2-1
20000-1227 ภาษาเวยี ดนามเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 0-2-1
20000-1228 ภาษาอนิ โดนเี ซียเพอื่ การสื่อสารในชวี ติ ประจาํ วนั 0-2-1
20000-1229 ภาษาอินโดนเี ซยี เพ่ือการสอื่ สารในงานอาชีพ 0-2-1
20000-1230 ภาษาพม่าเพอื่ การสอ่ื สารในชีวติ ประจาํ วนั 0-2-1
20000-1231 ภาษาพม่าเพ่อื การส่อื สารในงานอาชีพ 0-2-1
๓๒
20000-1232 ภาษาเขมรเพื่อการส่อื สารในชีวติ ประจําวัน 0-2-1
20000-1233 ภาษาเขมรเพ่ือการสอื่ สารในงานอาชีพ 0-2-1
20000-1234 ภาษาลาวเพื่อการสื่อสารในชีวติ ประจาํ วนั 0-2-1
20000-1235 ภาษาลาวเพ่อื การสื่อสารในงานอาชีพ 0-2-1
20000-1236 ภาษามาเลเซียเพอื่ การส่ือสารในชีวิตประจาํ วัน 0-2-1
20000-1237 ภาษามาเลเซียเพอ่ื การสือ่ สารในงานอาชีพ 0-2-1
20000-1238 ภาษาฟิลิปปนิ สเ์ พื่อการส่อื สารในชวี ิตประจาํ วัน 0-2-1
20000-1239 ภาษาฟิลปิ นิ สเ์ พื่อการสอื่ สารในงานอาชพี 0-2-1
20000-1240 ภาษารัสเซียเพื่อการสอื่ สารในชีวติ ประจําวนั 0-2-1
20000-1241 ภาษารสั เซียเพอ่ื การสอื่ สารในงานอาชพี 0-2-1
20000-1242 ภาษาเยอรมนั เพื่อการส่อื สารในชีวติ ประจําวนั 0-2-1
20000-1243 ภาษาเยอรมันเพื่อการส่อื สารในงานอาชพี 0-2-1
20000-1244 ภาษาฝรง่ั เศสเพือ่ การส่ือสารในชีวิตประจาํ วัน 0-2-1
20000-1245 ภาษาฝร่งั เศสเพื่อการสื่อสารในงานอาชีพ 0-2-1
20000*1201 ถงึ รายวชิ าในกลุม่ วิชาภาษาต่างประเทศทส่ี ถานศกึ ษา *-*-*
20000*1299 อาชวี ศึกษา หรือสถาบันพฒั นาเพมิ่ เติม
๓๓
๑.๓ กลุ่มวิชาวทิ ยาศาสตร์ (ไม่นอ้ ยกวา่ 4 หนว่ ยกิต)
ใหเ้ รยี นรายวิชา 20000-1301จ านวน 2 หน่วยกิต และเลือกเรียนรายวชิ าอนื่ จนครบหนว่ ยกิตทก่ี ําหนด
รหสั วชิ า ชอ่ื วิชา ท-ป-น
20000-1301 วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชีวติ 1-2-2
20000-1303 วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาอาชพี ธุรกจิ และบริการ 1-2-2
20000-1306 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 0-2-1
20000*1301 ถงึ รายวชิ าในกลมุ่ วชิ าวทิ ยาศาสตรท์ ่ีสถานศกึ ษา
20000*1399 อาชีวะศึกษาหรือสถาบนั พฒั นาเพ่มิ เติม *-*-*
๑.๔ กลุ่มวชิ าคณิตศาสตร์ (ไมน่ อ้ ยกวา่ 4 หน่วยกติ )
ใหเ้ รียนรายวิชา 20000-1401จ านวน 2 หนว่ ยกติ และเลอื กเรยี นรายวิชาอนื่ จนครบหน่วยกติ ท่ีกาหนด
รหัสวชิ า ช่อื วิชา ท-ป-น
20000-1401 คณิตศาสตรพ์ น้ื ฐานอาชีพ 2-0-2
20000-1404 คณิตศาสตร์ธรุ กจิ และบริการ 2-0-2
20000-1405 คณติ ศาสตรเ์ พอื่ การออกแบบ 2-0-2
20000-1406 สถิติการทดลอง 2-0-2
20000*1401 ถึง รายวิชาในกลมุ่ วิชาคณติ ศาสตร์ท่ีสถานศกึ ษา *-*-*
20000*1499 อาชวี ศกึ ษาหรือสถาบันพฒั นาเพิ่มเติม
๓๔
๑.๕ กลมุ่ วชิ าสงั คมศกึ ษา (ไม่น้อยกวา่ 3 หน่วยกิต)
ใหเ้ รยี นรายวิชาตอ่ ไปน้ี
รหัสวิชา ชือ่ วิชา ท-ป-น
20000-1501 หนา้ ที่พลเมืองและศีลธรรม 2-0-2
20000-1502 ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย 1-0-1
• รายวิชาในกลุ่มวชิ าสังคมศึกษาที่แนะนาเพ่มิ เตมิ
สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันสามารถเลอื กรายวชิ าต่อไปนี้ไปจัดการเรยี นการสอนเพิ่มเติมในกล่มุ วชิ า
สงั คมศึกษา หรือหมวดวิชาเลอื กเสรีได้
รหัสวิชา ชือ่ วชิ า ท-ป-น
20000-1503 ทกั ษะชีวติ และสงั คม 2-0-2
20000-1504 ภูมศิ าสตร์และประวตั ศิ าสตรไ์ ทย 2-0-2
20000-1505 อาเซยี นศกึ ษา 1-0-1
20000-1506 เหตกุ ารณ์ปัจจบุ นั 1-0-1
20000-1507 วัฒนธรรมอาเซยี น 1-0-1
20000*1501 ถึง รายวิชาในกลุ่มวชิ าสังคมศึกษาทีส่ ถานศึกษา *-*-*
20000*1599 อาชวี ศึกษาหรือสถาบันพฒั นาเพมิ่ เติม
๑.๖ กลมุ่ วชิ าสขุ ศกึ ษาและพลศึกษา (ไม่นอ้ ยกวา่ 2 หน่วยกติ )
ให้เลือกเรียนรายวชิ าในกลุ่มสุขศกึ ษา และกลมุ่ พลศกึ ษา รวมกนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 2 หน่วยกติ หรือเลือกเรยี น
รายวชิ าในกลุ่มบูรณาการ ไม่นอ้ ยกวา่ 2 หน่วยกิต
๓๕
๑.๖.๑ กลมุ่ สุขศกึ ษา
รหัสวิชา ชือ่ วิชา ท-ป-น20000-1601
เพศวถิ ี
ทักษะการดํารงชวี ติ เพื่อสุขภาวะ 1-0-1-20000-1602
ท-ป-น
ศกึ ษา 1-0-1 0-2-1
0-2-1
๑.๖.๒ กลุม่ พลศกึ ษา
ท-ป-น
รหัสวิชา ช่ือวิชา 1-2-2
1-2-2
20000-1603 พลศึกษาเพ่ือพฒั นาสขุ ภาพ *-*-*
20000-1604 พลศกึ ษาเพอื่ พัฒนากายภาพเฉพาะทาง
๑.๖.๓ กลมุ่ บรู ณาการ
รหสั วชิ า ช่ือวชิ า
20000-1605 ทกั ษะสุขภาพ
20000-1606 การพัฒนาคณุ ภาพชีวติ
20000*1601 ถึง รายวชิ าในกลุม่ วิชาสขุ ศึกษาและพลศึกษ
20000*1699 ท่ีสถานศึกษาอาชวี ศกึ ษาหรอื สถาบันพัฒนาเพ่ิมเตมิ
๒. หมวดวชิ าสมรรถนะวิชาชพี ไมน่ ้อยกว่า ๗๑ หนว่ ยกิต
๒.๑ กลุ่มสมรรถนะวชิ าชพี พ้ืนฐาน (๒๑ หนว่ ยกติ )
ใหเ้ รียนรายวิชาต่อไปนี้
๓๖
รหสั วชิ า ช่ือวิชา ท-ป-น
2-0-2
20001-1001 อาชวี อนามยั และความปลอดภยั 2-0-2
1-2-2
20001-1002 พลงั งาน ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม 2-0-2
1-2-2
20001-1003 ธรุ กิจและการเปน็ ผ้ปู ระกอบการ 2-0-2
2-2-3
20001-1005 กฎหมายพาณชิ ย์ 1-2-2
0-4-2
20001-2001 คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 0-4-2
( 24 หน่วยกิต)
20200-1001 เศรษฐศาสตรเ์ บ้อื งตน้
ท-ป-น
20200-1002 การบญั ชีเบอื้ งต้น 2-2-3
2-2-3
20200-1003 การขายเบือ้ งต้น 2-2-3
2-2-3
20200-1004 พมิ พไ์ ทยเบ้ืองตน้ 2-2-3
2-3-3
20200-1005 พมิ พ์องั กฤษเบ้ืองตน้ 1-4-3
๒.๒ กลุ่มสมรรถนะวชิ าชพี เฉพาะ
ให้เรยี นรายวิชาต่อไปนี้
รหสั วชิ า ช่ือวชิ า
20202-2001 การตลาดเบื้องต้น
20202-2002 การขายออนไลน์
20202-2003 การหาขอ้ มลู การตลาด
20202-2004 การดําเนินธรุ กจิ ขนาดย่อม
20202-2005 การจดั จาหนา่ ยสนิ ค้าและบริการ
20202-2006 การโฆษณาและการส่งเสริมการขาย
20202-2007 การจดั แสดงสินคา้
๓๗
20202-2008 การพัฒนาบุคลิกภาพนักขาย 2-2-3
๒.๓ กลุ่มสมรรถนะวิชาชพี เลือก (ไมน่ ้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต)
ให้เลือกเรียนรายวชิ าต่อไปนจี้ นครบหน่วยกติ ท่ีกาหนด
๒.๓.๑ สาขางานการตลาด
รหสั วชิ า ชอ่ื วิชา ท-ป-น
20202-2101 การจัดซ้อื เบือ้ งตน้ 2-0-2
20202-2102 การขายตรง 2-2-3
20202-2103 การคา้ ปลกี และการคา้ ส่ง 2-2-3
20202-2104 การบรรจุภัณฑ์ 1-2-2
20202-2105 ลูกค้าสมั พันธ์ 1-2-2
20202-2106 การกําหนดราคา 2-0-2
20202-2107 การประกันภยั 2-2-3
20202-2108 การขายประกนั ชีวติ 1-2-2
20202-2109 การจัดการผลิตภัณฑท์ อ้ งถิน่ 2-2-3
20202-2110 การคดิ เชงิ สรา้ งสรรคท์ างการตลาด 1-2-2
20202-2111 การคา้ กล่มุ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น 3-0-3
20202-2112 ศลิ ปะเชงิ พาณิชย์ 1-2-2
20202-2113 ศิลปะการขาย 2-2-3
20202-2114 กฎหมายธุรกิจคา้ ปลกี และขายตรง 2-0-2
20212-2104 ภาษาองั กฤษส าหรับพนักงานขาย 1-2-2
20202*2101 ถึง รายวชิ าชพี เลอื กทีส่ ถานศึกษาอาชวี ศึกษาหรือสถาบนั *-*-*
๓๘
20202*2199
พัฒนาเพิ่มเตมิ ตามความต้องการของสถานประกอบการหรือตามยุทธศาสตรข์ องภมู ภิ าครายวิชาทวภิ าคี
รหัสวิชา ชื่อวชิ า ท-ป-น
20202-5101 ปฏบิ ัตงิ านการตลาด๑ *-*-*
20202-5102 ปฏบิ ัติงานการตลาด๒ *-*-*
20202-5103 ปฏิบัติงานการตลาด๓ *-*-*
20202-5104 ปฏิบัตงิ านการตลาด๔ *-*-*
20202-5105 ปฏิบตั ิงานการตลาด๕ *-*-*
20202-5106 ปฏบิ ตั ิงานการตลาด๖ *-*-*
สพหรบั การจดั การศกึ ษาระบบทวิภาคไี มน่ ้อยกวา่ ๑๘ หนว่ ยกิตน้นั ให้สถานศึกษาและสถาน-ประกอบการ
รฐั วิสาหกจิ หรอื หน่วยงานของรฐั ที่ร่วมจัดการศึกษาระบบทวิภาคีร่วมกนั วิเคราะห์ลักษณะงานของสถาน
ประกอบการ รฐั วสิ าหกิจ หรือหน่วยงานของรัฐ เพื่อกาหนดรายละเอยี ดของแตล่ ะรายวชิ าทวิภาคี ได้แก่
จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ าคาอธิบายรายวิชา เวลาทใ่ี ชฝ้ ึ กและจ านวนหน่วยกิตเพ่ือนําไปจัดทาํ
แผนการฝกึ อาชพี และแนวการวดั และประเมินผลรายวิชา ท้ังนโ้ี ดยใหใ้ ชเ้ วลาฝึกในสถานประกอบการไมน่ ้อย
กว่า ๕๔ ชัว่ โมง มคี ่าเท่ากับ ๑ หน่วยกติ
๒.๔ ฝึกประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชีพ (๔ หน่วยกิต)
ใหเ้ ลอื กเรยี นรายวชิ า 20202-8001 จํานวน ๔ หน่วยกติ หรือรายวชิ า 20202-8002และ20202-8003 รวม ๔
หน่วยกติ
รหัสวิชา ช่ือวิชา ท-ป-น
20202-8001 ฝกึ งาน *-*-4
20202-8002 ฝึกงาน ๑ *-*-2
20202-8003 ฝึกงาน ๒ *-*-2
๓๙
๒.๕ โครงงานพัฒนาสมรรถนะวชิ าชพี (4 หน่วยกติ )
ใหเ้ ลือกเรียนรายวิชา 20214-8501 จาํ นวน ๔ หน่วยกติ หรือรายวิชา 20214-8502 และ20214-8503 รวม ๔
หนว่ ยกิต
รหัสวิชา ชอ่ื วชิ า ท-ป-น
20202-8501 โครงงาน *-*-4
20202-8502 โครงงาน ๑ *-*-2
20202-8503 โครงงาน ๒ *-*-2
๓. หมวดวิชาเลอื กเสรไี มน่ ้อยกว่า 10 หน่วยกติ
ใหเ้ ลอื กเรยี นตามความถนดั และความสนใจจากรายวิชาในหลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชพี พุทธศกั ราช
๒๕๖๒ ทุกประเภทวชิ าและสาขาวชิ า
๔. กิจกรรมเสริมหลักสูตร (2 ช่วั โมงตอ่ สัปดาห์)
ให้จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรรายวิชา 20000-2001และ 20000-2002และเลือกเรยี นรายวชิ ากจิ กรรมเสริม
หลักสูตรอ่ืนใหค้ รบทกุ ภาคเรียน
รหสั วชิ า ช่อื วชิ า ท-ป-น
20000-2001 กิจกรรมลกู เสือวสิ ามัญ ๑ 0-2-0
20000-2002 กจิ กรรมลกู เสอื วิสามญั ๒ 0-2-0
20000-2003 กิจกรรมองค์การวชิ าชพี ๑ 0-2-0
20000-2004 กิจกรรมองค์การวิชาชพี ๒ 0-2-0
20000-2005 กจิ กรรมองค์การวชิ าชพี ๓ 0-2-0
20000-2006 กจิ กรรมองค์การวชิ าชีพ ๔ 0-2-0
20000-2007 กจิ กรรมส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรม 0-2-0
๔๐
20000*2001ถึง กิจกรรมนกั ศึกษาวชิ าทหาร/กจิ กรรมท่ีสถานศกึ ษา 0-2-0
20000*20XX หรือสถานประกอบการจัด
๔๑
๑.๓.๒ หลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สูง (ปวส.) พุทธศกั ราช ๒๕๖๓
๔๒
๑. หลักการของหลกั สูตร
๑.๑ เปน็ หลักสตู รระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชั้นสงู เพ่ือพัฒนากําลังคนระดบั เทคนิคให้มสี มรรถนะ มี
คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชพี สามารถประกอบอาชีพไดต้ รงตามความต้องการของ
ตลาดแรงงานและการประกอบอาชีพอสิ ระ สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติและแผนการศึกษาแหง่ ชาติ เป็นไปตามกรอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ
มาตรฐานการศึกษาของชาติ และกรอบคุณวุฒอิ าชวี ศึกษาแหง่ ชาติ
๑.๒ เปน็ หลกั สูตรทเ่ี ปดิ โอกาสให้เลือกเรียนไดอ้ ย่างกว้างขวาง เนน้ สมรรถนะเฉพาะดา้ นดว้ ยการปฏิบตั จิ ริง
สามารถเลือกวิธีการเรียนตามศักยภาพและโอกาสของผเู้ รยี น เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นสามารถเทยี บโอนผลการ
เรยี นสะสมผลการเรียน เทียบโอนความรแู้ ละประสบการณ์จากแหลง่ วิทยาการ สถานประกอบการและสถาน
ประกอบอาชีพอิสระ
๑.๓ เป็นหลักสตู รทีม่ ่งุ เนน้ ให้ผ้สู สําเรจ็ การศกึ ษามีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ มีความรู้เต็มภูมิ ปฏบิ ตั ไิ ด้
จรงิ มคี วามเปน็ ผ้นู าํ และสามารถทํางานเป็นหมคู่ ณะได้ดี
๑.๔ เป็นหลกั สตู รทสี่ นบั สนนุ การประสานความร่วมมือในการจดั การศึกษารว่ มกนั ระหวา่ งหน่วยงานและ
องค์กรทเ่ี กย่ี วข้อง ทั้งภาครฐั และเอกชน
๑.๕ เป็นหลกั สตู รทเี่ ปดิ โอกาสให้สถานศึกษา สถานประกอบการ ชุมชนและทอง้ ถน่ิ มสี ่วนร่วมในการพฒั นา
หลกสั ตู รใหต้ รงตามความตอ้งการและสอดคล้องกบสภาพยุทธศาสตรข์ องภูมิภาค เพื่อเพิ่มขดี ความสามารถใน
การแขง่ ขนั ของประเทศ
๒. จดุ หมายของหลกั สตู ร
๒.๑ เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ทางทฤษฎีและเทคนิคเชงิ ลึกภายใต้ขอบเขตของงานอาชีพ มีทักษะดา้ น
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเพ่ือใช้ในการดํารงชีวิตและงานอาชพี สามารถศึกษาค้น คว้า
เพมิ่ เตมิ หรอื ศกึ ษาตอ่ ในระดับทส่ี งู ขนึ้
๔๓
๒.๒ เพอ่ื ให้มีทกั ษะและสมรรถนะในงานอาชีพตามมาตรฐานวชิ าชีพ สามารถบรู ณาการความรู้
ทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ ประยกุ ตใชใ้ นงานอาชพี สอดคลอ้งกบัการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
๒.๓ เพอ่ื ใหม้ ีปัญญา มีความคิดสร้างสรรคม์ ีความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ วางแผน บรหิ าร
จัดการ ตดั สินใจ แก้ปญั หา ประสานงานและประเมินผลการปฏิบตั งิ านอาชีพ มที กั ษะการเรยี นรู้
แสวงหาความรูแ้ ละแนวทางใหม่ ๆ มาพัฒนาตนเองและประยกุตใ์ ช้ในการสร้างงานใหสอ้ ดคลอ้ง
กับวชิ ิาชพี และการพฒนั างานอาชพี อย่างต่อเนอื่ ง
๒.๔ เพอ่ื ให้มีเจตคตทิ ่ีดตี อ่ อาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมใิ จในงานอาชีพ รกั งาน รกั หนว่ ยงาน
สามารถทํางานเปน็ หมู่คณะไดด้ ีมีความภาคภูมใิ จในตนเองต่อการเรียนวชาิ ชพี
๒.๕ เพือ่ ใหม้ ีบุคลกิ ภาพทด่ี มี ีคุณธรรม จรยิ ธรรม ซื่อสัตย์ มวี นิ ยั มีสุขภาพสมบูรณแ์ ข็งแรงทง้ รั า่ ง
กายและจติ ใจเหมาะสมกบกั ารปฏิบัติงานในอาชพี น้ันๆ
๒.๖ เพ่ือให้เปน็ นผู้มีพฤติกรรมทางสงั คมทีด่ ีงาม ต่อต้านความรนุ แรงและสารเสพติด ทง้ั ในการ
ทาํ งาน การอยู่รว่ มกนั มีความรับผิดชอบตอ่ ครอบครัวองค์กร ท้องถิ่นและประเทศชาติอทุ ิศตนเพื่อ
สังคม เข้าใจและเห็นคุณค่าของศลิ ปวฒั นธรรมไทย ภูมิปัญญาทอง้ ถิน่ ตระหนกั ในปัญหาและ
ความสาํ คญั ของสิง่ แวดลอ้ ม
๒.๗ เพอ่ื ให้ตระหนักและมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาและแก้ไขปญั หาเศรษฐกิจของประเทศโดยเป็น
กําลงั สาํ คญั ในดา้ นการผลิตและให้บริการ
๒.๘ เพื่อให้เหน็ คณุ ค่าและดํารงไวซ้ ึางสถาบัญชาติศาสนาและพระมหากษตั ริย์ ปฏิบตั ิตนในฐานะ
พลเมอื งดี ตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมุข
๓. หลกั เกณฑก์ ารใช้หลกัสูตรประกาศนียบตั ิรวาิ ชีพชั้นสงู พุทธศักราช ๒๕๖๓
๓.๑ การเรียนการสอน
๔๔
๑. การเรยี นการสอนตามหลักสตู รนีผ้ ู้เรียนสามารถลงทะเบียนเรยี นไดท้ ุกวิธเี รียนที่กําหนด และนาํ ผลการเรียน
แตล่ ะวิธีมาประเมินผลร่วมกนั ไดส้ ามารถขอเทยี บโอนผลการเรียน และขอเทยี บโอนความรูแ้ ละประสบการณ์
ได้
๒. การจัดการเรยี นการสอนเนน้ การปฏิบตั จิ ริง สามารถจัดการเรียนการสอนได้หลากหลายรูปแบบเพ่ือให้
ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในหลกั การ วิธีการและการดําเนนิ งาน มที กั ษะการปฏิบัติงานตามแบบแผนและ
ปรบั ตัวได้ภายใต้ความเปล่ยี นแปลง สามารถบรู ณาการและประยุกตใ์ ช้ความรู้และทักษะทางวิชาการท่สี ัมพนั ธ์
กบั วชิ าชพี เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร ในการตดั สินใจ วางแผน แก้ปัญหาบรหิ ารจัดการ
ประสานงานและประเมินผลการดา เนินงานได้อยา่ งหมาะสม มสี ่วนร่วมในการวางแผนและพฒั นารเิ ร่ิมส่งิ ใหม่
มีความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองผู้อืน่ และหมคู่ ณะ รวมทัง้ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวชิ าชพี เจตคติและกจิ
นิสยั ท่ีเหมาะสมในการทํางาน
๓.๒ การจดั การศกึ ษาและเวลาเรยี น
๑. การจดั การศึกษาในระบบปกติสําหรบั ผู้เข้าเรยี นทส่ี าํ เร็จการศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี (ปวช.)
หรือเทยี บเท่าในประเภทวิชาและสาขาวชิ าตามท่ีหลักสตู รกาํ หนด ใช้ระยะเวลา ๒ ปกี ารศกึ ษาส่วนผูเ้ ขา้ เรียนท่ี
สาํ เร็จการศกึ ษาระดับมธั ยมศึกษาตอนปลายหรอื เทียบเทา่ และผูเ้ ขา้ เรยี นท่ีสาํ เรจ็ การศึกษาระดบั ประกาศ
นียบตัรวิชาชพี (ปวช.) หรือเทียบเท่าตา่ งประเภทวิชาและสาขาวชิ าท่กี ําหนดใช้ระยะเวลาไม่นอ้ยกว่า ๒ ปี
การศึกษาและเป็นไปตามเงื่อนไขท่หี ลกัสูตรกาํ หนด
๒. การจดั เวลาเรียนให้ดาํ เนนิ การ ดงั น้ี
๒.๑ ในปีการศกึ ษาหนึ่งๆ ให้แบ่งภาคเรยี นออกเปน็ ๒ ภาคเรียนปกตหิ รือระบบทวภิ าคภาคเรียนละ ๑๘
สัปดาหร์ วมเวลาการวัดผล โดยมเี วลาเรยี นและจาํ นวนหน่วยกติ ตามที่กพหนด และสถานศึกษาอาชีวศึกษา
หรอื สถาบนั อาจเปดิ สอนภาคเรียนฤดูรอ้ นไดอ้ ีกตามที่เหน็ สมควร
๒.๒ การเรยี นในระบบชนั้ เรยี นให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันเปิดทาํ การสอนไม่น้อยกวา่ สปั ดาห์ละ ๕
วันๆละไม่เกิน ๗ ชว่ั โมงโดยกําหนดใหจ้ดัการเรยี นการสอนคาบละ ๖๐ นาที
๓.๓ การคิดหนว่ ยกิต
ให้มจี าํ นวนหนว่ ยกิตตลอดหลกัสตู รไม่นอ้ยกวา่ ๘๓ – ๙๐ หน่วยกิต การคิดหน่วยกติ ถือเกณฑด์ ังน้ี
๔๕
๑.รายวิชาทฤษฎีที่ใช้เวลาในการบรรยายหรืออภิปราย ๑ ชัว่ โมงต่อสปั ดาห์หรอื ๑๘ ช่ัวโมงต่อภาคเรยี นรวม
เวลาการวัดผล มคี า่ เทา่ กบั ๑ หนว่ ยกติ
๒.รายวชิ าปฏบิ ตั ิทใี่ ชเ้ วลาในการทดลองหรือฝกึ ปฏิบตั ิในห้องปฏบิ ัตกิ าร ๒ ชัว่ โมงต่อสัปดาห์
หรือ ๓๖ ชว่ั โมงตอ่ ภาคเรียน รวมเวลาการวัดผล มคี า่ เทา่ กับ ๑ หน่วยกติ
๓.รายวิชาปฏบิ ตั ทิ ่ีใชเ้ วลาในการฝึกปฏิบัติในโรงฝกึ งานหรอื ภาคสนาม ๓ ชว่ั โมงต่อสปั ดาหห์ รือ ๕๔ ช่วั โมงตอ่
ภาคเรยี น รวมเวลาการวัดผล มคี า่ เทา่ กบั ๑ หนว่ ยกติ
๔.การฝกึ อาชีพในการศกึ ษาระบบทวิภาคที ่ีใช้วลาไม่นอ้ ยกว่า ๕๔ ชว่ั โมงตอ่ ภาคเรียนรวมเวลาการวดั ผลมคี า่
เทา่ กับ ๑ หน่วยกติ
๕.การฝกึ ประสบการณส์ มรรถนะวชิ าชีพในสถานประกอบการท่ใี ชเ้ วลาไมน่ อ้ยกวา่ ๕๔ ชัว่ โมงต่อภาคเรยี น
รวมเวลาการวดั ผล มีคา่ เทา่ กับ ๑ หน่วยกติ
๖.การทําโครงงานพฒั นาสมรรถนะวชิ าชพี ที่ใชว้ ลาไม่นอ้ยกวา่ ๕๔ ชวั่ โมงต่อภาคเรยี นรวมเวลาการวัดผลมีคา่
เทา่ กบั ๑ หนว่ ยกิต
๓.๔ โครงสรา้ งหลกสั ูตร
โครงสรา้ งของหลักสตู รประกาศนียบัตวิ ชิ าชีพช้ันสูง พทุ ธศักราช ๒๕๖๓ แบ่งเป็น ๓ หมวดวชิ า และกจิ กรรม
เสรมิ หลกสั ูตร ดังน้ี
๑. หมวดวิชาสมรรถนะแกนกลาง ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒๑ หนว่ ยกิต
๑.๑ กลุ่มวชาิ ภาษาไทย
๑.๒ กลุม่ วชิาภาษาตา่ งประเทศ
๑.๓ กลมุ่ วชาิ วทยิ าศาสตร์
๑.๔ กลุ่มวชาิ คณติ ศาสตร์
๑.๕ กลุม่ วชิาสังคมศาสตร์
๑.๖ กลุม่ วชาิ มนุษยศาสตร์
๔๖