การปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรมการเรียนให้มวี ินยั
และความรบั ผดิ ชอบของผู้เรียน กศน.ตำบลโพธช์ิ ัย
ปกี ารศึกษา 2/2564
นางสาวภลินี แสงสว่าง
ครู กศน.ตำบลโพธ์ชิ ัย
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองหนองคาย
สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดหนองคาย
กติ ติกรรมประกาศ
การจดั ทำวจิ ยั ฉบับน้ี ไดร้ บั ความร่วมมอื และความชว่ ยเหลอื เป็นอย่างดีจาก ครู กศน. ขอขอบคณุ ทา่ น
เจา้ ของเอกสาร บทความ ทฤษฎีและงานวจิ ัยต่าง ๆ ตลอดจนบรรณารกั ษ์ของหอ้ งสมุดอำเภอเมอื งหนองคาย ที่ให้
ความช่วยเหลือในการค้นควา้ เอกสารอ้างอิง พร้อมทงั้ ผเู้ รียน และผ้ปู กครอง ท่ีใหก้ ารสนับสนนุ ในการจดั ทำวิจัย
นางสาวภลนิ ี แสงสวา่ ง
ครู กศน.ตำบลโพธชิ์ ัย
สารบญั หนา้
เรื่อง 1
3
บทท่ี 1 ความเปน็ มาและความสำคัญ
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกย่ี วข้อง 8
บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนนิ การศกึ ษาค้นคว้า
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 10
บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
14
บรรณานกุ รม
บทคดั ย่อ
งานวจิ ัยในชน้ั เรียนฉบบั นี้ มจี ุดมงุ่ หมายเพ่ือเปน็ การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการเรยี นให้เป็นผมู้ วี ินัยและ
ความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทแี่ ละการเรียนดีข้ึนของผู้เรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตำบลโพธ์ิชยั ภาคเรียนท่ี 2
ประจำปีการศกึ ษา 2564 กศน.ตำบลโพธชิ์ ยั โดยมกี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากการสังเกต การสัมภาษณ์ ข้อมูลดา้ น
การเรียนของแตล่ ะวชิ า และการตอบแบบสอบถามจากผเู้ รียน การใช้แรงจูงใจเสริมแรงโดยให้คำชมเชยแก่ผ้เู รียน
รวมทงั้ ดแู ลดา้ นการเรียนใหม้ ีความรับผิดชอบ สนใจเรียน และติดตามจากผ้ปู กครอง คณุ ครูทส่ี อนแตล่ ะวิชา ทำให้
ผเู้ รียนมคี วามกระตอื รอื รน้ ตอ่ การมาเรยี นและการเรยี นมากขึ้น มีความเอาใจใส่ตอ่ การเรียน รบั ผิดชอบและสนใจ
เรียนมากขึ้น ทำให้บรรยากาศการเรยี นภายในห้องเรยี นทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้ มคี วามตั้งใจเรียนมากขึ้น มคี วาม
รบั ผดิ ชอบต่อหน้าท่ี ไม่ขาดเรียนหรอื มาสาย ทำงานท่ีได้รับมอบหมายและส่งงานตรงกำหนดเวลา รจู้ กั ชว่ ยเหลือซึ่ง
กนั และกันดว้ ยความเตม็ ใจ
1
บทท่ี 1
ความเปน็ มาและความสำคัญ
ปจั จุบนั สังคมทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลงในทุก ๆ ด้าน ทงั้ ในด้านเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง การปกครอง
จึงจำเป็นตอ้ งอาศัยองคป์ ระกอบต่าง ๆ มาเกื้อหนุนกัน ซง่ึ ต้องมีการพัฒนาโดยต้องคำนึงถงึ ทรัพยากรท่ีมีคณุ ภาพและ
สิ่งท่ีสำคัญท่ีสดุ คือทรัพยากรบุคคลท่ีมีคุณภาพ โดยจะต้องมคี ณุ สมบัตดิ ้านสมรรถภาพทางรา่ งกายและจติ ใจท่ดี ี มี
สติปัญญา มคี วามรู้ความสามารถ มคี วามอดทน ขยนั ขนั แข็ง ไมย่ อ่ ท้อตอ่ ความยากลำบาก กลา้ เผชญิ ปญั หา
และอปุ สรรคด้วยความมุง่ ม่ัน ถา้ มนษุ ย์ทกุ คนมีคณุ สมบตั ิดงั กล่าวก็จะเป็นผู้มีวนิ ัยในตนเอง ซึง่ จะเป็นวัฒนธรรมที่
ทุกคนในสงั คมต้องปฏบิ ตั ิ เพราะจะทำให้สังคมอยูร่ ่วมกนั อยา่ งมีความสุข วินยั จงึ เป็นคุณธรรมที่ควรสร้างและ
ปลูกฝงั ให้ทกุ คนใชเ้ ปน็ แนวทางสำหรับบังคับพฤติกรรมของตนเอง ทำให้บรรลุตามจดุ หมายของชวี ิตและประสบ
ความสำเร็จในชวี ิต เพราะฉะน้นั ครคู วรสรา้ งสรรค์วนิ ยั ใหเ้ กดิ แก่ผู้เรยี น เมอื่ ผเู้ รียนมวี ินัย มีความรบั ผดิ ชอบใน
หน้าท่ขี องตนจะทำให้สามารถควบคมุ พฤตกิ รรมของตนใหเ้ ป็นไปในทางที่ดีงาม จงึ ควรมกี ารปลกู ฝังใหย้ ดึ ถือและ
ปฏบิ ัติอยา่ งเคร่งครัด ถา้ หากในสงั คมไมม่ กี ารปลูกฝงั และพฒั นาเดก็ ใหม้ วี ินยั และมคี ุณภาพแล้ว การพฒั นาสังคม
และประเทศก็จะเปน็ ไปอย่างไมม่ ีประสทิ ธิภาพจึงควรตอ้ งปลูกฝงั วนิ ัยในตนเองใหเ้ ป็นพนื้ ฐาน ในทส่ี ุดกจ็ ะสามารถ
พัฒนาประเทศชาตใิ หม้ ีความก้าวหน้ามากย่งิ ขน้ึ ดังนั้น การศกึ ษาจงึ เป็นส่ิงท่สี ำคัญและมคี วามจำเป็นอยา่ งมากในการ
ทจ่ี ะพฒั นาให้มนษุ ยม์ ีประสทิ ธิภาพและศักยภาพสูงสดุ
จากการเปน็ คุณครู กศน.ตำบลโพธ์ิชยั ซงึ่ มีหนา้ ทดี่ ูแลผเู้ รยี นดา้ นพฤตกิ รรมและการเรยี นของผ้เู รียนทงั้
ภายในและภายนอกห้องเรยี น พบว่า พฤติกรรมการเรียนของผเู้ รยี นบางคนในหอ้ งเรยี นไมส่ นใจเรียน ขาดความ
รับผดิ ชอบและระเบียบวนิ ยั จงึ ทำให้บรรยากาศการเรียนรไู้ มเ่ อื้อตอ่ การเรยี นการสอนและมีพฤตกิ รรมทีไ่ มพ่ ึง
ประสงค์จึงทำใหเ้ กดิ ปญั หาในการเรยี นรู้จะสง่ ผลตอ่ ผเู้ รยี นบางคนที่มผี ลการเรยี นค่อนขา้ งตำ่ จงึ ต้องใช้
กระบวนการวิจัยมาแก้ปัญหา โดยการนำทฤษฎกี ารเรียนรู้ ทฤษฎแี รงจงู ใจ และทฤษฎีการวางเงอ่ื นไข มาใชก้ บั
ผู้เรยี นเพื่อเปน็ การพัฒนาและปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมการเรยี นและส่งเสริมศกั ยภาพของผู้เรยี น ให้เกดิ การเรยี นรู้เต็ม
ศกั ยภาพและความสามารถของตนเอง ซึ่งจะส่งผลให้ผ้เู รยี นมีวนิ ยั ความรบั ผิดชอบในหน้าทีข่ องตนเอง มี
บรรยากาศการเรียนรู้ท่เี หมาะสม เป็นการปลูกฝังระเบยี บวินยั การรบั ผดิ ชอบต่อตนเองและผ้อู นื่ ทำให้สามารถ
พฒั นาผ้เู รยี นใหเ้ กิดการเรยี นรู้อย่างมีประสิทธิภาพและมีผลการเรียนดีขึ้น
ความสำคัญของการศึกษา
การศกึ ษาวจิ ยั ในครงั้ น้ีทำให้ทราบถงึ ดา้ นพฤติกรรมการเรยี น เม่ือผเู้ รยี นมกี ารปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เปน็ ผู้
ทีม่ วี นิ ัยในตนเองและความรับผิดชอบ จะทำให้ผูเ้ รยี นสนใจเรยี นและมีความขยนั อดทน มีแรงจงู ใจ
ทำใหม้ ีผลการเรียนดขี นึ้ ซง่ึ จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ครผู สู้ อน ท่ีจะนำมาเสรมิ สรา้ ง พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีคณุ ค่ามี
คุณประโยชน์ตอ่ ครอบครวั โรงเรียน สังคมและประเทศชาติตอ่ ไป
วัตถปุ ระสงค์
เพื่อเปน็ การปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนใหเ้ ป็นผู้มีวินยั และความรบั ผิดชอบตอ่ หนา้ ทีแ่ ละการเรยี นดีขึ้น
ของผู้เรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตำบลโพธ์ชิ ยั ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564
2
สมมตุ ฐิ านการวจิ ยั
การปรับเปลยี่ นพฤติกรรมการเรยี นใหม้ ีวินยั และความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่ของผู้เรยี น ทำให้สามารถพฒั นา
ศกั ยภาพด้านพฤตกิ รรมและการเรียนใหด้ ีขน้ึ
ขอบเขตของการศึกษาคน้ คว้า
1. ประชากร ในการศึกษาค้นควา้ เป็นผู้เรียนระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น กศน.ตำบลโพธิช์ ยั
จำนวน 18 คน
2. ตัวแปรท่ีศึกษา
2.1 ตวั แปรอิสระ คอื พฤติกรรมดา้ นวินัยและความรบั ผดิ ชอบต่อตนเองได้แก่
- วนิ ัยในตนเอง
- ความรับผิดชอบ
แรงจงู ใจในการเรียน
2.2 ตวั แปรตาม คือ พฤติกรรมด้านความมีวินยั ในตนเอง
นิยามศัพท์เฉพาะ
ความมีวินยั ในตนเอง หมายถงึ การประพฤติปฏิบตั ิตามกฎระเบียบและไม่ทำผดิ ตอ่ กฎระเบยี บในการ
เป็นผู้เรยี น
ความรับผดิ ชอบ หมายถึง ความมงุ่ มน่ั ของผ้เู รยี นที่จะงานท่ีไดร้ ับมอบหมายให้สำเรจ็ ลุลว่ งด้วยดี และ
ตั้งใจเรยี นอย่างเตม็ ความสามารถ
แรงจงู ใจในการเรียน หมายถงึ การแสดงพฤติกรรมเมื่อถูกกระตนุ้ จากสิ่งเร้า เช่น คำชมเชย การให้รางวัล
ฯลฯ แล้วสามารถประพฤติตนไดบ้ รรลเุ ป้าหมายโดยการเรียนร้ขู องแต่ละคน
3
บทท่ี 2
เอกสารและทฤษฎที เี่ กีย่ วขอ้ ง
ทฤษฎีทเี่ กยี่ วข้องในการจัดทำงานวจิ ยั มีดงั นี้
จติ วทิ ยาการศึกษา
เจตคติ (Attitude)
ทฤษฎแี รงจงู ใจ
จติ วิทยาการศึกษา
จติ วทิ ยาการศึกษา มบี ทบาทสำคญั ในการจัดการศึกษา การสร้างหลักสูตรและการเรยี นการสอนโดย
คำนงึ ถงึ ความแตกต่างของบุคคล นกั ศกึ ษาและครู จำเป็นตอ้ งมคี วามร้พู นื้ ฐานทางจติ วทิ ยาการศึกษา เพ่ือจะได้เขา้ ใจ
พฤติกรรมของผเู้ รียนและกระบวนการเรยี นรู้ ตลอดจนถึงปัญหาต่างๆเก่ยี วกับการเรยี นการ
ความสำคัญของการศึกษาจิตวิทยาการศึกษา
ความสำคญั ของวตั ถุประสงคข์ องการศึกษาและบทเรียน นักจติ วิทยาการศึกษาได้เน้นความสำคัญของ
ความชัดเจนของการระบุวตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษาบทเรยี นตลอดจนถึงหนว่ ยการเรียน เน่อื งจากวตั ถปุ ระสงค์จะ
เป็นตัวกำหนดการจัดการเรียนการสอน ทฤษฎพี ฒั นาการ และทฤษฎีบคุ ลิกภาพ เป็นเร่อื งทน่ี กั การศกึ ษาและครู
จะตอ้ งมคี วามรู้เพราะจะช่วยใหเ้ ขา้ ใจเอกลกั ษณ์ของผู้เรียนในวัยตา่ ง ๆ โดยเฉพาะวัยอนบุ าล วยั เด็ก และวัยรนุ่ ซึ่ง
เปน็ วยั ที่กำลังศึกษาในโรงเรยี น ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและกลุ่ม นอกจากมีความเข้าใจพัฒนาการของเด็กวยั
ตา่ ง ๆ แล้ว นกั การศกึ ษาและครูจะตอ้ งเรียนรูถ้ งึ ความแตกตา่ งระหว่างบุคคลและกลุ่มทางด้านระดบั เชาวน์ปญั ญา
ความคดิ สร้างสรรค์ เพศ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งนกั จิตวิทยาได้คิดวธิ กี ารวิจัยที่จะช่วยชใ้ี หเ้ ห็นวา่ ความ
แตกต่างระหว่างบคุ คลเป็นตัวแปรที่สำคัญในการเลอื กวิธีสอนและในการสรา้ งหลกั สูตรที่เหมาะสม ทฤษฎกี ารเรียนรู้
นกั จติ วทิ ยาที่ศกึ ษาวิจยั เกีย่ วกบั การเรยี นรู้ นอกจากจะสนใจว่าทฤษฎกี ารเรยี นรจู้ ะชว่ ยผ้เู รยี นใหเ้ รียนรู้และจดจำ
อยา่ งมีประสิทธิภาพได้อย่างไรแล้ว ยังสนใจองคป์ ระกอบเกี่ยวกบั ตวั ของ ผู้เรียน เช่น แรงจงู ใจว่ามีความสมั พนั ธ์
กับการเรียนรู้อยา่ งไร ความรูเ้ หล่านีก้ ม็ ีความสำคัญต่อการเรียนการสอน ทฤษฎีการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา
นักจิตวิทยาการศึกษาไดเ้ ปน็ ผู้นำในการบกุ เบกิ ตัง้ ทฤษฎกี ารสอน ซ่งึ มีความสำคัญและมีประโยชน์เทา่ เทยี มกบั
ทฤษฎีการเรียนรู้และพฒั นาการในการชว่ ยนกั การศึกษาและครูเกย่ี วกบั การเรียนการสอน สำหรบั เทคโนโลยีในการ
สอนท่จี ะช่วยครไู ด้มากกค็ อื คอมพิวเตอร์ชว่ ยการสอน หลกั การสอนและวิธสี อน นกั จติ วิทยาการศึกษาได้เสนอ
หลกั การสอนและวิธกี ารสอนตามทฤษฎีทางจิตวิทยาทแ่ี ต่ละท่านยดึ ถือ เช่น หลักการสอนและวิธีสอนตามทัศนะ
นักจติ วิทยาพฤตกิ รรมนยิ ม ปัญญานยิ ม และมนษุ ยนยิ ม หลกั การวดั ผลและประเมินผลการศกึ ษา ความรู้พน้ื ฐาน
เกี่ยวกับเร่ืองน้จี ะช่วยใหน้ กั การศึกษา และครูทราบวา่ การเรยี นการสอนมปี ระสทิ ธภิ าพหรือไม่ หรอื ผเู้ รียนได้
สัมฤทธิผลตามวัตถุประสงคเ์ ฉพาะของแตล่ ะวชิ าหรือหนว่ ยเรียนหรอื ไม่ เพราะถา้ ผูเ้ รียนมีสัมฤทธิผลสูง
กจ็ ะเป็นผลสะท้อนวา่ โปรแกรมการศึกษามีประสิทธภิ าพและการสรา้ งบรรยากาศของห้องเรยี น เพอื่ เออื้ การเรยี นรู้
และชว่ ยเสรมิ สรา้ งบุคลกิ ภาพของผเู้ รยี น ความสำคัญของจิตวิทยาการศึกษาต่ออาชีพครูมีความสำคัญในเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี
1. ช่วยให้ครรู จู้ กั ลักษณะนิสัยของผเู้ รียนทีค่ รตู อ้ งสอนโดยทราบหลักพัฒนาการทั้งทางร่างกาย สตปิ ัญญา
อารมณ์ สงั คม และบุคลิกภาพเปน็ ส่วนรวม
2. ช่วยใหค้ รูมีความเข้าใจพฒั นาการทางบคุ ลกิ ภาพบางประการของผู้เรียน เชน่ อัตมโนทัศน์ ว่าเกิดข้ึน
ได้อย่างไร และเรยี นรถู้ งึ บทบาทของครูในการที่ช่วยผ้เู รียนใหม้ ีอัตมโนทศั น์ที่ดแี ละถกู ตอ้ งได้อยา่ งไร
3. ช่วยครูให้มีความเขา้ ใจในความแตกต่างระหวา่ งบคุ คลเพือ่ จะได้ช่วยผู้เรียนเป็นรายบุคคลให้พัฒนา
ตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล
4. ช่วยใหค้ รรู ู้วิธีจัดสภาพแวดล้อมของหอ้ งเรียนใหเ้ หมาะสมแกว้ ยั และข้นั พฒั นาการของผูเ้ รียน
4
เพอื่ จูงใจให้ผู้เรยี นมีความสนใจและมีความทีอ่ ยากจะเรียนรู้
5. ชว่ ยให้ครูทราบถึงตัวแปรตา่ งๆ ท่มี อี ิทธิพลตอ่ การเรียนรขู้ องผู้เรยี นเชน่ แรงจงู ใจอตั มโนทศั น์ และการ
ต้ังความคาดหวังของครูที่มีตอ่ ผู้เรยี น
6. ช่วยครูในการเตรยี มการสอนวางแผนการเรยี น เพ่ือทำให้การสอนมปี ระสิทธภิ าพสามารถช่วยให้
ผเู้ รยี นทกุ คนเรยี นตามศกั ยภาพของแต่ละบุคคล โดยคำนึงถงึ หัวข้อต่อไปน้ี
6.1 ช่วยครูเลือกวัตถุประสงคข์ องบทเรียนโดยคำนงึ ถงึ ลักษณะนิสยั และความแตกต่างระหว่างบคุ คล
ของผ้เู รียนท่ีจะตอ้ งสอนและสามารถที่จะเขียนวัตถปุ ระสงคใ์ หผ้ ู้เรยี นเข้าใจว่าสิ่งคาดหวงั ให้ผเู้ รียนรูม้ อี ะไรบา้ ง โดย
ถือว่าวตั ถุประสงค์ของบทเรียนคือส่งิ ท่ีจะช่วยให้ผู้เรียนทราบ เมือ่ จบบทเรียนแลว้ ผู้เรยี นสามารถทำอะไรไดบ้ า้ ง
6.2 ช่วยครใู นการเลือกหลกั การสอนและวธิ สี อนที่เหมาะสม โดยคำนึงลักษณะนสิ ยั ของผเู้ รยี นและวชิ า
ที่สอน และกระบวนการเรียนรู้ของผูเ้ รียน
6.3 ชว่ ยครูในการประเมนิ ไม่เพียงแตเ่ ฉพาะเวลาครูได้สอนจนจบบทเรยี นเท่านัน้ แต่ใช้ประเมินความ
พร้อมของผเู้ รยี นก่อนสอน ในระหวา่ งท่ีทำการสอน เพื่อทราบว่าผู้เรยี นมีความกา้ วหน้าหรอื มปี ัญหาในการเรียนรู้
อะไรบา้ ง
7. ช่วยครูให้ทราบหลักการและทฤษฎีของการเรียนรู้ทีน่ กั ได้พสิ ูจน์แล้ววา่ ได้ผลดี เชน่ การเรียนจากการ
สงั เกตหรอื การเลยี นแบบ
8. ช่วยครใู ห้ทราบถงึ หลกั การสอนและวธิ สี อนท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพรวมท้ังพฤตกิ รรมของครทู ีม่ ีการสอนอย่าง
มีประสิทธิภาพว่ามีอะไรบ้าง เชน่ การใช้คำถาม การให้แรงเสรมิ และการทำตนเปน็ ตน้ แบบ
9. ชว่ ยครใู ห้ทราบวา่ ผู้เรียนท่มี ีผลการเรยี นดไี มไ่ ด้เป็นเพราะระดับเชาวนป์ ญั ญาเพยี งอยา่ งเดยี ว
แต่มีองค์ประกอบอื่น ๆ เชน่ แรงจูงใจ ทัศนคตหิ รืออตั มโนทศั นข์ องผู้เรียนและความคาดหวังของครูท่มี ตี ่อผู้เรยี น
10. ชว่ ยครูในการปกครองช้นั และการสร้างบรรยากาศของหอ้ งเรียนใหเ้ อ้ือตอ่ การเรียนรูแ้ ละเสรมิ สรา้ ง
บคุ ลกิ ภาพของผู้เรยี น ครแู ละผูเ้ รียนมคี วามรักและไวว้ างใจซึง่ กันและกันผเู้ รียน ต่างกช็ ่วยเหลือกันและกัน ทำให้
หอ้ งเรยี นเปน็ สถานที่ทีท่ กุ คนมีความสุขและผู้เรียนรักโรงเรียน อยากมาโรงเรียน
เนื่องจากการศึกษามบี ทบาทสำคญั ในการชว่ ยใหเ้ ยาวชนพัฒนาการทง้ั ทางด้านเชาวน์ปญั ญา ทาง
บุคลิกภาพ เพ่ือชว่ ยใหเ้ ยาวชนมีความสำเร็จในชีวิต ทกุ ประเทศจงึ หาทางสง่ เสริมการศึกษาให้มีคุณภาพ มมี าตรฐาน
ความเปน็ เลิศ ความรเู้ กย่ี วกับจิตวิทยาการศกึ ษาจงึ สำคัญในการช่วยทง้ั ครูและนกั ศกึ ษาผมู้ คี วามรับผิดชอบในการ
ปรับปรงุ หลกั สูตรและการเรยี นการสอน
พฒั นาการจิตวทิ ยาการศกึ ษา
วิธีการศกึ ษาทางจติ วทิ ยา การศึกษาทางจิตวิทยาใช้หลาย ๆ วธิ ีการมาผสมผสานและทำการ
วิเคราะห์บนสมมตุ ฐิ าน นักจติ วิทยาจะใชว้ ิธกี ารต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี เชน่ การตรวจสอบตนเอง การสงั เกต
การศึกษาบคุ คลเป็นรายกรณี การสัมภาษณ์ การทดสอบ ดังจะอธบิ ายเรยี งตามลำดับต่อไปน้ี
1. การตรวจสอบตนเอง (Introspection) หมายถึง วิธีการใหบ้ ุคคลสำรวจ ตรวจสอบตนเองดว้ ย
การยอ้ นทบทวนการกระทำและความร้สู ึกนึกคิดของตนเองในอดีต ทผ่ี ่านมา แล้วบอกความรู้สึกออกมา โดยการ
อธบิ ายถึงสาเหตุและผลของการกระทำในเร่อื งต่าง ๆ เช่น ตอ้ งการทราบว่าทำไมเด็กผู้เรยี นคนหนึ่งจึงชอบพดู ปด
เสมอ ๆ ก็ใหเ้ ล่าเหตหุ รือเหตุการณ์ในอดีต ทเ่ี ป็นสาเหตุใหม้ พี ฤติกรรมเชน่ นัน้ กจ็ ะทำให้ทราบทม่ี าของพฤติกรรมและ
ไดแ้ นวทางในการท่ีจะชว่ ยเหลอื แกไ้ ขพฤตกิ รรมดังกลา่ วได้
การตรวจสอบตนเองจะได้รบั ข้อมลู ตรงตามความเปน็ จรงิ และเป็นประโยชน์ เพราะผ้รู ายงานที่มี
ประสบการณแ์ ละอยใู่ นเหตุการณ์นน้ั จริง ๆ แต่หากผ้รู ายงานจดจำเหตุการณ์ไดแ้ มน่ ยำ และมคี วามจรงิ ใจในการ
รายงานอย่างซอ่ื สัตย์ไม่ปดิ บังและบิดเบือนความจริง แต่หากผูร้ ายงานจำเหตุการณห์ รอื เรอื่ งราวไมไ่ ด้หรอื ไม่ต้องการ
รายงานขอ้ มลู ทแ่ี ท้จริงให้ทราบกจ็ ะทำใหก้ ารตีความหมายของเรอื่ งราวต่าง ๆ หรอื เหตุการณ์ผดิ พลาดไม่ตรงตาม
ข้อเทจ็ จริง
5
2. การสังเกต (Observation) หมายถงึ การเฝ้าดพู ฤตกิ รรมในสถานการณ์ทีเ่ ปน็ จรงิ อยา่ งมี
จุดมงุ่ หมาย โดยไม่ให้ผถู้ กู สงั เกตร้ตู ัว การสงั เกตแบ่งเป็น 2 ลักษณะคือ
2.1 การสงั เกตอย่างมแี บบแผน ( Formal Observation ) หมายถงึ การสังเกตทมี่ ีการ
เตรียมการล่วงหนา้ มกี ารวางแผน มกี ำหนดเวลา สถานการณ์ สถานที่ พฤตกิ รรมและบคุ คลที่จะสงั เกต ไว้
เรียบรอ้ ยเมื่อถงึ เวลาทน่ี กั จิตวิทยาวางแผน ก็จะเริม่ ทำการสงั เกตพฤติกรรมตามท่กี ำหนดและผู้สังเกตพฤติกรรมจะ
จดพฤตกิ รรมทกุ อยา่ งในช่วงเวลานัน้ อยา่ งตรงไปตรงมา
2.2 การสังเกตอย่างไมม่ แี บบแผน ( Informal Observation ) หมายถึง การสงั เกตโดยไม่
ต้องมกี ารเตรียมการลว่ งหนา้ หรือวางแผนล่วงหนา้ แต่สังเกตตามความสะดวกของผสู้ ังเกตคอื จะสังเกตชว่ งเวลาใดก็
ได้แลว้ ทำการจดบันทกึ พฤตกิ รรมท่ตี นเหน็ อยา่ งตรงไปตรงมา
การสังเกตชว่ ยใหไ้ ด้ข้อมูลละเอียด ชดั เจนและตรงไปตรงมา เช่น การสังเกต อารมณ์ ความรู้สึก
ของบคุ คลต่อสถานการณ์ต่าง ๆ จะทำให้เห็นพฤติกรรมไดช้ ดั เจนกวา่ การเก็บข้อมูลด้วยวิธีการอืน่ ๆ แต่การสงั เกต
ท่ีดมี คี ุณภาพมสี ่วนประกอบหลายอย่าง เช่น ผู้สังเกตจะต้องมีใจเปน็ กลางไม่อคตหิ รอื ลำเอียงอย่างหนึ่งอย่างใด
และสังเกตไดท้ ่วั ถงึ ครอบคลุม สงั เกตหลาย ๆ สถานการณห์ ลาย ๆ หรอื หลายๆ พฤตกิ รรม และใช้เวลาในการ
สงั เกต ตลอดจนการจดบันทกึ การสงั เกตอย่างตรงไปตรงมาและแยกการบนั ทึกพฤติกรรมจากการตคี วามไม่ปะปน
กนั ก็จะทำให้การสงั เกตไดข้ ้อมูลตรงตามความเป็นจริงและนำมาใชป้ ระโยชนต์ ามจุดมุง่ หมาย
3. การศึกษาบุคคลเปน็ รายกรณี (Case Study) หมายถงึ การศกึ ษารายละเอยี ดต่าง ๆ ที่สำคญั ของ
บคุ คล แต่ต้องใช้เวลาศึกษาติดต่อกันเปน็ ระยะเวลาหน่ึง แลว้ รวบรวมขอ้ มลู มาวเิ คราะห์พิจารณาตคี วามเพ่อื ให้
เข้าใจถึงสาเหตขุ องพฤตกิ รรม หรือลกั ษณะพิเศษทีผ่ ้ศู กึ ษาตอ้ งการทราบ ทั้งนี้เพื่อจะไดห้ าทาง
ช่วยเหลือแก้ไข ปรบั ปรงุ ตลอดจนส่งเสรมิ พฤติกรรมใหเ้ ปน็ ไปในทางสรา้ งสรรคท์ ่ีสำคัญของบุคคลแต่ตอ้ งใช้เวลา
ศกึ ษาติดต่อกนั เปน็ ระยะหน่งึ แลว้ รวบรวมข้อมูลมาวิเคราะห์พิจารณาตีความเพื่อใหเ้ ข้าใจถงึ สาเหตขุ องพฤตกิ รรม
หรอื ลกั ษณะพิเศษที่ผ้ศู ึกษาต้องการทราบ ทง้ั นี้ เพื่อจะไดห้ าทางช่วยเหลอื แกไ้ ข ปรับปรงุ ตลอดจนสง่ เสรมิ
พฤติกรรมให้เป็นไปในทางสรา้ งสรรค์
4. การสมั ภาษณ์ (Interview) หมายถึง การสนทนากันระหว่างบุคคลตง้ั แต่สองคนขึน้ ไป โดยมี
จดุ มงุ่ หมาย ซงึ่ การสัมภาษณก์ ็มีหลายจุดมุ่งหมาย เชน่ การสัมภาษณเ์ พ่อื ความคุ้นเคย สมั ภาษณเ์ พื่อคัดเลือก
บคุ คลเข้าทำงาน สัมภาษณเ์ พือ่ คัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อ ตลอดจนสัมภาษณเ์ พ่ือการแนะแนวและการให้
คำปรึกษา เปน็ ต้น แต่ทง้ั การสมั ภาษณก์ ็เพื่อใหไ้ ดข้ ้อมลู หรือข้อเท็จจรงิ ต่าง ๆ เพื่อใช้ในการตัดสินใจ
การสัมภาษณ์ท่ีดี จำเป็นต้องมกี ารเตรียมการล่วงหน้า วางแผน กำหนดสถานท่ี เวลาและเตรียม
หวั ข้อหรือคำถามในการสัมภาษณ์ และนอกจากนนั้ ในขณะสมั ภาษณ์ผู้สัมภาษณ์ควรจะใชเ้ ทคนิคอ่ืน ๆ
ประกอบดว้ ยกย็ งิ่ จะได้ผลดี เช่น การสงั เกต การฟัง การใชค้ ำถาม การพูด การสร้างความสัมพนั ธ์ท่ดี ีระหว่าง
ผู้ให้สัมภาษณแ์ ละผู้สัมภาษณ์ก็จะช่วยให้การสมั ภาษณ์ได้ดำเนนิ ไปดว้ ยดี
5. การทดสอบ (Testing) หมายถึง การใชเ้ ครอ่ื งมือที่มีเกณฑใ์ นการวดั ลักษณะของพฤตกิ รรมใด
พฤตกิ รรมหนึง่ หรอื หลาย ๆ พฤตกิ รรม โดยใหผ้ รู้ ับการทดสอบเป็นผู้ตอบสนองตอ่ แบบทดสอบซึ่งอาจเปน็
แบบทดสอบภาษาและแบบปฏิบัตกิ ารหรือลงมือทำ ทงั้ นเี้ พื่อให้ได้ข้อมูลเกีย่ วกบั บุคคลน้นั ตามจุดมุง่ หมายทผี่ ู้ทดสอบ
วางไว้แบบทดสอบท่ีนำมาใช้ในการทดสอบหาขอ้ มูล ไดแ้ ก่ แบบทดสอบบุคลิกภาพ แบบทดสอบความสนใจ เปน็
ต้น
การทดสอบก็มีสิ่งทค่ี วรคำนึงถึงเพ่อื ผลของขอ้ มูลทไี่ ดร้ บั ซงึ่ แบบทดสอบทีน่ ำมาใชค้ วรเปน็ แบบทดสอบท่ี
เชื่อถอื ได้เป็นมาตรฐาน ตลอดจนการแปรผลได้อย่างถูกต้อง เปน็ ตน้
6. การทดสอบ (Experiment) หมายถงึ วิธกี ารรวบรวมข้อมลู ทเี่ ป็นระบบ มีขนั้ ตอนและเปน็
วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงมีลำดับข้ันตอนดงั น้ี ต้ังปัญหา ตง้ั สมมุติฐาน การรวบรวมข้อมลู การทดสอบสมมุติฐาน
6
การแปลความหมายและรายงานผล ตลอดจนการนำผลทไี่ ดไ้ ปใช้ในการแกป้ ญั หาหรอื สง่ เสริมตอ่ ไป การทดลองจงึ
เปน็ การจัดสภาพการณ์ขึ้นมาเพ่ือดผู ลการเปลยี่ นแปลงที่เกิดขึน้ เพ่อื ศกึ ษาเปรียบเทยี บกล่มุ หรอื สถานการณ์ คือ
1. กลมุ่ ทดลอง (Experiment Group) คอื กลุม่ ทไ่ี ดร้ ับการจัดสภาพการณ์ทดลองเพ่ือศึกษาผลท่ี
ปรากฏจากสภาพน้ันเชน่ การสอนด้วยเทคนิคระดมพลงั สมอง จะทำใหก้ ล่มุ เกดิ ความคิดสรา้ งสรรค์หรอื ไม่
2. กลุ่มควบคมุ (Control Group) คอื กลุ่มทไ่ี ม่ไดร้ บั การจัดสภาพการณ์ใด ๆ ทกุ อยา่ งถกู ควบคุม
ให้คงภาพเดิม ใช้เพื่อเปรยี บเทียบกบั กลุ่มทดลอง สงิ่ ที่ผู้ทดลองตอ้ งการศึกษาเรียกว่า ตวั แปร ซ่ึงมตี วั แปรอสิ ระหรือ
ตวั แปรต้น (Independent Variable) และตัวแปรตาม ( Dependent Variable )
เจตคติ (Attitude)
ความหมายของเจตคติ
“เจตคต”ิ คือ สภาพความรู้สึกทางด้านจิตใจทีเ่ กิดจากประสบการณแ์ ละการเรยี นรู้ของบคุ คลอันเปน็
ผลทำใหเ้ กิดมที า่ ทีหรอื มคี วามคิด เหน็ รู้สกึ ต่อสิ่งใดสิง่ หนึง่ ในลกั ษณะท่ชี อบหรือไมช่ อบ เหน็ หรือไมเ่ หน็ ดว้ ย เจตคตมิ ี
๒ ประเภทคอื เจตคติทั่วไป เจตคตเิ ฉพาะอย่าง
COLLINS (1970:68) ให้ความหมายเจตคติ คอื การท่ีบคุ คลตัดสินในสิ่งต่างๆว่าดี –ไมด่ ี เห็นดว้ ย-ไมเ่ ห็น
ด้วย ยอมรับได้-ยอมรับไม่ได้
ROKEACH (1970:10) ให้ความหมายเจตคติ คือการผสมผสานหรือจดั ระเบียบของความเชอ่ื ท่ีมตี อ่ สิ่ง
หนึง่ สิง่ ใดหรือสถานการณ์หนง่ึ สถานการณใ์ ด ผลรวมของความเชอ่ื นี้จะเป็นตวั กำหนดแนวทางของบคุ คลใน
การท่จี ะมีปฏิกรยิ าตอบสนองในลกั ษณะที่ชอบหรือไม่ชอบ
BELKIN และ HKYDELL (1979:13) ใหค้ วามหมายเจตคติ คือ แนวโนม้ ทบี่ ุคคลจะตอบสนอง ในทาง
ที่เป็นความพอใจ ไม่พอใจ ต่อผคู้ น เหตกุ ารณ์ และส่ิงต่างๆอยา่ งสม่ำเสมอและคงที่
กลา่ วโดยสรปุ เจตคติ เปน็ ลกั ษณะทางจติ ของบุคคลทเ่ี ปน็ แรงขบั แรงจูงใจของบุคคล แสดงพฤตกิ รรมที่
จะแสดงออกไปในทางต่อต้านหรือสนบั สนุนตอ่ สิ่งนนั้ หรือสถานการณ์นน้ั ถ้าทราบทัศนคติของบคุ คลใดท่สี ามารถ
ทำนายพฤติกรรมของบุคคลนัน้ ได้ โดยปกติคนเรามกั แสดงพฤติกรรมในทิศทางท่ีสอดคล้องกบั ทศั นคติทีม่ ีอยู่
อย่างไรกด็ ีเจตคตเิ ม่อื เกิดขึ้นแลว้ อาจจะมีลกั ษณะที่ค่อนข้างถาวรและคงทน ความรงั เกยี จทเ่ี รยี นรู้ในวัย
เดก็ อาจจะคงอยู่ต่อไปจนชว่ั ชีวติ เจตคติทางการเมอื ง ศาสนาและอน่ื ๆมักจะมีความคงทนเปน็ อนั มาก
หน้าทแ่ี ละประโยชนข์ องเจตคติ
Katz (อ้างในนพมาศ 2534:130) มองวา่ เจตคตมิ ีประโยชนแ์ ละหนา้ ที่ คอื
1. เป็นประโยชน์โดยการเปน็ เครือ่ งมือ ปรบั ตวั และเปน็ ประโยชน์ในการใช้เพอื่ ทำการต่าง ๆ
2. ทำประโยชนโ์ ดยการใช้ปอ้ งกนั สภาวะจิตใจ หรือปกป้องสภาวะจติ ของบคุ คล (EGODEFENSIVE
FUNCTION) เพราะความคิด หรือความเชื่อบางอย่างสามารถทำใหผ้ ู้เชอื่ หรอื คิดสบายใจ ส่วนจะผิดจะถูกเป็นอกี
เรอ่ื งหน่งึ
3. เจตคติทำหนา้ ทแี่ สดงคา่ นิยม ให้คนเห็นหรอื รบั รู้ (VALUE EXPRESSIVE FUNCTION)
4. มีประโยชน์หรอื ให้คณุ ประโยชน์ทางความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับผู้คนและส่งิ ตา่ งๆ
5. ชว่ ยให้บุคคลมหี ลักการและกฎเกณฑ์ในการแสดงพฤติกรรมหรือช่วยพัฒนาคา่ นยิ มใหก้ บั บคุ คล การที่
บุคคลมที ศั นคติทีด่ ีต่อบุคคล สถานการณ์ต่าง ๆ ในสังคมจะเป็นส่ิงท่ชี ว่ ยใหบ้ ุคคลสามารถประเมนิ และตัดสนิ ได้วา่ ควร
จะเลอื กประพฤตอิ ย่างไรจงึ จะเหมาะสมและดีงาม
องคป์ ระกอบของเจตคติมี 3 ประการ ไดแ้ ก่
1. ดา้ นความคิด ( Cognitive Component) หมายถึง การรบั รูแ้ ละวินจิ ฉยั ข้อมลู ต่าง ๆ ทีไ่ ด้รบั แสดง
ออกมาในแนวคดิ ที่ว่าอะไรถกู อะไรผดิ
7
2. ด้านความรู้สกึ ( Affective Component) หมายถงึ ลักษณะทางอารมณข์ องบุคคลที่สอดคล้องกับ
ความคดิ เชน่ ถา้ บุคคลมีความคิดในทางที่ไมด่ ตี ่อสิง่ ใด กจ็ ะมคี วามรู้สึกทไ่ี ม่ดีต่อสิ่งนั้นด้วย จึงแสดงออกมาในรปู
ของความรู้สึกไมช่ อบหรอื ไมพ่ อใจ
3. ด้านพฤตกิ รรม ( Behavior Component) หมายถึง ความพร้อมท่จี ะกระทำซงึ่ เป็นผลมาจาก
ความคดิ และความรสู้ ึกและจะออกมาในรปู ของการยอมรบั หรอื ปฏิเสธ การปฏบิ ตั ิหรือไม่ปฏิบตั ิ
ทฤษฎแี รงจูงใจ
ความหมายและองคป์ ระกอบของแรงจูงใจ ( Motivation)
แรงจงู ใจ หมายถงึ สภาวะที่อนิ ทรียถ์ กู กระต้นุ ให้แสดงพฤติกรรมเพ่ือไปยังจดุ มุ่งหมายดงั นั้นแรงจูงใจ
จึงเป็นความปรารถนา ท่ีบคุ คลมคี วามต้องการทจ่ี ะบรรลเุ ปา้ หมายโดยการเรียนร้ขู องแตล่ ะคนน่ันเอง เมอื่ บคุ คลได้รับ
การกระตุ้นจากสิ่งเร้าต่างๆ และบุคคลจะเกดิ ความตอ้ งการ ( Needs ) และถา้ ความตอ้ งการของบคุ คลไม่ไดร้ ับการ
ตอบสนอง บุคคลจะเกดิ ความเครยี ด ( stress ) เม่ือบคุ คลสะสมความเครยี ดไว้มาก ๆ บคุ คลจะขาดความสุขในการ
ดำเนนิ ชวี ิต การสะสมความเครยี ด ความวิตกกงั วลมาก ๆ จะทำให้บคุ คลเกิดแรงขบั ( drive ) ทจ่ี ะกระทำกจิ กรรม
บางอยา่ งหรอื แสดงพฤตกิ รรมบางอยา่ งใหล้ ดความเครยี ดน้นั ลงมากระบวนการทเี่ กิดข้ึนภายในน้เี อง ซงึ่ จะทำการ
กระตนุ้ ให้บคุ คลไปสู่การกระทำบางอยา่ งที่ไปสเู่ ป้าหมาย กระบวนการเช่นนเ้ี รยี กว่า แรงจูงใจ ( Motivation )
องคป์ ระกอบในการเกิดแรงจูงใจ มี 4 ข้นั ตอน คือ
1. ขั้นความต้องการ ( needs stage ) ออความต้องการเป็นสภาวะขาดสมดุลที่เกดิ ได้เม่อื บคุ คลขาดสง่ิ ทจี่ ะ
ทำให้ส่วนต่าง ๆ ภายในร่างกายทำหน้าทีไ่ ปตามปกติ ส่งิ ท่ีอาจจะเป็นส่ิงท่ีจำเป็นตอ่ การดำเนินชีวิตจึงทำให้เกิดแรง
ขบั และเกิดแรงกระตนุ้ เช่น ความหิว เมอื่ บุคคลหิวบคุ คลก็ต้องพยายามหาอาหาร คนทีล่ ดนำ้ หนักโดย
การใช้ยาลดความอว้ น ยาจะไปกดประสาทไมใ่ หห้ วิ แต่พอหลงั จากไมใ่ ชย้ าลดน้ำหนัก จะเหน็ วา่ คนท่ลี ดน้ำหนกั
โดยใชย้ าจะกนิ อาหารชดเชยมากขึน้ และอาจจะกลบั มาอว้ นใหม่อีก หรือเด็กเล็กทีไ่ ม่กนิ นมตอนปว่ ย แต่พอให้ปว่ ย
เดก็ จะเร่มิ กินนมมากข้นึ เพ่อื ชดเชยตอนท่ปี ่วย ความกระหายก็เปน็ ความต้องการอกี อยา่ งทีเ่ ม่อื เกดิ แล้วบุคคลตอ้ ง
หาวธิ กี ารเพื่อใหห้ ายกระหาย ความต้องการทางเพศและความต้องการการพักผ่อนก็จดั เปน็ ความตอ้ งการขน้ั พน้ื ฐาน
ในการดำรงชีวติ และไมม่ ใี ครในโลกนี้ทพี่ ยายามฝืนเพอ่ื ไมใ่ หต้ นเองหลบั มนุษย์ทุกคนต้องการการพกั ผ่อนด้วยกัน
ทั้งส้นิ
2. ขั้นแรงขับ ( drive stage ) หรือภาวะท่ีบุคคลถูกกระต้นุ ให้เกดิ แรงขับ เม่ือบุคคลเกิดแรงขับแลว้
บุคคลจะนิ่งอยู่เฉย ๆ ไมไ่ ด้บคุ คลอาจจะรสู้ กึ ไมม่ คี วามสุข กระวนกระวายใจ ดังนั้นบคุ คลจะคิดค้นหาวธิ กี ารที่ทำ
ให้ตนเองรู้สึกวา่ ไดร้ บั การตอบสนองจากความหวิ ความกระหาย ความต้องการทัง้ ปวงทีเ่ กิดข้ึน เพ่ือผลกั ดันใหไ้ ปสู่
จดุ หมายปลายทาง ตามที่บคุ คลต้องการ เชน่ เม่ือเราวงิ่ เหน่อื ยๆ อากาศกร็ อ้ นจดั ทำให้เราเหน่ือยและคอแห้ง
อยากกนิ นำ้ สงิ่ ทีเ่ ราต้องการบำบดั ความกระหายในชว่ งเวลานน้ั คือน้ำ บุคคลจะพยายามทุกวธิ ีทางทีจ่ ะหานำ้ มาดม่ื
3. ข้ันพฤตกิ รรม ( behavior stage ) เปน็ ขนั้ ท่ีเกดิ แรงขบั อย่างมากท่ที ำให้บุคคลเดนิ ไปหานำ้ ดมื่ โดยการ
เดนิ เข้าไปในร้านสะดวกซอ้ื แล้วเปิดขวดด่ืมแลว้ จงึ เดินมาจา่ ยสตางค์หรือถ้าทนตอ่ ความกระหายนำ้ ไดก้ ็รีบเดินอย่าง
รวดเร็วไปจ่ายสตางค์แล้วยกนำ้ ด่มื รวดเดยี วหมดขวด ชืน่ ใจ ความกระหายกบ็ รรเทาลง
4. ขน้ั ลดแรงขับ ( drive reduction stage ) เป็นขัน้ สุดทา้ ยที่อินทรียไ์ ดร้ ับการตอบสนองคือ ได้ด่ืมน้ำเป็น
ข้ันทบ่ี คุ คลเกิดความพงึ พอใจ ความตอ้ งการตา่ งๆ ก็จะลดลง
การประยกุ ตใ์ ช้ในการสอน
1. การตง้ั จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม
2. การใช้ตัวเสริมแรง ได้แก่ ยิม้ แยม้ การชมเชยจากครู คะแนน
3. การใชบ้ ทเรยี นสำเร็จรูป
8
บทท่ี 3
วธิ ีการดำเนินการศึกษาคน้ คว้า
การศึกษาวจิ ัยครง้ั น้ี มีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อเปน็ การปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการเรียน ใหเ้ ปน็ ผ้มู ีวนิ ยั และ
ความรับผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่แี ละการเรยี นดีขนึ้ ของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตำบลโพธ์ิชยั ภาคเรยี นที่ 2
ปีการศกึ ษา 2564 ได้ดำเนินการตามขน้ั ตอนดังนี้
1. ข้ันตอนการดำเนนิ การวจิ ัย
2. ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง
3. เครอื่ งมือที่ใช้ในการวจิ ัย
4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
5. การวิเคราะห์ข้อมลู
1. ข้นั ตอนการดำเนนิ การวจิ ัย
ผ้วู จิ ัยได้กำหนดขน้ั ตอนในการวจิ ัยไวด้ งั นี้
1. ศกึ ษาหลักการ ทฤษฏีจิตวิทยาการศึกษา เจตคติ (Attitude) ทฤษฎีแรงจูงใจ ทฤษฎกี าร
เรยี นรู้แบบวางเง่อื นไข แบบแบบการกระทำของสกนิ เนอร์ ลกั ษณะดา้ นวินยั ในหอ้ งเรยี น ความขยนั อดทนและความ
รับผดิ ชอบ
2. กำหนดกรอบความคิดในการวจิ ยั เพอ่ื ทำการศกึ ษาความมวี นิ ัยในตนเอง ความรับผิดชอบของ
ผเู้ รยี นระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตำบลโพธ์ชิ ยั ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564
3. กำหนดวัตถปุ ระสงค์
4. กำหนดกลุ่มประชากร ในการวจิ ัยครงั้ นี้ไดก้ ำหนดกล่มุ ประชากร คือ ผเู้ รียนระดับมธั ยมศึกษา
ตอนตน้ กศน.ตำบลโพธชิ์ ัย จำนวน 25 คน
5. สรา้ งเครอื่ งมือการวจิ ัย โดยผวู้ ิจัยศึกษาจากหลกั การ ทฤษฎี แนวคดิ วัตถปุ ระสงค์ เพื่อจำแนก
ว่า ควรสรา้ งเคร่ืองมือวดั ดา้ นใดบ้างใหเ้ หมาะสมกับสภาพของผูเ้ รยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น กศน.ตำบลโพธิ์ชยั
จำนวน 25 คน ทนี่ ำมาทำการวิจยั ในครั้งนี้
6. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผวู้ ิจยั นำไดด้ ำเนินการเกบ็ ขอ้ มูลดวั ยตัวเองโดยการสังเกต ให้ผเู้ รียนกลุ่ม
ตัวอยา่ งไดต้ อบแบบสอบถาม
7. การสรุปผลการวจิ ยั และนำเสนอผลการวจิ ัย โดยนำข้อมูลทไี่ ดม้ าวิเคราะหข์ ้อมูลและเขยี นสรุปผล
การวิเคราะหข์ ้อมูล
2. ประชากร/กลุ่มตวั อย่าง
ประชากร / กลุม่ ตวั อยา่ งทใ่ี ช้ในการศึกษาครง้ั นีเ้ ปน็ ผเู้ รียนผ้เู รียนผู้เรยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น
กศน.ตำบลโพธ์ชิ ัย จำนวน 25 คน
3. เครือ่ งมือท่ีใช้ในการศึกษาค้นคว้า
ในการทำวิจยั คร้งั นี้ เคร่อื งมอื ทใ่ี ช้เปน็ แบบสงั เกต แบบสอบถาม ที่ผู้วิจัยสร้างข้ึนเอง
9
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
ในการเก็บรวบรวมข้อมลู ผ้วู จิ ยั ไดใ้ ชก้ ารสงั เกตและนำเคร่ืองมอื ที่สรา้ งข้นึ ให้ผ้เู รยี นระดบั มัธยมศกึ ษา
ตอนตน้ กศน.ตำบลโพธิช์ ัย จำนวน 25 คน ได้ตอบแบบสอบถามและเก็บขอ้ มลู ด้วยตนเอง
5. การวิเคราะหข์ ้อมลู
ผวู้ ิจัยใช้ค่ารอ้ ยละในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
10
บทท่ี 4
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
การศกึ ษาวจิ ยั การปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมการเรยี นให้เป็นผู้มีวนิ ยั และความรับผดิ ชอบต่อหน้าที่และการ
เรยี นดขี ึน้ ของผูเ้ รียนระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตำบลโพธิช์ ัย จำนวน 25 คนปรากฏว่าได้รบั ความรว่ มมอื จาก
ผู้เรยี นเปน็ อยา่ งดี จึงทำให้ผ้เู รยี นมีการปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม สามารถตอบสนองตอ่ ตัวผเู้ รียนเอง ทำให้ผเู้ รียนมี
พฤตกิ รรมการเรยี นที่ดขี ึน้ มวี นิ ัยในตนเองและมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทท่ี ี่ได้รับมอบหมายและการเรยี นดีขนึ้ ผู้วจิ ัย
ได้ดำเนินการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลตามลำดับข้นั ตอนดงั นี้
1. การวเิ คราะห์ข้อมลู
2. ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู
การวิเคราะหข์ ้อมลู
ในการศึกษาวิจยั ครั้งนี้ ผูว้ จิ ัยได้การดำเนนิ ติดตามขอ้ มูลดว้ ยตวั เองโดยการสังเกตสัมภาษณ์ ให้ผ้เู รียนตอบ
แบบสอบถามและมกี ารติดตามดูแลพฤตกิ รรมและการเรียนของผู้เรยี นอยา่ งใกลช้ ิด ดงั น้ี
ผวู้ จิ ัยได้ดำเนนิ การศกึ ษาและสังเกตพฤตกิ รรมของผเู้ รียน กศน.ตำบลโพธชิ์ ยั โดยการสงั เกตพฤตกิ รรมและ
การเรยี นของผเู้ รยี น ขณะทที่ ำการสอน และสอบถามจากครแู ต่ละวชิ าทท่ี ำการสอน ซง่ึ พบวา่ มีผเู้ รียนที่มีปญั หาด้าน
พฤตกิ รรมการเรยี น ขาดวินัยและความรบั ผดิ ชอบ เช่น มาสาย ไม่สนใจเรยี น ไม่สง่ งานตามกำหนดเวลา บางครัง้
ไม่มาเรียน มีการจดบันทกึ และตดิ ตามผู้เรียนเป็นรายกรณี โดยการว่ากล่าวตกั เตอื นและมีการบันทกึ เปน็ ลายลักษณ์
อักษรและมีการใหผ้ เู้ รียนตอบแบบสอบถาม สรปุ ได้ดังนี้
ตารางแสดงความมีวนิ ยั ความรบั ผิดชอบและความสนใจการเรยี น
ของผเู้ รียน กศน.ตำบลโพธิช์ ยั จำนวน 25 คน (คร้ังที่ 1)
ข้อ รายการ ทำเป็น คดิ เป็น ทำเป็น คดิ เป็น ไมเ่ คยทำ คดิ เปน็
ประจำ รอ้ ยละ บางครง้ั ร้อยละ ร้อยละ
4
1 ผเู้ รียนมกั นำงานวิชาอ่นื มาทำขณะทีก่ ำลงั 13 52 8 32 4 16
เรียนวิชาหน่งึ 4
4 16
2 ผเู้ รยี นพูดคุยและเล่นเพอ่ื นในขณะท่ีครสู อน 15 60 6 24 4 16
16 16
3 ผู้เรียนส่งงานและการบา้ นตรงเวลาทค่ี รู 13 52 8 32 14 16
กำหนด 12 64
12 56
4 ผูเ้ รยี นนอนหลบั ในหอ้ งเรยี นขณะชว่ั โมงเรยี น 15 60 6 24
15 48
5 ผู้เรียนไมท่ ำการบา้ นและลอกการบา้ นเพ่ือน 14 56 7 28 48
6 ผเู้ รียนทำผิดจะพยายามแก้ไขโดยไม่ท้อแท้ 4 16 5 20 60
7 ผู้เรยี นมีความรับผดิ ชอบตอ่ งานทไ่ี ด้รบั 5 20 6 24
มอบหมาย
8 ผู้เรยี นมาเรยี นตรงเวลาและตั้งใจเรยี น 7 28 6 24
9 ผู้เรียนรจู้ ักวางแผนและเตรียมพร้อมทีจ่ ะ 8 32 5 20
ศึกษาตอ่ ในมหาวิทยาลยั
10 ผู้เรยี นใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์โดยการ 5 20 5 20
อ่านหนงั สอื
11
หลังจากท่ีผู้วิจัยได้ทำการสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียนและได้ใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับความมีวินัย ความ
รบั ผิดชอบและความสนใจการเรียน โดยให้ผู้เรียนระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลโพธิ์ชัย จำนวน 25 คน ตอบ
แบบสอบถามด้วยความจริงแล้วนำมาสรุปโดยใช้ค่าร้อยละในการวิเคราะห์ผลการวิจัย (จากแบบสรุปผลการตอบ
แบบสอบถาม) และประกอบกับผลการเรียนของภาคเรยี นที่ 2/2564 ทำให้ผ้วู ิจยั ไดท้ ำการสังเกตผเู้ รยี นท่ีมีพฤตกิ รรม
ในลกั ษณะดงั กล่าวและมีผลการเรียนค่อนข้างต่ำซึ่งผวู้ ิจัยจะทำการวิจัยเพ่ือเป็นปรับเปลยี่ นด้านพฤติกรรมให้ผู้เรียนใน
ห้องเรียนมีวินัยและความรับผิดชอบ ตั้งใจเรียน จึงได้ดำเนินการโดยให้แต่ละคนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและ
ร่วมกนั สรา้ งบรรยากาศการเรยี นรู้ภายในหอ้ งเรยี นใหเ้ ออื้ ตอ่ การเรยี นการสอน
โดยการวางเงอื่ นไขกันภายในห้องเรยี น สรา้ งแรงจงู ใจ และสรา้ งความตระหนักให้ผู้เรียนเห็นถึงผลของการไมม่ ีวนิ ัย
ขาดความรบั ผดิ ชอบ และไมต่ ้งั ใจเรียน โดยไดด้ ำเนินการ ดงั น้ี
๏ ให้ผเู้ รียนแต่ละคนเขยี นคำมั่นสญั ญา
๏ ขอความรว่ มมอื จากผูป้ กครองรว่ มกันดูแลพฤติกรรมและการเรียนของผเู้ รยี นให้ผปู้ กครองแจ้ง
พฤตกิ รรมของผู้เรียนขณะอยบู่ ้านเม่อื ผู้เรียนขาดเรยี นหรอื มาสายใหค้ รูทราบและครกู ็มกี ารติดตามผู้เรยี นร่วมกนั
๏ ขอความรว่ มมือจากครูทท่ี ำการสอนทุกท่านใหข้ ้อมูลด้านพฤติกรรมของผูเ้ รียนขณะเรยี น
ในแต่ละวชิ า
ผวู้ ิจยั ได้ตดิ ตาม ดแู ลและสังเกตผเู้ รียนเปน็ ระยะ ๆ และในกรณีท่ีผเู้ รียนมปี ญั หาไมว่ ่าจะเปน็ ปัญหาดา้ น
พฤตกิ รรมและการเรียน หวั หนา้ กลมุ่ แต่ละกล่มุ จะรายงานครูและร่วมกนั แก้ปญั หาท้งั ดา้ นการมาเรียน ถา้ มีผเู้ รียนขาด
เรียนภายในกลมุ่ จะแจง้ ให้ครูทราบและมีการติดตามให้มาเรยี นและชี้ให้ผู้เรียนเหน็ ความสำคัญของการเรยี น ต้องมี
วินัยและความรับผิดชอบตอ่ หน้าที่ ทำให้บรรยากาศการเรียนรภู้ ายในห้องเรียนดขี ึ้นรู้จกั เสียสละ มีความสามัคคีและ
ช่วยเหลือซง่ึ กนั และกนั ภายในห้องเรยี นมีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกัน เช่น ร่วมกันทำความสะอาดห้องเรียน
นอกเหนอื จากเวรทำความสะอาดประจำวันแล้ว แข่งขันกีฬาภายในหอ้ งเรียน นอกจากนี้มีการจดั ใหผ้ เู้ รยี นเขา้ ร่วม
กจิ กรรมรักการอ่าน การรู้จักการออมโดยในแต่ละสปั ดาหจ์ ะมีการให้ผเู้ รยี นนำเงนิ ที่เหลอื มาฝากเงินกับธนาคาร
โรงเรยี นท้งั นี้เพอ่ื เป็นฝกึ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามรับผิดชอบและรูจ้ ักประหยดั ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ผูว้ จิ ยั ได้สังเกตพบว่า พฤติกรรมของผเู้ รียนภายในห้องหลังจากมกี ารแบ่งกลมุ่ เปน็ กล่มุ ย่อย ๆ แลว้ ให้
เพ่ือนคอยเปน็ พเ่ี ลี้ยงแนะนำเพื่อนไม่วา่ จะเป็นด้านพฤติกรรมและการเรียนทำให้มบี รรยากาศท่ีเอ้อื ต่อการเรียนการ
สอนมากขน้ึ เมือ่ นำผเู้ รยี นมาร่วมกันทำกจิ กรรมของโรงเรยี น พบวา่ ผเู้ รยี นมคี วามกระตือรอื รน้ ในการเขา้ รว่ มกิจกรรม
และเอาใจใส่ต่อการเรียนมากขน้ึ
หลังจากผู้วจิ ยั เห็นการปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมให้ผูเ้ รียนเป็นผ้มู วี นิ ยั มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ การเรยี นและมี
บรรยากาศภายในหอ้ งเรียนดีข้ึน ครูกม็ ีการพดู คุยและรว่ มกันประเมนิ ผลการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมของแตล่ ะคน
โดยการสัมภาษณ์และให้ผเู้ รยี นแตล่ ะคนตอบแบบสอบถามชุดเดมิ อีกครั้งแลว้ นำมาสรุปเปรยี บเทยี บกบั การ
ตอบแบบสอบถามคร้ังแรก พบว่า ผเู้ รยี นมีความรกั สามคั คีในหมู่คณะ มคี วามรับผดิ ชอบ มาเรียนเป็นประจำ
ตั้งใจเรยี นและทำงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย มผี ลการเรยี นดขี ้ึน ทำใหเ้ กิดความภาคภมู ิใจในตนเอง
12
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู
จากผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู จากการสงั เกต การสมั ภาษณ์ ขอ้ มูลด้านการเรยี นของแต่ละวชิ า การตอบ
แบบสอบถามจากผ้เู รยี นและจากการใชแ้ รงจงู ใจเสรมิ แรงโดยให้คำชมเชยแก่ผเู้ รยี น รวมทง้ั ดแู ลดา้ นการเรยี นให้มี
ความรับผดิ ชอบ สนใจเรียน และติดตามจากผปู้ กครอง คณุ ครูท่ีเขา้ สอนแตล่ ะวิชา ปรากฏวา่ ผเู้ รียนระดับ
มธั ยมศึกษาตอนตน้ กศน.ตำบลโพธ์ิชยั มคี วามเอาใจใส่ตอ่ การเรียน รับผิดชอบและสนใจเรียนมากขึ้น โดยสงั เกต
จากบรรยากาศการเรยี นภายในห้องเรียนท่ีเออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ ทำให้ผเู้ รยี นมีความกระตอื รือรน้ ต่อการมาเรยี นและการ
เรยี น มีความต้งั ใจเรยี น มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ไมข่ าดเรยี นหรือมาสาย ทำงานทีไ่ ด้รบั มอบหมายและสง่ งาน
ตรงกำหนดเวลา รจู้ ักช่วยเหลือซ่งึ กนั และกนั ด้วยความเตม็ ใจ ยังสง่ ผลทำให้ผลการเรยี นมวี ินยั ความรับผิดชอบและ
ความสนใจการเรยี นของผู้เรียน โดยสรปุ จากผลการเปรียบเทียบจากการตอบแบบสอบถาม ดังน้ี
ตารางแสดงความมีวินยั ความรับผิดชอบและความสนใจการเรยี น
ของผเู้ รยี น กศน.ตำบลโพธ์ชิ ัย (คร้ังท่ี 2)
ขอ้ รายการ ทำเปน็ คิดเปน็ ทำเป็น คดิ เป็น ไมเ่ คยทำ คดิ เปน็
ประจำ ร้อยละ บางคร้ัง ร้อยละ ร้อยละ
1 ผเู้ รียนมักนำงานวชิ าอน่ื มาทำขณะที่กำลัง 4 16 14 56 7 28
เรยี นวชิ าหนงึ่
2 ผเู้ รียนพูดคยุ และเลน่ เพ่อื นในขณะท่ีครูสอน 5 20 6 24 14 56
3 ผู้เรียนสง่ งานและการบา้ นตรงเวลาทคี่ รู 12 48 8 32 5 20
กำหนด
4 ผู้เรียนนอนหลับในห้องเรยี นขณะชว่ั โมงเรียน 6 24 7 28 12 48
5 ผเู้ รียนไม่ทำการบา้ นและลอกการบ้านเพอ่ื น 6 24 12 48 7 28
6 ผเู้ รียนทำผิดจะพยายามแก้ไขโดยไม่ท้อแท้ 11 44 9 36 5 20
7 ผเู้ รียนมคี วามรับผดิ ชอบต่องานท่ไี ดร้ ับ 6 24 12 48 7 28
มอบหมาย
8 ผเู้ รยี นมาเรียนตรงเวลาและตง้ั ใจเรียน 11 44 8 32 6 24
9 ผู้เรยี นรจู้ ักวางแผนและเตรยี มพรอ้ มท่จี ะ 6 24 12 48 7 28
ศกึ ษาตอ่ ในมหาวทิ ยาลัย
10 ผ้เู รียนใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์โดยการ 11 44 8 32 6 24
อา่ นหนังสือ
13
จากแบบสอบถามผู้เรียนเกย่ี วกับความมีวินยั และรบั ผิดชอบในหอ้ งเรียนครั้งที่ 2 พบว่าผู้เรยี นระดบั มัธยมศึกษา
ตอนตน้ กศน.ตำบลโพธชิ์ ัย มีความกระตอื รือรน้ เอาใจใส่ตอ่ การเรียน และมีวินยั และความรับผิดชอบมากข้นึ โดยสรปุ
ได้ ดังน้ี
ผเู้ รียนมกั นำงานวิชาอ่ืนมาทำขณะที่กำลงั เรยี นวิชาหน่ึงผูเ้ รยี นทำเปน็ บางคร้ังมากทส่ี ุดคิดเป็นร้อยละ 56
ผเู้ รียนพดู คุยและเล่นเพื่อนในขณะท่ีครูสอน ผเู้ รยี นไม่เคยทำมากท่ีสดุ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 56
ผเู้ รยี นส่งงานและการบา้ นตรงเวลาท่คี รกู ำหนด ผู้เรียนทท่ี ำเป็นประจำมากทส่ี ดุ คิดเปน็ ร้อยละ 48
ผ้เู รยี นนอนหลับในห้องเรียนขณะชว่ั โมงเรยี น ผเู้ รียนไม่เคยทำมากที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 48
ผเู้ รียนไม่ทำการบา้ นและลอกการบา้ นเพอื่ น ผู้เรียนทำเปน็ บางครง้ั มากท่สี ดุ คิดเปน็ รอ้ ยละ 48
ผู้เรยี นทำผิดจะพยายามแกไ้ ขโดยไมท่ ้อแท้ ผู้เรยี นทที่ ำเปน็ ประจำมากทส่ี ุด คดิ เป็นรอ้ ยละ 44
ผู้เรยี นมีความรับผิดชอบตอ่ งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย ผเู้ รียนทำเปน็ บางครัง้ มากที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 48
ผเู้ รยี นมาเรยี นตรงเวลาและตั้งใจเรียน ผูเ้ รียนทำเปน็ ประจำมากทีส่ ุด คิดเปน็ ร้อยละ 44
ผู้เรยี นรจู้ กั วางแผนและเตรยี มพรอ้ มท่จี ะศกึ ษาตอ่ ในมหาวิทยาลัย ผูเ้ รยี นทำเปน็ บางครั้งมากทสี่ ุด
คดิ เปน็ ร้อยละ 48
ผู้เรยี นใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์โดยการอา่ นหนงั สือผูเ้ รยี นทำเป็นประจำมากท่ีสุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 44
14
บทท่ี 5
สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
ความมุ่งหมาย
เพือ่ เปน็ การปรับเปลย่ี นพฤตกิ รรมการเรยี นให้เป็นผูม้ ีวนิ ัยและความรับผดิ ชอบตอ่ หน้าทแ่ี ละการเรียนดี
ขนึ้ ของผเู้ รยี นระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลโพธิ์ชัย
ประชากร/กลุ่มตวั อย่าง
ประชากร / กล่มุ ตวั อยา่ งทใ่ี ช้ในการศึกษาคร้งั นีเ้ ป็น ผเู้ รยี นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น กศน.ตำบลโพธช์ิ ยั
จำนวน 25 คน
เครอ่ื งมอื ที่ใช้ในการศกึ ษาค้นควา้
เครอ่ื งมือทใ่ี ช้ในการศึกษาค้นควา้ คอื การสงั เกต และการสัมภาษณ์ การพูดคยุ การใช้คำมนั่ สญั ญาและ
ทฤษฎีเสริมแรง
วิธกี ารดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
ในการทำวจิ ยั ครั้งนี้ เครอื่ งมอื ท่ีใชเ้ ป็นแบบสงั เกต แบบสอบถาม ท่ีผวู้ จิ ยั สร้างขึน้ เอง
การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
ผ้วู จิ ัยใช้คา่ รอ้ ยละในการวิเคราะห์ข้อมูล
สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมลู
จากผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลจากการสังเกต ข้อมลู ด้านการเรียนของแตล่ ะวิชา และการตอบ
แบบสอบถามจากผูเ้ รียน การใชแ้ รงจูงใจเสริมแรงโดยให้คำชมเชยแก่ผู้เรยี น รวมทัง้ ดแู ลด้านการเรยี นใหม้ ีความ
รบั ผิดชอบ สนใจเรยี น และตดิ ตามจากผู้ปกครอง คุณครูทเ่ี ขา้ สอน ซงึ่ ผู้เรยี นให้ความร่วมมือเปน็ อยา่ งดี ทำ
ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามกระตือรอื ร้นต่อการมาเรยี นและการเรยี นมากข้นึ ในการทำวจิ ยั คร้งั น้ีปรากฏวา่ ผู้เรยี นระดับ
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น กศน.ตำบลโพธ์ชิ ยั มีความเอาใจใสต่ ่อการเรยี น รบั ผดิ ชอบและสนใจเรียนมากขึน้ โดยสงั เกต
จากบรรยากาศการเรียนภายในห้องเรียนท่ี เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ มคี วามต้งั ใจเรยี นมากข้ึน มคี วามรับผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ี
ไม่ขาดเรียนหรอื มาสาย ทำงานทไี่ ด้รับมอบหมายและสง่ งานตรงกำหนดเวลา รจู้ กั ช่วยเหลอื ซงึ่ กันและกนั ด้วยความ
เต็มใจ โดยดจู ากการสังเกต การสัมภาษณ์ ผลการเรียนและสรุปผลการเปรียบเทียบจากการตอบแบบสอบถาม
เกยี่ วกับความมีวนิ ัย ความรบั ผิดชอบและความสนใจการเรียนของผเู้ รียน ดงั น้ี
15
ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวนท้งั ส้ิน 25 คน
ตารางท่ี 1 แสดงจำนวนรอ้ ยละของผู้เข้ารับการวิจัยจำแนกตามเพศ
เพศ จำนวน (คน) ร้อยละ
ชาย 14 56
หญิง 13 44
รวม 25 ๑๐๐
จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผู้เข้ารบั การอบรมสว่ นใหญเ่ ป็นเพศชาย จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 56 เป็นเพศ
หญงิ จำนวน 13 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 44 ตามลำดับ
ตารางที่ 2 แสดงจำนวนรอ้ ยละของผเู้ ข้ารับการอบรม จำแนกตามอายุ
อายุ จำนวน(คน) รอ้ ยละ
ต่ำกวา่ 15 ปี - -
15-39 ปี 24 96
40-59 ปี 1 4
๖๐ ปขี นึ้ ไป - -
รวม 25 ๑๐๐
จากตารางท่ี 2 แสดงว่า ผูเ้ ข้ารบั การอบรมส่วนใหญ่มีอายอุ ยู่ในชว่ ง 15-39 ปจี ำนวน 25 คน คิดเปน็
ร้อยละ 96 ช่วงอายุ 40-59 ปี จำนวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0034
ตารางท่ี 3 ผเู้ ขา้ รบั การอบรม จำแนกตามระดบั การศกึ ษา
ระดบั การศึกษา จำนวน(คน) ร้อยละ
ประถม - -
ม.ตน้ 25 100
ม.ปลาย - -
รวม 25 100
จากตารางที่ 3 แสดงว่า ผู้เขา้ รบั การอบรมส่วนใหญ่มีการศึกษาอยู่ในระดบั ม.ตน้ จำนวน 25 คน คดิ เป็น
ร้อยละ 100
ตารางท่ี 4 ผู้เขา้ รบั การอบรม จำแนกตามอาชีพ
อาชพี จำนวน(คน) รอ้ ยละ
รบั จา้ ง 17 68
เกษตรกร - -
อืน่ ๆ (ไมม่ ีอาชพี ) 10 32
รวม 25 100
16
ตารางเปรียบเทียบความมวี นิ ยั ความรับผดิ ชอบและความสนใจการเรียน
ของผู้เรยี น กศน.ตำบลโพธช์ิ ัย (คร้งั ท่ี 1 และครงั้ ที่ 2)
ครั้งท่ี 1 คร้งั ที่ 2
ขอ้ รายการ ทำเปน็ ทำเปน็ ไม่เคย ทำเปน็ ทำเป็น ไมเ่ คย
ประจำ บางครัง้ ทำ ประจำ บางคร้ัง ทำ
1 ผเู้ รียนมักนำงานวิชาอนื่ มาทำ ขณะที่กำลงั 13 8 4 4 14 7
เรยี นวชิ าหน่ึง
2 ผู้เรยี นพดู คยุ และเลน่ เพอื่ นในขณะท่ีครูสอน 15 6 4 5 6 14
3 ผเู้ รียนสง่ งานและการบ้านตรงเวลาทีค่ รู 13 8 4 12 8 5
กำหนด
4 ผู้เรียนนอนหลบั ในห้องเรยี นขณะชัว่ โมง 15 6 46 7 12
เรียน
5 ผู้เรยี นไม่ทำการบ้านและลอกการบา้ นเพอ่ื น 14 7 4 6 12 7
6 ผู้เรียนทำผิดจะพยายามแกไ้ ขโดยไมท่ อ้ แท้ 4 5 16 11 9 5
7 ผู้เรยี นมีความรับผิดชอบต่องานทไ่ี ด้รับ 5 6 14 6 12 7
มอบหมาย
8 ผเู้ รยี นมาเรียนตรงเวลาและตง้ั ใจเรยี น 7 6 12 11 8 6
9 ผเู้ รยี นรู้จกั วางแผนและเตรยี มพรอ้ มท่จี ะ 8 5 12 6 12 7
ศกึ ษาตอ่ ในมหาวิทยาลัย
10 ผเู้ รยี นใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์โดยการ 5 5 15 11 8 6
อา่ นหนงั สอื
จากแบบสอบถามผ้เู รียนเกย่ี วกบั ความมีวินัยและรับผิดชอบในหอ้ งเรยี น เม่อื นำผลสรปุ ของการตอบ
แบบสอบถามคร้งั ท่ี 1 และครง้ั ท่ี 2 พบว่าผ้เู รียน กศน.ตำบลโพธชิ์ ัย มีความกระตอื รือรน้ เอาใจใส่ต่อการเรยี น
และมวี ินยั และความรบั ผิดชอบมากข้นึ จากตารางพบวา่ ในการตอบแบบสอบถามครง้ั ที่ 2 ผเู้ รียนมพี ฤติกรรม
ดังกล่าวมากกว่าครั้งที่ 1 หากพิจารณาในภาพรวมจะเหน็ ไดว้ ่าดีขนึ้ อยา่ งเห็นไดช้ ดั คือ ผู้เรียนไมน่ ำงานวชิ าอื่นมาทำ
ขณะท่กี ำลังเรยี นวชิ าหนงึ่ ไม่คุยและเล่นเพือ่ นในขณะทีค่ รสู อน ส่งงานและการบ้านตรงเวลาทค่ี รูกำหนด ไม่นอน
หลับในหอ้ งเรียนขณะชัว่ โมงเรยี น ทำการบ้านและไมล่ อกการบา้ นเพือ่ น ทำผิดจะพยายามแก้ไขโดยไม่ท้อแท้ มี
ความรบั ผดิ ชอบตอ่ งานที่ไดร้ ับมอบหมาย มาเรยี นตรงเวลาและต้ังใจเรยี น รู้จกั วางแผนและเตรยี มพร้อมที่จะศึกษา
ตอ่ ในมหาวิทยาลยั และใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์โดยการอ่านหนังสือ ทำให้ผู้เรียนสามารถปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม
การเรียนให้เปน็ ผูม้ วี นิ ยั และความรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ทีแ่ ละการเรยี น ส่งผลให้การเรียนดขี น้ึ และเป็นผทู้ มี่ คี วามสำเรจ็
ในชวี ิตตามจุดหมายที่ตง้ั ไว้
ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการตดิ ตามอย่างใกลช้ ดิ และต่อเนอื่ ง ควรมีการตดิ ตามอยา่ งต่อเนือ่ ง
2. ครู ผู้ปกครอง ผู้เรียนและผทู้ เี่ กย่ี วขอ้ ง ควรร่วมมอื กนั แกไ้ ขและสะท้อนปัญหา
ต่าง ๆ ของผเู้ รียน ทำให้ผู้เรยี นมกี ารปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมและการเรียน
บรรณานกุ รม
โยธนิ คันสนยทุ ธ และคณะ. จิตวทิ ยา. กรุงเทพมหานคร: ศูนยส์ ง่ เสรมิ วิชาการ, 381 หนา้ . 2533.
จรี าภา เตง็ ไตรรตั น์ และคณะ. จิตวทิ ยาทวั่ ไป. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์,
364 หน้า. 2533.
ฉันทนา ภาคบงกช และคณะ. การสำรวจคุณลักษณะทางวินัยท่ีพงึ ประสงค์ในสงั คมไทย. กรงุ เทพมหานคร:
สถาบนั วจิ ัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ. 2539
จุมพล หนิมพานิช และคณะ. จิตวิทยาทว่ั ไป. กรงุ เทพมหานคร: มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2542
แบบสอบถามเพอื่ การวจิ ยั
เรอ่ื ง แสดงความมีวนิ ัย ความรบั ผดิ ชอบและความสนใจในการเรียน
กศน.ตำบลโพธช์ิ ยั
คำชแ้ี จง ขอความกรณุ าผเู้ รยี นตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริง ซ่งึ การตอบแบบสอบถามคร้ังนี้จะไม่มผี ลต่อ
ผเู้ รยี นแต่อย่างใด แต่จะนำไปใชป้ ระโยชนใ์ นด้านการวจิ ัยและในการพฒั นาความมีวินยั ด้านความความรบั ผิดชอบและ
ความสนใจในการเรยี นเทา่ น้นั
ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
1. เพศ Ο ชาย Ο หญิง
2. อายุ Οต่ำกว่า 15 ปี Ο 15-39 ปี Ο 40-59 ปี Ο 60 ปีข้ึนไป
3. การศกึ ษา Ο ประถม Ο ม.ต้น Ο ม.ปลาย
4. อาชีพ Ο รับจา้ ง Ο คา้ ขาย Ο รับราชการ Ο อื่นๆโปรดระบุ...................
ตอนท่ี 2 แสดงความคิดเห็นทตี่ รงกับท่านมากที่สุด ทำเป็น ทำเปน็ ไมเ่ คยทำ
ประจำ บางครัง้
ขอ้ รายการ
1 ผเู้ รียนมักนำงานวชิ าอ่นื มาทำ ขณะท่กี ำลงั เรยี นวิชาหนง่ึ
2 ผเู้ รยี นพูดคยุ และเลน่ เพ่ือนในขณะที่ครสู อน
3 ผูเ้ รยี นสง่ งานและการบ้านตรงเวลาทีค่ รูกำหนด
4 ผเู้ รยี นนอนหลับในหอ้ งเรยี นขณะช่ัวโมงเรียน
5 ผู้เรียนไมท่ ำการบา้ นและลอกการบ้านเพื่อน
6 ผเู้ รยี นทำผิดจะพยายามแกไ้ ขโดยไม่ท้อแท้
7 ผ้เู รียนมคี วามรบั ผิดชอบตอ่ งานที่ได้รบั มอบหมาย
8 ผู้เรยี นมาเรียนตรงเวลาและตั้งใจเรียน
9 ผู้เรยี นรูจ้ ักวางแผนและเตรยี มพร้อมทจี่ ะศึกษาต่อใน
มหาวิทยาลยั
10 ผเู้ รยี นใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์โดยการอ่านหนังสอื
ข้อเสนอแนะ/คิดเหน็ ………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………..
ขอขอบคุณสำหรบั ความร่วมมอื ในการตอบแบบสำรวจ