การพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 นายมหิสรณ์ เจริญผล ต าแหน่ง ครู คศ.1 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศจังหวัดลพบุรี สังกัดส านักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ชื่อผู้วิจัย นายมหิสรณ์ เจริญผล ปีการศึกษา 2565 บทคัดย่อ การศึกษาการพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษา ผลการพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่อง ทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 2) เพื่อเปรียบเทียบ ทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส ก่อนเรียนและหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิล เทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 6 คน ซึ่งกลุ่มประชากรได้มาโดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา กีฬาเทเบิลเทนนิส กลุ่มสาระการเรียนรู้สุข ศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 20 ชั่วโมง 2. สื่อการสอน ฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส 3. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส จ านวน 5 รายการ โดยวิเคราะห์ข้อมูลค านวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( x ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และระดับพัฒนาการ สัมพันธ์ เพื่อเปรียบเทียบหาความแตกต่างระหว่างผลการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่อง ทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แบบทดสอบ ทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส จ านวน 5 รายการ ดังนี้ 1.1) ผลการพัฒนาทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย ( x = 7.33, S.D. = 2.87) และหลังเรียนค่าเฉลี่ย ( x = 14.33, S.D. = 3.88) และคะแนนพัฒนาการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 59.72, S.D. = 24.33) หรือคิดเป็นร้อยละของพัฒนาการของนักเรียนเท่ากับ 59.72 ซึ่งอยู่ ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง 1.2) ผลการพัฒนาทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย ( x = 8.83, S.D. = 2.99) และหลังเรียนค่าเฉลี่ย ( x = 16.33, S.D. = 2.58) และคะแนนพัฒนาการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 70.42, S.D. = 19.63) หรือคิดเป็นร้อยละของพัฒนาการของนักเรียนเท่ากับ 70.42 ซึ่งอยู่ ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง 1.3) ผลการพัฒนาทักษะการเสิร์ฟลูกหลัง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย ( x = 9.50, S.D. = 3.15) และหลังเรียนค่าเฉลี่ย ( x =16.50, S.D. = 2.50) และคะแนนพัฒนาการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 71.37, S.D. = 21.26) หรือคิดเป็นร้อยละของพัฒนาการของนักเรียนเท่ากับ 71.37 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ พัฒนาการระดับสูง
1.4) ผลการพัฒนาทักษะการตีลูกหน้ามือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย( x = 6.67, S.D. = 3.26) และหลังเรียนค่าเฉลี่ย ( x = 14.17, S.D. = 3.31) และคะแนนพัฒนาการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 63.74, S.D. = 17.49) หรือคิดเป็นร้อยละของพัฒนาการ ของนักเรียน 63.74 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง 1.5) ผลการพัฒนาทักษะการตีลูกหลังมือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย( x = 6.17, S.D. = 3.82) และหลังเรียนค่าเฉลี่ย ( x = 14.83, S.D. = 3.31) และคะแนนพัฒนาการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 60.46, S.D. = 16.59) หรือคิดเป็นร้อยละของพัฒนาการ ของนักเรียน 60.46 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง 2. การเปรียบเทียบทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสก่อนเรียน และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอน ฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษา ปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 พบว่า คะแนนทักษะพื้นฐานกีฬาเบิลเทนนิส ทั้ง 5 ทักษะ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียนทั้ง 5 ทักษะ เท่ากับ 7.70 และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อ การสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ค่าเฉลี่ยหลังเรียนทั้ง 5 ทักษะ เท่ากับ 15.23 คิดเป็นคะแนน ร้อยละของพัฒนาการของนักเรียน เท่ากับ 65.14 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการในระดับสูง แสดงให้เห็นว่า จากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน ท าให้นักเรียนเกิดพัฒนาทักษะเพิ่มมากขึ้น นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มากขึ้น ได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ท าให้นักเรียนมีความรู้ และความเข้าใจเรื่องทักษะพื้นฐานกีฬาเทนนิส อีกทั้ง การจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสเป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นปฏิบัติ และเรียงล าดับการฝึกจากง่ายไปมาก จึงให้นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ ในขณะท าการเรียนการสอนครูผู้จัด กิจกรรมได้ เอาใจใส่ดูแล อย่างใกล้ชิดเพื่อช่วยกระตุ้นให้นักเรียนเรียนรู้ได้ดีขึ้น จนเกิดเป็นความรู้และทักษะ ที่คงทน ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้นเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
1. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา การศึกษาในประเทศไทยมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ จึงก าเนิดเป็นจุดมุ่งหมาย เพื่อให้เกิดกับผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยหวังให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เห็นคุณค่าของตนเอง มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร มีความรักชาติ มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครองตามระบบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย และมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และการรักในการออกก าลังกาย (หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551, 2551) ซึ่งกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เป็นกลุ่มสาระที่มีความหมายและมีความส าคัญอย่างยิ่ง ต่อการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนแต่ละคน โดยมุ่งพัฒนาพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ทั้งด้านสาระความรู้เกี่ยวกับสุขภาพที่จ าเป็นที่ผู้เรียนต้องรู้ด้านการสร้างเจตคติ และค่านิยมที่ดี คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ เช่น ความรับผิดชอบ ความมีวินัยในตนเอง การเคารพในสิทธิ ของผู้อื่นกฎกติกาของสังคม และด้านทักษะกระบวนการปฏิบัติในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่ยั่งยืน พลศึกษามุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาโดยรวมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และสังคมในการเรียนรู้ ผู้เรียนจะได้รับโอกาสให้เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย และกีฬาทั้งประเภทบุคคลและประเภททีมอย่างหลากหลาย ทั้งของไทยและสากลกิจกรรมทางกาย และกีฬาต่าง ๆ ช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะกลไกได้เรียนรู้ ถึงความส าคัญของการฝึกฝนตนเองตามกฎ กติกา ระเบียบและหลักการทางวิทยาศาสตร์ได้แข่งขันและได้ท างาน ร่วมกันเป็นทีม ได้รับประสบการณ์จากการลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง โดยตรงตามความถนัดและความสนใจ ได้ค้นหาความพึงพอใจจากการเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย กีฬา กิจกรรมนันทนาการ และกิจกรรมสร้างเสริม สมรรถภาพทางกาย และรักการออกก าลังกาย ดังนั้นเมื่อผู้เรียนที่เรียนพลศึกษาแล้วจะมีความรู้ ความเข้าใจ ที่ถูกต้องในการเคลื่อนไหว การออกก าลังกาย การเล่นเกมกีฬาไทย และกีฬาสากล และท าให้ผู้เรียนมีทักษะ ในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) กีฬาเทเบิลเทนนิสเป็นวิชาหนึ่งของกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เป็นกีฬาที่พัฒนา ด้านร่างกาย การเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อและสายตาได้ดี อีกทั้งท าให้เกิดความสนุกสนานและผ่อนคลาย จุดเด่น นี้จึงท าให้กีฬาเทเบิเทนนิสถูกเลือกให้เป็นวิชาหนึ่งในหลักสูตรของพลศึกษาในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ของโรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรีกีฬาเทเบิลเทนนิสเป็นกีฬาที่ต้องใช้ทักษะพื้นฐาน ในการเล่นหลายอย่าง แต่ทุก ๆ ทักษะมีการตีลูกทั้งด้านหน้ามือ (Fore Hand) และหลังมือ (Back Hand) เป็น องค์ประกอบที่ส าคัญ เพราะทักษะการตีลูกหน้ามือและหลังมือเป็นทักษะพื้นฐานในการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิส ซึ่งการเล่น เทเบิลเทนนิสที่สนุกสนาน เกิดจากทักษะการจับไม้ ทักษะการเดาะลูกหน้ามือและหลังมือ ทักษะ การเสิร์ฟลูกหน้ามือและหลังมือ ทักษะการตีลูกหน้ามือและมือ ทักษะการตีโต้หน้ามือและหลังมือ และทักษะ การแข่งขันองค์ประกอบที่เกิดขึ้นล้วนต้องเกิดจากการตีลูกหน้ามือและหลังมือ การตีลูกหน้ามือก็คือการหัน หน้าไม้ด้านดังกล่าวตีลูกมาทางด้านขวามือของผู้เล่นซึ่งเป็นด้านที่ถนัดนั่นเอง การตีลูกแบบนี้จะท าให้ผู้เล่น มีโอกาสตีลูก ได้แรงกว่า เพราะสามารถเหวี่ยงส่งแรงไปได้มากกว่าทางด้านหลังมือ การใช้หน้ามือตีลูกเป็นทักษะ ที่ค่อนข้างยาก ขัดต่อการจับไม้และขัดต่อท่าทางการยืนในขณะเล่น ซึ่งต่างจากท่าทางการยืนและการตีลูกหลัง มือที่มีความเป็นธรรมชาติต่อการโต้ตอบในการเล่น และกีฬาเทเบิลเทนนิส เป็นกีฬาที่นักเรียนส่วนใหญ่ ไม่สามารถปฏิบัติได้ จึงท าให้นักเรียนไม่อยากเรียนและฝึกปฏิบัติทักษะ ส่งผลให้นักเรียนไม่เข้าเรียน การจัดการ เรียนรู้พลศึกษาจึงต้องเอาทฤษฎีและแนวคิดต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้พลศึกษา เพื่อให้นักเรียน เกิดความสนุกสนานจะท าให้นักเรียนสนใจและตั้งใจฝึกปฏิบัติมากขึ้น (เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชัย, 2555)
จากการจัดการเรียนการสอนจึงควรเน้นบทบาทของผู้เรียนรูปแบบใหม่ โดยให้ผู้เรียนได้มีโอกาส กระท าด้วยตนเอง แสวงหาความรู้เอง รับผิดชอบต่อการเรียนของตนเองมากขึ้น รู้จักตัดสินใจเอง นอกจากนี้ ยังต้องให้ผู้เรียนได้ร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และรับผิดชอบร่วมกัน รูปแบบการสอน ของครู หรือบทบาทของครูผู้สอนจะต้องเปลี่ยนแปลงจากผู้สอนให้ความรู้ หรือแสดงออกมาเป็นผู้เสนอแนะ แนวทางในการหาประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาและเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองให้มากที่สุด โดยยึดหลักกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ซึ่งจะท า ให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจในความส าเร็จ และเกิดความรู้ทีละน้อย ตามล าดับขั้น (สมปรารถนา ทองนาค, 2558) รูปแบบการสอนวิธีหนึ่งที่สามารถน าสื่อมาช่วยมาจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะกีฬา เทเบิลเทนนิส คือ รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติซึ่งเป็นรูปแบบสื่อการสอนทักษะปฏิบัติมุ่งพัฒนา ความสามารถด้านทักษะปฏิบัติของนักเรียน ช่วยให้นักเรียนประสบผลส าเร็จได้ดีและรวดเร็วขึ้น ผ่านกระบวนการ เรียนรู้ 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นสาธิตทักษะหรือการกระท า คือ ผู้สอนสาธิตทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส ให้ผู้เรียนดูทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นทักษะหรือการกระท าที่ต้องการให้ผู้เรียนท าได้ใน ภาพรวม ขั้นตอนที่ 2 ขั้นสาธิตและให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย คือ ผู้สอนแบ่งทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสทั้งหมด ให้เป็นทักษะย่อย ๆ และผู้สอนสาธิตส่วนย่อยแต่ละส่วนให้ผู้เรียนสังเกตและท าตามไปทีละส่วนอย่างช้า ๆ ขั้นตอนที่ 3 ขั้นผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย คือ ผู้สอนให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติทักษะย่อยของกีฬาเทเบิลเทนนิส โดยที่ผู้สอนไม่มีการสาธิตหรือการแสดงแบบอย่างให้ดู ขั้นตอนที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการ คือ ผู้สอนสังเกต และแนะน าเทคนิควิธีการ ที่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติทักษะได้ดีขึ้น ขั้นตอนที่ 5 ขั้นให้ผู้เรียนเชื่อมโยงทักษะย่อย ๆ เป็นทักษะที่สมบูรณ์ คือ เมื่อผู้เรียนสามารถปฏิบัติทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสแต่ละส่วนได้แล้วผู้สอนให้ผู้เรียน ปฏิบัติทักษะย่อย ๆ ต่อเนื่องกันตั้งแต่ต้นจนจบ และฝึกปฏิบัติหลาย ๆ ครั้ง จนผู้เรียนสามารถปฏิบัติทักษะ ที่สมบูรณ์ได้อย่างช านาญ (ทิศนา แขมมณี, 2553) จากเหตุผลดังกล่าว ผู้วิจัยจึงสนใจน าการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐาน กีฬาเทเบิลเทนนิส ส าหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ของโรงเรียนโสตศึกษา ปานเลิศ จังหวัดลพบุรี เพื่อพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนตามทักษะได้ถูกต้อง และเพื่อเป็น การพัฒนาให้นักเรียนได้รับการเรียนรู้ เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสที่ถูกต้องน าไปฝึกให้เกิด ความช านาญ อีกทั้งยังเป็นเพื่อน าข้อมูลต่าง ๆ มาใช้ในการพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสในระดับต่าง ๆ ให้มี มาตรฐาน และเพื่อเป็นแนวทางการจัดกิจกรรมพลศึกษาแก่ผู้สอนพลศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาต่อไป 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส ก่อนเรียนและหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอน ฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษา ปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 3. สมมติฐานการวิจัย จากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หลังเรียนสูง กว่าก่อนเรียน
4. ขอบเขตของการวิจัย 4.1 ขอบเขตด้านประชากร ที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรีจ านวน 6 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 4.2 ขอบเขตด้านเนื้อหา เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ วิชาเทเบิลเทนนิส กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามแนวหลักสูตรสถานศึกษาฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2551 4.3 ขอบเขตด้านระยะเวลา การศึกษาในครั้งนี้ได้ด าเนินการเรียนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 4.4 ตัวแปรที่ศึกษา 1) ตัวแปรต้น การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส 2) ตัวแปรตาม ทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี 5. กรอบแนวคิดการวิจัย 6. นิยามศัพท์เฉพาะ 5.1 ทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส หมายถึง ทักษะที่เป็นพื้นฐานที่ส าคัญเหมาะสม และครอบคลุม ที่ใช้ในการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทางด้านทักษะกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่อง ทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ซึ่งประกอบไปด้วย 1) ทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ 2) ทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือ 3) ทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือ 4) ทักษะการตีลูกหน้ามือ 5) ทักษะการตีลูกหลังมือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อฝึกทักษะ พื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี
5.2 การพัฒนาทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส หมายถึง คะแนนทักษะของนักเรียนก่อนเรียน และหลังเรียน ได้หาจากคะแนนการแปลี่ยนแปลงสัมพัทธ์ 5.3 กีฬาเทเบิลเทนนิส หมายถึง กีฬาที่ประกอบด้วยผู้เล่น 2 ฝ่าย ๆ ละ 1 คน ซึ่งผู้เล่นจะยืนคนละฝั่ง ของโต๊ะสี่เหลี่ยม ผู้เล่นต้องใช้ไม้แบนตีลูกกลม ๆ ข้ามตาข่ายที่ขึงอยู่บนโต๊ะสี่เหลี่ยมโต้กันไปมา 5.4 แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทเบิลเทนนิส หมายถึง แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่ได้ครูออกแบบ หรือสร้างขึ้น เพื่อเป็นการเตรียมเอกสารการสอน โดยอยู่ภายใต้หลักสูตร เนื้อหาสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด และสิ่งที่ต้องการให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในรายวิชาเทเบิลเทนนิส 5.5 สื่อฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส หมายถึง สื่อที่สร้างขึ้นโดยมีผู้สอนเป็นผู้ด าเนินการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาเทเบิลเทนนิส ให้มีเนื้อหาสอดคล้องตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่ส่งผล ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ก าหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.6 แบบทดสอบ หมายถึง ชุดของค าถามที่สร้างขึ้น เพื่อให้ผู้ถูกทดสอบแสดงพฤติกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ออกมาให้ผู้สอบสังเกตได้และวัดได้ 5.7 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หมายถึง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรีจ านวน 6 คน 6. ประโยชน์ที่ได้รับ 6.1 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรีมีทักษะการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิสเพิ่มขึ้น 6.2 เพื่อสามารถเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา เทเบิลเทนนิส กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาของครูนักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้สนใจ เกี่ยวกับการฝึกทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสได้ 6.3 เพื่อประโยชน์ต่อนักเรียน ผู้ฝึกสอน ครูพลศึกษาและผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถน าไปใช้ร่วมกับ โปรแกรมการฝึกหรือประยุกต์ใช้ในการฝึกซ้อม เพื่อพัฒนาการความสามารถในการกีฬาเทเบิลเทนนิสและสมรรถภาพ ทางกายให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 7. วิธีด าเนินการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาการพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิสของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ผู้วิจัยได้ก าหนดวิธีด าเนินการตามล าดับหัวข้อดังต่อไปนี้ 7.1 ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรีจ านวน 6 คน โดยใช้วิธีการเลือก เฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling)
7.2 แบบแผนที่ใช้ในการศึกษา แบบแผนที่ใช้ในการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้น เป็นแบบกลุ่มเดียวทดสอบก่อนเรียน และทดสอบหลังเรียน (The single group, pretest - posttest Design) (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2550) 7.3 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 1. แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา กีฬาเทเบิลเทนนิส กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 20 ชั่วโมง 2. สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส 3. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส จ านวน 5 รายการ 7.4 วิธีการสร้างเครื่องมือและหาคุณภาพเครื่องมือ ตามล าดับขั้นตอน ดังต่อไปนี้ 1. การสร้างและพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทเบิลเทนนิส กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา และพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1.1 ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในกลุ่มสาระสุขศึกษา และพลศึกษาของโรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรีตามมาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ และศึกษาเอกสารที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้กีฬาเทเบิลเทนนิส เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาเทเบิลเทนนิส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 1.2 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ขอบข่ายเนื้อหาหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาเทเบิลเทนนิส กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของโรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี 1.3 จัดท าก าหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทเบิลเทนนิส กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 20 ชั่วโมง (ดังเอกสารแนบ ภาคผนวก ก) 1.4 น าแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเสนอต่อหัวกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา หัวหน้าฝ่ายวิชาการ รองผู้อ านวยการโรงเรียน และผู้อ านวยการโรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรีเพื่อประเมินความเหมาะสม ของแผนการจัดการเรียนรู้ในด้านเนื้อหา จุดประสงค์และความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนรู้ส าหรับนักเรียน ที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ประกอบการเสนอแนะเพื่อปรับปรุงแก้ไขต่อไป 1.5 จัดพิมพ์แผนการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียน มัธยมศึกษาปีที่ 1 ฉบับสมบูรณ์ 2. การสร้างสื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส 2.1 ศึกษาจุดมุ่งหมาย และเนื้อหาวิชาเทเบิลเทนนิสจากหลักสูตร คู่มือครูและจากครูสอน พลศึกษา 2.2 ศึกษาต ารา เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่เกี่ยวกับการสร้างสื่อการสอนฝึกและ แบบทดสอบทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส 2.3 ศึกษาทักษะการตีลูก และวิธีการเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิสที่ส าคัญ ๆ 2.4 สร้างสื่อการสอนทักษะต่าง ๆ ในกีฬาเทเบิลเทนนิสส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 1 ส าหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
2.6 จัดพิมพ์สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส 3. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส 3.1 ศึกษาแบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ส าหรับนักเรียนมัธยมศึกษา 3.2 สร้างแบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส จ านวน 5 รายการ ดังนี้ 1) แบบทดสอบทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ (20 คะแนน) 2) แบบทดสอบทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือ (20 คะแนน) 3) แบบทดสอบทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือ (20 คะแนน) 4) แบบทดสอบทักษะการตีลูกหน้ามือ (20 คะแนน) 5) แบบทดสอบทักษะการตีลูกหลังมือ (20 คะแนน) 3.3 ผู้วิจัยได้น าแบบประเมินทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส มาใช้กับกลุ่มประชากร โดยแบบประเมิน ทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ได้น าจากงานวิจัย การพัฒนาแบบประเมินทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสตามแนวคิด การประเมินตามสภาพจริง ส าหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น (ชุติมา ศรีเมืองซอง, 2555) ที่ได้ผ่านวิเคราะห์ ค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามกับจุดประสงค์ IOC (Index of consitency) ค่าความเที่ยงของ แบบทดสอบ และค่าความเป็นปรนัยจากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน ดังนี้ 1) แบบทดสอบการเดาะลูกหน้ามือ - หลังมือ มีค่า (IOC) เท่ากับ 0.800 ค่าความตรง เท่ากับ 0.820 และค่าความเป็นปรนัย เท่ากับ 0.714 2) แบบทดสอบการตีลูกหน้ามือ มีค่า (IOC) เท่ากับ 0.800 ค่าความตรงเท่ากับ 0.881 และค่าความเป็นปรนัย เท่ากับ 0.889 3) แบบทดสอบการตีลูกหลังมือ มีค่า (IOC) เท่ากับ 0.800 ค่าความตรงเท่ากับ 0.887 และค าความเป็นปรนัย เท่ากับ 0.879 4) แบบทดสอบการเสิร์ฟลูกหน้ามือ มีค่า (IOC) เท่ากับ 0.800 ค่าความตรง เท่ากับ 0.875 และค่าความเป็นปรนัย เท่ากับ 0.794 5 แบบทดสอบการเสิร์ฟลูกหลังมือมีค่า (IOC) เท่ากับ 0.800 ค่าความตรงเท่ากับ 0.890 และค่าความเป็นปรนัย เท่ากับ 0.894 3.4 จัดพิมพ์แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ฉบับสมบูรณ์ 7.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาในครั้งนี้เป็นการศึกษาการพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ซึ่งผู้ศึกษาได้ท าการสอนรายวิชาเทเบิลเทนนิส ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ขั้นตอนการด าเนินงาน ดังนี้ 1. ปฐมนิเทศชี้แจงข้อตกลงในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา เทเบิลเทนนิส โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ แจ้งบทบาท ของครู และนักเรียน และวิธีการปฏิบัติกิจกรรม 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทเบิลเทนนิส กับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 (ดังเอกสารแนบ ภาคผนวก ก) 3. ท าการทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ก่อนเรียน - หลังเรียนเรียน โดยใช้แบบทดสอบ ทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสชุดเดิมจนครบ
4. น าแบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสมาวิเคราะห์ข้อมูลค านวณหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( x ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) เพื่อหาความแตกต่างระหว่างผลการทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียนตามสภาพจริง 5. วิเคราะห์พัฒนาการทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการเรียน ด้วยการจัดการเรียนรู้สื่อฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส โดยใช้สูตรคะแนนพัฒนาการ และแปลตามเกณฑ์ระดับพัฒนาการ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงเกณฑ์คะแนนพัฒนาการเทียบระดับพัฒนาการ (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2552) คะแนนพัฒนาการสัมพัทธ์ ระดับพัฒนาการ 76 - 100 พัฒนาการระดับสูงมาก 51 - 75 พัฒนาการระดับสูง 26 - 50 พัฒนาการระดับกลาง 0 – 25 พัฒนาการระดับต้น 6. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการฝึกและการทดสอบมาท าการวิเคราะห์ทางสถิติเพื่อน าไปใช้ใน การสรุปผลการวิจัยและเสนอแนะความคิดเห็นที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ 7.6 การวิเคราะห์ทางสถิติ ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1. ค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส โดยใช้สูตร ดัชนีความสอดคล้องระหว่าง IOC (Index of Item Objective Congruence) ระหว่างจุดประสงค์กับแบบทดสอบ ที่ใช้วัด (มนตรีวงษ์สะพาน, 2563) การค านวณหาค่าดัชนีความสอดคล้องแทนค่าสูตร ดังนี้ IOC = Σ เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์กับเนื้อหาหรือข้อสอบกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด N แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 2. วิเคราะห์พัฒนาการทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังการเรียน โดยใช้สูตรคะแนนพัฒนาการ ดังนี้ (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2552) DS = (−) − x 100 เมื่อ DS (%) แทน คะแนนร้อยละของพัฒนาการของนักเรียน (คิดเป็นร้อยละ) Y แทน คะแนนดิบวัดหลังเรียน X แทน คะแนนดิบวัดก่อนเรียน F แทน คะแนนสูงสุดที่เป็นไปได้(คะแนนเต็ม) 3. วิเคราะห์แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ก่อนเรียน - หลังการเรียน โดยใช้สูตร ดังนี้
3.1 ค านวณค่าเฉลี่ยของกลุ่มประชากร (mean) (สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย, 2563) x = เมื่อ x แทน ค่าเฉลี่ย แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม N แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม 3.2 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) (สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย, 2563) SD. = n-1 (X - X) 2 เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน คะแนนแต่ละตัว N แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม แทน ผลรวม 8. ผลการวิจัย การศึกษาการพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 การวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยได้ใช้สื่อฝึกทักษะเทเบิลเทนนิส เป็นเครื่องมือในการทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูล ท าการวิเคราะห์ข้อมูล โดยมีรายงานผลการวิจัยได้ดังนี้ 8.1 ข้อมูลสถานะ และสถานภาพของกลุ่มประชากรในการวิจัย โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีบกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียน โสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี จ านวน 6 คน ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละสถานะ และสถานภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 1 เพศ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 1 จ านวน ร้อยละ ชาย 2 33.33 หญิง 4 66.67 รวม 6 100 จากตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละสถานะ และสถานภาพของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาที่ 1 จ านวน 6 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ านวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 และรองลงมาเป็นเพศชาย จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33
8.2 ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส จ านวน 5 รายการ ดังนี้ 8.2.1) ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ 8.2.2) ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือ 8.2.3) ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะการเสิร์ฟลูกหลัง 8.2.4) ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะการตีลูกหน้ามือ 8.2.5) ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะการตีลูกหลังมือ 8.2.1) ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ ดังตารางที่ 3 ตารางที่ 3 แสดงผลการพัฒนาการทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส นักเรียน ล าดับที่ คะแนน ทักษะก่อนเรียน คะแนน ทักษะหลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ ระดับพัฒนาการ 1 7 15 61.54 สูง 2 7 13 46.15 กลาง 3 9 17 72.73 สูง 4 5 12 46.67 กลาง 5 12 20 100 สูงมาก 6 4 9 31.25 กลาง x 7.33 14.33 59.72 สูง S.D. 2.87 3.88 24.33 จากตารางที่ 3 ผลการพัฒนาการทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า คะแนนพัฒนาการทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 7.33 และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอน ฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 14.33 และมีค่าเฉลี่ยคะแนนพัฒนาการเท่ากับ 59.72 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีคะแนนพัฒนาการทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
8.2.2) ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือ ดังตารางที่ 4 ตารางที่ 4 แสดงผลการพัฒนาการทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียน และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส นักเรียน ล าดับที่ คะแนน ทักษะก่อนเรียน คะแนน ทักษะหลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ ระดับพัฒนาการ 1 7 16 69.23 สูง 2 9 17 72.73 สูง 3 9 18 81.81 สูงมาก 4 9 14 45.45 กลาง 5 14 20 100 สูงมาก 6 5 13 53.33 สูง x 8.83 16.33 70.42 สูง S.D. 2.99 2.58 19.63 จากตารางที่ 4 ผลการพัฒนาการทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า คะแนนพัฒนาการทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 8.83 และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิล เทนนิส ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.33 และมีค่าเฉลี่ยคะแนนพัฒนาการเท่ากับ 70.42 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการ ระดับสูง แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีคะแนนพัฒนาการทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 8.2.3) ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือ ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 แสดงผลการพัฒนาการทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียน และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส นักเรียน ล าดับที่ คะแนน ทักษะก่อนเรียน คะแนน ทักษะหลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ ระดับพัฒนาการ 1 9 14 45.45 กลาง 2 9 15 54.54 สูง 3 13 20 100 สูงมาก 4 7 15 61.54 สูง 5 14 20 100 สูงมาก 6 5 15 66.67 สูง x 9.50 16.50 71.37 สูง S.D. 3.15 2.50 21.26
จากตารางที่ 5 ผลการพัฒนาการทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า คะแนนพัฒนาการทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 3.15 และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิล เทนนิส ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.50 และมีค่าเฉลี่ยคะแนนพัฒนาการเท่ากับ 71.37 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการ ระดับสูง แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีคะแนนพัฒนาการทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 8.2.4) ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะการตีลูกหน้ามือ ดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 แสดงผลการพัฒนาการทักษะการตีลูกหน้ามือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและ หลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส นักเรียน ล าดับที่ คะแนน ทักษะก่อนเรียน คะแนน ทักษะหลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ ระดับพัฒนาการ 1 5 14 60.00 สูง 2 6 17 78.57 สูงมาก 3 9 18 81.82 สูงมาก 4 5 11 40.00 กลาง 5 12 18 75.00 สูง 6 3 11 47.06 กลาง x 6.67 14.83 63.74 สูง S.D. 3.26 3.31 17.49 จากตารางที่ 6 ผลการพัฒนาการทักษะการตีลูกหน้ามือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียน และหลังเรียน พบว่า คะแนนพัฒนาการทักษะการการตีลูกหน้ามือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ย ก่อนเรียนเท่ากับ 6.67 และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 14.83 และมีค่าเฉลี่ยคะแนนพัฒนาการเท่ากับ 63.74 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีคะแนนพัฒนาการทักษะการตีลูกหน้ามือหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 8.2.5) ข้อมูลศึกษาผลการพัฒนาทักษะการตีลูกหลังมือ ดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 แสดงผลการพัฒนาการทักษะการตีลูกหลังมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียนและ หลังเรียนที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส นักเรียน ล าดับที่ คะแนน ทักษะก่อนเรียน คะแนน ทักษะหลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ ระดับพัฒนาการ 1 5 12 46.67 กลาง 2 5 15 66.67 สูง 3 9 18 81.82 สูงมาก
นักเรียน ล าดับที่ คะแนน ทักษะก่อนเรียน คะแนน ทักษะหลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ ระดับพัฒนาการ 4 5 11 40.00 กลาง 5 12 18 75.00 สูง 6 1 11 52.63 สูง x 6.17 14.17 60.46 สูง S.D. 3.82 3.31 16.59 จากตารางที่ 7 ผลการพัฒนาการทักษะการตีลูกหลังมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนเรียน และหลังเรียน พบว่า คะแนนพัฒนาการทักษะการการตีลูกหลังมือของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ย ก่อนเรียนเท่ากับ 6.17 และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 14.17 และมีค่าเฉลี่ยคะแนนพัฒนาการเท่ากับ 60.46 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง แสดงให้เห็นว่า นักเรียนมีคะแนนพัฒนาการทักษะการตีลูกหลังมือหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3. ข้อมูลการเปรียบเทียบทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสก่อนเรียน และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อ การสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียน โสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ดังตารางที่ 8 ตารางที่ 8 แสดงข้อมูลการเปรียบเทียบทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสก่อนเรียน และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 แบบทดสอบทักษะพื้นฐาน กีฬาเทเบิลเทนนิส คะแนน ทักษะก่อนเรียน คะแนน ทักษะหลังเรียน คะแนนพัฒนาการ สัมพัทธ์ ระดับ พัฒนาการ x S.D. x S.D. x S.D. ทักษะการเดาะลูกหน้ามือ– หลังมือ 7.33 2.87 14.33 3.88 59.72 24.33 สูง ทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือ 8.83 2.99 16.33 2.58 70.42 19.63 สูง ทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือ 9.50 3.15 16.50 2.50 71.37 21.26 สูง ทักษะการตีลูกหน้ามือ 6.67 3.26 14.83 3.31 63.74 17.49 สูง ทักษะการตีลูกหลังมือ 6.17 3.82 14.17 3.31 60.46 16.59 สูง รวม 7.70 3.22 15.23 3.12 65.14 19.86 สูง จากตารางที่ 8 ผลการเปรียบเทียบทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสก่อนเรียน และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ในภาพรวมระดับพัฒนาการอยู่ ในระดับสูง ( x = 65.14, S.D. = 19.86) พบว่า เมื่อจ าแนกเป็นรายทักษะ มากที่สุด ได้แก่ ทักษะการเสิร์ฟ ลูกหลังมือ มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 3.15 และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐาน กีฬาเทเบิลเทนนิส ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.50 คิดเป็นคะแนนร้อยละของพัฒนาการของนักเรียน เท่ากับ 71.37 รองลงมา ได้แก่ ทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามีค่าเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 8.83 และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้
สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 16.33 คิดเป็นคะแนนร้อยละของพัฒนาการ ของนักเรียน เท่ากับ 70.42 ตามล าดับ และทักษะที่นักเรียนพัฒนาการน้อยที่สุด ได้แก่ ทักษะการเดาะลูก หน้ามือ – หลังมือ มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 7.33 และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอน ฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 14.33 คิดเป็นคะแนนร้อยละของพัฒนาการของนักเรียน เท่ากับ 59.72 9. สรุปผลการวิจัย การวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชา เทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัด ลพบุรีภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส ก่อนเรียนและหลังเรียน ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรีภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จ านวน 6 คน ก่อนการจัดการเรียนการสอนผู้วิจัยได้ให้กลุ่มประชากรทดสอบ (Pre-test) จากนั้นผู้เรียนเรียนตามแผน การจัดการเรียนรู้รายวิชา เทเบิลเทนนิส จ านวน 20 ชั่วโมง และท าการทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬเทเบิลเทนนิส 5 รายการ ดังนี้1) แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ 2) แบบทดสอบ ทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเสิร์ฟลูกหน้ามือ 3) แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเสิร์ฟ ลูกหลังมือ 4) แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการตีลูกหน้ามือ 5) แบบทดสอบทักษะพื้นฐาน กีฬาเทเบิลเทนนิสการตีลูกหลังมือ เป็นเวลา 20 สัปดาห์ๆ ละ 1 วัน ทุกพุธ ระหว่างเวลา 13.30 - 14.30 น. เมื่อสอนเสร็จผู้วิจัยท าการทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส หลังเรียน (Post-test) โดยใช้แบบทดสอบ ทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสชุดเดิมจนครบ และจากผลการเปรียบเทียบการทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) และหลังเรียน (Post-test) ผลการวิจัย พบว่า ทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรีได้มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาดีขึ้น ตามล าดับ ในภาพรวมมีระดับพัฒนาการสัมพันธ์อยู่ในระดับสูง หรือคิดเป็นคะแนนร้อยละของพัฒนาการ ของนักเรียน เท่ากับ 65.14 แสดงให้เห็นว่า จากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อฝึกทักษะพื้นฐานกีฬา เทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนเป็นไปตามสมมติฐานที่ผู้วิจัยได้ตั้งไว้ 9.1 อภิปรายผล จากการศึกษาการพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี จ านวน 6 คน ผู้วิจัยขออภิปรายผลการวิจัยดังนี้ 1. การพัฒนาทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิส รายวิชาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่อง ทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แบบทดสอบ ทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส จ านวน 5 รายการ ดังนี้ 1.1) ผลการพัฒนาทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อน เรียน มีค่าเฉลี่ย ( x = 7.33, S.D. = 2.87) และหลังเรียนค่าเฉลี่ย ( x = 14.33, S.D. = 3.88) และคะแนน
พัฒนาการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 59.72, S.D. = 24.33) หรือคิดเป็นร้อยละของพัฒนาการของนักเรียนเท่ากับ 59.72 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง 1.2) ผลการพัฒนาทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียนมี ค่าเฉลี่ย ( x = 8.83, S.D. = 2.99) และหลังเรียนค่าเฉลี่ย ( x = 16.33, S.D. = 2.58) และคะแนนพัฒนาการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 70.42, S.D. = 19.63) หรือคิดเป็นร้อยละของพัฒนาการของนักเรียนเท่ากับ 70.42 ซึ่งอยู่ ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง 1.3) ผลการพัฒนาทักษะการเสิร์ฟลูกหลัง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย ( x = 9.50, S.D. = 3.15) และหลังเรียนค่าเฉลี่ย ( x =16.50, S.D. = 2.50) และคะแนนพัฒนาการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 71.37, S.D. = 21.26) หรือคิดเป็นร้อยละของพัฒนาการของนักเรียนเท่ากับ 71.37 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ พัฒนาการระดับสูง 1.4) ผลการพัฒนาทักษะการตีลูกหน้ามือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย( x = 6.67, S.D. = 3.26) และหลังเรียนค่าเฉลี่ย ( x = 14.17, S.D. = 3.31) และคะแนนพัฒนาการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 63.74, S.D. = 17.49) หรือคิดเป็นร้อยละของพัฒนาการ ของนักเรียน 63.74 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง 1.5) ผลการพัฒนาทักษะการตีลูกหลังมือ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยก่อนเรียน มีค่าเฉลี่ย( x = 6.17, S.D. = 3.82) และหลังเรียนค่าเฉลี่ย ( x = 14.83, S.D. = 3.31) และคะแนนพัฒนาการ มีค่าเฉลี่ย ( x = 60.46, S.D. = 16.59) หรือคิดเป็นร้อยละของพัฒนาการ ของนักเรียน 60.46 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการระดับสูง 2. การเปรียบเทียบทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสก่อนเรียน และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอน ฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษา ปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 พบว่า คะแนนทักษะพื้นฐานกีฬาเบิลเทนนิส ทั้ง 5 ทักษะ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 มีค่าเฉลี่ยก่อนเรียนทั้ง 5 ทักษะ เท่ากับ 7.70 และหลังเรียนที่จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ค่าเฉลี่ยหลังเรียนทั้ง 5 ทักษะ เท่ากับ 15.23 คิดเป็น คะแนนร้อยละของพัฒนาการของนักเรียน เท่ากับ 65.14 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์พัฒนาการในระดับสูง แสดงให้เห็นว่า จากการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน ท าให้นักเรียนเกิดพัฒนาทักษะเพิ่มมากขึ้น นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มากขึ้น ได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง ท าให้นักเรียนมีความรู้ และความเข้าใจเรื่องทักษะพื้นฐานกีฬาเทนนิส อีกทั้ง การจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสเป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นปฏิบัติ และเรียงล าดับการฝึกจากง่ายไปมาก จึงให้นักเรียนสามารถปฏิบัติได้ ในขณะท าการเรียนการสอนครูผู้ จัดกิจกรรมได้ เอาใจใส่ดูแล อย่างใกล้ชิดเพื่อช่วยกระตุ้นให้นักเรียนเรียนรู้ได้ดีขึ้น จนเกิดเป็นความรู้และทักษะ ที่คงทน ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ เอนก ทอน ฮามแก้ว (2557) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาแบบฝึกทักษะตะกร้อพื้นฐาน โดยประยุกษ์ใช้รูปแบบการเรียน การสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผลการวิจัย พบว่า ทักษะตะกร้อพื้นฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียนด้วยแบบฝึกทักษะตะกร้อพื้นฐาน โดยประยุกษ์ใช้รูปแบบ การเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ โดยมีคะแนนเฉลี่ย (X̅) ก่อนเรียนเท่ากับ 34 คะแนนเฉลี่ย (X̅) หลัง เรียนเท่ากับ 51.23 ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ
สอดคล้องกับงานวิจัยของ สมปรารถนา ทองนาค (2558) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมการฝึก ทักษะพื้นฐานกีฬาแฮนด์บอลโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน ทักษะปฏิบัติของเดวีส์ส าหรับนักเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนมัธยมท่าแคลง จังหวัดจันทบุรี ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่ได้รับการฝึก โดยใช้ ชุดกิจกรรมฝึกทักษะพื้นฐาน กีฬาแฮนด์บอลโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ โดยมี คะแนนเฉลี่ย (X̅) ก่อนเรียนเท่ากับ 8.30 คะแนนเฉลี่ย (X̅) หลังเรียนเท่ากับ 16.95 ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ยหลัง เรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสอดคล้องกับงานวิจัยของ อรพรรณ ตุ่นมี (2564) ได้ศึกษาวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะปฏิบัติพื้นฐานกีฬาวอลเลย์บอล ตามแนวคิดของเดวีส์ประกอบ กิจกรรมกลุ่มร่วมมือ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผลการวิจัย พบว่า ทักษะปฏิบัติพื้นฐานกีฬา วอลเลย์บอลตามแนวคิดของเดวีส์ประกอบกิจกรรมกลุ่มร่วมมือ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีคะแนน การอันเดอร์ คิดเป็นร้อยละ 83.81 อยู่ในระดับดีมาก มีคะแนนการเซ็ต คิดเป็นร้อยละ 80.48 อยู่ในระดับดี มีคะแนนการตบ คิดเป็นร้อยละ 81.90 อยู่ในระดับดีมาก มีคะแนนการเสิร์ฟ คิดเป็นร้อยละ 80.48 อยู่ใน ระดับดี มีคะแนนการสกัดกั้น คิดเป็นร้อยละ 83.33 อยู่ในระดับดีมาก คะแนนรวมทั้งหมดคิดเป็นร้อยละ 82.48 ซึ่งอยู่ในระดับดีมาก แสดงว่านักเรียนมีผลคะแนนทักษะปฏิบัติพื้นฐานกีฬาวอลเลย์บอล การเรียนหลังเรียนสูง กว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 จากการวิจัยจะเห็นได้ว่าการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนฝึกทักษะ พื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสช่วยส่งเสริมให้กระบวนการจัดการเรียนรู้วิชาเทเบิลเทนนิส ประสิทธิภาพและ น่าสนใจมากขึ้นกระบวนการเรียนรู้ที่เป็นล าดับขั้นตอนที่ชัดเจน ผู้เรียนได้ปฏิบัติทักษะย่อยเรียงจากง่ายไปยาก ตามล าดับ และผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกทักษะซ้ า ๆ จนสามารถปฏิบัติเป็นทักษะใหญ่ที่สมบูรณ์ได้อย่างช านาญ ส่งผล ให้ผู้เรียนเรียนมีทักษะกีฬาเบิลเทนนิสที่สูงขึ้น ทั้งนี้ผู้วิจัยยังได้ข้อสรุปว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อการสอนฝึก ทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยระยะเวลา ผู้ที่ใช้กระบวนการนี้ต้องมุ่งให้ความสนใจ ใส่ใจตลอดกระบวนการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์จึงจะได้ประสิทธิภาพ ผู้เรียนต้องมีความพร้อมทั้งด้านจิตใจและ ความรู้จึงจะเกิดผลลัพธ์ที่ดีและค านึงถึงช่วงวัยของผู้เรียนเป็นส าคัญ 9.2 ข้อเสนอแนะ 1. ควรปรับกิจกรรมหรือออกแบบกิจกรรมขั้นฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องกับความสามารถและ ความต้องการของผู้เรียน โดยเน้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้มากขึ้น 2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสควรสร้างขึ้นมาเอง เพื่อให้สอดคล้องกับ ความสามารถแลความต้องการของผู้เรียนที่มีความบกพร่องประเภทต่าง ๆ แต่ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยเลือกใช้ แบบประเมินทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสของชุติมา ศรีเมืองซอง เพราะกลุ่มตัวอย่างที่อยู่ในระดับชั้นเดียว กับผู้วิจัย และผู้วิจัยไม่ได้น าแบบประเมินทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสไป Try out แต่แบบประเมินทักษะ พื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส มีความเชื่อถือได้ เพราะศึกษากลุ่มตัวอย่างที่อยู่ในระดับชั้นเดียวกัน อีกทั้งยังผ่าน การหาค่า IOC จากผู้เชี่ยวชาญทั้ง 5 ท่าน มาแล้วผู้วิจัยสนใจ
บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ.(2551).หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : กระทรงศึกษาธิการ ชุติมา ศรีเมืองซอง. (2555). การพัฒนาแบบประเมินทักษะกีฬาเทเบิลเทนนิสตามแนวคิดการประเมินตาม สภาพจริง ส า หรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เทพประสิทธิ์ กุลธวัชวิชัย.(2555). เทเบิลเทนนิส.กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทิศนา แขมมณี. (2553). ศาสตรการสอน องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. มนตรีวงษ์สะพาน.(2563) ปริญญา. การศึกษามหาบัณฑิต. สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์. มหาวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ.(2550).หลักการวิจัยทางการศึกษา.พิมพ์ครั้งที่ 5 .กรุงเทพ : ภาควิชา พื้นฐานการศึกษา ฝ่ายวัดและประเมินผลและวิจัยคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ประสานมิตร ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมปรารถนา ทองนาค. (2558). การพัฒนาชุดกิจกรรมการฝึกทักษะพื้นฐานกีฬาแฮนด์บอลโดยใช้รูปแบบ การเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ส าหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนมัธยมท่าแคลง จังหวัด จันทบุรี. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาหลักสูตรและการสอน. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฎร าไพพรรณี. สาธิดา สกุลรัตนกุลชัย. (2563). การศึกษาเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารในพื้นที่ที่มีบริบทต่างกัน กรณีศึกษาจังหวัดนครปฐม. กองทุนวิจัยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เอนก ทอนฮามแก้ว. (2557). การพัฒนาแบบฝึกทักษะตะกร้อพื้นฐาน โดยประยุกต์ใช้รูปแบบการเรียนการ สอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3.(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร อรพรรณ ตุ่นมี.(2564) .การพัฒนาทักษะปฏิบัติพื้นฐานกีฬาวอลเลย์บอล ตามแนวความคิดของเดวีส์ ประกอบกิจกรรมกลุ่มร่วมมือ ส าหรับกลุ่มร่วมมือ ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 .ปริญญาครุศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน.มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ก าหนดการจัดการเรียนรู้ รายวิชา เทเบิลเทนนิส
ก าหนดการจัดการเรียนรู้รายวิชา เทเบิลเทนนิส รหัสวิชา พ 21103 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 สัปดาห์ที่ หน่วยที่สอน ชั่วโมงที่ หัวข้อย่อยที่สอน 1 หน่วยที่ 1 เพิ่มพูนทักษะกีฬา 1 ปฐมนิเทศข้อตกลงในการเรียน 2 2 ประวัติกีฬาเทเบิลเทนนิส 3 3 การบริหารร่างกายเพื่อยืดกล้ามเนื้อและข้อส่วนต่าง ๆ ท่าเตรียมพร้อมในการการเล่น และการทรงตัว การเคลื่อนไหวของเท้า 4 4 การจับไม้และการเคลื่อนไหวของมือ ฝึกการสร้างความคุ้นเคยกับลูกปิงปอง 5 5 ทดสอบทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ (ก่อนเรียน) 6 6 ฝึกทักษะการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ ทดสอบทักษะการเดาะลูกหน้ามือ (หลังเรียน) 7-8 7-8 ทดสอบทักษะการเสริ์ฟลูกหน้ามือ (ก่อนเรียน) ฝึกทักษะการเสริ์ฟลูกหน้ามือ ทดสอบทักษะการเสริ์ฟลูกหน้ามือ (หลังเรียน) 9-10 9-10 ทดสอบทักษะการเสริ์ฟลูกหลังมือ (ก่อนเรียน) ฝึกทักษะการเสริ์ฟลูกหลังมือ ทดสอบทักษะการเสริ์ฟลูกหลังมือ (หลังเรียน) 11-12 11-12 ทดสอบทักษะการตีลูกหน้ามือ (ก่อนเรียน) ฝึกทักษะการตีลูกหน้ามือ ทดสอบทักษะการตีลูกหน้ามือ (หลังเรียน) 13-14 13-14 ทดสอบทักษะการตีลูกหลังมือ (ก่อนเรียน) ฝึกทักษะการตีลูกหลังมือ ทดสอบทักษะการตีลูกหลังมือ (หลังเรียน) 15-16 15-16 ฝึกก าหนดจุดกระทบบนผนัง ฝึกการตีโต้กับผนังด้วยการยืน ฝึกการตีลูกกับผนังด้วยด้านหลังมือ ฝึกการตีลูกกับผนังด้วยด้านหน้ามือ 17-18 17-18 ฝึกตีลูกไปข้างหน้า ฝึกตีโต้ไปมากลางอากาศ 19 19 ฝึกตีปิงปองบนพื้นก่อนฝึกบนโต๊ะ 20 20 ฝึกตีปิงปองโดยมีครูฝึกป้อนหรือใช้เครื่องยิงป้อน รวม 20 ชั่วโมง
ภาคผนวก ข ตัวอย่าง แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส
แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส มีจ านวน 5 รายการ ดังนี้ 1. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ 2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเสิร์ฟลูกหน้ามือ 3. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเสิร์ฟลูกหลังมือ 4. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการตีลูกหน้ามือ 5. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการตีลูกหลังมือ เกณฑ์การให้คะแนนแบบทดสอบทักษะพื้นฐาน ระดับ คะแนน ลักษณะการแสดงทักษะ ดีมาก 81 – 100 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้ชัดเจน และถูกต้อง อย่างสม่ าเสมอ ดี 61 - 80 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้ชัดเจน และถูกต้อง มีข้อผิดพลาดในบางครั้ง ปานกลาง 41 – 60 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้บางท่ายังแสดง ได้ไม่ชัดเจน และมีข้อผิดพลาดในบางครั้ง พอใช้ 21 – 40 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้บางท่ายังแสดง ได้ไม่ชัดเจน และมีข้อผิดพลาดบ่อยครั้ง ควรปรับปรุง 0 - 20 ไม่สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้
แบบทดสอบทักษะพื้นฐานการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ ข้อมูลถูกทดสอบ ชื่อ – สกุล.................................................................. ชั้น................. ตอนที่ 1 ท่าทางทักษะ ค าชี้แจง โปรดท าเครื่องหมาย / ลงในช่องที่นักเรียนได้แสดงทักษะและเครื่องหมาย X หากไม่มีการแสดงทักษะ (หากมีการแสดงทักษะ ให้คิดคะแนนเป็นทักษะละ 2 คะแนน คะแนนรวมทั้งหมด 10 คะแนน) องค์ประกอบทักษะ การแสดงทักษะ 1. จับไม้เทเบิลเทนนิสในทักษะแบบจับมือ (Shake hand Grip) ได้อย่างถูกต้อง - นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้อยู่คนละด้านกัน นิ้วชี้เหยียดทาบตามแนวของหน้าไม้ นิ้วที่เหลืออีก 3 นิ้ว ให้เรียนกันก ารอบด้ามไม้ 2. ท่าเตรียมยืน แยกเท้าออกความกว้างเท่าช่วงไหล่ ย่อเข่าเล็กน้อย ทิ้งน้ าหนักตัวค่อน ไปด้านหน้าเล็กน้อย ล าตัวตั้งตรงไม่เกร็ง 3. จับไม้เทเบิลเทนนิสในลักษณะหงายมือ – คว่ ามือ สลับกัน มีจังหวะการเดาะสม่ าเสมอ 4. หน้าไม้กระทบกับลูกในแนวตรง บังคับหน้าไม้ขึ้นตรง ๆ ระดับไม้อยู่ประมาณช่วงเอว 5. ความสูงของลูกต้องมีความห่างจากหน้าไม้ประมาณ 15 เซนติเมตร และมีการเคลื่อนที่ ตามทิศทางของลูก ตอนที่ 2 ทักษะที่ท าเป็นจ านวนครั้ง (10 คะแนน) วิธีการทดสอบ : ให้นักเรียนเดาะลูกหน้ามือสลับหลังมือ 3 ครั้ง นับคะแนนครั้งที่ท าได้มากที่สุด เทียบเป็นคะแนน ดังนี้ 25 – 30 ครั้ง ได้ 10 คะแนน 20 – 24 ครั้ง ได้ 8 คะแนน 16 – 19 ครั้ง ได้ 6 คะแนน 11 – 15 ครั้ง ได้ 4 คะแนน 6 – 10 ครั้ง ได้ 2 คะแนน 0 – 5 ครั้ง ได้ 0 คะแนน จ านวนครั้งที่ท าได้ คะแนน รวมคะแนน (เต็ม 20 คะแนน)
แบบทดสอบทักษะพื้นฐานการเสิร์ฟลูกหน้ามือ ข้อมูลถูกทดสอบ ชื่อ – สกุล.................................................................. ชั้น................. ตอนที่ 1 ท่าทางทักษะ ค าชี้แจง โปรดท าเครื่องหมาย / ลงในช่องที่นักเรียนได้แสดงทักษะและเครื่องหมาย X หากไม่มีการแสดงทักษะ (หากมีการแสดงทักษะ ให้คิดคะแนนเป็นทักษะละ 2 คะแนน คะแนนรวมทั้งหมด 10 คะแนน) องค์ประกอบทักษะ การแสดงทักษะ 1. จับไม้เทเบิลเทนนิสในทักษะแบบจับมือ (Shake hand Grip) ได้อย่างถูกต้อง - นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้อยู่คนละด้านกัน นิ้วชี้เหยียดทาบตามแนวของหน้าไม้ นิ้วที่เหลืออีก 3 นิ้ว ให้เรียนกันก ารอบด้ามไม้ 2. ท่าเตรียมยืน แยกเท้าออกความกว้างเท่าช่วงไหล่ ย่อเข่าเล็กน้อย ทิ้งน้ าหนักตัว ค่อนไปด้านหน้าเล็กน้อย ล าตัวตั้งตรงไม่เกร็ง ก้าวเท้าที่อยู่ตรงข้ามกับมือที่ถือไม้ ไปข้างหน้า 1 ก้าว ห่างจากโต๊ะประมาณ 1 – 2 ฟุต 3. การถือลูก ให้ลูกอยู่กลางฝ่ามือ นิ้วทั้ง 4 เรียงชิดติดกัน นิ้วหัวแม่มือกางออกเล็กน้อย งอข้อศอก มือถือลูกอยู่ในระดับอก สายตาจ้องไปที่ลูก 4. การเหวี่ยงแขนตีแขนเคลื่อนจากต าแหน่งการเตรียม เหวี่ยงไปด้านหลัง และกลับมา ข้างหน้า บิดตัวไปตามจังหวะการเหวี่ยงของแขน ไม้ปะทะลูกขณะก าลังตกลงมาจาก ต าแหน่งในการปะทะต้องอยู่หลังเส้นสกัด 5. เมื่อตีกระทบลูกแล้วมีการส่งไม้ตามลูกไป แล้วก้าวเท้ากลับมายังท่าเตรียมให้เร็วที่สุด ตอนที่ 2 ทักษะที่ท าเป็นจ านวนครั้ง (10 คะแนน) วิธีการทดสอบ : ให้นักเรียนเสิร์ฟ 5 ครั้ง เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามสามารถตีกลับมาได้ดี 5 ครั้ง ได้ 10 คะแนน เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามสามารถตีกลับมาได้ดี 4 ครั้ง ได้ 8 คะแนน เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามสามารถตีกลับมาได้ดี 3 ครั้ง ได้ 6 คะแนน เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามสามารถตีกลับมาได้ดี 2 ครั้ง ได้ 4 คะแนน เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามสามารถตีกลับมาได้ดี 1 ครั้ง ได้ 2 คะแนน เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามไม่สามารถตีกลับมาได้0 ครั้ง ได้ 0 คะแนน จ านวนครั้งที่ท าได้ คะแนน รวมคะแนน (เต็ม 20 คะแนน)
แบบทดสอบทักษะพื้นฐานการเสิร์ฟลูกหลังมือ ข้อมูลถูกทดสอบ ชื่อ – สกุล.................................................................. ชั้น................. ตอนที่ 1 ท่าทางทักษะ ค าชี้แจง โปรดท าเครื่องหมาย / ลงในช่องที่นักเรียนได้แสดงทักษะและเครื่องหมาย X หากไม่มีการแสดงทักษะ (หากมีการแสดงทักษะ ให้คิดคะแนนเป็นทักษะละ 2 คะแนน คะแนนรวมทั้งหมด 10 คะแนน) องค์ประกอบทักษะ การแสดงทักษะ 1. จับไม้เทเบิลเทนนิสในทักษะแบบจับมือ (Shake hand Grip) ได้อย่างถูกต้อง - นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้อยู่คนละด้านกัน นิ้วชี้เหยียดทาบตามแนวของหน้าไม้ นิ้วที่เหลืออีก 3 นิ้ว ให้เรียนกันก ารอบด้ามไม้ 2. ท่าเตรียมยืน แยกเท้าออกความกว้างเท่าช่วงไหล่ ย่อเข่าเล็กน้อย ทิ้งน้ าหนักตัว ค่อนไปด้านหน้าเล็กน้อย ล าตัวตั้งตรงไม่เกร็ง ก้าวเท้าที่อยู่ตรงข้ามกับมือที่ถือไม้ ไปข้างหน้า 1 ก้าว ห่างจากโต๊ะประมาณ 1 – 2 ฟุต 3. การถือลูก ให้ลูกอยู่กลางฝ่ามือ นิ้วทั้ง 4 เรียงชิดติดกัน นิ้วหัวแม่มือกางออกเล็กน้อย งอข้อศอก มือถือลูกอยู่ในระดับอก สายตาจ้องไปที่ลูก 4. การเหวี่ยงแขนตีแขนเคลื่อนจากต าแหน่งการเตรียม เหวี่ยงไปด้านหลัง และกลับมา ข้างหน้า บิดตัวไปตามจังหวะการเหวี่ยงของแขน ไม้ปะทะลูกขณะก าลังตกลงมาจาก ต าแหน่งในการปะทะต้องอยู่หลังเส้นสกัด 5. เมื่อตีกระทบลูกแล้วมีการส่งไม้ตามลูกไป แล้วก้าวเท้ากลับมายังท่าเตรียมให้เร็วที่สุด ตอนที่ 2 ทักษะที่ท าเป็นจ านวนครั้ง (10 คะแนน) วิธีการทดสอบ : ให้นักเรียนเสิร์ฟ 5 ครั้ง เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามสามารถตีกลับมาได้ดี 5 ครั้ง ได้ 10 คะแนน เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามสามารถตีกลับมาได้ดี 4 ครั้ง ได้ 8 คะแนน เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามสามารถตีกลับมาได้ดี 3 ครั้ง ได้ 6 คะแนน เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามสามารถตีกลับมาได้ดี 2 ครั้ง ได้ 4 คะแนน เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามสามารถตีกลับมาได้ดี 1 ครั้ง ได้ 2 คะแนน เสิร์ฟลูกและฝ่ายตรงข้ามไม่สามารถตีกลับมาได้0 ครั้ง ได้ 0 คะแนน จ านวนครั้งที่ท าได้ คะแนน รวมคะแนน (เต็ม 20 คะแนน)
แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทักษะการตีลูกหน้ามือ ข้อมูลถูกทดสอบ ชื่อ – สกุล.................................................................. ชั้น................. ตอนที่ 1 ท่าทางทักษะ ค าชี้แจง โปรดท าเครื่องหมาย / ลงในช่องที่นักเรียนได้แสดงทักษะและเครื่องหมาย X หากไม่มีการแสดงทักษะ (หากมีการแสดงทักษะ ให้คิดคะแนนเป็นทักษะละ 2 คะแนน คะแนนรวมทั้งหมด 10 คะแนน) องค์ประกอบทักษะ การแสดงทักษะ 1. จับไม้เทเบิลเทนนิสในทักษะแบบจับมือ (Shake hand Grip) ได้อย่างถูกต้อง - นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้อยู่คนละด้านกัน นิ้วชี้เหยียดทาบตามแนวของหน้าไม้ นิ้วที่เหลืออีก 3 นิ้ว ให้เรียนกันก ารอบด้ามไม้ 2. ท่าเตรียมยืน แยกเท้าออกความกว้างเท่าช่วงไหล่ ย่อเข่าเล็กน้อย ทิ้งน้ าหนักตัว ค่อนไปด้านหน้าเล็กน้อย ล าตัวตั้งตรงไม่เกร็ง ก้าวเท้าที่อยู่ตรงข้ามกับมือที่ถือไม้ไป ข้างหน้า 1 ก้าว 3. การเหวี่ยงไม้เมื่อจะตีลูกมีการลากแขนที่ถือไม้จากด้านหลังมาข้างล าตัว ตั้งหน้าไม้ เข้าหาลูก งอข้อศอกเล็กน้อย มีการเอียงไหล่ด้านตรงข้ามกับไม้เข้าหาลูก หันหน้าไม้เข้า หาลูก 4. จังหวะการตีลูก สายตาจับอยู่ที่ลูก เหวี่ยงแขนที่ถือไม้เข้าตีลูกให้หน้าไม้สัมผัสลูก ในลักษณะปิดเล็กน้อย มุมของหน้าไม้ประมาณ 45 – 60 องศา 5. เมื่อตีกระทบลูกแล้วมีการส่งไม้ตามลูกไป แล้วก้าวเท้ากลับมายังท่าเตรียมให้เร็วที่สุด ตอนที่ 2 ทักษะที่ท าเป็นจ านวนครั้ง (10 คะแนน) วิธีการทดสอบ : ให้นักเรียนตีลูกหน้ามือโต้กับคู่ 3 ครั้ง นับคะแนนครั้งที่ท าได้มากที่สุด เทียบเป็นคะแนน 20 ครั้ง ได้ 10 คะแนน 16 – 19 ครั้ง ได้ 8 คะแนน 12 – 15 ครั้ง ได้ 6 คะแนน 8 – 11 ครั้ง ได้ 4 คะแนน 4 – 7 ครั้ง ได้ 2 คะแนน 0 – 3 ครั้ง ได้ 0 คะแนน จ านวนครั้งที่ท าได้ คะแนน รวมคะแนน (เต็ม 20 คะแนน)
แบบทดสอบทักษะพื้นฐานการตีลูกหลังมือ ข้อมูลถูกทดสอบ ชื่อ – สกุล.................................................................. ชั้น................. ตอนที่ 1 ท่าทางทักษะ ค าชี้แจง โปรดท าเครื่องหมาย / ลงในช่องที่นักเรียนได้แสดงทักษะและเครื่องหมาย X หากไม่มีการแสดงทักษะ (หากมีการแสดงทักษะ ให้คิดคะแนนเป็นทักษะละ 2 คะแนน คะแนนรวมทั้งหมด 10 คะแนน) องค์ประกอบทักษะ การแสดงทักษะ 1. จับไม้เทเบิลเทนนิสในทักษะแบบจับมือ (Shake hand Grip) ได้อย่างถูกต้อง - นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้อยู่คนละด้านกัน นิ้วชี้เหยียดทาบตามแนวของหน้าไม้ นิ้วที่เหลืออีก 3 นิ้ว ให้เรียนกันก ารอบด้ามไม้ 2. ท่าเตรียมยืน แยกเท้าออกความกว้างเท่าช่วงไหล่ ย่อเข่าเล็กน้อย ทิ้งน้ าหนักตัว ค่อนไปด้านหน้าเล็กน้อย ล าตัวตั้งตรงไม่เกร็ง ก้าวเท้าที่อยู่ตรงข้ามกับมือที่ถือไม้ ไปข้างหน้า 1 ก้าว 3. การเหวี่ยงไม้เมื่อจะตีลูกมีการลากแขนที่ถือไม้จากด้านหลังมาข้างล าตัว ตั้งหน้าไม้ เข้าหาลูก งอข้อศอกเล็กน้อย มีการเอียงไหล่ด้านตรงข้ามกับไม้เข้าหาลูก หันหน้าไม้ เข้าหาลูก 4. จังหวะการตีลูก สายตาจับอยู่ที่ลูก เหวี่ยงแขนที่ถือไม้เข้าตีลูกให้หน้าไม้สัมผัสลูก ในลักษณะปิดเล็กน้อย มุมของหน้าไม้ประมาณ 30 – 60 องศา 5. เมื่อตีกระทบลูกแล้วมีการส่งไม้ตามลูกไป แล้วก้าวเท้ากลับมายังท่าเตรียมให้เร็วที่สุด ตอนที่ 2 ทักษะที่ท าเป็นจ านวนครั้ง (10 คะแนน) วิธีการทดสอบ : ให้นักเรียนตีลูกหลังมือโต้กับคู่ 3 ครั้ง นับคะแนนครั้งที่ท าได้มากที่สุดเทียบเป็นคะแนน 20 ครั้ง ได้ 10 คะแนน 16 – 19 ครั้ง ได้ 8 คะแนน 12 – 15 ครั้ง ได้ 6 คะแนน 8 – 11 ครั้ง ได้ 4 คะแนน 4 – 7 ครั้ง ได้ 2 คะแนน 0 – 3 ครั้ง ได้ 0 คะแนน จ านวนครั้งที่ท าได้ คะแนน รวมคะแนน (เต็ม 20 คะแนน)
สรุปคะแนนแบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส (ก่อนเรียน) แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส มีจ านวน 5 รายการ ดังนี้ 1. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ 2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเสิร์ฟลูกหน้ามือ 3. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเสิร์ฟลูกหลังมือ 4. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการตีลูกหน้ามือ 5. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการตีลูกหลังมือ นักเรียน ล าดับที่ ชื่อ - สกุล ทักษะการเดาะลูกหน้ามือ –หลังมือ (เต็ม20คะแนน) ทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือ (เต็ม20คะแนน) ทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือ (เต็ม20คะแนน) ทักษะการตีลูกหน้ามือ (เต็ม20คะแนน) ทักษะการตีลูกหลังมือ (เต็ม20คะแนน) รวม(เต็ม100คะแนน) 1 เด็กหญิงศรัณยาภรณ์ สอนมาก 2 เด็กหญิงปุณญิตา จันทะเสน 3 เด็กชายวราเมธ พงษ์สัจจา 4 เด็กหญิงนาตาชา ตั้งกระจ่างจิตร 5 เด็กชายชัยชนะ ธีราพงษ์ 6 เด็กหญิงธัญพิชชา ยอดชาญ เกณฑ์การให้คะแนนแบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ระดับ คะแนน ลักษณะการแสดงทักษะ ดีมาก 81 – 100 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้ชัดเจน และถูกต้องอย่างสม่ าเสมอ ดี 61 - 80 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้ชัดเจน และถูกต้องมีข้อผิดพลาดในบางครั้ง ปานกลาง 41 – 60 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้บางท่ายังแสดง ได้ไม่ชัดเจน และมีข้อผิดพลาดในบางครั้ง พอใช้ 21 – 40 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้บางท่ายังแสดง ได้ไม่ชัดเจน และมีข้อผิดพลาดบ่อยครั้ง ควรปรับปรุง 0 - 20 ไม่สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้
สรุปคะแนนแบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส (หลังเรียน) แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส มีจ านวน 5 รายการ ดังนี้ 1. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเดาะลูกหน้ามือ – หลังมือ 2. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเสิร์ฟลูกหน้ามือ 3. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการเสิร์ฟลูกหลังมือ 4. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการตีลูกหน้ามือ 5. แบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสการตีลูกหลังมือ นักเรียน ล าดับที่ ชื่อ - สกุล ทักษะการเดาะลูกหน้ามือ –หลังมือ (เต็ม20คะแนน) ทักษะการเสิร์ฟลูกหน้ามือ (เต็ม20คะแนน) ทักษะการเสิร์ฟลูกหลังมือ (เต็ม20คะแนน) ทักษะการตีลูกหน้ามือ (เต็ม20คะแนน) ทักษะการตีลูกหลังมือ (เต็ม20คะแนน) รวม(เต็ม100คะแนน) 1 เด็กหญิงศรัณยาภรณ์ สอนมาก 2 เด็กหญิงปุณญิตา จันทะเสน 3 เด็กชายวราเมธ พงษ์สัจจา 4 เด็กหญิงนาตาชา ตั้งกระจ่างจิตร 5 เด็กชายชัยชนะ ธีราพงษ์ 6 เด็กหญิงธัญพิชชา ยอดชาญ เกณฑ์การให้คะแนนแบบทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส ระดับ คะแนน ลักษณะการแสดงทักษะ ดีมาก 81 – 100 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้ชัดเจน และถูกต้องอย่างสม่ าเสมอ ดี 61 - 80 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้ชัดเจน และถูกต้องมีข้อผิดพลาดในบางครั้ง ปานกลาง 41 – 60 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้บางท่ายังแสดง ได้ไม่ชัดเจน และมีข้อผิดพลาดในบางครั้ง พอใช้ 21 – 40 สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้บางท่ายังแสดง ได้ไม่ชัดเจน และมีข้อผิดพลาดบ่อยครั้ง ควรปรับปรุง 0 - 20 ไม่สามารถปฏิบัติทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิสได้
ภาคผนวก ค ผลคะแนนทดสอบทักษะพื้นฐานกีฬาเทเบิลเทนนิส
ภาคผนวก ง ภาพการจัดการเรียนการสอน รายวิชา เทเบิลเทนนิส ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 บกพร่องทางการได้ยิน โรงเรียนโสตศึกษาปานเลิศ จังหวัดลพบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565