รายงานผลการดาเนนิ งาน
การศึกษาต่อเนื่อง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน
จัดรูปแบบวชิ าชีพระยะสน้ั ในรปู แบบกล่มุ สนใจ
วิชาการทาสบู่สมุนไพร
จานวน 17 ชั่วโมง
(วนั ท่ี 19 – 24 เดือน ธันวาคม ๒๕๖4)
ศรช.โนนสงั ข์
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองคาย
สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั หนองคาย
คานา
การศึกษาต่อเน่ือง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จัดแบบวิชาชีพระยะส้ันในรูปแบบกลุ่มสนใจ
วิชาการทาสบู่สมุนไพร จานวน 17 ช่ัวโมง ของสานักงาน กศน. เป็นการยกระดับการจัดการศึกษา
เพื่อพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง โดยได้
ดาเนินการ ในวันท่ี 19 –24 เดือน ธันวาคม ๒๕๖4 ณ กศน.ตาบลโพธ์ิชัย หมู่ 6 อาเภอเมืองหนองคาย
จังหวัดหนองคาย
กศน.ตาบลโพธชิ์ ัย จึงหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารน้ีจะบ่งบอกถึงการบรรลุวัตถุประสงค์ของการศึกษา
ต่อเนื่อง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จัดแบบวิชาชีพระยะสั้นในรูปแบบกลุ่มสนใจ วิชาการทาสบู่สมุนไพร
จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมของ สานักงาน กศน. ท้ังในด้านการบริหาร การพัฒนางาน การทางาน
ทต่ี รงตามความต้องการของผเู้ รยี น ผู้รับบริการและชมุ ชน สามารถเผยแพร่ต่อสาธารณชนได้
ขอขอบคุณผ้มู ีส่วนเกย่ี วขอ้ งและให้ความร่วมมอื ในการตอบแบบสอบถามทุกท่านไว้ ณ โอกาสนด้ี ว้ ย
กศน.ตาบลโพธิ์ชัย
สารบญั หนา้
1
คานา 3
บทที่ ๑ หลักการและเหตุผล 5
บทที่ ๒ ผลดาเนินการ 9
บทที่ ๓ ผลการประเมินความพงึ พอใจ ๑0
บทท่ี ๔ ปัญหาอปุ สรรคและขอ้ เสนอแนะ
ภาคผนวก
๑
บทที่ ๑
หลกั การและเหตผุ ล
ทีม่ าและความสาคญั
เน่ืองจากปัจจุบนั น้กี ารงานอาชีพเปน็ สงิ่ ทสี่ าคัญ ต่อการดารงชีวิตของคนในปัจจุบันและตามแนวทาง
พระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวท่ีว่าดว้ ยเรื่องของ “ทางเศรษฐกิจพอเพียง” เข้าใจ มีความคิด
สรา้ งสรรค์ มีทกั ษะ มคี ณุ ธรรม มีจิตสานึกในการใช้พลังงานทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการทางานเพื่อการ
ดารงชีวิตและครอบครัวท่ีเกี่ยวกับงานบ้าน งานเกษตร งานช่าง งานประดิษฐ์ และงานธุรกิจมีทักษะ
กระบวนการทางาน การจัดการ การทางานเป็นกลุ่ม การแสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาในการทางาน
รกั การทางานและมีเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งานเข้าใจ มที กั ษะ มีประสบการณ์ในงานอาชีพสุจริต มีคุณธรรม มีเจตคติ
ที่ดตี อ่ งานอาชพี และเหน็ แนวทางในการประกอบอาชีพสุจริต ซึ่งถือเป็นกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและเป็นการฝึก
ปฏิบัติโครงงานอาชพี
สภาพสงั คมในปัจจุบนั มนษุ ยเ์ ราไดร้ บั ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ เช่นด้านเศรษฐกิจ
การเมือง สังคมและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก ประชากรเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆแต่ทรัพยากรมีน้อยลง จึงมีความ
จาเป็นต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้มีความคุ้มค่าย่ิงขึ้นโด ยเฉพาะด้านการดารงชีพและชีวิตความ
เปน็ อยู่ของประชาชน นอกจากจะมีการประกอบอาชีพเพ่ือเป็นการเลี้ยงตัวเองและครอบครัวแล้วยังมีส่ิงท่ีถือ
ว่าเป็นภาระหนักคืออาหารเพื่อบริโภคประจาวัน จึงจาเป็นอย่างย่ิงที่มนุษย์เราจะต้องสร้างขึ้นหรือหามา
ทดแทนโดยวิธีการตา่ ง ๆ เพอ่ื การอยรู่ อด
ท้ังนี้การจัดกิจกรรมดังกล่าว เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะข้ันพื้นฐานเกี่ยวกับการแปรรูปอาหาร
ขนม และมีทักษะในการประกอบอาชีพเข้าใจมีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ มีคุณธรรม มีจิตสานึกในการ
ทางานเพือ่ การดารงชีวิตและครอบครวั ทเ่ี ก่ียวกับงานการแปรรูปอาหารขนม เพ่ือให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติงาน
อาชีพอยา่ งครบวงจรและมปี ระสบการณ์ในการประกอบอาชีพโดยเฉพาะอาชีพอิสระ เพ่ือให้ผู้เรียนเห็นคุณค่า
และความจาเป็นของการประกอบอาชีพและมองเห็นช่องทางในการประกอบอาชีพและเพื่อปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรมและคา่ นยิ มในการทางานการพง่ึ ตนเองและรกั การทางาน
การถนอมอาหารได้เข้ามามีบทบาทสาคัญต่อมนุษย์เป็นอย่างมาก เนื่องจากพฤติกรรมการบริโภค
อาหารมีการเปล่ียนแปลงไปจากเดิม เน่ืองจากคนส่วนใหญ่ต้องการความสะดวก รวดเร็ว และต้องการเก็บ
รักษาอาหารไว้บริโภคได้นานๆ การถนอมอาหารน้ันมีมาต้ังแต่สมัยโบราณ โดยชาวโรมันค้นพบการรมควัน
เน้ือสัตว์ การหมักเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ การทาเนยแข็ง จนกระทั่งปี ค.ศ. ๑๘๖๔ หลุยส์ ปาสเตอร์ ได้พบว่า
ไวน์ และเบียร์ เกิดการบูดเสียจากส่ิงมีชีวิตเล็กๆ ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ท่ีเรียกว่า “จุลินทรีย์” มีผู้ให้คา
จากัดความของการถนอมอาหารไว้หลายอย่าง ซึ่งอาจสรุปได้ว่า การถนอมอาหาร เป็นการเก็บรักษาอาหารไว้
ใหไ้ ด้ นาน โดยไมท่ าให้อาหารนัน้ เกิดการเสื่อมเสยี และยงั คงอยู่ในสภาพที่เป็นทยี่ อมรบั ของผบู้ ริโภค
การถนอมอาหารโดยตากแห้งเป็นวธิ ีท่ีง่ายและประหยัดมากท่ีสุด ใช้ได้กับอาหารประเภทเน้ือสัตว์ ผัก
และผลไม้ เปน็ วธิ ีท่ีทาให้อาหารหมดความช้ืนหรอื มีความชื้นอยู่เพียงเล็กน้อย เพ่ือไม่ให้จุลินทรีย์สามารถเกาะ
อาศัยและเจริญเติบโตได้ ทาให้อาหารไม่เกดิ การบดู เนา่ โดยการนาน้าหรอื ความชน้ื ออกจากอาหารให้มากท่ีสุด
เชน่ เน้ือเคม็ ปลาเค็ม กล้วยตาก เปน็ ตน้
๒
เพ่ือเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้แก่ผู้รับบริการ และสนับสนุนตามนโยบายการจัดการศึกษาต่อเนื่อง
ดา้ นอาชพี ของศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองหนองคาย ศรช.โนนสังข์ จึงได้
เสนอการศึกษาต่อเนื่อง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตร วิชาการทาสบู่
สมนุ ไพร จานวน 17 ช่ัวโมง เพ่ือให้ไดผ้ ลสมั ฤทธ์ิของการดาเนินงานตรงตามความต้องการของชมุ ชนตอ่ ไป
วตั ถุประสงค์
๑. เพื่อสง่ เสรมิ ผูเ้ รยี นให้มคี วามสามารถทางวชิ าการควบคู่กับการประกอบอาชีพ
๒. เพือ่ ให้ผ้เู รียนมคี วามรูแ้ ละทกั ษะในเรอื่ งงานอาชีพสามารถสร้างอาชีพให้กบั ตนเองได้
๓. เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นนาความรูเ้ กี่ยวกบั งานอาชีพไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั
เปา้ หมาย
1. เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ
ประชาชน กศน.ตาบลโพธิช์ ัย หมู่ 6 อาเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย จานวน ๑5 คน
2. เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ
ประชาชนตาบลโพธ์ิชัย สามารถนาความรู้ท่ีไดร้ ับไปปรับประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวนั ให้คงอย่กู ับ
ชมุ ชนและเปน็ ชุมชนทเี่ ขม้ แข็งต่อไปคดิ เป็นร้อยละ ๘๐
๓
บทที่ 2
ผลการดาเนินงาน
การจัดกิจกรรม การศึกษาต่อเนื่อง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จัดแบบวิชาชีพระยะสั้นใน
รูปแบบกลุ่มสนใจ หลักสูตร วิชาอาหารขนม จานวน 17 ช่ัวโมง เป็นการจัดกิจกรรมเพ่ือพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน ให้กับกลุ่มเป้าหมาย นักศึกษา/ประชาชนตาบลโพธิ์ชัย จานวน 15 คน ในวันที่ 19 – 24
เดือน ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖4 ตั้งแต่เวลา 13.๐๐ - 16.๐๐ น. โดยมีวิธีการเตรียมการ ตลอดจนผลการ
ดาเนินการในการจดั โครงการดงั นี้
วิธีดาเนนิ การ
๑. ขัน้ เตรยี มการ
๑.๑ ทาการสารวจขอ้ มูลชุมชน /เวทปี ระชาคมเพื่อวางแผนการดาเนินงาน
๑.๒ นาข้อมูลทีไ่ ดจ้ ากการสารวจมาทาการวเิ คราะห์ และสรปุ รวบรวม
๑.๓ นาข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการสรุปขอ้ มูลเบื้องตน้ เสนอผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
๑.๔ ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านสื่อบุคคล หรอื เสยี งตามสายท่มี อี ยู่ในชมุ ชน เพอ่ื เปิดรับ
สมัครผ้เู รยี น
๒. ข้ันดาเนนิ การ
๒.๑ เสนอโครงการและขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณ เพ่ือสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ กจิ กรรม
การจากผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
๒.๒ ประชุมช้ีแจงและแตง่ ตง้ั คณะกรรมการดาเนนิ งาน
๒.๓ จัดหาส่ือตา่ งๆทเ่ี กี่ยวข้อง เพ่อื อานวยความสะดวกในการดาเนนิ กจิ กรรม
๒..๔ ประสานภาคีเครอื ข่าย เพื่อมสี ว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรม
๒.๕ ดาเนนิ การจัดกจิ กรรมตามการศึกษาตอ่ เน่ือง โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน จัดแบบ
วิชาชพี ระยะสนั้ ในรูปแบบกลุ่มสนใจ หลกั สูตร วิชาอาหารขนม จานวน 17 ชั่วโมง ศรช.โนนสังข์ โดยมี นาง
วิภา การ์เซยี เป็นวทิ ยากร
ระยะเวลาดาเนินการ
วนั ท่ี 19 – 24 เดอื น ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖4
สถานท่ีดาเนนิ การ
กศน.ตาบลโพธช์ิ ยั หมู่ 6 อาเภอเมอื งหนองคาย จงั หวดั หนองคาย
ผลการดาเนนิ งาน
- มีผู้เรียนจบหลกั สตู รได้รบั ความร้เู ก่ยี วกับการเรยี นรู้เกี่ยวกับวิชาอาหารขนม จานวน ๑5 คน เป็น
หญิงท้งั หมด ๑5 คน สามารถนาความรู้ที่ได้รับไปปรับประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจา เพ่ิมโอกาสการเรียนรู้ 10
คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 ของกลุม่ เป้าหมาย
๔
งบประมาณทใี่ ชด้ าเนนิ การ
ยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพื่อความย่ังยืน โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ย่ังยืน
กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน งบรายจ่ายอ่ืน โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รหัสงบประมาณ
๒๐๐๐๒35052700023 ภายในวงเงิน 1,882 บาท (หน่ึงพันแปดร้อยแปดสิบสองบาทถ้วน) มีรายการ
เบกิ จ่ายดังนี้
- ค่าตอบแทนวิทยากร โดยชอเบิกคา่ ตอบแทนเฉพาะภาคทฤษฎี จานวน 10 ชัว่ โมง ชั่วโมงละ ๑๐0
บาท รวมเปน็ จานวนเงนิ 1,0๐0.- บาท(-หนึง่ พนั บาทถว้ น-)
- พัสดุ สาหรบั การเปิดสอนฯ ภายในวงเงิน 882.– บาท (-แปดรอ้ ยแปดสบิ สองบาทถว้ น-)
5
บทที่ 3
ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ
การศึกษาต่อเน่ือง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จัดแบบวิชาชีพระยะส้ันในรูปแบบกลุ่มสนใจ วิชาอาหาร
ขนม จานวน 17 ชั่วโมง ระหว่างวันท่ี 19 – 24 เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖4 ผู้จัดกิจกรรมเสนอผลงาน
วิเคราะห์ข้อมูลดังน้ี
ตอนที่ ๑ ผลดา้ นวตั ถุประสงค์
ตอนที่ ๒ ผลด้านเปา้ หมาย เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพของผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม
ตอนที่ ๓ ผลการจดั กจิ กรรม
ตอนที่ ๔ ความคิดเหน็ และ ข้อเสนอแนะของผู้เข้าร่วมโครงการ
ตอนที่ ๕ สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม/ข้อเสนอแนะ
ตอนท่ี ๑ ผลด้านวตั ถปุ ระสงค์
๑. เพ่อื ส่งเสรมิ ผเู้ รยี นให้มีความสามารถทางวิชาการควบคู่กับการประกอบอาชีพ
๒. เพื่อให้ผูเ้ รยี นมคี วามรแู้ ละทกั ษะในเรือ่ งงานอาชพี สามารถสรา้ งอาชีพให้กบั ตนเองได้
๓. เพือ่ ให้ผูเ้ รยี นนาความรเู้ ก่ียวกับงานอาชีพไปปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวัน
ตอนที่ ๒ ผลด้านเป้าหมาย เชงิ ปริมาณ เชงิ คุณภาพของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม
๑. เป้าหมายเชิงปรมิ าณ
ประชาชนตาบลโพธ์ิชัย จานวน ๑5 คน
๒. เปา้ หมายเชิงคุณภาพ
ประชาชนตาบลโพธช์ิ ัย สามารถเพ่ิมโอกาสการเรียนรู้ 15 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ของ
กลมุ่ เป้าหมาย
ตอนที่ ๓ ผลการจัดกจิ กรรม
๑. ประชาชนตาบลโพธ์ชิ ัย จานวน ๑5 คน ไดม้ ีความรู้และทักษะในเร่อื งงานอาชพี สามารถ
สรา้ งอาชพี ให้กบั ตนเองได้
๒.ประชาชนตาบลโพธชิ์ ยั สามารถเพม่ิ โอกาสการเรยี นรู้ 15 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ของ
กลุม่ เป้าหมาย
ตอนที่ ๔ ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการจากแบบสอบถามความคดิ เห็นและความพึง
พอใจ จานวน ๑5 คน สรุปไดด้ ังน้ี
ขอ้ มูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสอบถาม จากผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมจานวนทง้ั ส้ิน ๑5 คน
ตารางท่ี ๑ จาแนกตามเพศผู้ตอบแบบสอบถาม
เพศ จานวน (คน) ร้อยละ
ชาย 5 33.33
หญงิ ๑0 66.67
รวม ๑5 ๑๐๐
๖
ตารางท่ี ๒ จาแนกตามระดับการศกึ ษาผตู้ อบแบบสอบถาม
ระดับการศกึ ษา จานวน (คน) ร้อยละ
ประถมศึกษา - -
มธั ยมศึกษาตอนต้น 8
มัธยมศึกษาตอนปลาย 7 53.33
ปรญิ ญาตรี - 46.67
๑5
รวม -
๑๐๐
ตารางท่ี ๓ จาแนกตามอายุผูต้ อบแบบสอบถาม
อายุ จานวน (คน) ร้อยละ
อายุ ตา่ กวา่ 1๕ ปี - -
อายุ 1๕ – ๓9 ปี 13
อายุ 40 – 59 ปี 2 86.67
- 13.33
60 ปี ขึน้ ไป ๑5
รวม -
๑๐๐
ประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ โครงการ
ผ้ปู ระเมนิ ได้แกผ่ ู้เข้ารว่ มโครงการทุกคน
ตาราง ๔ ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมและความพึงพอใจของผเู้ รียน
ท่ี รายการ ระดับความพึงพอใจ ตอ้ ง
ปรับปรงุ
ด้านครูผูส้ อน/วทิ ยากรผจู้ ัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดมี าก ดี ปาน ควร
๑ ความรู้ความสามารถในเร่ืองที่จดั กจิ รรม ( ๕ ) (๔) กลาง ปรับปรงุ (๑)
๒ เทคนคิ /วธิ กี ารจดั กิจกรรมของวทิ ยากร
๓ การใหเ้ กยี รติและให้ความสาคญั ตอ่ ผู้เขา้ ร่วม (๓) (๒) -
-
กิจกรรม 15 - - - -
๔ พฤติกรรมและบคุ ลกิ ภาพของวิทยากร ๘7 - -
ดา้ นขัน้ ตอนกระบวนการจัดกิจกรรม 15 - - - -
๕ การชแี้ จงวัตถุประสงค์วิธีการเขา้ ร่วมกจิ กรรม
๖ การชแ้ี จงข้อตกลงและเงื่อนไขตา่ งๆระหวา่ งการ ๗8 - - -
-
อบรม ๑5 - - -
๗ การเปดิ โอกาสให้ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมได้แสดงออก ๙6 - - -
ร่วมกัน ๑5 - - -
๗
ระดบั ความพึงพอใจ
ท่ี รายการ ดมี าก ดี ปาน ควร ตอ้ ง
(๕) ปรบั ปรงุ
(๔) กลาง ปรบั ปรุง
(๑)
(๓) (๒) -
-
๘ จานวนวันและระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม - -- 1๐
๑5 -
๙ การออกเอกสารใบสาคัญเกียรตบิ ัตรแกผ่ ูผ้ ่านการเข้า -- -
ร่วมกิจกรรม ๘ -
๑5 7- -
๑๐ การตดิ ตามและให้คาแนะนาเพ่ิมเติมหลังจากเข้ารว่ ม -
กจิ กรรมของผจู้ ัด 15 -- - -
๑5 -
๑๑ การสนบั สนุนเปิดโอกาสให้เข้าร่วมกจิ กรรมอืน่ ๆ ๑5 -- -
อย่างต่อเนอ่ื ง -- - -
๗ -- -
ด้านจดั สง่ิ อานวยความสะดวกแกผ่ ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรม ๘ -
๑๒ สถานทจ่ี ัดมีความเหมาะสมสาหรบั จัดกจิ กรรม 8- -
๗ -
๑๓ สถานท่ีจดั กจิ กรรมสะดวกตอ่ การเดินทาง ๑5 7- -
-
๑๔ การให้บรกิ ารด้านอาหาร/เครื่องดื่มแก่ผู้เขา้ ร่วม ๑5 8- -
กจิ กรรม -
-- -
๑๕ การบรกิ ารสอ่ื อปุ กรณ์ท่ีเอ้ือประโยชน์และสนับสนนุ
การเรยี นรู้ของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม -- -
๑๖ การบรกิ ารอ่นื ๆของเจ้าหน้าที่ผู้จดั กิจกรรม
ดา้ นคณุ ภาพของการจดั กิจกรรม
๑๗ กจิ กรรมทจี่ ดั มีประโยชนแ์ ละสอดคลอ้ งกับความ
ตอ้ งการของผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรม
๑๘ ความรทู้ กั ษะและประสบการณ์ทไ่ี ด้รบั สามารถ
นาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดจ้ รงิ
๑๙ กิจกรรมที่จัดสามารถส่งผลดีต่อการพัฒนาคนสงั คม
และชมุ ชน
จากตารางที่ ๔ พบว่าการใช้ประเมินความพงึ พอใจของผูเ้ รยี นผรู้ บั บริการคร้ังน้ผี ู้เขา้ ร่วมกิจกรรมมี
ความพึงพอใจในระดบั ทด่ี ีมาก
ด้านครูผู้สอน/วิทยากรผู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังน้ีมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่จัดกิจรรม
ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน ๑5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เทคนิค/วิธีการจัดกิจกรรมของวิทยากร
ระดบั ความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน ๘ คน คิดเป็นร้อยละ 53.33 ระดับความพึงพอใจ(ดี)จานวน 7 คิดเป็น
ร้อยละ 46.67 การให้เกียรติและให้ความสาคัญต่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก) จานวน
๗ คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 และพฤติกรรมบุคลิกภาพของวิทยากร ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก) จานวน
15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐ ระดับความพึงพอใจ(ดี)จานวน 8 คิดเป็นร้อยละ 53.33 ตามลาดับ
ดา้ นกระบวนการ ขน้ั ตอนการจัดกจิ กรรม ดงั นี้การชีแ้ จงวัตถุประสงค์วิธีการเข้าร่วม ระดับความพึง
พอใจ(ดีมาก)จานวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 ระดับความพึงพอใจ(ดี)จานวน 7 คิดเป็นร้อยละ
46.67 การช้ีแจงข้อตกลงและเง่ือนไขต่างๆระหว่างการอบรม ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน ๙ คน
๘
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60.00 ระดับความพึงพอใจ(ดี)จานวน 6 คิดเป็นร้อยละ 40.00 การเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วม
กจิ กรรมไดแ้ สดงออกร่วมกนั ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน ๑5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 จานวนวันและ
ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรม ระดบั ความพงึ พอใจ(ควรปรับปรงุ )จานวน ๑5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 การออก
เอกสารใบสาคัญเกยี รติบตั รแกผ่ ู้ผ่านการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน ๑5 คน คิดเป็น
ร้อยละ 100 การติดตามและให้คาแนะนาเพ่ิมเติมหลังจากเข้าร่วมกิจกรรมของผู้จัด ระดับความพึงพอใจ(ดี
มาก)จานวน ๘ คน คดิ เป็นร้อยละ 53.33 ระดบั ความพึงพอใจ(ดี)จานวน 7 คิดเป็นรอ้ ยละ 46.67 และการ
สนับสนุนเปิดโอกาสให้เข้าร่วมกิจกรรมอื่นๆอย่างต่อเนื่อง ระดับความพึงพอใจ(ดีเย่ียม)จานวน ๑5 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 100 ตามลาดบั
ด้านจัดสิ่งอานวยความสะดวกแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ดังนี้สถานท่ีจัดมีความเหมาะสมสาหรับจัด
กิจกรรม ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 100 สถานท่ีจัดกิจกรรมสะดวกต่อการ
เดินทาง ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน ๘ คน คิดเป็นร้อยละ 53.33 การให้บริการด้านอาหาร/
เคร่ืองดื่มแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน ๑5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 การบริการ
ส่ืออุปกรณ์ที่เอ้ือประโยชน์และสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน
๗ คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 ระดับความพึงพอใจ(ดี)จานวน 8 คิดเป็นร้อยละ 53.33 และการบริการอ่ืนๆ
ของเจา้ หน้าทผ่ี ูจ้ ัดกิจกรรม ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน ๘ คน คิดเป็นร้อยละ 53.33 ระดับความพึง
พอใจ(ด)ี จานวน 7 คดิ เปน็ ร้อยละ 46.67 ตามลาดับ
ด้านคุณภาพของการจัดกิจกรรม ดังนี้กิจกรรมท่ีจัดมีประโยชน์และสอดคล้องกับความต้องการของ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน ๗ คน คิดเป็นร้อยละ 46.67 ระดับความพึงพอใจ(ดี)
จานวน 8 คิดเป็นร้อยละ 53.33 ได้ความรู้ทักษะและประสบการณ์ที่ได้รับสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้จริง
ระดับความพึงพอใจ(ดีมาก)จานวน ๑5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 และกิจกรรมที่จัดสามารถส่งผลดีต่อการ
พฒั นาคนสงั คมและชุมชน ระดบั ความพงึ พอใจ(ดีมาก)จานวน ๑5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ตามลาดบั
๙
บทท่ี 4
ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
จากการศึกษาต่อเน่ือง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จัดแบบวิชาชีพระยะสั้นในรูปแบบกลุ่มสนใจ
วิชาการทาสบู่สมุนไพร จานวน 17 ช่ัวโมง ศรช.โนนสังข์ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีความสามารถทาง
วชิ าการควบคู่กับการประกอบอาชีพ มีความรู้และทักษะในเร่ืองงานอาชีพสามารถสร้างอาชีพให้กับตนเองได้
อย่างมีทักษะ และสามารถนาความร้เู กีย่ วกบั งานอาชีพไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ได้พบปัญหา อุปสรรค และ
ข้อเสนอแนะจากผู้จบหลักสูตร เพ่ือใช้ในการจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาอาชีพระยะสั้นในรูปแบบกลุ่มสนใจ
ครงั้ ตอ่ ไป
ปญั หา/อุปสรรค
จากการเก็บข้อมูลการศึกษาต่อเนือ่ ง โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จดั แบบวิชาชีพระยะส้ันในรปู แบบ
กลุม่ สนใจ วิชาการทาสบสู่ มุนไพร จานวน 17 ชั่วโมง พบวา่ มปี ัญหาและอปุ สรรคดังนี้
๑. ประชาชนในตาบลโพธิช์ ัย บางส่วนไมท่ ราบวา่ มีการศึกษาตอ่ เน่ือง โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชน
ในเขตตาบลโพธ์ิชัย
๒. ผู้เรยี นสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพหลกั คือเกษตรกรรม ทาไร่ ทานา จงึ ทาใหผ้ ู้เรียนมาเรียนไมค่ ่อย
สมา่ เสมอและพร้อมเพยี งกนั
๓. วสั ดุอปุ กรณ์ไมเ่ พยี งพอต่อผรู้ ่วมกจิ กรรม
ขอ้ เสนอแนะ
จากการเก็บข้อมูลการศกึ ษาต่อเนอื่ ง โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน จดั แบบวิชาชพี ระยะสั้นในรปู แบบ
กลุม่ สนใจ วชิ าการทาสบ่สู มนุ ไพร จานวน 17 ชัว่ โมง พบว่ามขี อ้ เสนอแนะดังน้ี
1. ตอ้ งการใหม้ ีการประชาสมั พนั ธ์ที่เข้าถงึ ชุมชนมากกวา่ น้ี
๒. ต้องการการสารวจความต้องการและความสะดวกเรื่องเวลาว่างของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม
๓. ตอ้ งการใหเ้ พมิ่ จานวน วัตถดุ ิบและอปุ กรณ์ใหเ้ พียงพอต่อผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม
๑๐
ภาคผนวก
๑๑
ภาพกจิ กรรม
การศึกษาต่อเน่อื ง โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน จัดรปู แบบชน้ั เรียนวิชาชพี
วชิ าการทาสบสู่ มนุ ไพร จานวน 17 ชว่ั โมง ระหวา่ งวันที่ 19 – 24 เดือนธันวาคม ๒๕๖4
ณ กศน.ตาบลโพธ์ิชัย หมู่ 6 ตาบลโพธ์ชิ ยั อาเภอเมอื งหนองคาย จังหวัดหนองคาย
๑๒
ภาพกจิ กรรม
การศึกษาต่อเน่อื ง โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน จัดรปู แบบชน้ั เรียนวิชาชพี
วชิ าการทาสบสู่ มนุ ไพร จานวน 17 ชว่ั โมง ระหวา่ งวันที่ 19 – 24 เดือนธันวาคม ๒๕๖4
ณ กศน.ตาบลโพธ์ิชัย หมู่ 6 ตาบลโพธ์ชิ ยั อาเภอเมอื งหนองคาย จังหวัดหนองคาย
๑๓
ภาพกจิ กรรม
การศึกษาต่อเน่อื ง โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน จัดรปู แบบชน้ั เรียนวิชาชพี
วชิ าการทาสบสู่ มนุ ไพร จานวน 17 ชว่ั โมง ระหวา่ งวันที่ 19 – 24 เดือนธันวาคม ๒๕๖4
ณ กศน.ตาบลโพธ์ิชัย หมู่ 6 ตาบลโพธ์ชิ ยั อาเภอเมอื งหนองคาย จังหวัดหนองคาย
๑๔
คณะผู้จัดทา
ผูจ้ ัดทา
ที่ปรกึ ษา
นางสาวฐปนา อนิ ทร์มา ผอ.กศน.อาเภอเมืองหนองคาย
นางปวริศา โยชน์สุวรรณ บรรณารกั ษ์ชานาญการพิเศษ
นางพรพมิ พ์ บุญที ครูชานาญการ
นายสมาน มงคลนา ครู ชานาญการฯ
นางวรัทยา เหมะธลุ ิน ครู อาสาฯ
รวบรวม/เรียบเรียง/พมิ พ/์ ทาน/เข้าเล่ม ครู กศน.ตาบล
ครู ศรช.
นางสาวภลนิ ี แสงสว่าง
นางสาวมนษิ า คาจุมพล