The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มคู่มือ วิชาปฏิบัติ 3-2563 29 มีนาคม 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by simaporn.pua, 2021-03-30 00:27:37

เล่มคู่มือ วิชาปฏิบัติ 3-2563 29 มีนาคม 64

เล่มคู่มือ วิชาปฏิบัติ 3-2563 29 มีนาคม 64

สังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี สภาพสงั คมรอบตัวผู้ปวุ ยทงั้ ในละแวกบ้านและท่ีทางาน การมีสว่ น
ร่วมในกจิ กรรมของสงั คมทผี่ ู้ปุวยอยู่ สัมพนั ธภาพกบั บคุ คลรอบข้าง การมสี ว่ นรว่ มในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทางศาสนาหรือ
ขนบธรรมเนียมประเพณี

ปัจจยั ทางระบบบริการสุขภาพ แหลง่ บรกิ ารสุขภาพทใี่ ชเ้ ป็นประจาเมื่อเกดิ ความเจบ็ ปุวยเลก็ นอ้ ยหรือ
เจ็บปุวยมาก ความสะดวกในการเดินทางมาใชบ้ ริการ ความร้สู กึ ตอ่ บริการท่ีได้รบั ในสถานบริการน้นั

แหล่งประโยชน์ สิ่งท่ีช่วยส่งเสรมิ สนับสนุนให้ผปู้ ุวยสามารถดารงชีวติ อยู่ได้อย่างมคี วามสขุ ทง้ั ในยาม
ปกตแิ ละเม่ือเกิดความเจ็บปุวย เป็นที่พึ่งพาสาหรบั ผ้ปู ุวยในยามจาเป็น ไดแ้ ก่

- ด้านวัตถสุ ง่ิ ของ ได้แก่ สิ่งของ เครือ่ งใช้ เครื่องอานวยความสะดวก
- ด้านการเงนิ ได้แก่ รายได้หลักและรายไดพ้ ิเศษของผู้ปวุ ยและสมาชกิ ในครอบครวั การได้รับความ
ชว่ ยเหลอื ด้านการเงินจากบุคคลอ่นื ความเพยี งพอด้านการเงินแกก่ ารยังชพี การมีหนีส้ นิ หรือเงินออม วิธกี ารชาระค่า
รักษาพยาบาล
- ด้านบุคคล ได้แก่ บุคคลที่ให้ความช่วยเหลอื ผู้ปวุ ยขณะพักรักษาตัวในโรงพยาบาลและทีบ่ ้าน
ประสบการณท์ ส่ี าคัญในชีวิต เหตกุ ารณท์ ี่ผปู้ ุวยประสบมาในอดีต ซง่ึ อาจมีผลตอ่ ความสามารถในการ
ดูแลตนเองหรือความต้องการการดแู ลของผูป้ วุ ย เชน่ การเปลีย่ นแปลงในชวี ติ ได้แก่ การสญู เสียคูช่ ีวติ การประสบ
อุบัติเหตุ การเจบ็ ปุวยทร่ี ้ายแรง เป็นต้น รวมทง้ั ประสบการณใ์ นการดูแลบคุ คลท่เี จ็บปุวยทัง้ โรคเฉียบพลันและโรคเรื้อรัง
เชน่ โรคมะเรง็ โรคเบาหวาน โรคเอดส์ เปน็ ต้น
7. สมาชิกทุกคนในกลมุ่ ต้องพบอาจารย์ทปี่ รึกษาประจากลุ่ม อย่างน้อย 3 ครงั้ โดยนาตารางบนั ทกึ การพบอาจารย์ที่
ปรกึ ษาให้อาจารย์เซน็ ต์ทกุ คร้ังและแก้ไขปรบั ปรงุ งานอย่างต่อเนื่องตามคาแนะนา
8. นักศกึ ษาทกุ กลมุ่ สง่ รายงานและเอกสารทใี่ ชใ้ นการนาเสนอ กอ่ นการนาเสนอล่วงหน้าอย่างนอ้ ย 1 วัน
9. สง่ รายงานฉบับสมบรู ณ์ ภายใน 3 วนั หลงั การนาเสนอ

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี บ.05

การประชมุ ปรกึ ษาประเดน็ จรยิ ธรรมทางการพยาบาลเด็ก (Ethical conference)

รายวชิ า NURNS24 ปฏิบัติการพยาบาลเดก็ และวัยรุ่น ภาคการศกึ ษาท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563

คาชแี้ จง ในสปั ดาหท์ ่ี 2 ของการฝกึ ปฏิบตั ใิ หน้ ักศึกษาทุกกลมุ่ เลอื กประเดน็ จรยิ ธรรมทางการพยาบาลท่พี บใน
หอผู้ปุวยที่กาลังฝกึ ปฏิบตั ิ และรว่ มวิเคราะหป์ ระเด็นเหลา่ น้ันโดยปฏบิ ตั ิตามขน้ั ตอนการตัดสินใจเชงิ จริยธรรมของ
นกั ศึกษาพยาบาล ดังนี้

1. เก็บรวบรวมข้อมูล
2. ระบปุ ระเด็นจริยธรรม/ ข้อขัดแยง้
3. พจิ ารณาทางเลือกทจี่ ะปฏิบตั ิ
4. วเิ คราะห์ ขอ้ ดี เสียของทางเลอื กแต่ละทาง
5. ตัดสินใจเลือก
1. เก็บรวบรวมข้อมูล
1.1 เนื้อหา/เหตกุ ารณ์/ สถานการณ์ ของประเดน็ จรยิ ธรรมทางการพยาบาลเปน็ อย่างไร
ประเดน็ ปญั หาทางจรยิ ธรรมทางการพยาบาลเด็ก ท่ีพบได้บอ่ ย เชน่

1) การใหบ้ ริการพยาบาลไม่ถูกต้องตามเทคนิค คุณภาพและมาตรฐานการพยาบาล
2) การบอกความจรงิ แก่บิดามารดาและผู้ปุวยเด็ก เชน่ การตดิ ยาเสพติด การตดิ เชื้อHIV การตง้ั ครรภ์
3) การตัดสนิ ใจยอมรับหรือปฏิเสธการรักษาพยาบาลตามสิทธิทีค่ วรจะได้รับ
4) การยินยอมโดยได้รับการบอกกล่าว
5) การดูแลผปู้ วุ ยเด็กระยะสดุ ท้ายใกล้เสยี ชีวติ (end-of-life care)
6) ความไม่พึงพอใจต่อพฤตกิ รรมบริการของพยาบาล และการไม่ได้รบั บริการพยาบาลตามทคี่ าดหวัง
7) การแสดงกริ ิยามารยาทไมเ่ หมาะสม
8) การใชภ้ าษาในการสือ่ สารไม่เหมาะสม
9) การให้ขอ้ มลู ไม่เหมาะสม
10) การผูกยึดและการใช้ห้องแยก
11) ญาติหรือผปู้ ุวยเด็กปฏิเสธการรักษา

12) การรกั ษาชีวติ ผปู้ ุวยเด็กท่ีเน้อื สมองถูกทาลายไปมาก/สมองตาย (severe brain damage/ brain
dead)

13) การทาแทง้ ให้ผู้ปุวยเด็ก

1.2 หลักจริยธรรมทเ่ี กี่ยวข้องกบั เรื่องนี้ ไดแ้ ก่เรื่องใดบ้าง

หลักจรยิ ธรรมในวิชาชพี
- การเคารพความเป็นอสิ ระทางการตดั สนิ ใจของผูป้ วุ ย (autonomy)
- การทาสงิ่ ท่ีดเี ป็นประโยชนแ์ ก่ผู้ปุวยเปน็ สาคัญ (beneficence)
- การกระทาเพ่อื ปอู งกนั หรือหลีกเลย่ี งสาเหตุ หรือ อนั ตรายท่ีอาจเกิดขนึ้ (Non maleficence)
- ความยุตธิ รรมและเสมอภาค (justice)
- ความซ่ือสตั ย์ (fidelity)
- การรกั ษาความลับของผู้ปุวย (confidentiality)
- การบอกความจริงแก่ผปู้ วุ ย (veracity)
จรรยาบรรณวชิ าชพี
- คา่ นิยมวิชาชพี

-การยินยอมโดยได้รับการบอกกลา่ ว (informed consent)
-ความเอื้ออาทรตอ่ ผูป้ วุ ย (caring)
-ความเมตตากรุณา (compassion)
-การมีระเบียบวินัยและความรับผิดชอบ
-การเสยี สละ
-การมพี ฤติกรรมการบริการและมีใจบริการทด่ี ี
- สิทธิมนุษยชน
-หลักของความเป็นประโยชน์ตอ่ สว่ นรวม (Utility)
- สทิ ธผิ ปู้ วุ ย
-การพิทักษ์สิทธเิ ด็ก (Child Right Protection)
-การปกปูองคุ้มครองผปู้ ุวยและการพิทักษส์ ิทธขิ องผ้ปู วุ ย (Right Protection)
- สิทธพิ ยาบาล
- จรรยาบรรณวชิ าชีพพยาบาล (Code of ethics)
-จรรยาบรรณวชิ าชพี การพยาบาลของสมาคมการพยาบาลแหง่ ประเทศไทย
-หลกั จรยิ ธรรมสากลสาหรับพยาบาล (The Universal Code: Expressed for Nursing)
-หลกั จรยิ ธรรมสาหรับพยาบาลนานาชาติ (International Code of Nursing Ethics)
กฎหมายอาญาท่ีเก่ียวข้องกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์

- กฎหมายวชิ าชีพการพยาบาล พนิ ัยกรรมชวี ติ หลักการพ้ืนฐานการพยาบาลนติ ิเวช
- การกระทาผิดฐานประมาท
- ปฏิเสธการช่วยเหลอื ผู้ท่ตี กอยใู่ นภยนั ตรายแห่งชีวติ / ทอดทิ้งผู้ปวุ ย
- เปดิ เผยความลบั ของผ้ปู วุ ย เอกสาร: ทาคารับรองปลอม/เท็จเอกสาร การทาแทง้
1.3 บุคคลท่ีเกยี่ วข้องกับเรือ่ งน้ี เกีย่ วข้องอย่างไร
พยาบาล/ กุมารแพทย์/ บุคลากรทีมสขุ ภาพอนื่ ๆ/ ผูป้ ุวยเด็ก/ บิดา มารดา/ ผู้ปกครอง/ ครอบครวั ของผปู้ วุ ย
เด็ก
1.4 ใคร คือ คนสาคญั ทีจ่ ะตัดสินใจเรอ่ื งนี้
1.5 ขอ้ มูลรายละเอียดอ่นื ๆ ทต่ี ้องพจิ ารณาประกอบ เพื่อทาความเข้าใจบรบิ ทต่าง ๆ ทเี่ กยี่ วกบั ปัญหาโดย
มุมมองของบคุ คลตา่ ง ๆ (ถา้ มี)
2. ระบปุ ระเด็นทเ่ี ปน็ ปัญหาทางจริยธรรม/ สถานการณข์ ดั แยง้ (moral dilemma) ของเร่ือง
(เป็นความขัดแย้งระหวา่ งหลกั จริยธรรมเร่ืองใด หรือเปน็ ความไมถ่ ูกต้องเหมาะสมตามหลักจรยิ ธรรมเรื่องใด)
3. พิจารณาทางเลอื กท่ีจะปฏิบัติหลาย ๆ ทาง ทางเลือกควรไดม้ าจากการนา เอาหลักจริยธรรมมาประยกุ ต์ใชใ้ นการ
ตัดสินใจ การสารวจคา่ นยิ มต่างๆ ท่ียดึ ถือและความถูกต้องหรือความผิดทางศีลธรรม
4. วิเคราะห์ ข้อดี เสยี ของทางเลือกแต่ละทาง
5. ตดั สนิ ใจเลอื กแนวทางปฏบิ ตั ิ พร้อมให้เหตผุ ลประกอบการตดั สินใจ
6. การละเลยหลกั จรยิ ธรรมท่เี ก่ียวข้องกรณีน้ี เชื่อมโยงไปสู่กฎหมายไดห้ รือไม่ ถ้าได้ได้อย่างไรไดบ้ ้างหากเกิดกรณี
รอ้ งเรยี น เป็นคดีความ
ขอ้ ควรคานงึ ** ในการพิจารณาประเด็นปัญหาจรยิ ธรรมจะตอ้ งใช้การคิดอย่างไตร่ตรองเชงิ วิพากษ์ (critical thinking)
ไม่ใชค้ วามคดิ เหน็ หรอื ความรู้สกึ ส่วนตัว โดยจะตอ้ งพิจารณาจากข้อเท็จจริงของเร่ืองอย่างครอบคลมุ แยกแยะขอ้ เท็จจรงิ
ทส่ี าคัญได้ เชื่อมโยงข้อเท็จจริงได้ พจิ ารณาแนวทางปฏิบตั ิ หลายแนวทางแล้วตัดสนิ ใจเลอื กแนวทางที่เหมาะสมท่ีสดุ
ตามมาด้วยการประเมนิ ผลจากการตดั สินใจเลือกแนวทางปฏบิ ัติ

แบบประเมนิ ที่ใชใ้ นรายวชิ าปฏิบตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวัยร่นุ

พยบ.001

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎรธ์ านี
แบบประเมินผลการฝกึ ปฏบิ ัติการพยาบาล

รายวิชา NURNS24 ปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวัยรนุ่ ภาคการศกึ ษาที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2563

ชอ่ื -สกลุ นักศกึ ษา................................................................................................รหัสนักศกึ ษา.…................................ช้ันป.ี ................
สถานทฝ่ี ึกปฏิบตั ิ............................... หอผู้ปว่ ย…………………...................... ฝึกปฏิบัติระหวา่ งวนั ที่......................................................

คาชแ้ี จง

เกณฑ์การให้คะแนน
5 หมายถึง แสดงพฤตกิ รรมไดถ้ ูกต้อง ครบถ้วน สม่าเสมอ ปลอดภยั เหมาะสมกบั สถานการณ์ ด้วยตนเอง โดยไมต่ อ้ งการ

คาแนะนา หรอื ต้องการเพียงเลก็ นอ้ ย หรอื ในระดับดมี าก คิดเป็น รอ้ ยละ 85-100
4 หมายถงึ แสดงพฤตกิ รรมไดถ้ ูกต้อง ปลอดภัย เหมาะสมกบั สถานการณ์ สมา่ เสมอและครบถว้ น เปน็ ส่วนใหญ่ ตอ้ งการ

คาแนะนาเปน็ ครั้งคราว หรือในระดบั ดี คดิ เป็น ร้อยละ 70-84
3 หมายถงึ แสดงพฤติกรรมไดถ้ กู ต้อง ปลอดภยั สมา่ เสมอ และครบถว้ นปานกลาง ตอ้ งการคาแนะนาบอ่ ยคร้งั เพอ่ื ให้

เหมาะสมกับสถานการณ์ หรือในระดบั ปานกลาง คิดเปน็ ร้อยละ 55-69
2 หมายถงึ แสดงพฤติกรรมได้ถูกต้อง ปลอดภยั สม่าเสมอ และครบถว้ นเป็นส่วนน้อย ต้องการคาแนะนาและดแู ลอยา่ ง

ใกล้ชิด หรือในระดบั พอใช้ คดิ เป็น รอ้ ยละ 40-54
1 หมายถึง แสดงพฤติกรรมไมถ่ กู ต้อง ไมป่ ลอดภยั ไม่ครบถ้วน ต้องคาแนะนาและต้องดแู ลอยา่ งใกลช้ ดิ เป็นพิเศษ หรอื ใน

ระดับควรปรับปรุง คิดเปน็ ร้อยละ 1-39
0 หมายถึง ไม่ไดป้ ฏบิ ตั ใิ นส่วนนัน้ หรือ ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ไิ ดเ้ ลย แมจ้ ะไดร้ ับคาแนะนาและดูแลอย่างใกล้ชดิ

LO รายการท่ีประเมนิ หนว่ ย ระดบั คะแนน หมาย
นา้ หนกั คะแนน ทไี่ ด้ เหตุ
1.1 1.ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม (20 คะแนน)
1.2 1.1 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลโดยเคารพคุณคา่ และศกั ดศิ รีความเปน็ มนษุ ย์ 0.5
1.3 เคารพสทิ ธิเดก็ และสทิ ธิผปู้ ุวยดว้ ยหวั ใจความเปน็ มนษุ ย์ (2.5)
1.6 1.2 เตม็ ใจช่วยเหลอื ผปู้ ุวยเด็กและครอบครวั ไมแ่ สดงท่าทางรังเกยี จ/ 0.5
2.6 ท่าทีที่ไมเ่ หมาะสม (2.5)
6.3 1.3 ตรงเวลา ในการขึน้ ฝกึ ปฏบิ ตั งิ าน และการสง่ งาน (2.5) 0.5
0.5
1.4 ปฏิบตั ติ ามตามกฎระเบยี บของสถาบันและหนว่ ยงาน (2.5) 0.5
1.5 พดู ปฏิบัตงิ าน และรายงานขอ้ มลู ตามความจริง ไมค่ ดั ลอกงานของผ้อู นื่ (2.5) 0.5
1.6 รบั ผดิ ชอบตอ่ การกระทาของตนเอง และไม่ปกปิดความผดิ ของตนเอง (2.5) 0.5
1.7 กริยา วาจา สภุ าพออ่ นโยน วางตนเหมาะสมกบั บคุ คล (ผู้รบั บรกิ าร อาจารย์

LO รายการท่ีประเมิน หนว่ ย ระดบั คะแนน หมาย
นา้ หนัก คะแนน ทไ่ี ด้ เหตุ

เพอ่ื น และเจา้ หนา้ ทที่ มี สุขภาพ) เวลา สถานท่ี และโอกาส (2.5)

1.8 สามารถควบคมุ อารมณแ์ ละพฤติกรรมของตนเองใหบ้ รรลเุ ปูาหมายการเรียนรู้ 0.5

(2.5)

2.1 2. ดา้ นความรูแ้ ละทกั ษะทางปัญญา (10 คะแนน)

2.2 2.1 ตอบคาถามและให้เหตุผลในประเดน็ สาคญั ต่าง ๆ ท่เี กีย่ วข้องในระหวา่ งการ 1

3.1 Pre-post conference และ Nursing care conference โดยอา้ งองิ หลกั ฐานเชิง

ประจักษ์ไดถ้ ูกต้องและเหมาะสม (5)

2.2 บอกและปรบั ปรงุ ข้อบกพรอ่ งของตนเองให้ดขี น้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (2.5) 0.5

2.3 ปรบั ปรุงแผนการพยาบาลใหส้ อดคล้องกับสถานการณ์ของผปู้ ุวยไดอ้ ย่าง 0.5

เหมาะสม (2.5)

4.1 3. ด้านทักษะความสมั พันธ์ระหวา่ งบคุ คล และความรบั ผดิ ชอบ (10 คะแนน)

4.2 3.1 มนี ้าใจ ชว่ ยเหลือผอู้ นื่ กระตอื รอื รน้ ในการฝกึ ปฏบิ ัติงาน (2.5) 0.5

4.3 3.2 รับฟังความคดิ เหน็ ของผูอ้ นื่ (2.5) 0.5

3.3 เสนอความคดิ เห็นอย่างสร้างสรรค์และเปน็ ประโยชน์ (2.5) 0.5

3.4 มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ที่และงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย ทางานเป็นทมี อยา่ งมี 0.5

ประสิทธภิ าพ (2.5)

5.2 4. ด้านทกั ษะการสื่อสาร (10 คะแนน)

5.4 4.1 สามารถเขา้ ถงึ และสอ่ื สารกับผปู้ ุวยเด็กและครอบครัวได้อย่างเหมาะสมและมี 0.5

ประสทิ ธภิ าพ (2.5)

4.2 สามารถสอ่ื สารกบั ทมี การพยาบาลได้อยา่ งเหมาะสม (2.5) 0.5

4.2 Pre-conference และ Nursing care conference: 1

สามารถนาเสนอขอ้ มลู ผปู้ วุ ยครอบคลมุ ประเด็นสาคญั (5)

2.2 5.ทกั ษะการปฏิบตั ิทางวิชาชพี (90 คะแนน)

2.3 5.1 ประเมนิ ภาวะสขุ ภาพ (10)

2.4 ซักประวตั ผิ ูป้ ุวยเดก็ และครอบครวั ได้ถกู ต้อง ครบถ้วน สอดคลอ้ งกบั โรค (5) 1

3.2 ตรวจร่างกายผู้ปุวยเดก็ ได้ถกู ต้อง ครอบคลมุ ประเดน็ ที่สาคัญทีเ่ กย่ี วข้อง 1

5.1 กับโรค (5)

5.2 5.2 การวินิจฉัยและการวางแผนการพยาบาล (10)

5.3 5.2.1 Pre conference: ระบุและจดั ลาดับความสาคัญของขอ้ วนิ ิจฉัยทางการ 1

พยาบาลได้ถกู ต้องเหมาะสมตามสถานการณ์ และเป็นองคร์ วม (5)

6.1 5.2.3 Pre conference: อธิบายแผนการพยาบาลไดเ้ หมาะสมกับสถานการณ์ 1
6.2 และปญั หาของผปู้ ุวย (5)

6.3 5.3 การปฏิบัติการพยาบาล (60) 1
6.4 5.3.1 ปฏิบัตกิ ารพยาบาลตามแผนการพยาบาลท่ีวางไวไ้ ด้อย่างเหมาะสม (5)

LO รายการท่ีประเมิน หนว่ ย ระดับ คะแนน หมาย
น้าหนัก คะแนน ทไี่ ด้ เหตุ

5.3.2 เตรยี มส่ิงแวดล้อม อปุ กรณ์ และผปู้ ุวย ในการพยาบาลได้อยา่ งเหมาะสม (5) 1

5.3.3 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลถกู ต้องตามหลกั การและเทคนิควิธปี ฏิบัตทิ ่เี หมาะสมกับ 2

ผ้ปู วุ ยและครอบครวั (10)

5.3.4 ปฏิบัติการพยาบาลอยา่ งนมุ่ นวล อ่อนโยน มปี ระสทิ ธภิ าพ คลอ่ งแคล่ว และ 1

บรหิ ารเวลาอยา่ งเหมาะสม (5)

5.3.5 ปฏิบตั ิการพยาบาลโดยคานงึ ความเปน็ ปจั เจกบคุ คล และความหลากหลาย 1

ทางวฒั นธรรม (5)

5.3.6 ปฏบิ ัติการพยาบาลเพือ่ ปูองกันการแพร่กระจายเชอ้ื ได้ (5) 1

5.3.7 ปฏบิ ัติการพยาบาลไดถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสมกับการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ 1

ของผู้ปวุ ยเด็กแตล่ ะรายทีไ่ ด้รบั มอบหมาย (5)

5.3.8 สง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมของครอบครัว และใช้หลกั ครอบครัวเปน็ ศนู ย์กลาง 1

ในการดแู ลผู้ปุวยเดก็ ไดถ้ ูกต้องเหมาะสม (5)

5.3.9 สามารถใชอ้ ปุ กรณ์ และเทคโนโลยีพนื้ ฐาน ในการปฏบิ ตั ิการพยาบาลเด็กได้ 1

อยา่ งถกู ต้อง เหมาะสม (Infusion pump, Syringe pump, เคร่ืองพ่นยา,

Incubator, radiant warmer, Monitor O2 Sat, เครื่องวดั BP) (5) 2
5.3.10 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลโดยประยกุ ต์องคค์ วามรู้จากงานวจิ ยั และหลกั ฐานเชงิ

ประจกั ษท์ เี่ กย่ี วขอ้ งกบั การพยาบาลเด็กและวยั รุ่นทัง้ ในและตา่ งประเทศได้ (10)

5.4 การประเมินผลการพยาบาล (10)

5.4.1 สามารถประเมนิ อาการเปลยี่ นแปลงของผปู้ วุ ย แก้ไขสถานการณ์ ปอู งกัน 1

อนั ตรายหรือภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกดิ ข้ึน และรายงานการตดั สินใจใหก้ าร

ชว่ ยเหลอื เบื้องต้นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (5)

5.4.2 Post-conference: อธิบายผลการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลประจาวนั 0.5

ตามเกณฑ์ทกี่ าหนด ครอบคลมุ ประเดน็ สาคญั และตรงตามความเปน็ จรงิ (2.5)

5.4.3 Post-conference: ระบุปญั หาอปุ สรรค และบอกแนวทางการแกไ้ ขปัญหา 0.5

ทพ่ี บในการให้การพยาบาลผปู้ วุ ยได้ (2.5)

รวมคะแนน 140 คะแนน รวมคะแนนทไี่ ด้

คะแนน

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล ได้คะแนนท่ไี ด้รอ้ ยละ 65 ข้ึนไป (91 คะแนน) ถือว่าผา่ นเกณฑ์  ผ่าน  ไมผ่ ่าน

ข้อเสนอแนะ

.......................................................................................................................................................................................................

ประเมนิ โดย  ผเู้ รยี น  อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติ  อาจารย์พเ่ี ลย้ี งในแหลง่ ฝึก

...............................................................ผู้ประเมิน

..........................................................ผู้รับการประเมนิ

วันท่ี.........เดือน.......................พ.ศ. ......................

พยบ.002

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎร์ธานี
แบบประเมินผลรายงานการวางแผนการพยาบาล

รายวชิ า NURNS24 ปฏบิ ัติการพยาบาลเดก็ และวัยรุน่ ภาคการศึกษาที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563

ชอ่ื -สกลุ นกั ศกึ ษา...................................................................................................รหัสนักศึกษา.…................................ชน้ั ป.ี ..............

สถานท่ีฝึกปฏบิ ัติ............................... หอผู้ป่วย…………………......................... ฝึกปฏบิ ตั ิระหว่างวันท่.ี .................................................

ความหมายของระดับคะแนน
5 หมายถึง นักศกึ ษาสามารถปฏิบัติตามรายการท่ปี ระเมนิ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องครบถ้วนในระดบั ดีมากร้อยละ 85-100
4 หมายถึง นักศกึ ษาสามารถปฏบิ ัตติ ามรายการทป่ี ระเมินได้อย่างถูกต้องครบถว้ นในระดับดี ร้อยละ70-84
3 หมายถึง นักศกึ ษาสามารถปฏบิ ัตติ ามรายการทป่ี ระเมินได้อย่างถูกต้องครบถ้วนในระดับปานกลางร้อยละ55-69
2 หมายถึง นกั ศึกษาสามารถปฏิบตั ิตามรายการทีป่ ระเมินได้อย่างถูกต้องแตไ่ มค่ รบถว้ นหรือในระดับพอใช้ ร้อยละ 40-54
1 หมายถึง นักศึกษาสามารถปฏิบตั ิตามรายการที่ประเมินได้ในระดับต่ารอ้ ยละ 1 – 39 และต้องปรบั ปรุง
0 หมายถึง นกั ศกึ ษาไม่ไดป้ ฏิบตั ิ หรือไมส่ ามารถปฏิบตั ิตามรายการท่ีประเมนิ น้นั ๆ ได้เลย

LO รายการท่ีประเมิน หน่วย ระดับ คะแนน หมายเหตุ
2.1,2.2, น้าหนกั คะแนน ทีไ่ ด้
1. การรวบรวมขอ้ มลู ปญั หาของผู้ปุวยได้ครอบคลมุ และ
2.3 ถกู ตอ้ ง (10) 2
2.2,3.2 2. แผนผงั ความคดิ พยาธิภาพเชอ่ื มโยงทฤษฎแี ละ 1
ผรู้ บั บริการ (5)
2.2,3.2 3. การวางแผนการพยาบาล (25) 1
1
2.2,3.2 3.1 การกาหนดขอ้ วนิ ิจฉยั การพยาบาล และขอ้ มูล
สนับสนุน: 2
2.1,2.2, ขอ้ วนิ จิ ฉยั เรียงตามลาดบั ความสาคัญ 1
2.4,3.1, ข้อมลู สนบั สนุนครบถว้ น และตรงตามปญั หา (5)

3.2 3.2 การกาหนดวัตถุประสงค์การพยาบาล และเกณฑ์
2.1,2.2 การประเมินผล:
วตั ถุประสงค์ถกู ต้องและสอดคลอ้ งกับขอ้ วนิ ิจฉัย
เกณฑก์ ารประเมินสอดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ และเป็น
รปู ธรรมมีความเปน็ ไปได้ (5)

3.3 การกาหนดกิจกรรมการพยาบาล: ครอบคลมุ
นาไปปฏบิ ตั ิไดจ้ ริง เรยี งตามลาดบั ความสาคญั และนาองค์
ความรจู้ ากงานวจิ ัยหรอื หลักฐานเชิงประจักษม์ าใช้ (10)

3.4 การเขียนเหตุผลทางการพยาบาลถกู ต้องตามหลัก
วชิ าการ (5)

2.2 4. การประเมินผลการพยาบาล: สรุปผลการพยาบาลได้ 1 คะแนน
ถูกตอ้ ง ตรงกบั ความเป็นจริง (5) 2

3.2 5. การสรุปผลการศกึ ษา วิจารณ์ และขอ้ เสนอแนะ: 1
สอดคลอ้ งกับความต้องการของผปู้ วุ ย อธิบายไดช้ ัดเจน 12 คะแนนทไี่ ด้
เข้าใจง่าย (10)

1.1 6. รปู แบบการเขียนรายงาน และบรรณานุกรม (5)

คะแนนรวมทงั้ หมด 60 คะแนน

ข้อเสนอแนะ

..........................................................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................................................

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ประเมนิ โดย  ผู้เรียน อาจารยผ์ ู้สอนภาคปฏิบตั ิ อาจารย์พเี่ ลย้ี งในแหล่งฝกึ

.....................................................................ผู้ประเมนิ

..........................................................ผรู้ บั การประเมนิ

วันท.ี่ ........เดอื น..............................พ.ศ. ......................

พยบ.003

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ าษฎรธ์ านี
แบบประเมนิ ผลรายงานการประเมินการเจรญิ เติบโต พฒั นาการ และการไดร้ ับวคั ซีน
รายวิชา NURNS24 ปฏิบตั กิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุ่น ภาคการศกึ ษาที่ 3 ปีการศึกษา 2563

รายช่ือสมาชกิ 1. ชอ่ื -สกุลนกั ศึกษา......................................................................รหสั ….................................
2. ช่อื -สกุลนักศกึ ษา......................................................................รหสั ….................................
3. ชื่อ-สกุลนกั ศกึ ษา......................................................................รหสั ….................................
4. ช่อื -สกลุ นกั ศึกษา......................................................................รหสั ….................................

ความหมายของระดับคะแนน

5 หมายถึง นักศกึ ษาสามารถปฏบิ ัติตามรายการทป่ี ระเมนิ ได้อย่างถูกตอ้ งครบถ้วนในระดับดีมากรอ้ ยละ 85-100
4 หมายถึง นกั ศกึ ษาสามารถปฏิบตั ติ ามรายการทป่ี ระเมินไดอ้ ยา่ งถูกต้องครบถ้วนในระดับดี รอ้ ยละ70-84
3 หมายถึง นกั ศกึ ษาสามารถปฏบิ ัตติ ามรายการท่ีประเมนิ ได้อย่างถูกตอ้ งครบถ้วนในระดับปานกลางรอ้ ยละ55-69
2 หมายถึง นักศึกษาสามารถปฏบิ ัติตามรายการท่ีประเมนิ ได้อย่างถูกตอ้ งแต่ไมค่ รบถ้วนหรือในระดับพอใช้ รอ้ ยละ 40-54
1 หมายถึง นักศึกษาสามารถปฏบิ ตั ิตามรายการที่ประเมินได้ในระดับตา่ ร้อยละ 1 – 39 และต้องปรบั ปรงุ
0 หมายถึง นกั ศึกษาไม่ไดป้ ฏิบัติ หรือไม่สามารถปฏิบัติตามรายการท่ปี ระเมนิ น้ันๆ ได้เลย

LO หัวข้อประเมนิ หนว่ ย ระดับ คะแนน หมายเหตุ
น้าหนกั คะแนน ท่ไี ด้ คะแนน

2.1 1. การเกบ็ รวบรวมข้อมูลพ้ืนฐาน (5) 1

2.1, 3.2 2. การประเมนิ และแปลผลการเจรญิ เตบิ โต และให้ 3
คาแนะนาเพ่ือสง่ เสริมการเจรญิ เติบโตได้ถูกต้อง (15)

2.1,3.2 3. การประเมิน และแปลผลพัฒนาการและให้คาแนะ 3
การสง่ เสรมิ พัฒนาการตามวัย (15)
3
2.1,2.3, 4. การไดร้ ับวคั ซีนและการดูแลหลงั ได้รับวคั ซีน (15) 1
3.2 1
1.1 6. บรรณานกุ รม (5)
1.1 7. มีความรบั ผดิ ชอบ ส่งงานตรงเวลา (5)

คะแนนรวม 60 คะแนน 12 คะแนนท่ีได้

ข้อเสนอแนะ

................................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................................................................

ประเมนิ โดย  ผ้เู รียน  อาจารย์ผู้สอนภาคปฏบิ ัติ  อาจารย์พีเ่ ล้ยี งในแหล่งฝึก

.....................................................................ผู้ประเมิน
..........................................................ผู้รับการประเมิน
วันท.ี่ ........เดอื น..............................พ.ศ. ......................

พยบ.004

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านี
แบบประเมนิ ผลการนาเสนอผลการศึกษากรณีศึกษา

รายวิชา NURNS24 ปฏบิ ัติการพยาบาลเดก็ และวัยรุ่น ภาคการศกึ ษาท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563

ชอื่ -สกลุ นักศกึ ษา..............................................................................................................รหสั …..........................................ช้นั ปี........

สถานท่ีฝึกปฏบิ ัต.ิ ................................................. หอผปู้ ว่ ย……….................…… ฝกึ ปฏิบัตริ ะหว่างวนั ท.่ี ............................................

ความหมายของระดบั คะแนน

5 หมายถึง นักศกึ ษาสามารถปฏิบตั ติ ามรายการทีป่ ระเมนิ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งครบถว้ นในระดบั ดมี ากร้อยละ 85-100

4 หมายถึง นักศกึ ษาสามารถปฏบิ ตั ติ ามรายการทปี่ ระเมนิ ไดอ้ ย่างถูกต้องครบถ้วนในระดบั ดี ร้อยละ70-84

3 หมายถึง นกั ศึกษาสามารถปฏบิ ัติตามรายการที่ประเมินได้อยา่ งถูกตอ้ งครบถว้ นในระดบั ปานกลางร้อยละ55-69

2 หมายถึง นักศกึ ษาสามารถปฏบิ ตั ิตามรายการทป่ี ระเมินไดอ้ ย่างถูกตอ้ งแตไ่ ม่ครบถว้ นหรือในระดับพอใช้ รอ้ ยละ 40-54

1 หมายถึง นักศกึ ษาสามารถปฏิบัติตามรายการท่ีประเมินไดใ้ นระดับตา่ ร้อยละ 1 – 39 และต้องปรบั ปรุง

0 หมายถึง นักศึกษาไมไ่ ด้ปฏิบตั ิ หรือไม่สามารถปฏบิ ตั ติ ามรายการท่ปี ระเมนิ น้นั ๆ ไดเ้ ลย

LO รายการทป่ี ระเมนิ หนว่ ย ระดับ คะแนน หมายเหตุ
น้าหนกั คะแนน ที่ได้

1. ด้านคุณธรรมจรยิ ธรรมและความรบั ผิดชอบ (10 คะแนน) 2

1.1 1.1 ส่งเอกสารและสื่อในการนาเสนอให้อาจารย์ทป่ี รกึ ษาตรวจสอบและมี 1

1.2 การปรับปรงุ แกไ้ ข (5)

1.2 มีการอา้ งอิงทม่ี าของข้อมลู ตา่ งๆในการนาเสนอ (5) 1

2. ด้านความรู้และทักษะทางปญั ญา (70 คะแนน) 14

2.1 2.1 กรณศี กึ ษามีความนา่ สนใจและสอดคล้องตามความต้องการของ 1

2.2 รายวิชา (5)

2.3 2.2 เนอ้ื หาถูกต้องตามหลักวชิ าการ และวิเคราะหเ์ ช่อื มโยงกบั กรณศี กึ ษา 2

2.4 ได้ถูกตอ้ ง ครอบคลมุ (10)

2.6 2.3 อธิบายเชือ่ มโยงแผนผังความคดิ แสดงถึงการวิเคราะห์ และครอบคลุม 3

3.1 ปัญหากรณีศึกษาเพอื่ ใหก้ ารพยาบาลได้ถูกตอ้ งและเข้าใจงา่ ย (15)

3.2 2.4 มีการนาบทความวชิ าการหรอื บทความวจิ ัย มานาเสนอการประยุกตใ์ ช้ 2
4.2 กบั กรณศี กึ ษาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (10)

4.3 2.5 สรปุ ประเด็นสาคัญ และส่ิงท่ไี ดเ้ รยี นรู้จากกรณศี กึ ษาไดอ้ ย่างเหมาะสม 2

(10)

2.6 สามารถสะท้อนคดิ ในบทบาทของพยาบาลเดก็ ของกรณีศึกษาได้ (10) 2

2.7 ตอบคาถามไดต้ รงประเด็น ชดั เจน และแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ไดอ้ ยา่ ง 2

เหมาะสม (10)

3. ทกั ษะการสอ่ื สารและการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (40 คะแนน) 8

LO รายการที่ประเมนิ หนว่ ย ระดบั คะแนน หมายเหตุ
นา้ หนกั คะแนน ท่ีได้

5.1 3.1 จานวนสไลดเ์ หมาะสมกับเวลา (ไม่เกิน 15 นาท)ี ใช้ภาพพ้นื หลงั 1

5.2 ลกั ษณะและขนาดของตวั อกั ษรเหมาะสม (5)

5.3 3.2 มสี ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ (เชน่ ภาพประกอบ/ภาพเคลอ่ื นไหว/วดิ โี อ 1

5.4 ฯลฯ) ประกอบการนาเสนอ น่าสนใจ เหมาะสมกับเน้อื หาและทนั สมยั (5)

3.3 สามารถใชส้ ่อื สารสนเทศไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และเกดิ ประโยชน์ (5) 1

3.4 จัดลาดบั เนือ้ หาในการนาเสนอเหมาะสม นาเสนอประเดน็ สาคญั 2

นา่ สนใจ กระชับ เขา้ ใจง่าย และควบคุมเวลาไดต้ ามกาหนด (10)

3.5 สอ่ื สารเชิงวชิ าการไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม ใชภ้ าษาได้อย่างถกู ต้องทง้ั 2

ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (10)

3.6 ผนู้ าเสนอมบี คุ ลิกดี มคี วามมนั่ ใจ แต่งกายเรยี บรอ้ ย (5) 1

คะแนนรวมท้ังหมด 120 คะแนน คะแนนทไี่ ด้ คะแนน

ขอ้ เสนอแนะ

..........................................................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................................................

..........................................................................................................................................................................................................................

ประเมินโดย  ผเู้ รยี น อาจารยผ์ ู้สอนภาคปฏบิ ตั ิ อาจารยพ์ ี่เล้ยี งในแหล่งฝกึ

...............................................................ผปู้ ระเมนิ
..........................................................ผรู้ บั ประเมิน
วันท.ี่ ........เดอื น.......................พ.ศ. ......................

พยบ.005

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี
แบบประเมินการประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาล (Nursing Care conference)
รายวชิ า NURNS24 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลเด็กและวัยร่นุ ภาคการศกึ ษาที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563

ช่อื -สกลุ นักศกึ ษา................................................................... รหัส…............................ชนั้ ป.ี ......สถานทฝี่ กึ ปฏิบตั .ิ ..............................
หน่วยงาน/หอผู้ป่วย……….................……………….................... ฝึกปฏิบตั ริ ะหว่างวนั ท่.ี ........................................................................

ความหมายของระดบั คะแนน
5 หมายถึง นักศึกษาสามารถปฏบิ ตั ติ ามรายการทปี่ ระเมินได้อยา่ งถูกต้องครบถ้วนในระดับดีมากรอ้ ยละ 85-100
4 หมายถึง นกั ศกึ ษาสามารถปฏบิ ัตติ ามรายการทีป่ ระเมินไดอ้ ย่างถูกต้องครบถ้วนในระดบั ดี รอ้ ยละ70-84
3 หมายถึง นักศกึ ษาสามารถปฏบิ ัติตามรายการท่ปี ระเมินได้อยา่ งถูกตอ้ งครบถว้ นในระดับปานกลางรอ้ ยละ55-69
2 หมายถึง นกั ศึกษาสามารถปฏบิ ัตติ ามรายการท่ปี ระเมนิ ไดอ้ ยา่ งถูกต้องแต่ไมค่ รบถว้ นหรือในระดับพอใช้ รอ้ ยละ 40-54
1 หมายถึง นักศึกษาสามารถปฏบิ ตั ิตามรายการท่ีประเมินไดใ้ นระดับต่ารอ้ ยละ 1 - 39 และตอ้ งปรับปรงุ
0 หมายถึง นักศกึ ษาไม่ไดป้ ฏิบตั ิ หรือไม่สามารถปฏิบัตติ ามรายการท่ปี ระเมนิ นน้ั ๆ ได้เลย

LO รายการทีป่ ระเมิน ระดบั พฤติกรรมทป่ี ฏบิ ตั ิ คะแนนทไี่ ด้ หมายเหตุ
คะแนน
1.2 1. มีการเตรยี มพร้อมในการประชุมปรกึ ษาทางการพยาบาล (5)

(พบทปี่ รกึ ษา, เนือ้ หา/ขอ้ มูลการนาเสนอ, กาหนดการประชุม)

2.1,2.2 2. เลอื กกรณศี กึ ษาไดส้ อดคลอ้ งกับหัวข้อทป่ี ระชมุ ปรกึ ษาทางการพยาบาล (5)

3. ส่ือในการนาเสนอเหมาะสม และนา่ สนใจ (5)

2.1,2.2 4. นาเสนอข้อมลู ประเด็นสาคญั ตามทฤษฎี ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ครอบคลุม (5)

2.2,3.2 5. วเิ คราะห์กรณีศกึ ษาและนาเสนอโดยเชื่อมโยงข้อมูลของกรณศี ึกษาและทฤษฎไี ด้อย่าง

เหมาะสม (5)

2.2,3.2 6. วางแผนและระบุแนวทางการแก้ไขปญั หา ไดเ้ หมาะสมตามทฤษฎแี ละกับสภาพปญั หา

ของกรณีศกึ ษา (5)

4.3 7. มีส่วนร่วมในการนาเสนอข้อมลู และแสดงความคดิ เหน็ อย่างสร้างสรรค์และมี

ประโยชน์ (5)

2.2,5.2 8. ตอบขอ้ ซักถามได้ชดั เจนและตรงประเด็น (5)

2.2,3.1,3.2 9. มีเอกสารอา้ งองิ ท่ีทันสมยั และสอดคลอ้ งกบั เร่อื งและกรณีศึกษา (5)

2.2,3.2 10. สรุปประเดน็ สาคญั ไดอ้ ยา่ งถกู ต้องครอบคลุม (5)

รวม 50 คะแนน คะแนนท่ไี ด้

ข้อเสนอแนะ
..........................................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................................................................

ประเมนิ โดย  ผ้เู รยี น  อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบตั ิ  อาจารย์พเ่ี ลีย้ งในแหลง่ ฝึก

.....................................................................ผปู้ ระเมนิ
..........................................................ผรู้ บั การประเมิน
วันท่.ี ........เดอื น..............................พ.ศ. ......................

ภาคผนวก ก.

53

มาตรการปอ้ งกันโรคตามทรี่ าชการกาหนดเพอื่ ป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด – 19
ของคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธานี

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) ส่งผลให้สถานศึกษาทุกแห่ง
กาหนดมาตรการปอู งกนั ความเส่ียงตอ่ การแพร่ระบาดจนกวา่ จะได้รบั การประเมินสถานการณ์ให้ผ่อนคลายในระยะต่อไป
ดังนนั้ เพอื่ การปอู งกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อ ให้เป็นไปตามคาส่ังศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค
ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เร่ือง แนวปฏิบัติตามข้อกาหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกาหนดการบริหาร
ราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 3) ลงวันท่ี 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ว่าดว้ ยการผ่อนผันการใช้อาคาร
สถานทเี่ พือ่ จัดการเรยี นการสอน คณะพยาบาลศาสตร์จงึ กาหนดมาตรการปูองกนั โรค ดงั ต่อไปนี้
1. มาตรการปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื ไวรสั โควดิ – 19 ดา้ นการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัตขิ องคณะพยาบาลศาสตร์
นโยบายสาคญั ในการบรหิ ารการดูแลนักศกึ ษา/อาจารยใ์ นการฝึกภาคปฏิบตั ิ

การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติของคณะพยาบาลศาสตร์มีความสาคัญต่อวิชาชีพ บุคคลากรทางการ
พยาบาล บุคลากรสาธารณสุข ผู้ใช้บริการด้านสุขภาพและผู้ให้บริการด้านสุขภาพทุกคน แหล่งฝึกท้ังในโรงพยาบาลและ
ชุมชนมีความสาคัญอยา่ งมากทอ่ี าจารย์ บคุ ลากร และนักศกึ ษาทกุ คนต้องถือปฏบิ ัตติ ามมาตรการฯ อย่างเคร่งครัด ดังน้ัน
คณะพยาบาลศาสตร์ขอความรว่ มมือใหท้ ุกฝาุ ยยดึ ถือและปฏบิ ัติอย่างเคร่งครัดในประเดน็ เพ่ิมเตมิ ดงั ต่อไปนี้
การเตรียมความพรอ้ มก่อนฝกึ ภาคปฏิบัตใิ นโรงพยาบาลและชมุ ชน

2.1 นักศึกษาที่เรียนภาคปฏิบัติทุกคน เตรียมความพร้อมในการเรียนภาคปฏิบัติ หากพักอยู่ในพื้นที่ต่างจังหวัด
ให้กลับเข้าพักอาศัยเพื่อการเตรียมความพร้อม ให้เฝูาระวังความเสี่ยง ให้แยกตัวสังเกตอาการในท่ีพักอาศัย ( Self-
quarantine) เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 14 วัน และให้รายงานตัวผ่าน QR Code หรือในท้องถิ่นท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ี อ.
เมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี (หากมีประวัติการเดินทางไปต่างประเทศ หรือสัมผัสผู้ติดเชื้อหรือมีอาการในกลุ่มเสี่ยงคล้าย
อาการหวัด

2.2 ก่อนออกฝึกภาคปฏิบัติ (เร่ิมฝึกภาคปฏิบัติวันที่ 5 เมษายน 2564) นักศึกษาทุกคนต้องได้รับการตรวจคัด
กรองเบื้องต้น ตรวจสุขภาพเฝูาระวังความเสี่ยงเพ่ือปูองกันการแพร่เช้ือฯ ไปในโรงพยาบาลและชุมชน นักศึกษาและ
อาจารยท์ ุกคนต้องได้รับการตรวจวัดไข้ คัดกรองกลุ่มอาการโรคหวัด ซักประวัติ หากตรวจพบความเส่ียงต้องส่งตรวจหา
เชื้อไวรัสโควิด ใหน้ กั ศกึ ษาทุกคนเตรยี มความพร้อมด้านร่างกายให้แข็งแรง พักผ่อนให้เพียงพอ ดูแลตนเองไม่ให้เจ็บปุวย
ระหว่างการฝึกภาคปฏิบัติ หากนักศึกษามีความประสงค์จะรับการฉีดวัคซีนปูองกันโรคหวัด (influenza vaccine)
นกั ศกึ ษาตอ้ งรับผิดชอบคา่ ใช้จา่ ยเอง

2.3 การพักอาศัยภายในหอพักของโรงพยาบาลขณะฝึกภาคปฏิบัติ รวมทั้งหอพักท่ีทางคณะฯ จัดหาให้ และ
ภายในหอพักให้มีอุปกรณ์ประจาห้อง ได้แก่ ปรอทวัดไข้ ชุดปฐมพยาบาลเล็ก ภายในหอพัก/ขอให้นักศึกษาทุกคนเว้น
ระยะห่างของเตียงอย่างน้อย 1 เมตร แยกของใช้ส่วนตัวให้เป็นสัดส่วน เก็บให้เป็นระเบียบและรักษาความสะอาดอย่าง
สม่าเสมอ โดยทาความสะอาดพ้ืนผิวสัมผัสบ่อยๆ ตลอดจนห้องสุขา ให้ทาความสะอาดทั้งก่อนและหลังใช้ และให้กาจัด
ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกลู ทกุ วัน

2.4 จัดให้มจี ดุ บริการล้างมือดว้ ยสบู่ หรอื แอลกอฮอลเ์ จล หรอื นา้ ยาฆา่ เชื้อโรคในหอพกั

2.5 ขณะทากจิ กรรมในหอพกั หากนักศกึ ษาพกั รวมกันหลายคนใหเ้ วน้ ระยะห่างของกิจกรรมตามขนาดของพื้นที่
ไมใ่ หแ้ ออดั (ตามขอ้ 1) ให้มีอากาศระบายและถา่ ยเทไดส้ ะดวก และไมป่ ระกอบอาหารในหอพกั

2.6 จัดเวรทาความสะอาดห้องพกั ทุกวนั ดว้ ยนา้ ยาฆา่ เชอ้ื ทาความสะอาดห้องเป็นประจาอย่างน้อยวันละ 1 – 2
คร้ัง ตามความจาเป็น โดยเน้นพื้นผิวแนวระนาบ (horizontal Surface) ให้เช็ดทาความสะอาดด้วย 70 % Alcohol
ห้องน้าให้ใชส้ ารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรต์ 500 ppm. (0.05%) ราดทิ้งไว้ 30 นาทีหลังจากนั้นทาความสะอาดห้องน้า
ตามปกติ สว่ นอุปกรณข์ องใชต้ ่าง ๆ ทาความสะอาดเสร็จแลว้ ใหแ้ ยกใชเ้ ฉพาะของสว่ นตัว
แนวปฏิบตั ิเพ่อื ป้องกันการแพรเ่ ชอ้ื โรคโควิดขณะฝกึ ปฏบิ ตั ิงานในโรงพยาบาลและชมุ ชน

นอกจากจะดูแลผู้ปุวยให้มีความปลอดภัยแล้ว การดูแลบุคลากรสาธารณสุขให้มีความปลอดภัย(Personnel
Safety) กม็ คี วามสาคัญมากเชน่ กัน ดังนนั้ ขอให้อาจารย์และนักศึกษาทุกคนปฏิบัติตามมาตรการปูองกันโรค โดยสถาบัน
บาราศนราดูร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ได้กาหนดแนวปฏิบัติการปูองกันและควบคุมโรคโคโรนาไวรัสสาย
พนั ธุ์ใหม่ 2019 ดังต่อไปน้ี

2.7 ปฏิบัติตามมาตรฐานการปูองกันการติดเช้ือและการแพร่กระจายเช้ือ โดยเฉพาะ Droplet และ Contact
Precautions รวมท้ัง Respiratory Hygiene and Cough Etiquette ให้นักศึกษาทุกคนใช้อุปกรณ์ปูองกันร่างกายส่วน
บคุ คล ไดแ้ ก่

- หน้ากากกรองอากาศ (surgical mask) หรือหนา้ กากผ้าทม่ี ีตัวกรองข้างใน (ใหน้ าสารองไปเผื่อกรณีต้องเปล่ียน
ขอให้นักศึกษาเตรียมหน้ากากสารองไว้ให้มีอย่างน้อยคนละ 2 ชิ้น) หรือหน้ากากกรองอนุภาค เช่น N95, N100 ขึ้นอยู่
กับอาการและอาการแสดงของผ้ปู วุ ยหรือกจิ กรรมทีท่ าหตั ถการใหผ้ ปู้ วุ ย

- กิจกรรมการพยาบาลในการดูแลผู้ปุวย หากต้องทาหัตถการท่ีเส่ียงต่อสารคัดหลั่ง เช่น การทาคลอด ให้สวม
แวน่ ปูองกันตา หรอื กระจงั กนั ใบหนา้ ถงุ มอื เสือ้ คลมุ ทปี่ อู งกันการกระเด็นของสารคัดหลงั่

- พกเจลแอลกอฮอล์ขนาดพกพาขณะฝึกภาคปฏิบัติทุกคน ทุกครั้งที่ต้องออกฝึกภาคปฏิบัติและให้หม่ันล้างมือ
บอ่ ยๆ ท้งั ก่อนและหลงั ทาหตั ถการหรอื สัมผัสกับอุปกรณ์ท่ีใชก้ บั ผูป้ ุวย

- ผ้าเช็ดมือขนาดเล็กที่สะดวกพกพา ต้องมีขนาดไม่ใหญ่จนเกินไป ควรมีขนาดประมาณ 30 * 30 cm ให้
นักศึกษาไว้ใช้ส่วนตัว กรณีที่สัมผัสสารคัดหลั่งให้ล้างมือด้วยน้ายาสบู่นาน 20 วินาที และซับให้แห้ง (ผ้าเช็ดมือให้นา
กลับมาซกั ทาความสะอาดทกุ วัน) นักศึกษาตอ้ งสารองผ้าเช็ดมือระหวา่ งฝึกอย่างน้อยคนละ 3 ผืน เพ่ือสลับใช้ในแต่ละวัน
ขณะฝึกปฏิบตั ิ เพ่อื ความเป็นสว่ นตวั และปลอดภัย

2.8 ในกิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูง ได้แก่ การช่วยพ้ืนคืนชีพ การใส่/ถอดท่อช่วยหายใจ การดูดเสมหะ หรือการ
ดแู ลผปู้ วุ ยที่มีภาวะปอดอักเสบ หรือมอี าการไอมาก ใหใ้ ชอ้ ุปกรณป์ ูองกนั รา่ งกายส่วนบคุ คล ดงั นี้

- เสอ้ื คลมุ กันน้าแขนยาวรัดขอ้ มือ (gown) และ ถงุ มอื
- หนา้ กากกรองอนุภาค เช่น N95 mask/N 100/P 100 หรือสงู กว่า
- Goggle หรอื Face Shield
- หมวกคลุมผม (ใช้ในกรณที ี่กจิ กรรมนน้ั ก่อใหเ้ กดิ ฝอยละอองขนาดเล็ก (aerosol) หรอื ผูป้ ุวยมี
อาการไอมาก

* หมายเหตุ การติดตามกากับการใช้อุปกรณ์ปูองกันร่างกายส่วนบุคคลของนักศึกษา ให้อาจารย์นิเทศช่วยดูแล ติดตาม
ช่วยเหลือนักศึกษาอย่างเคร่งครัด พร้อมทั้งเน้นให้นักศึกษาตระหนักถึงความปลอดภัยต่อผู้ปุวยและบุคลากรทุกคน
อาจารย์นิเทศคอยเป็นท่ปี รกึ ษาให้กาลงั ใจนักศกึ ษา กากับ ติดตาม ดแู ลตลอดการฝึกภาคปฏิบัติ

2.9 ใช้ระบบเพ่ือนเตือนเพื่อนคือ การจับคู่ในการปฏิบัติงาน (Buddy System) ในการปฏิบัติงาน รับฟัง คอย
ชว่ ยเหลือ ใหก้ าลงั ใจซึ่งกันและกนั แบ่งปันความรู้สกึ แกก่ นั จะชว่ ยใหส้ ามารถเผชิญกับสถานการณ์ที่ยากลาบากได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพมากขึ้น หรืออาจทางานโดยมคี ู่บดั ดก้ี นั

2.10 หากมีอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์ใดๆ เป็นเหตุให้เกิดความเสี่ยงต่อร่างกาย ให้นักศึกษาแจ้งอาจารย์นิเทศให้
รับทราบในทันที หรือรายงานเหตุการณ์ต่อพยาบาลพ่ีเลี้ยง หัวหน้าหอผู้ปุวย/หัวหน้าชุมชน ตลอดจนเจ้าหน้าที่
ประจาการในแผนกฝึก เพื่อการปอู งกันและชว่ ยเหลอื ใหเ้ หมาะสมต่อไป
แนวทางปฏบิ ตั ภิ ายหลงั ฝึกภาคปฏิบตั ิเสร็จส้นิ ในแต่ละครงั้ ใหน้ กั ศกึ ษาปฏบิ ตั ดิ งั นี้

2.11 ให้นกั ศกึ ษาล้างมอื ให้สะอาดก่อนออกจากแผนกฝึก
2.12 เกบ็ อุปกรณข์ องใช้ส่วนตัวใหเ้ ปน็ สดั สว่ นแยกระหวา่ งอปุ กรณ์การเรยี น เช่น ตารา หนังสือ รายงาน ให้แยก
เก็บออกจากอุปกรณป์ ูองกันรา่ งกายส่วนบุคคลใหเ้ รียบร้อย
2.13 ก่อนเขา้ ห้องพักให้ตรวจวัดอุณหภูมิตนเอง หากมีไข้ให้แจ้งอาจารย์ หรือรายงานพี่พยาบาลหรือเพ่ือนบัดด้ี
เพ่ือปูองกนั การแพร่เช้อื ในหอผปู้ ุวย และให้แยกพักในหอพักเพ่อื เฝาู ระวังฯ (ปฏบิ ตั ทิ ุกครั้งอยา่ งเคร่งครดั )
2.14 หากไมพ่ บความผิดปกตหิ รือไม่มีภาวะเจบ็ ปุวยใหเ้ ขา้ หอ้ งพัก โดยหลีกเล่ียงการสัมผัสกับสิ่งของเครื่องใช้ให้
มากท่ีสุด โดยให้แยกบริเวณวางอุปกรณ์ท่ีสะอาด กับพ้ืนที่วางของที่ใช้แล้ว เพื่อปูองกันการปนเป้ือน (contamination)
จากนัน้ ให้นักศึกษาอาบนา้ ทาความสะอาดรา่ งกายเปน็ อันดับแรก
2.15 เส้ือผ้าของใช้ หากมีเลือดหรือสารคัดหล่ังเปรอะเปื้อนชัดเจนให้เช็ดออกให้มากที่สุดด้วย กระดาษชาระ
แล้วใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรต์ 5,000 ppm. (0.5%) ราดทิ้งไว้ 15 นาที แล้วจึงเช็ดถูด้วยน้าผสมผงซักฟอกทา
ความสะอาดตามปกติ หลังจากเชด็ แห้งแลว้ ให้ใช้ 70% แอลกอฮอลส์ เปรย์ บริเวณทเ่ี ปือ้ นซ้าอีกคร้งั
2.16 หากเสื้อผ้ามีความสกปรกมากให้แยกท้ิงลงถังผ้าเป้ือน โดยล้างมือก่อนและหลังการสัมผัสถังผ้าเปื้อน แยก
ขยะติดเชือ้ ขยะเปยี ก ขยะแหง้ เป็นต้น
2.17 หลกี เลีย่ งการไปสถานทีแ่ ออัด รักษาระยะหา่ งทางสังคมไม่นอ้ ยกวา่ 1 – 2 เมตรในทุกท่ี ทุกเวลา
อย่างไรก็ตามมาตรการปูองกันดังกล่าวต้องขอให้นักศึกษาทุกคนปฏิบัติอย่างเคร่งครัด คานึงถึงความปลอดภัย
ของผู้ปุวยและการปูองกันตนเองในการติดเช้ือและแพร่เช้ือให้ผู้อื่น ท้ังนี้ขณะฝึกภาคปฏิบัติต้องพักในหอพักที่อาจารย์
จัดหาให้ไม่อนุญาตให้นักศึกษาออกไปพักที่อ่ืนโดยไม่ได้รับอนุญาต การเข้าออกหอพักขอให้ตัวแทนนักศึกษาช่วยกากับ
ติดตามให้นักศึกษาทุกคนทาบันทึกเข้าออกทุกครั้ง ไม่อนุญาตให้เดินทางออกนอกพื้นท่ีข้ามอาเภอ ข้ามจังหวัด ขณะฝึก
หากมีความจาเป็นต้องออกนอกพื้นท่ีฝึก ให้นักศึกษาขออนุญาตอาจารย์นิเทศประจากลุ่ม มิเช่นนั้นนักศึกษาจะไม่ได้รับ
อนุญาตให้ฝึกภาคปฏิบัติอีกต่อไป อาจารย์ที่ประจาในแหล่งฝึกขอให้กากับ ติดตามดูแลนักศึกษาอย่างใกล้ชิด และ
รายงานพฤติกรรม การฝึกต่อผู้ประสานรายวิชาปฏิบัติอย่างต่อเน่ืองประกาศให้ทราบโดยทั่วกันและขอให้ถือปฏิบัติตาม
มาตรการนี้อย่างเครง่ ครดั

ภาคผนวก ข.

ตารางการรบั – สง่ นักศึกษา
ฝึกปฏบิ ตั ิรายวิชา NURNS24 ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวยั รนุ่
นักศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ชัน้ ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 3 ปีการศึกษา 2563
ระหวา่ งวนั ที่ 5 เมษายน – 2 กรกฎาคม 2564 (13 สปั ดาห์)

ณ โรงพยาบาลสรุ าษฎร์ธานี
โดยมีคณุ ฉตั รชัย ศิริแสง เบอรโ์ ทรศัพท์ 086-9477271 เปน็ ผูต้ ดิ ตอ่ ประสานงาน

รอบที่ 1 รพ. สุราษฎร์ธานี นักศึกษา 16 คน

เดือน วนั ท่ี จานวน เวลาไป เวลากลับ จานวน สถานที่
13.00 น.
(วนั ) 14.00 น. นกั ศึกษา (คน)
07.00 น.
วันศุกร์ 1 วนั 7.00 น. 16.00 น. 56
14.00 น.
2 เมษายน 2564 07.00 น.
14.00 น.
วนั อาทิตย์ 1 วัน 07.00 น. 17.00 น. 16
7.00 น. 17.00 น. รอบที่ 1
เมษายน- 4 เมษายน 2564 14.00 น. 12.00 น.
07.00 น. 16 รพ. สุราษฎรธ์ านี
พฤษภาคม วนั จันทร์ – พฤหัสบดี 4 วนั นกั ศกึ ษา 16 คน

2564 5-8 เมษายน 2564 16

วันศกุ ร์ 1 วัน

9 เมษายน 2564

วันอาทติ ย์ 1 วัน 17.00 น. 16 เตรยี ม 1 วนั
เวรเช้า 18 วนั
18 เมษายน 2564

วนั จนั ทร์ – พฤหสั บดี 4 วนั 17.00 น. 16 รับ case 4 วัน
รวม 23 วัน
19-23 เมษายน 2564

วันอาทติ ย์ 1 วัน 17.00 น. 16

25 เมษายน 2564

วันจันทร์ – พฤหัสบดี 4 วัน 17.00 น. 16

26-29 เมษายน 2564

วันศกุ ร์ 1 วนั 12.00 น. 16

30 เมษายน 2564

วันอาทติ ย์ 1 วัน 17.00 น. 16

2 พฤษภาคม 2564

วันจันทร์ – พฤหสั บดี 4 วัน 17.00 น. 16

3-6 พฤษภาคม 2564

เดอื น วันท่ี จานวน เวลาไป เวลากลับ จานวน สถานท่ี
(วนั ) นกั ศึกษา (คน)

หมายเหตุ:
1. วันท่ี 12-16/4/64 หยุดวนั สงกรานต์ งดขึน้ ฝึกปฏบิ ตั ิทกุ แผนก
2. วันท่ี 6/4/64 วนั จกั รี และ วันท่ี 4/5/64 วันฉตั รมงคล ข้ึนฝึกปฏบิ ตั ิงานตามปกติ
3. วันศุกร์ท่ี 9 เมษายน 2564 (สัปดาห์ท่ี 1) ชว่ งบ่าย conference ward ที่ขนึ้ ฝึก
ปฏบิ ัตงิ านอยู่
4. วนั ศุกร์ ที่ 23 เมษายน 2564 (สปั ดาห์ท่ี 2) เปน็ วัน conference ทง้ั วัน โดยชว่ งเช้า
ทา ethic conference และช่วงบ่ายเปน็ วัน conference ward ทข่ี ้นึ ฝึกปฏบิ ัตงิ านอยู่
5. วนั ศุกร์ที่ 30 เมษายน 2564 (สัปดาห์ที่ 3) ช่วงบ่าย conference
6. วันศกุ ร์ ท่ี 7 พฤษภาคม 2564 (สัปดาห์ท่ี 4) เป็นวัน conference ทัง้ วนั โดยช่วงเชา้
conference ward ที่ขนึ้ ฝึกปฏิบตั งิ านอยู่ และช่วงบ่ายนาเสนอ case study

รอบท่ี 2 รพ. สรุ าษฎร์ธานี นกั ศึกษา 16 คน (ระหวา่ งวนั ท่ี 23 พฤษภาคม – 4 มถิ ุนายน 64)

เดอื น วันที่ จานวน เวลาไป เวลากลับ จานวน สถานท่ี

พฤษภาคม (วนั ) นกั ศกึ ษา (คน) รอบที่ 2
– มถิ นุ ายน รพ. สรุ าษฎร์ธานี
วนั อาทติ ย์ 1 วนั 14.00 น. 17.00 น. 16 นกั ศกึ ษา 16 คน
2564
23 พฤษภาคม 2564 เวรเชา้ 9 วัน
รับ case 2 วนั
วันจันทร์ – พฤหสั บดี 4 วนั 07.00 น. 17.00 น. 16 รวม 11 วนั

24-27 พฤษภาคม 2564

วนั ศกุ ร์ 1 วนั 7.00 น. 12.00 น. 16

28 พฤษภาคม 2564

วันอาทติ ย์ 1 วนั 14.00 น. 17.00 น. 16

30 พฤษภาคม 2564

วันจนั ทร์ – พฤหัสบดี 4 วนั 07.00 น. 17.00 น. 16

31 พฤษภาคม – 3

มิถุนายน 2564

หมายเหตุ:

1. วนั ที่ 26 พฤษภาคม 64 วนั วสิ าขะบูชา และวนั ที่ 3 มถิ ุนายน 64 วนั เฉลิมพระชน

พรรษาพระราชนิ ี ขน้ึ ฝกึ ปฏิบัติงานตามปกติ

2. วนั ศุกรท์ ่ี 28 พฤษภาคม 2564 ช่วงบ่าย conference

3. วันศุกร์ ท่ี 4 มถิ ุนายน 2564 เปน็ วนั conference ทงั้ วัน โดยชว่ งเช้า conference

ward ท่ีขนึ้ ฝึกปฏบิ ตั งิ านอยู่ และชว่ งบ่ายนาเสนอ case study

รอบท่ี 3 รพ. สรุ าษฎร์ธานี นกั ศกึ ษา 24 คน

เดือน วันที่ จานวน เวลาไป เวลากลบั จานวน สถานท่ี

(วัน) นกั ศกึ ษา (คน) รอบท่ี 3
รพ. สรุ าษฎร์ธานี
วนั อาทิตย์ 1 วัน 14.00 น. 17.00 น. 24 นักศกึ ษา 24 คน
เวรเชา้ 18 วัน
6 มถิ นุ ายน 2564 รบั case 4 วนั

วันจันทร์ – พฤหสั บดี 4 วัน 07.00 น. 17.00 น. 24 รวม 22 วนั

7-10 มิถนุ ายน 2564

วันศกุ ร์ 1 วัน 7.00 น. 12.00 น. 24

11 มิถุนายน 2564

วันอาทติ ย์ 1 วัน 14.00 น. 17.00 น. 24

13 มิถนุ ายน 2564

วนั จนั ทร์ – พฤหัสบดี 4 วนั 07.00 น. 17.00 น. 24

มถิ นุ ายน – 14-17 มิถุนายน 2564 1 วนั 14.00 น. 17.00 น. 24
กรกฎาคม วันอาทติ ย์ 4 วัน 07.00 น. 17.00 น. 24

2564 20 มถิ นุ ายน 2564
วนั จนั ทร์ – พฤหัสบดี

21-24 มถิ นุ ายน 2564

วนั ศกุ ร์ 1 วัน 7.00 น. 12.00 น. 24

25 มิถุนายน 2564

วันอาทิตย์ 1 วนั 14.00 น. 17.00 น. 24

27 มถิ นุ ายน 2564

วันจนั ทร์ – พฤหสั บดี 4 วนั 07.00 น. 17.00 น. 24

28 มิถุนายน-1 กรกฎาคม

2564

หมายเหตุ:

1. วนั ศกุ ร์ท่ี 11 มิถุนายน 2564 (สัปดาหท์ ่ี 1) ชว่ งบา่ ย conference ward ทข่ี น้ึ ฝกึ

ปฏบิ ตั ิงานอยู่

2. วนั ศุกร์ ที่ 18 มิถนุ ายน 2564 (สปั ดาหท์ ี่ 2) เป็นวัน conference ทงั้ วัน โดยช่วงเช้า

ทา ethic conference และช่วงบา่ ยเปน็ วนั conference ward ท่ีขึ้นฝึกปฏบิ ตั ิงานอยู่

3. วันศกุ รท์ ่ี 25 มถิ นุ ายน 2564 (สปั ดาห์ท่ี 3) ช่วงบา่ ย conference

4. วันศกุ ร์ ที่ 2 กรกฎาคม 2564 (สปั ดาห์ท่ี 4) เปน็ วัน conference ท้ังวนั โดยช่วงเช้า

conference ward ท่ีขึน้ ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านอยู่ และชว่ งบา่ ยนาเสนอ case study

รวมวนั รบั -สง่ รพ.สุราษฎร์ธานี เทา่ กับ 56 วนั
อาจารยศ์ มิ าภรณ์ พวงสวุ รรณ (061-1419995)

อาจารย์สุมณฑา โพธิบุตร (095-4145293)
อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์

ตารางการรบั – สง่ นกั ศึกษา
ฝกึ ปฏบิ ัติรายวิชา NURNS24 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลเด็กและวยั รุ่น
นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ชน้ั ปที ่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563

ระหว่างวันท่ี 4 เมษายน ถงึ 3 กรกฎาคม 2564
ณ โรงพยาบาลวชิระภเู ก็ต จังหวดั ภเู กต็

โดยมีคณุ ฉัตรชยั ศริ ิแสง เป็นผตู้ ดิ ตอ่ ประสานงาน เบอร์โทรศพั ท์ 086-9477271

รอบที่ 1 รพ.วชิระภเู กต็ นกั ศกึ ษา 22 คน

เดนิ ทางไป – กลบั ม.ราชภัฏสุราษฎรธ์ านี – แหล่งฝกึ จ.ภเู ก็ต

เดอื น วนั ที่ จานวน เวลาไป เวลา จานวน จานวน สถานที่
(วัน) กลบั อาจารย์ นกั ศึกษา
(คน)
(คน)

วันอาทิตย์ 4 เมษายน 1 วนั 10.00 น. - - 22 ม.ราชภัฏ

2564 สุราษฎร์ธานี – ที่

พักนักศกึ ษาและที่

พกั อาจารย์

วนั เสาร์ 10 เมษายน 1 วนั 10.00 น. - 22 ทพี่ กั นักศึกษาและ

2564 ทพี่ ักอาจารย์-ม.

ราชภัฏ

เมษายน สุราษฎร์ธานี

2564 วนั เสาร์ 17 เมษายน 1 วัน 10.00 น. - 22 ม.ราชภัฏ

2564 สุราษฎรธ์ านี – ท่ี

พกั นักศึกษาและท่ี

พักอาจารย์

วนั เสาร์ 8 พฤษภาคม 1 วัน 10.00 น. - 22 ทพี่ กั นักศึกษาและ
2564 ทพ่ี ักอาจารย์-ม.

ราชภัฏ

สรุ าษฎรธ์ านี

รอบที่ 2 รพ.วชิระภเู ก็ต วันที่ 10 พฤษภาคม ถงึ 5 มถิ นุ ายน 64 นกั ศึกษา 32 คน

เดนิ ทางไป – กลบั ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี – แหลง่ ฝึก จ.ภูเก็ต

เดอื น วันท่ี จานวน เวลาไป เวลา จานวน จานวน สถานที่
(วนั ) กลบั อาจารย์ นกั ศกึ ษา
พฤษภาคม (คน) ม.ราชภฏั
– มิถนุ ายน (คน) สุราษฎร์ธานี – ที่
พกั นักศึกษาและท่ี
2564 วนั จันทร์ 10 1 วัน 10.00 น. - - 32
พกั อาจารย์
พฤษภาคม 2564 ทพี่ ักนักศึกษาและ
ทพ่ี ักอาจารย์-ม.
วันเสาร์ 22 1 วัน 10.00 น. - 16
ราชภัฏ
พฤษภาคม 2564 สุราษฎร์ธานี

วันเสาร์ 5 มิถุนายน 1 วัน 10.00 น. - 16 ทพ่ี ักนักศึกษาและ
2564 ที่พักอาจารย์-ม.
ราชภฏั
สรุ าษฎรธ์ านี

รอบที่ 3 รพ.วชริ ะภูเกต็ 6 มถิ ุนายน ถงึ 3 กรกฎาคม 64 นกั ศกึ ษา 14 คน

เดินทางไป – กลบั ม.ราชภัฏสุราษฎร์ธานี – แหล่งฝกึ จ.ภเู ก็ต

เดือน วันท่ี จานวน เวลาไป เวลา จานวน จานวน สถานที่
(วัน) กลบั อาจารย์ นักศกึ ษา
(คน) ม.ราชภฏั
(คน) สรุ าษฎร์ธานี – ท่ี
พกั นักศกึ ษาและ
วนั อาทิตย์ 6 มิถุนายน 1 วนั 10.00 น. - - 14
ทพ่ี ักอาจารย์
2564 ทพ่ี ักนักศึกษา

วันเสาร์ 3 กรกฎาคม 1 วัน 10.00 น. - 14 และที่พัก
2564 1 วัน อาจารย์-ม.ราช
มิถนุ ายน-
กรกฎคม ภัฏ
2564 สรุ าษฎร์ธานี
ทพี่ ักนักศึกษา
วนั เสาร์ 5 มิถนุ ายน 10.00 น. - 16 และท่ีพกั
2564 อาจารย์-ม.ราช

ภัฏ
สุราษฎรธ์ านี

รวมวันรบั -สง่ รพ.วชริ ะภูเก็ต เทา่ กบั 10 วัน
อาจารยส์ ุพัตรา ลักษณะจนั ทร์ (091-8790074)

อาจารยจ์ ฬุ าลกั ษณ์ แกว้ สุก (081-8116167)
อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์


Click to View FlipBook Version