The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มคู่มือ วิชาปฏิบัติ 3-2563 29 มีนาคม 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by simaporn.pua, 2021-03-30 00:27:37

เล่มคู่มือ วิชาปฏิบัติ 3-2563 29 มีนาคม 64

เล่มคู่มือ วิชาปฏิบัติ 3-2563 29 มีนาคม 64

คู่มือการสอนภาคปฏบิ ตั ิ

รายวชิ า NURNS24 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รุ่น
(Pediatric and Adolescence Nursing Practicum)

จานวน 3 หน่วยกติ 3(0-9-3)

ภาคการศึกษาที่ 3 ปี การศึกษา 2563
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสุราษฎร์ธานี

คานา

คู่มือเล่มน้ีคณาจารยส์ าขาการพยาบาลเด็กและวยั รุ่นไดจ้ ดั ทาข้ึนเพ่ือเป็ นเอกสารประกอบการสอน
และการประเมินผลในรายวิชา NURNS24 ปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวยั รุ่น สาหรับนกั ศึกษาพยาบาลปี ท่ี 3
ท่ีข้ึนฝึ กปฏิบตั ิงานบนหอผูป้ ่ วยกุมารเวชกรรม เน้ือหาสาระที่ปรากฏอยู่ในคู่มือเล่มน้ีจะช่วยให้อาจารย์
อาจารยพ์ ิเศษสอนภาคปฏิบตั ิ และนักศึกษาเขา้ ใจถึงลกั ษณะรายวิชา วตั ถุประสงค์และการประเมินผล
รายวชิ าไดถ้ ูกตอ้ งเป็นลาดบั ข้นั ตอนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

คณาจารยส์ าขาการพยาบาลเดก็ และวยั รุ่น
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฏร์ธานี

มีนาคม 2564

สารบัญ

เรื่อง หน้า

1. รายละเอียดของรายวชิ า (มคอ. 4) 2

2. กาหนดการปฐมนิเทศรายวชิ าและแหล่งฝึก 24

3. ตารางการฝึกปฏิบตั ิรายวชิ าปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวยั รุ่น 31

4. บริบทหอผปู้ ่ วย โรคที่พบบ่อยและการเตรียมตวั ก่อนฝึ กปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวยั รุ่น 41

5. แบบฟอรมต์ า่ งๆ ท่ีใชใ้ นการฝึกภาคปฏิบตั ิ

5.1 รายงานการวางแผนการพยาบาล (Nursing care plan) บ.01

5.2 รายงานการวางแผนการพยาบาลประจาวนั (Daily Care Plan) บ.02

5.3 รายงานการประเมินการเจริญเติบโต พฒั นาการ และการไดร้ ับวคั ซีน บ.03

5.4 รายละเอียดการนาเสนอกรณีศึกษา บ.04

5.5 ข้นั ตอนการประชุมปรึกษาประเดน็ จริยธรรมทางการพยาบาลเด็ก (Ethical conference) บ.05

6. แบบประเมินท่ีใชใ้ นรายวชิ าปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กและวยั รุ่น

6.1 แบบประเมินผลการฝึกปฏิบตั ิการพยาบาล พยบ.001

6.2 แบบประเมินผลรายงานการวางแผนการพยาบาล พยบ.002

6.3 แบบประเมินผลรายงานการประเมินการเจริญเติบโต พฒั นาการ และการไดร้ ับวคั ซีน พยบ.003

6.4 แบบประเมินผลรายงานกรณีศึกษา พยบ.004

6.5 แบบประเมินผลการนาเสนอผลการศึกษากรณีศึกษา พยบ.005

6.6 แบบประเมินการประชุมปรึกษาทางการพยาบาล (Nursing Care conference) พยบ.006

ภาคผนวก ก. มาตรการปูองกนั โรคเพ่ือปูองกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ – 19 53

ภาคผนวก ข. ตารางรับ-ส่งนกั ศึกษา

1

มคอ.4
รายละเอยี ดของประสบการณ์ภาคสนาม
หลักสูตรพยาบาลศาสตรบณั ฑติ หลกั สตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2561

สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์

รายวชิ า
(NURNS24 ปฏบิ ัติการพยาบาลเด็กและวัยรนุ่ )
(Pediatric and Adolescence Nursing Practicum)

(ประจาภาคเรียนท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563)

2

รายละเอียดของประสบการณภ์ าคสนาม

ช่ือสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั สรุ าษฎรธ์ านี

วิทยาเขต/คณะ/ คณะพยาบาลศาสตร์

หมวดท่ี 1 ข้อมูลทว่ั ไป

1. รหสั และชื่อรายวชิ า

NURNS24 ปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

Pediatric and Adolescence Nursing Practicum

2. จานวนหน่วยกติ หรือจานวนชัว่ โมง

3(0-9-3)

3. หลักสตู รและประเภทของรายวชิ า

หลักสตู ร พยาบาลศาสตรบัณฑิต

ประเภทของรายวิชา วชิ าบงั คับในหมวดวชิ าชีพเฉพาะ กลมุ่ วชิ าชพี การพยาบาล

4. อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบรายวิชา / อาจารยท์ ่ีปรึกษาการฝึกประสบการณภ์ าคสนาม

การรว่ ม ชือ่ -สกุล วฒุ กิ ารศึกษาสูงสดุ ประสบการณ์ แหลง่ ฝกึ ประสบการณ์ ชัว่ โมง
รบั ผดิ ชอบ การสอนในสาขาที่ ภาคสนาม นิเทศ
350
เกยี่ วขอ้ ง (ป)ี 350

ผรู้ ับผดิ ชอบ อ.ศมิ าภรณ์ พวงสุวรรณ/อ. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต รพ.สุราษฎร์ธานี และ 350

รายวชิ า สุพัตรา ลกั ษณะจันทร์ (เภสชั วิทยา) 5 / 2 รพ.วชิระภเู ก็ต 350
/พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑิต
350
(จติ วิทยาพัฒนาการ)
350
อาจารย์นเิ ทศ ดร. กชณภิ า ผลพฤกษ์ Doctor of philosophy 10 รพ.สุราษฎร์ธานี และ
(Nursing) รพ.วชริ ะภเู กต็ 350

อาจารยน์ ิเทศ อ.สมุ ณฑา โพธิบุตร พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ 6 รพ.สรุ าษฎร์ธานี และ
(การพยาบาลเด็ก) รพ.วชริ ะภูเก็ต

อาจารย์นเิ ทศ อ.จุฬาลักษณ์ แกว้ สุก พยาบาลศาสตรมหาบณั ฑติ 5 รพ.สรุ าษฎร์ธานี และ
(การพยาบาลเดก็ ) รพ.วชิระภเู ก็ต

อาจารย์นิเทศ อ.สพุ ัตรา สกั ษณะจนั ทร์ พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต 2 รพ.สรุ าษฎรธ์ านี และ
(จติ วิทยาพัฒนาการ) รพ.วชิระภูเกต็

อาจารย์นเิ ทศ อ.ชนานันท์ โพธิข์ วาง ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ (การ 10 รพ.สรุ าษฎรธ์ านี และ

บรกิ ารฟืน้ ฟูสมรรถภาพคน รพ.วชิระภูเกต็

พิการ)

ชอ่ื อาจารย์ ดร.กชณภิ า ผลพฤกษ์

ขอ้ มลู การติดต่อ โทรศัพท์ 080-3274212 E-mail [email protected]

ชอ่ื อาจารย์ อาจารยช์ นานันท์ โพธขิ์ วาง

3

ข้อมลู การติดตอ่ โทรศพั ท์ E-mail [email protected]
ชื่ออาจารย์ อาจารย์สมุ ณฑา โพธบิ ตุ ร
ข้อมูลการตดิ ต่อ โทรศพั ท์ 095-4145293 E-mail [email protected]
ช่อื อาจารย์ อาจารยจ์ ฬุ าลกั ษณ์ แก้วสกุ
ขอ้ มูลการติดต่อ โทรศพั ท์ 081-8116167 E-mail [email protected]
ชื่ออาจารย์ อาจารย์สพุ ตั รา ลกั ษณะจันทร์
ข้อมูลการติดต่อ โทรศพั ท์ 091-879-0074 E-mail [email protected]
ช่ืออาจารย์ อาจารย์ศิมาภรณ์ พวงสุวรรณ
ขอ้ มูลการตดิ ต่อ โทรศพั ท์ 061-1419995 E-mail [email protected]

5. ภาคการศกึ ษา / ช้ันปีที่กาหนดใหม้ กี ารฝกึ ประสบการณ์ภาคสนามตามแผนการศึกษาของหลกั สูตร
ภาคการเรียนท่ี 3 /ชั้นปีท่ี 3

6. รายวชิ าทตี่ อ้ งเรียนมาก่อน (Pre-requisite)
ไม่มี

7. รายวิชาที่ตอ้ งเรียนพรอ้ มกัน (Co- requisite)
ไม่มี

8. สถานที่เรยี น
โรงพยาบาลวชริ ะภูเกต็ โรงพยาบาลสรุ าษฎรธ์ านี และคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสรุ าษฎร์ธานี

9. วนั ทจี่ ัดทาหรอื ปรบั ปรุงรายละเอียดของรายวิชาประสบการณ์ภาคสนามครัง้ ล่าสดุ
19 มีนาคม 2564

หมวดที่ 2 จดุ มงุ่ หมายและวัตถปุ ระสงค์

1. จดุ ม่งุ หมายของประสบการณภ์ าคสนาม
เม่อื สน้ิ สดุ การฝกึ ประสบการณภ์ าคสนาม นกั ศึกษาสามารถ
1. ประเมินภาวะสุขภาพเด็กทารกปกติ ทารกคลอดก่อนกาหนด เดก็ และวยั รนุ่ ท่ีมคี วามผดิ ปกตขิ องระบบ

ตา่ ง ๆ ใหค้ รอบคลมุ ด้านกาย จติ ใจ อารมณ์ สงั คม และจติ วิญญาณได้
2. วางแผนการพยาบาลเด็กทารกปกติ ทารกคลอดก่อนกาหนด เด็กและวัยรุ่นที่มีความผิดปกติของระบบต่าง

ๆ และครอบครัวได้อย่างครอบคลุมทุกระดับปัญหาสุขภาพ โดยประยุกต์ความรู้ด้านทฤษฎีการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น
และศาสตร์ทีเ่ กี่ยวข้อง

3. ฝึกปฏิบัติการพยาบาล การดแู ลรักษา การฟน้ื ฟสู ภาพ การปูองกันโรค และการสร้างเสริมสุขภาพ แก่ทารก
ปกติ ทารกคลอดกอ่ นกาหนด และเด็กและวัยรนุ่ ท่ีมีความผิดปกติของระบบต่างๆ ท้ังในระยะเฉียบพลัน และเร้ือรัง ให้
ครอบคลุมด้านกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และจิตวิญญาณได้ โดยใช้กระบวนการพยาบาล และประยุกต์ใช้ทรัพยากร
เทคโนโลยี ภูมิปัญญาท้องถ่ินในการดูแลผู้ปุวยเด็กและวัยรุ่น เน้นการดูแลด้วยหัวใจเพื่อเพ่ือนมนุษย์ คานึงถึงความ

4

ตอ้ งการของเด็กและครอบครัว ใหค้ รอบครวั เป็นศูนย์กลางและมีส่วนร่วมในการดแู ลเดก็ และวัยร่นุ

4. ประเมินผลการพยาบาลเด็กและวัยรุ่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และมีการนาผลการประเมินมาปรับปรุง

แผนการพยาบาลและการปฏิบตั กิ ารพยาบาลอยา่ งตอ่ เนื่อง

2. วัตถุประสงคข์ องการพฒั นาหรอื ปรับปรุงประสบการณ์ภาคสนาม

วตั ถปุ ระสงค์ รายละเอยี ดทีป่ รบั ปรุง ผรู้ บั ผดิ ชอบ

1. เพอ่ื ปรับแผนการฝกึ 1. ชว่ งเวลาการฝกึ ปฏบิ ตั เิ ป็นชว่ งเวลาเดยี วกันของการฝึกของวิทยาลยั พยาบาลสุ อาจารย์นเิ ทศ

ภาคปฏิบตั ิไม่ให้แหลง่ ฝกึ ราษฎร์ธานแี ละมหาวิทยาลัยวลยั ลักษณ์ ในแหล่งฝึกของโรงพยาบาลสรุ าษฎร์ธานี

ซา้ ซอ้ นกบั สถาบันอ่นื ๆ ประชมุ หารอื กบั วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรุ าษฎร์ธานี และมหาวิทยาลัย

วลัยลกั ษณ์ เพื่อปรบั แผนการข้นึ ฝกึ ปฏิบตั ิใหไ้ มต่ รงกันในการฝกึ รายวิชาทต่ี อ้ งผ่าน

ประสบการณ์ภาคสนามเหมือนกนั

2. เพอื่ พฒั นาความพร้อมทง้ั 2.1 เตรยี มความรู้และทักษะก่อนและขณะข้นึ ฝึกปฏบิ ัติ อาจารยน์ เิ ทศ

ดา้ นความรู้ และทกั ษะการ มีการเตรียมตัวก่อนข้ึนฝึกปฏิบัติ โดยจัดให้มีการเตรียมความพร้อมของ

ฝึกภาคปฏบิ ตั ิของนกั ศึกษา นักศกึ ษาเปน็ ระยะๆ ตั้งแต่เรียนวิชาทฤษฎี พัฒนารูปแบบของกิจกรรมการเตรียม

ความพร้อมก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติงานโดยการฝึกทักษะที่จาเป็นในการฝึกปฏิบัติการ

พยาบาลเด็กและวัยรุ่น จัดให้มีคู่มือการฝึกปฏิบัติประจาหอผู้ปุวย และจัดให้

นักศึกษามกี ารสง่ ต่อข้อมลู เมอื่ มกี ารเปลยี่ นกลมุ่ กอ่ นไปหอผูป้ วุ ยใหม่

2.2 ตาราเอกสารที่ใช้ในการเรียนยังมีไม่เพียงพอกับจานวนนักศึกษา ทาให้การ

ค้นคว้า และการอ้างอิงเอกสาร ไม่กว้างขวางและทันสมัย รายงานไม่ได้คุณภาพ

ตามเกณฑ์ ปรับปรุงโดยการวางแผนจัดซื้อหนังสือ/ตาราท่ีทันสมัยให้เพียงพอแก่

จานวนนกั ศึกษา

2.3 ภาระงานในหอผู้ปุวยมมี าก ทาใหน้ กั ศกึ ษาปฏิบตั ิงานโดยไมม่ ีเวลาของการ

Pre-post Conference ปรบั ปรุงโดยกาหนดประสบการณ์การเรยี นรู้ในแตล่ ะ

แหลง่ ฝึก และกาหนดเรอื่ งทที่ า Nursing care conference อยา่ งชดั เจน

3. เพอ่ื พัฒนาการประเมินผล 3. การประเมินผลการฝึกภาคปฏิบัติในรายวิชาไม่เหมาะสมกับระยะเวลาที่ อาจารย์นิเทศ

การฝึกภาคปฏบิ ตั ิ ให้ นักศกึ ษาข้ึนฝึกปฏิบตั ิ และทักษะการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเด็กบางทักษะไม่สามารถ

สามารถประเมนิ ทักษะการ ปฏิบัติได้ตามที่กาหนดไว้ ปรับปรุงการประเมินผลการฝึกภาคปฏิบัติในรายวิชา

ปฏิบตั ิการพยาบาลเด็กให้ โดยปรับการประเมนิ ผลชน้ิ งานให้เหมาะสมกับระยะเวลาในการฝึกปฏบิ ตั ิงาน และ

บรรลผุ ลการเรยี นรขู้ อง การประเมินทักษะ ปรับปรุงโดยกาหนดจานวนครั้งที่ควรได้รับ ให้สอดคล้องกับ

รายวิชาและสอดคล้องกับ สถานการณ์จรงิ เมือ่ ขน้ึ ฝึกปฏิบัติ

สถานการณ์

4. เพื่อปรับชว่ งเวลาให้ 4. นักศกึ ษาตอ้ งใช้เวลาเดินทางไปกลบั ระหว่างแหลง่ ฝกึ กับมหาวทิ ยาลัยซึง่ ต้องใช้ อาจารยน์ ิเทศ

เหมาะสมตอ่ การเรียนรู้ของ เวลา และการฝึกงานตลอดทัง้ 5 วนั ใน 1 สปั ดาห์ ทาให้นักศึกษามเี วลาไมเ่ พียงพอ

นักศกึ ษาสาหรบั การฝึกวชิ า ในการศึกษาค้นควา้ เอกสาร ตาราเพม่ิ เตมิ และเกดิ ความเหนอื่ ยล้า จงึ ปรบั ให้มี

ปฏบิ ัติ การ Conference ในวนั ศุกร์บา่ ยทกุ สัปดาห์ของการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

5. เพือ่ เตรยี มความพร้อมใน 5. มีการเตรยี มความพรอ้ มในการปอู งกนั ตนเองจากเชอ้ื ไวรสั โคโรนาให้แก่ อาจารย์นิเทศ
การปอู งกนั ตนเองจากเชือ้ นกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่

5

ไวรสั โคโรนา 5.1 เตรยี มความพร้อมดา้ นความร้ใู นการปอู งกันการตดิ เชื้อ
5.2 คณะจดั ซ้อื อปุ กรณป์ ูองกัน ได้แก่ Face shield, Mask และแอลกอฮอล์
สาหรบั ลา้ งมอื ให้แก่อาจารย์และนักศึกษาในชว่ งขน้ึ ฝกึ ปฏบิ ตั ิงาน
5.3 สร้างมาตรการในการปฏบิ ตั ิตวั ของนักศกึ ษาขณะขึน้ ฝกึ ปฏิบตั ิงานทหี่ อ
ผูป้ ุวย ขณะเดนิ ทาง และขณะอยทู่ พ่ี ัก

การนาผลการประเมินมาปรับปรุงในปีการศกึ ษา 2563

ผลการประเมนิ ขอ้ เสนอแนะ การปรบั ปรุง
เทอม 1 ปกี ารศึกษา 2563 ในเทอม 1 ปีการศึกษา 2563 ในเทอม 3 ปกี ารศกึ ษา 2563

คู่มือฝึกปฏิบัติมีรายละเอียดเน้ือหา ปรับปรุงคู่มือฝึกปฏิบัติให้เหมาะสม จัดทาคู่มือฝกึ ปฏิบัติท่ีกระชบั ใน

ค่อนขา้ งเยอะ กระชับ มากข้ึน และจัดทา E-book รปู แบบของ E-book และมแี บบฟอร์ม

อพั โหลดให้นกั ศกึ ษาทางออนไลน์ ตา่ งๆให้ใน SRU HiPerC ของ

มหาวทิ ยาลยั

ให้มีการประเมินหลังการเตรียม อาจารย์ผู้เตรียมความพร้อมในแต่ละ จัดให้มีการประเมินและสะท้อนคิด

ความพร้อมด้านความรู้ก่อนขึ้นฝึก ฐานประเมินและสะท้อนคิดหลังการ หลังการเตรียมความพร้อมด้านความรู้

ปฏบิ ัติ เตรียมความพร้อมด้านความรู้และ และส่งผลการประเมินนักศึกษาให้

สง่ ผลการประเมนิ นักศกึ ษาให้ อาจารย์ อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติประจากลุ่ม

ผสู้ อนภาคปฏิบัตปิ ระจากลุ่ม เพื่อใช้ใน เ พ่ื อ ใ ช้ ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ส อ น

การวางแผนการสอนภาคปฏิบัติ ให้ ภาคปฏิบัติ ให้เหมาะสมกับนักศึกษา

เหมาะสมกับนักศึกษาในแต่ละราย ในแตล่ ะราย

อุ ป ก ร ณ์ ใ น ก า ร ฝึ ก ทั ก ษ ะ ก า ร จัดเตรียมอุปกรณ์ในการฝึกทักษะการ วางแผนและจัดซื้ออุปกรณ์สาหรับการ

พยาบาลเด็กและวัยรุ่นไม่เพียงพอ พยาบาลเด็กและวัยรุ่นให้เพียงพอต่อ ฝึกทักษะการพยาบาลเดก็ และวัยรุ่นให้

และอยากให้เพ่ิมชั่วโมงการเตรียม จานวนนักศึกษาและเพิ่มชั่วโมงการ เพียงพอและจัดให้มีการเตรียมความ

ความพร้อมก่อนขึ้นฝึกปฏิบัติงาน เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ก่ อ น ขึ้ น ฝึ ก พร้อมโดยใช้ชั่วโมงการศึกษาด้วย

บนหอผู้ปุวย ปฏิบตั ิงานบนหอผปู้ ุวย ตนเองในรายวชิ าทฤษฎี

แ บ บ ฟ อ ร์ ม ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ควรปรับแบบฟอร์มการวางแผนการ ดาเนินการปรับแบบฟอร์มการวาง

พยาบาลเนื้อหาและรายละเอียดใน พยาบาลใหก้ ระชับ แผนการพยาบาลใหก้ ระชบั

ส่วนต่างๆ คอ่ นข้างเยอะ

เวลาในการ Conference น้อย เพ่ิมเวลาในการ Conference ให้มาก จ า ก เ ดิ ม ใ น ปี ที่ ผ่ า น ม า มี ก า ร
เกนิ ไป ข้นึ Conference ในวันศุกร์ สัปดาห์ที่ 2
และ 4 ของการฝึกปฏิบัติ ปรับให้มี
การ Conference ทุกวันศุกร์บ่ายของ
การฝึกปฏิบตั ิ

6

งานกลุ่มในส่วนกรณีศึกษา (case ควรปรับลดรายงานการวิเคราะห์ งานกลุ่มในส่วนกรณีศึกษา (case

study) ค่ อ น ข้ า ง เ ย อ ะ เ มื่ อ กรณีศึกษาลง แต่เพ่ิมการเรียนรู้ study) ให้นกั ศึกษานาเสนองานโดยใช้

เปรียบเทียบกับระยะเวลาที่ฝึก กรณีศึกษาให้มากขึ้นในระยะเวลาการ Mind Map ตัดในส่วนรายงานออก

ปฏิบัติ ฝกึ ทีป่ รบั ลดลง และกาหนดระยะเวลาในการส่งงาน

และตดิ ตามงานอยา่ งชดั เจน

อยากให้พยาบาลประจาหอผู้ปุวย ควรจัดให้มีการนาเสนอ Case study วางแผนและเตรียมเชิญพยาบาล

ได้ร่วมเสนอแนะหรือแสดงความ ร่วมกับหอผู้ปุวย เพราะนักศึกษาจะ วิชาชพี ประจาหอผปู้ วุ ย ร่วมเสนอแนะ

คิดเห็น ตอนที่ มีการนาเสน อ ไดร้ ับประสบการณ์ตรงจากผู้เชี่ยวชาญ หรือแสดงความคิดเห็น ตอนที่มีการ

กรณีศึกษา (Case study) และได้มุมมองที่หลากหลายมากข้ึนใน นาเสนอกรณีศกึ ษา (Case study)

การใหก้ ารพยาบาลเดก็ และวัยรนุ่

การประเมนิ ของแหลง่ ฝึก

อยากให้เพ่ิมเวลาในการขึ้นฝึก การข้ึนฝึกปฏิบัติในแต่ละหอผู้ปุวย เน่ืองจากข้อจากัดของช่ัวโมงในการ

ปฏบิ ตั แิ ต่ละหอผูป้ ุวย อยา่ งน้อยหอผูป้ วุ ยละ 2 สัปดาห์ จัดการเรียนสอน จึงไม่สามารถจัดให้

นักศึกษาข้ึนฝึกปฏิบัติหอผู้ปุวยละ 2

สปั ดาหไ์ ด้

หมวดที่ 3 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนกั ศึกษา

การพัฒนาผลการเรียนรใู้ นมาตรฐานผลการเรียนรูแ้ ต่ละดา้ นทม่ี ุ่งหวงั ซึ่งต้องสอดคลอ้ งกับทร่ี ะบุไวใ้ น
รายละเอียดของหลักสูตร (แบบ มคอ.2) โดยมาตรฐานการเรียนรูแ้ ตล่ ะดา้ น ใหแ้ สดงข้อมูลตอ่ ไปน้ี

มาตรฐานการเรียนรู้ วธิ กี ารสอน วธิ ีการประเมนิ ผล
(แตล่ ะด้าน)
1. แบบประเมิน ethics
1. คุณธรรม จรยิ ธรรม conference
2. แบบประเมินผลการ
1.1 มีความซอื่ สตั ย์ มีวินยั ในตนเอง ตรง 1. ethics conference ฝึกปฏิบัติงานตามแบบฟอร์ม
(พยบ.001)
ตอ่ เวลา และบริหารเวลาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม 2. สอดแทรกคณุ ธรรม จริยธรรม 3. แบบบนั ทกึ การลงเวลา
ปฏบิ ตั งิ าน
1.2 มคี วามรบั ผิดชอบ มคี วามอดทนอด ในขณะฝึกปฏิบตั ิงาน ไดแ้ ก่ การ 4. แบบประเมินรายงาน
การวางแผนการพยาบาล
กลน้ั ขยันหมน่ั เพียร เคารพกฎระเบยี บของ ประชุมปรกึ ษาก่อนและหลงั การ

สงั คม ปฏิบตั ิงาน (pre - post

1.3 สามารถใชด้ ุลยพินจิ ในการจัดการ conference) การตรวจเย่ียม

ประเดน็ หรอื ปัญหาทางจริยธรรม ทางการพยาบาล (nursing round)

1.6 แสดงออกถึงการมีทศั นคติที่ดตี ่อวิชาชพี การประชุมปรึกษาปัญหาทางการ

การพยาบาล ตระหนักในคณุ คา่ และสทิ ธขิ อง พยาบาล (nursing care

พยาบาล conference) และการรว่ มสะท้อน

มาตรฐานการเรียนรู้ วิธีการสอน 7
(แตล่ ะดา้ น) คดิ การเรียนรู้ (reflective)
วิธกี ารประเมนิ ผล

2. ความรู้

2.1 มคี วามร้แู ละความเข้าใจในสาระสาคัญ 1.การประชมุ ปรึกษาทางการ 1. แบบประเมินผลรายงาน

ของศาสตร์ด้านการพยาบาลเด็กและศาสตร์ พยาบาล (Nursing case การวางแผนการพยาบาล

ทีเ่ ก่ยี วข้องทสี่ ง่ เสริมทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 conference) (พยบ.002)

ไดแ้ ก่ พัฒนาการและการเจริญเตบิ โต 2.การสอนขา้ งเตยี ง (Bed side 2. แบบประเมินการประชุม

ธรรมชาตขิ องเด็ก ความแตกต่างระหว่างเด็ก teaching) ปรึกษาทางการพยาบาล

และผู้ใหญ่ การดูแลส่งเสรมิ สุขภาพเด็กในแต่ 3.การตรวจเย่ยี มทางการพยาบาล (พยบ.006)

ละวัย (Nursing round) 3. แบบประเมินการ

2.2 มคี วามร้แู ละความเข้าใจใน 4.การประชมุ ปรกึ ษาก่อนและหลงั เจริญเติบโต พัฒนาการและ

สาระสาคญั ของการพยาบาลทารกคลอด การปฏิบตั งิ าน (pre - post การได้รบั วัคซีน (พยบ.003)

ก่อนกาหนดและทารกแรกคลอดท่ีมปี ญั หา conference) 4. แบบประเมินการนาเสนอ

สุขภาพ ผ้ปู ่วยเด็กและวยั รุ่นทม่ี ีความ 5. การมอบหมายงาน(Assignment) กรณีศึกษา (พยบ.005)

ผดิ ปกติในระบบต่างๆ ได้แก่ ระบบทางเดิน 5.1 รายบคุ คล 5. แบบทดสอบความรกู้ ่อน

หายใจ ระบบหัวใจและไหลเวยี นเลอื ด 5.1.1 ให้การดูแลผู้ปุวย 1 คน/ และหลงั การฝึกปฏบิ ตั ทิ างการ

ระบบโลหิต ระบบทางเดินอาหาร ระบบ สัปดาห์ (อย่างน้อย 3 วัน) พยาบาล

ทางเดนิ ปสั สาวะ และระบบประสาท ท้ังใน 5.1.2 เขียนรายงานแผนการ

ภาวะเฉียบพลนั และเร้ือรัง พยาบาลฉบบั สมบรู ณ์ (nursing

2.3 มคี วามร้แู ละความเข้าใจในระบบ care plan) 1 ฉบับ/สปั ดาห์

สุขภาพของประเทศและปัจจัยที่มผี ลต่อ (สง่ เพื่อติดตามความก้าวหนา้

ระบบสุขภาพ ได้แก่ แผนการใหภ้ มู คิ ุ้มกนั ใน ทกุ วัน)

เด็ก 5.1.3 เขยี นรายงานการวาง

2.4 มีความรู้และตระหนักในงานวิจยั แผนการพยาบาลประจาวัน (daily

ทางการพยาบาลทเี่ ป็นปจั จุบนั และสามารถ care plan) เมอื่ ไดร้ ับ Case ใหม่

นาผลการวจิ ยั มาใช้ในการปฏิบัติทางการ 5.1.4 ใชก้ ระบวนการพยาบาลใน

พยาบาลเด็กและวัยรุ่น การประชุมปรึกษากอ่ นและหลังการ

2.6 มคี วามรู้และความเข้าใจกฎหมาย ปฏิบัตงิ าน (pre - post

วิชาชพี และกฎหมายท่ีเก่ยี วข้องกับหลัก conference) ทุกวัน

จริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชพี และสิทธเิ ด็ก 5.2 รายกลุม่

8

มาตรฐานการเรยี นรู้ วธิ ีการสอน วิธกี ารประเมนิ ผล
(แตล่ ะดา้ น)

5.2.1 ประเมนิ การเจรญิ เติบโต

พฒั นาการ และการได้รับวคั ซีนใน

หน่วยสุขภาพเด็กดี (Well Child

Clinic) พรอ้ มท้ังเขยี นรายงาน 1

ฉบบั แบง่ กลมุ่ ย่อย กลุม่ ละ 3-4 คน

5.2.2 ศึกษากรณีศกึ ษา โดยนา

ผลการวจิ ัยมาประยกุ ต์ใชใ้ น

กรณีศึกษา โดยเปน็ งานวิจยั

ภาษาไทยอย่างน้อย1 เรอื่ ง และ

ภาษาอังกฤษอย่างน้อย 1 เรือ่ ง

พรอ้ มนาเสนอ

6. สอบวดั ความรูก้ ่อนและหลังการ

ฝกึ ปฏิบตั ิทางการพยาบาล

7. การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง

(self-study)

3. ทกั ษะทางปญั ญา

3.1 สามารถสืบค้นข้อมลู จากแหล่งข้อมูลที่ 1.การประชมุ ปรกึ ษาทางการ 1. แบบประเมินผลรายงาน

หลากหลาย วเิ คราะหแ์ ละเลือกใช้ในการ พยาบาล (Nursing case การวางแผนการพยาบาล

อ้างอิงเพื่อพัฒนาความรู้และแก้ไขปัญหา conference) (พยบ.002)

อยา่ งสร้างสรรค์ 2.การตรวจเยี่ยมทางการพยาบาล 2. แบบประเมินการประชุม

3.2 สามารถคิดอยา่ งเป็นระบบ คิด (Nursing round) ปรึกษาทางการพยาบาล

สร้างสรรค์ คดิ อยา่ งมีวิจารณญาณ เพอ่ื หา 3.การประชุมปรึกษาก่อนและหลัง (พยบ.006)

แนวทางใหมใ่ นการแก้ไขปญั หาการ การปฏบิ ตั งิ าน (pre - post 3. แบบประเมินการ

ปฏบิ ัติงานและคานึงถงึ ผลกระทบจากการ conference) เจริญเติบโต พัฒนาการและ

แก้ไขปัญหา 4. การมอบหมายงาน(Assignment) การไดร้ บั วัคซีน (พยบ.003)

4.1 รายบคุ คล 4. แบบประเมินการนาเสนอ

4.1.1 ให้การดูแลผปู้ ุวย 1 คน/ กรณศี ึกษา (พยบ.005)

สปั ดาห์ (อยา่ งน้อย 3 วัน) 5. แบบทดสอบความรกู้ ่อน

4.1.2 เขยี นรายงานแผนการ และหลงั การฝึกปฏบิ ตั ทิ างการ

พยาบาลฉบับสมบรู ณ์ (nursing พยาบาล

care plan) 1 ฉบบั /สปั ดาห์

9

มาตรฐานการเรียนรู้ วธิ ีการสอน วิธกี ารประเมนิ ผล
(แตล่ ะดา้ น)
(ส่งเพื่อตดิ ตามความก้าวหนา้
4. ทกั ษะความสัมพนั ธร์ ะหว่างบคุ คลและ ทกุ วนั )
ความรบั ผิดชอบ 4.1.3 เขยี นรายงานการวาง
4.1 มปี ฏสิ มั พันธ์อยา่ งสร้างสรรคก์ บั แผนการพยาบาลประจาวนั (daily
ผู้รบั บริการ ผรู้ ว่ มงานและผทู้ ่ีเกย่ี วขอ้ ง care plan) เมอื่ ไดร้ บั Case ใหม่
4.2 สามารถทางานเป็นทีมในบทบาทผนู้ า 4.1.4 ใชก้ ระบวนการพยาบาลใน
และสมาชกิ ทีมในบรบิ ทหรือสถานการณ์ท่ี การประชมุ ปรึกษากอ่ นและหลังการ
ปฏิบัตงิ าน (pre - post
conference) ทุกวัน
4.2 รายกล่มุ

4.2.1 ประเมินการเจรญิ เติบโต
พฒั นาการ และการไดร้ ับวคั ซีนใน
หน่วยสขุ ภาพเดก็ ดี (Well Child
Clinic) พรอ้ มทง้ั เขยี นรายงาน 1
ฉบบั โดยแบ่งเปน็ กล่มุ ย่อย กลุ่มละ
3-4 คน

4.2.2 ศึกษากรณีศกึ ษาและ
นาเสนอ โดยนาผลการวจิ ยั มา
ประยุกต์ใชใ้ นกรณีศกึ ษา โดยเป็น
งานวจิ ัยภาษาไทยอย่างน้อย1 เรือ่ ง
และภาษาอังกฤษอยา่ งน้อย 1 เรือ่ ง
5. สอบวัดความรหู้ ลังการฝึกปฏบิ ตั ิ
ทางการพยาบาล
6. การสอนภาคปฏบิ ัติแบบชี้แนะ
สะท้อนคิด (Reflective coaching)

1. ปฐมนิเทศวชิ าก่อนขึน้ ฝกึ 1. แบบประเมนิ ผลการฝึก
ปฏิบตั งิ าน ปฐมนิเทศหอผปู้ วุ ย ปฏบิ ตั งิ านตามแบบฟอรม์
แนะนาบุคลากรในแหลง่ ฝึก (พยบ.001)
2. การตรวจเย่ียมทางการพยาบาล 2. แบบประเมินการทางาน

10

มาตรฐานการเรียนรู้ วธิ กี ารสอน วิธกี ารประเมนิ ผล
(แตล่ ะดา้ น)

หลากหลาย (Nursing round) ร่วมกบั ทมี เปน็ ทมี

4.3 สามารถแสดงความคดิ เห็นของตนเอง พยาบาล 3. แบบประเมนิ การประชมุ

อย่างเปน็ เหตเุ ป็นผลและเคารพในความ 3. การมอบหมายงาน(Assignment) ปรึกษาทางการพยาบาล

คดิ เหน็ ของผู้อน่ื 3.1 รายบุคคล 4. แบบประเมนิ นักศกึ ษาโดย

3.1.1 ใหก้ ารดูแลผปู้ ุวย 1 คน/ แหล่งฝกึ

สัปดาห์ (อยา่ งน้อย 3 วนั )

3.2 รายกลุ่ม

3.2.1 ประเมินการเจรญิ เตบิ โต

พัฒนาการ และการได้รับวัคซีนใน

หน่วยสขุ ภาพเดก็ ดี และเขียน

รายงาน 1 ฉบับ โดยแบง่ เปน็ กลุ่ม

ยอ่ ย กลมุ่ ละ 3-4 คน

3.2.2 ศึกษากรณศี ึกษาและ

นาเสนอ

5. ทกั ษะการวเิ คราะห์เชิงตวั เลข การ

สอ่ื สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักทางคณิตศาสตร์ 1. สาธิตและสาธติ ยอ้ นกลบั 1. แบบประเมินผลการฝึก

และสถิตใิ นการปฏบิ ตั งิ าน (Demonstration and return ปฏิบัตงิ านตามแบบฟอร์ม

5.2 สามารถสอื่ สารด้วยภาษาไทยและ demonstration) การใหย้ าและสาร (พยบ.001)

ภาษาอังกฤษได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ น้าทางหลอดเลือดดาในผปู้ ุวยเดก็ 2. แบบประเมนิ การนาเสนอ

5.3 สามารถใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศได้อยา่ ง 2. การมอบหมายงาน(Assignment) กรณีศึกษา (พยบ.005)

มีประสทิ ธิภาพและมีจริยธรรม รายบคุ คล ให้การดแู ลผูป้ ุวยทไ่ี ด้รบั

5.4 สามารถสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ ยาและสารนา้ ทางหลอดเลือดดา

เพ่ือใหผ้ ้รู บั บริการปลอดภัย และเขยี นรายงาน (Nursing care

plan)

3. การประชมุ ปรกึ ษาก่อนและหลัง

การปฏบิ ัตงิ าน

(pre - post conference)

4. การสอนขา้ งเตียง (Bed side

teaching)

5. การมอบหมายงาน(Assignment)

11

มาตรฐานการเรยี นรู้ วธิ ีการสอน วิธกี ารประเมินผล
(แต่ละดา้ น)
รายกลุ่ม 1. แบบประเมินผลการฝึก
6. ทกั ษะการปฏิบัตทิ างวิชาชีพ 5.1 นาเสนอกรณีศึกษากลุ่มละ 1 ปฏิบัตงิ านตามแบบฟอร์ม
6.1 สามารถปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเด็กและ คร้ัง (พยบ.001)
วยั รุน่ อย่างเปน็ องค์รวม และมคี วาม 1. การสาธิตและสาธติ ย้อนกลับ 2. แบบประเมินผลรายงาน
ปลอดภยั ภายใต้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ (Demonstration and return การวางแผนการพยาบาล
กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชพี Demonstration) (พยบ.002)
6.2 สามารถใชก้ ระบวนการพยาบาลใน 2. การสอนขา้ งเตยี ง (Bed side
การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุ่น teaching)
6.3 ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเด็กและวยั ร่นุ ด้วย 3. การตรวจเย่ียมทางการพยาบาล
ความเมตตา กรุณา และเอ้ืออาทรโดย (Nursing round)
คานึงถงึ สทิ ธิเด็กและความหลากหลายทาง 4. การสอนภาคปฏบิ ัติแบบชี้แนะ
วฒั นธรรม สะทอ้ นคดิ (Reflective coaching)
6.4 สามารถปฏบิ ัติทักษะการพยาบาลเด็ก 5. การมอบหมายงาน
และวัยรุ่นได้ท้ังในสถานการณ์จาลองและ 5.1 รายบุคคล
ในสถานการณ์จริง 5.1.1 ให้การดูแลผู้ปุวย 1 คน/
สปั ดาห์ (อยา่ งน้อย 3 วัน) เขียน
รายงาน (Nursing care plan)
5.1.2 ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเฉพาะอยา่ ง
ในรายวชิ าการพยาบาลเด็กและ
วยั รนุ่
5.1.3 ใช้กระบวนการพยาบาลใน
การประชมุ ปรึกษากอ่ นและหลงั การ
ปฏบิ ัตงิ าน (pre - post
conference) ทุกวัน

หมวดท่ี 4 ลกั ษณะและการดาเนนิ การ

1. คาอธิบายโดยทว่ั ไปของประสบการณ์ภาคสนามหรือคาอธบิ ายรายวชิ า
ฝึกปฏิบัติการพยาบาลโดยใช้แนวคิดและทฤษฎีที่เก่ียวข้องกับการพยาบาลเด็ก และใช้กระบวนการพยาบาล

ในการดูแล และสง่ เสริมสุขภาพทารก เด็ก และวัยรุ่นทม่ี ีภาวะเสยี่ ง และความผิดปกติในระบบต่างๆ ภายใต้บริบทของ
สังคมท่มี คี วามหลากหลาย บนพืน้ ฐานการพยาบาลด้วยหวั ใจความเป็นมนุษย์ โดยเนน้ ครอบครัวเป็นศนู ย์กลาง ร่วมกับ

12

นาองค์ความรู้จากงานวิจยั และหลักฐานเชิงประจักษ์ที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเด็ก และวัยรุ่นทั้งในและต่างประเทศ

มาประยกุ ต์ใชใ้ นการพยาบาล

Nursing practice through the application of concepts and theories related to pediatric

nursing, using nursing process to care and promote health of infants, children and adolescents who

have risks and abnormalities in body systems under the multitudinous social contexts based on

humanized nursing care with an emphasis on family as a center and humanized nursing care, as

well as applying the knowledge from research and empirical evidence related to pediatric and

adolescence nursing both in domestic and international

2. กิจกรรมของนกั ศกึ ษา

2.1 ฝกึ ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเฉพาะอยา่ ง ดังน้ี

1) การวดั สัญญาณชีพ อย่างน้อย 5 ครั้ง

2) การจัดเตรียมและฉีดยาเข้าเส้นเลือดดา อย่างน้อย 4 ครง้ั

3) ประเมนิ และส่งเสรมิ การเจริญเตบิ โต อยา่ งน้อย 3 ครัง้

4) ประเมินและส่งเสรมิ พัฒนาการ อยา่ งน้อย 1 ครง้ั

5) การให้อาหารเด็ก (ขวดนม, ปอู นอาหารเสริม) อยา่ งน้อย 3 ครั้ง

6) การจดั แจกยาและปอู นยาเด็กทางปาก อยา่ งน้อย 3 ครั้ง

7) การเช็ดตวั ลดไข้ อยา่ งน้อย 2 ครั้ง

8) การให้อาหารทางสายยาง อยา่ งน้อย 2 ครั้ง

9) การพน่ ยาในเด็ก อย่างน้อย 2 ครัง้

10) ให้คาแนะนาก่อนกลับบ้าน (ตามกลมุ่ โรค) อย่างน้อย 1 ครั้ง

11) อาบน้าเด็กทารก อย่างน้อย 1 ครั้ง

12) การห่อตวั /การผูกยึดเดก็ เพอ่ื ทาหตั ถการ อย่างน้อย 1 คร้งั

13) การจดั ทา่ และการเคาะปอด อยา่ งน้อย 2 ครั้ง

14) การดูดเสมหะในจมูกและปาก อยา่ งน้อย 1 ครง้ั

15) รบั ใหม่/จาหน่าย อยา่ งน้อย 1 คร้งั

16) การใหอ้ อกซเิ จนทาง nasal cannula, face mask, box อยา่ งนอ้ ย 1 ครั้ง

หรอื high flow

17) การเกบ็ สิ่งส่งตรวจ

- เลอื ด, DTX, Hct, Mb อยา่ งน้อย 1 ครัง้

- อุจจาระ, ปัสสาวะ, เสมหะ หรือส่งิ คดั หลง่ั อย่างน้อย 1 ครงั้

18) การตรวจร่างกายเด็ก อยา่ งนอ้ ย 1 ครัง้

19) การใชต้ อู้ บ หรือ radiant warmer อยา่ งน้อย 1 ครง้ั

20) การใช้ Pulse oximeter อยา่ งน้อย 1 ครงั้

13

21) การประเมินผรู้ ับบรกิ ารที่มีความปวด อย่างน้อย 1 ครัง้

22) การจัดเตรยี มและฉีดยาเขา้ กลา้ มเนื้อ ปฏิบัติหรือสังเกตอย่างน้อย 1 ครั้ง

23) การชว่ ยแพทย์ทาหตั ถการเจาะหลงั เจาะท้อง เจาะปอด ปฏิบัติหรือสงั เกตอยา่ งน้อย 1 ครัง้

24) การดแู ลกอ่ นและหลังผา่ ตดั ในผู้ปุวยเด็กและครอบครวั ปฏิบัติหรือสงั เกตอย่างน้อย 1 ครง้ั

25) การดแู ลผปู้ วุ ยเดก็ ท่ีได้รับการส่องไฟรักษา ปฏบิ ตั ิหรอื สังเกตอย่างน้อย 1 คร้งั

26) การพยาบาลผู้ปวุ ยเด็กทไี่ ดร้ บั ยาเคมบี าบัด ปฏิบตั ิหรือสังเกตอยา่ งน้อย 1 ครั้ง

27) การพยาบาลผูป้ วุ ยเด็กท่ไี ด้รับเลอื ดและส่วนประกอบของเลอื ด ปฏิบตั ิหรอื สงั เกตอย่างน้อย 1 ครั้ง

2.2 ใหก้ ารพยาบาลผปู้ ว่ ยเดก็ ทม่ี ีปัญหาระบบต่าง ๆ ดงั นี้

1) ระบบทางเดินหายใจ ปฏิบัติอยา่ งน้อย 1 ครั้ง

2) ระบบทางเดนิ อาหาร ปฏิบัติอยา่ งนอ้ ย 1 คร้งั

3) ทารกคลอดกอ่ นกาหนดหรือทารกแรกคลอดที่มีปัญหา ปฏบิ ัติอยา่ งนอ้ ย 1 ครัง้

4) ระบบทางเดินปัสสาวะ ปฏิบัตหิ รอื สงั เกตอย่างน้อย 1 ครง้ั

5) ระบบไหลเวียนและหลอดเลอื ด ปฏบิ ตั หิ รือสังเกตอยา่ งน้อย 1 ครั้ง

6) ระบบโลหติ วทิ ยา (เชน่ thalassemia, ITP, DHF ) ปฏิบัตหิ รือสงั เกตอยา่ งน้อย 1 ครงั้

7) โรคทม่ี ีความผดิ ปกติเกีย่ วกับการเจรญิ ของเซลล์ ปฏิบัติหรอื สงั เกตอย่างน้อย 1 ครง้ั

8) โรคระบบประสาท ปฏิบัตหิ รือสังเกตอย่างน้อย 1 ครั้ง

9) โรคระบบต่อมไร้ท่อและพันธุกรรม ปฏิบัติหรอื สังเกตอย่างน้อย 1 ครง้ั

10) ผู้ปวุ ยเดก็ ท่ีมีปญั หาโรคติดเชื้อ ปฏิบัติหรอื สังเกตอยา่ งนอ้ ย 1 คร้งั

11) ผ้ปู วุ ยเด็กที่ได้รบั อุบตั ิเหตุและสารพิษ ปฏบิ ตั ิหรือสังเกตอย่างนอ้ ย 1 คร้งั

12) เดก็ ปวุ ยระยะสดุ ทา้ ย ปฏิบตั หิ รอื สงั เกตอยา่ งน้อย 1 ครั้ง

2.3 ฝึกปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลหอผูป้ ุวยกมุ ารเวชกรรม 1,2,3 หอผปู้ วุ ยวิกฤตเดก็ (PICU) หอผปู้ ุวยทารกวิกฤต (NICU

) คลินิกเดก็ สุขภาพดี ณ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี และฝึกปฏบิ ตั หิ อผปู้ วุ ยกมุ ารเวชกรรม 1,2 หอผู้ปวุ ยทารกแรกเกิด

(Sick NB) หอผ้ปู ุวยวิกฤตเด็ก (PICU) และคลนิ ิกเด็ก ณ โรงพยาบาลวชิระภเู กต็ เปน็ เวลา 4 สปั ดาห์

2.4 ศกึ ษาผู้ปวุ ยที่ได้รับมอบหมายลว่ งหน้า เพ่ือวางแผนการพยาบาล สปั ดาหล์ ะ 1 ราย

2.5 ประชุมก่อนและหลังการปฏิบตั ิการพยาบาลทกุ วนั (Pre- Post Conference)

2.6 ประเมินการเจรญิ เตบิ โต พัฒนาการ และการได้รบั วคั ซีน พรอ้ มทารายงาน (รายกลมุ่ ยอ่ ย กลุ่มละ 3-4 คน)

2.7 ศกึ ษากรณีศกึ ษาและนาเสนอ (รายกล่มุ )

2.8 สอบประเมนิ ผลความรกู้ อ่ นและหลงั การฝึกปฏิบัติ

14

3. รายงานหรืองานที่นกั ศกึ ษาไดร้ บั มอบหมาย กาหนดส่ง
รายงานหรอื งานที่ นศ. ไดร้ บั มอบหมาย

1. การทดสอบกอ่ นและหลังการฝกึ ปฏบิ ตั กิ าร 1. กอ่ นและหลังการฝึกปฏบิ ตั ิการพยาบาล

พยาบาล

1.1 Pre test สอบ simulation 1 สถานการณ์

และ OSCE 2 ฐาน

1.2 Post test ข้อสอบข้อเขียน

2. การเขียนแผนการพยาบาล (Nursing care plan) 2. สง่ ในวันท่ีไดร้ บั ผดิ ชอบดแู ลผ้ปู ุวย (และเมื่อเสร็จสน้ิ ในการ

สปั ดาห์ละ 1 ฉบบั ดูแลผ้ปู ุวย แก้ไข และรวบรวมสง่ ทุกวนั อาทติ ย์)

3. ประเมินการเจริญเตบิ โต พัฒนาการ และการได้รบั 3. สง่ วันอาทิตยข์ องสัปดาห์ท่ีฝึกปฏิบัตงิ าน

วัคซีน พรอ้ มเขยี นรายงาน 1 ฉบับ (กลมุ่ ย่อย 3-4

คน)

4. การนาเสนอกรณีศึกษา 4. วนั ศุกร์สัปดาห์ท่ี 4 ของการฝึกภาคปฏบิ ัติ

5. ประชุมปรกึ ษาประเด็นจริยธรรม (Ethic 5. วันศุกรส์ ัปดาห์ที่ 2 ของการฝกึ ภาคปฏบิ ัติ

conference)

6. สมดุ เก็บประสบการณ์และการฝึกปฏิบัติของ 6. สง่ ทุกวันศุกร์ และหลังเสร็จสนิ้ การฝึกปฏบิ ตั ิการพยาบาล

นกั ศึกษา เด็กและวยั ร่นุ

4. การตดิ ตามผลการเรยี นรู้การฝกึ ประสบการณ์ภาคสนามของนักศกึ ษา

4.1 ผู้สอนตรวจรายงานการวางแผนการพยาบาล พร้อมท้ังสะท้อนและให้ขอ้ เสนอแนะนักศึกษาทราบ

ข้อบกพร่องและนาไปแก้ไข พรอ้ มส่งในวนั รงุ่ ข้นึ และส่งรายงานฉบับสมบรู ณ์หลงั เสร็จส้ินการฝกึ ในแตล่ ะสัปดาห์

4.2 ผ้สู อนตรวจรายงานการประเมินการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการ และการพยาบาลเด็กท่ีไดร้ ับวัคซีน พร้อม

สะท้อนและให้ข้อเสนอแนะนักศึกษาทราบข้อบกพร่องและนาไปแก้ไข พรอ้ มส่งในวันร่งุ ขึ้น และส่งรายงานฉบบั

สมบรู ณอ์ ีกครง้ั หลังเสร็จส้ินการฝึกปฏบิ ตั ิ

4.3 ผสู้ อนติดตามความก้าวหนา้ ของกรณีศกึ ษา (Case study) เปน็ ระยะ ทกุ สัปดาห์ พร้อมทง้ั สะท้อนและให้

ข้อเสนอแนะนักศึกษาทราบข้อบกพรอ่ งและนาไปแก้ไข ก่อนนาเสนอ ไมน่ ้อยกว่า 2 ครง้ั และใหน้ กั ศกึ ษาสง่ Mind

map ฉบับจรงิ ก่อนวันทจ่ี ะนาเสนอ อย่างน้อย 2 วนั

4.4 ผ้สู อนตรวจบันทกึ การเรียนรทู้ ี่ได้จากการฝึกปฏบิ ตั ิ รายบุคคล พร้อมทั้งสะท้อนและให้ข้อเสนอแนะ

4.5 ผู้สอนตดิ ตามและกระตุ้นการปฏิบัติการฝกึ ทกั ษะทางการพยาบาลเดก็ เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง

4.6 ผู้สอนใหค้ าปรึกษาและติดตามการประชุมปรึกษาทางการพยาบาลตามประเดน็ ที่กาหนด สปั ดาห์ละ 1

ครัง้

4.7 ผู้สอนใหค้ าปรกึ ษาและติดตามการประชมุ ปรกึ ษาประเดน็ จริยธรรมทางการพยาบาลเดก็ ในสปั ดาหท์ ่ี 2

ของการฝกึ ปฏบิ ัติ

15

5. หนา้ ที่และความรับผิดชอบของพนักงานพี่เลี้ยง/ ครูพ่ีเล้ยี งในสถานประกอบการ/ สถานศึกษาท่ีดูแลกิจกรรมใน
ภาคสนาม

5.1 ปฐมนิเทศเกีย่ วกบั สถานทฝี่ กึ งาน กฎระเบยี บ แนวปฏบิ ัติต่างๆ เก่ียวกบั การฝกึ ปฏิบัติงาน
5.2 ใหค้ าแนะนาในขณะท่ีนกั ศึกษาปฏิบัติงาน
5.3 ร่วมกิจกรรมของนักศึกษา ได้แก่ การประชมุ ปรึกษาก่อนและหลังการปฏิบัตงิ าน ตรวจเยย่ี มทางการ
พยาบาล การประชุมปรึกษาปัญหาทางการพยาบาล และการนาเสนอกรณีศึกษา
5.4 ร่วมประเมินผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา

6. หนา้ ท่ีและความรบั ผดิ ชอบของอาจารย์ที่ปรกึ ษา/อาจารย์นิเทศ
6.1 ปฐมนเิ ทศรายวชิ า กฎระเบียบ แนวปฏิบัติต่างๆ ของสถาบนั วา่ ดว้ ยการฝกึ ปฏบิ ตั ิงาน
6.2 สอน แนะนา ประเมนิ ผล และให้ข้อมลู ปูอนกลับ เพื่อให้นกั ศึกษาได้พัฒนา
6.3 ประสานงานกบั แหล่งฝึก เกย่ี วกบั ความต้องการพัฒนานกั ศกึ ษาของรายวิชา ปัญหาจากการฝึกปฏบิ ตั ิงาน

ปัญหาของนักศึกษา มอบหมายงาน และผู้ใชบ้ ริการใหน้ ักศึกษาดแู ล

7. การเตรียมการในการแนะแนวและช่วยเหลอื นักศกึ ษา
7.1 ปฐมนเิ ทศรายวชิ าก่อนฝึกปฏิบตั ิงาน จัดเตรยี มแหล่งฝึก และ ประสานงานกบั หนว่ ยงานต่างๆ เตรียม

ความพร้อมของนักศึกษากอ่ นฝึกปฏิบตั ิงาน
7.2 ปฐมนเิ ทศแหลง่ ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพ

8. สงิ่ อานวยความสะดวกและการสนับสนุน ท่ีตอ้ งการจากสถานท่ที ่ีจัดประสบการณ์ภาคสนาม
8.1 มหี อ้ งสมดุ สาหรบั นักศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง
8.2 มีหอ้ งประชุมปรึกษาปัญหาทางการพยาบาล
8.3 มีหนังสือวารสารทางการพยาบาลและการแพทย์
8.4 หุ่นและอุปกรณ์ สาหรับฝึกทกั ษะการปฏบิ ัติทางการพยาบาล
8.4 ประสาน/สารวจท่ีพกั สาหรับนักศกึ ษาในกลุมที่ฝกงานตางจงั หวัด

หมวดท่ี 5 การวางแผนและการเตรียมการ

1. การกาหนดสถานทฝี่ ึก
เลอื กโรงพยาบาลท่จี ะเป็นสถานที่ฝกึ เป็นโรงพยาบาลในระดบั จงั หวดั และระดับศนู ย์ ผ่านการรบั รองโดยสรพ.

และมีประสบการณ์ครบตามข้อกาหนดของรายวชิ า
2. การเตรยี มนักศกึ ษา

2.1 ปฐมนิเทศรายวชิ า เพ่ือชีแ้ จงรายละเอยี ดทง้ั หมด รวมทง้ั การเตรยี มความพร้อมก่อนฝึก
2.2 ประเมนิ ความพร้อมด้านความรแู้ ละทักษะของนักศึกษากอ่ นการฝกึ งาน

16

2.3 จัดหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเพอื่ ให้นักศึกษาได้เริ่มต้นกอ่ นฝึกปฏิบตั ิ

3. การเตรียมอาจารย์ทป่ี รึกษา/ อาจารยน์ ิเทศ
จดั ประชมุ ช้ีแจงวตั ถปุ ระสงค์ของการฝกึ ฯ ผลการเรียนร้ทู ่ีคาดหวงั การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

การมอบหมายงาน การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ตารางการนิเทศ พร้อมคู่มือการนเิ ทศของรายวิชากอ่ นการฝกึ อยา่ งน้อย
2 สัปดาห์

4. การเตรียมพนักงานพ่ีเลีย้ ง/ครพู ่เี ลีย้ ง ในสถานทีฝ่ ึก
ช้แี จงรายละเอยี ดของรายวิชาก่อนท่ีจะมีการฝกึ ปฏบิ ัติงาน พร้อมท้ังอธิบายให้พี่เลย้ี งในสถานท่ีฝึกฯ เขา้ ใจถึง

หนา้ ท่ีและความรับผิดชอบของตนเองในการดแู ลกจิ กรรมในภาคสนาม

5. การจดั การความเสย่ี ง
5.1 ประสานงานกับพ่ีเลย้ี งในสถานทีฝ่ ึกงานอย่างต่อเนื่อง
5.2 จัดให้มีตวั แทนนกั ศกึ ษาท่ีทาหนา้ ท่ตี ดิ ต่อประสานงานกับอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบตั ิตลอดการฝึกงาน
5.3 ติดตามความกา้ วหน้าระหว่างการฝกึ งานเพอื่ รับทราบปญั หา อปุ สรรคในการฝึกงานและหาแนวทางใน

การแก้ไขร่วมกันระหวา่ งอาจารย์ผสู้ อนภาคปฏบิ ตั ิพ่เี ลีย้ ง และนกั ศกึ ษา
6. มาตรการป้องกันการติดเช้ือไวรสั โควิด – 19
การเตรียมความพร้อมก่อนฝึกภาคปฏบิ ัตใิ นโรงพยาบาล

1. ก่อนออกฝึกภาคปฏิบัติ (เริ่มฝกึ ภาคปฏิบัติวันท่ี 5 เมษายน 2564) นกั ศึกษาและอาจารยท์ กุ คนต้องได้รับ
การตรวจวดั ไข้ คดั กรองกลุ่มอาการโรคหวดั ซกั ประวตั ิ หากตรวจพบความเสีย่ งตอ้ งส่งตรวจหาเชอ้ื ไวรสั โควดิ ให้
นักศกึ ษาทุกคนเตรยี มความพร้อมด้านรา่ งกายให้แขง็ แรง พักผอ่ นใหเ้ พยี งพอ ดแู ลตนเองไมใ่ ห้เจ็บปุวยระหวา่ งการฝึก
ภาคปฏบิ ตั ิ

2. ภายในหอพักใหม้ ีอปุ กรณ์ประจาห้อง ได้แก่ ปรอทวัดไข้ ชดุ ปฐมพยาบาลเล็ก แยกของใชส้ ่วนตวั ให้เป็น
สัดส่วน เก็บให้เป็นระเบยี บและรกั ษาความสะอาดอยา่ งสม่าเสมอ
แนวปฏิบัตเิ พอื่ ป้องกนั การแพร่เช้อื โรคโควดิ ขณะฝกึ ปฏิบตั งิ านในโรงพยาบาล

1. ปฏิบัติตามมาตรฐานการปูองกันการติดเช้ือและการแพร่กระจายเช้ือ โดยเฉพาะ Droplet และ Contact
Precautions รวมทั้ง Respiratory Hygiene and Cough Etiquette ให้นักศึกษาทุกคนใช้อุปกรณ์ปูองกันร่างกาย
ส่วนบคุ คล ได้แก่

- หน้ากากกรองอากาศ (surgical mask) หรือหน้ากากผ้าที่มีตัวกรองข้างใน (ให้นาสารองไปเผ่ือกรณีต้อง
เปล่ียน ขอใหน้ ักศึกษาเตรยี มหน้ากากสารองไว้ให้มอี ย่างน้อยคนละ 2 ชิน้ )

- กิจกรรมการพยาบาลในการดูแลผู้ปุวย หากต้องทาหัตถการท่ีเสี่ยงต่อสารคัดหล่ัง เช่น การทาคลอด ให้สวม
แวน่ ปูองกันตา หรอื กระจงั กันใบหนา้ ถุงมอื เสอ้ื คลุมทป่ี อู งกนั การกระเดน็ ของสารคัดหล่ัง

- พกเจลแอลกอฮอล์ขนาดพกพาขณะฝึกภาคปฏิบัติทุกคน ทุกคร้ังที่ต้องออกฝึกภาคปฏิบัติและให้หม่ันล้างมือ
บ่อยๆ ทัง้ ก่อนและหลงั ทาหตั ถการหรอื สัมผัสกบั อปุ กรณ์ท่ใี ช้กับผ้ปู วุ ย

17

2. ในกิจกรรมท่ีมีความเสี่ยงสูง ได้แก่ การช่วยพ้ืนคืนชีพ การใส่/ถอดท่อช่วยหายใจ การดูดเสมหะ หรือการ

ดแู ลผู้ปวุ ยทีม่ ภี าวะปอดอักเสบ หรือมอี าการไอมาก ใหใ้ ช้อปุ กรณ์ปอู งกนั รา่ งกายส่วนบุคคล ดังนี้

- เสื้อคลมุ กนั น้าแขนยาวรัดข้อมอื (gown) และ ถุงมือ

- หน้ากากกรองอนภุ าค เช่น N95 mask/N 100/P 100 หรือสูงกวา่

- Goggle หรือ Face Shield

- หมวกคลมุ ผม (ใช้ในกรณที ี่กิจกรรมนั้นก่อให้เกิดฝอยละอองขนาดเล็ก (aerosol) หรอื ผู้ปวุ ยมี

อาการไอมาก

3. หากมีอุบัติเหตุหรืออุบัติการณ์ใดๆ เป็นเหตุให้เกิดความเสี่ยงต่อร่างกาย ให้นักศึกษาแจ้งอาจารย์นิเทศให้

รบั ทราบในทันที หรือรายงานเหตุการณ์ตอ่ พยาบาลพเี่ ลย้ี ง หัวหน้าหอผู้ปุวย

แนวทางปฏิบัติภายหลงั ฝึกภาคปฏิบตั ิเสร็จส้นิ ในแต่ละครงั้ ให้นกั ศกึ ษาปฏบิ ตั ดิ ังนี้

1. ใหน้ กั ศกึ ษาล้างมือใหส้ ะอาดกอ่ นออกจากแผนกฝึก

2. เก็บอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวให้เป็นสัดส่วนแยกระหว่างอุปกรณ์การเรียน เช่น ตารา หนังสือ รายงาน ให้แยก

เกบ็ ออกจากอุปกรณ์ปอู งกนั ร่างกายสว่ นบคุ คลให้เรยี บรอ้ ย

3. กอ่ นเข้าห้องพักให้ตรวจวัดอุณหภูมิตนเอง หากมีไข้ให้แจ้งอาจารย์ หรือรายงานพ่ีพยาบาล เพ่ือปูองกันการ

แพรเ่ ช้อื ในหอผปู้ วุ ย และใหแ้ ยกพกั ในหอพักเพ่ือเฝูาระวังฯ (ปฏิบตั ทิ กุ คร้งั อย่างเครง่ ครัด)

4. เสือ้ ผ้าของใช้ หากมเี ลอื ดหรอื สารคัดหลงั่ เปรอะเปอ้ื นชดั เจนใหเ้ ช็ดออกให้มากทสี่ ุด

5. หากเส้ือผ้ามีความสกปรกมากให้แยกทิ้งลงถังผ้าเปื้อน โดยล้างมือก่อนและหลังการสัมผัสถังผ้าเปื้อน แยก

ขยะตดิ เชอื้ ขยะเปียก ขยะแหง้ เปน็ ต้น

6. หลกี เลยี่ งการไปสถานท่ีแออัด รกั ษาระยะหา่ งทางสังคมไมน่ ้อยกว่า 1 – 2 เมตรในทุกท่ี ทุกเวลา

หมวดท่ี 6 การประเมนิ นักศึกษา

1. หลักเกณฑก์ ารประเมนิ

การวดั ผล ตลอดระยะเวลาฝึกมคี ะแนนเตม็ 100% ดงั น้ี

1.1 การประเมินผลการฝกึ ปฏิบตั กิ ารพยาบาล 65%

(หอผู้ปุวยกมุ ารเวชกรรม 1, 2 และ PICU, กมุ ารเวชกรรม 3/Sick New Born) 65%

1.2 การวดั ผลสมั ฤทธิ์ 35%
1. การทดสอบหลังฝกึ ปฏบิ ตั ิการพยาบาล (Post test) 5%
2. การประชมุ ปรึกษาทางการพยาบาล (Nursing care conference) 5%
3. รายงานประเมนิ การเจริญเติบโตและพฒั นาการ 5%
4. รายงานการวางแผนการพยาบาล 10%
5. การนาเสนอกรณศี ึกษาและการทางานเป็นทีม 10%
6. การประชมุ ปรึกษาประเดน็ จรยิ ธรรม (Ethic conference) ผ่าน/ไม่ผ่าน
7. สมดุ เกบ็ ประสบการณ์การฝกึ ปฏิบัติของนักศึกษา ผ่าน/ไมผ่ ่าน

18

นกั ศึกษาท่จี ะผา่ นเกณฑก์ ารประเมินผลการศกึ ษาภาคปฏิบัตริ ายวชิ าปฏิบตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ จะต้อง

ผ่านเกณฑต์ ่อไปนี้

1. ขึ้นฝึกภาคปฏบิ ตั ิ 100% ของระยะเวลาที่ฝึกในรายวชิ า

2. นกั ศึกษาท่ขี าดหรอื ลา และมเี วลาในการฝึกปฏบิ ตั ิงานน้อยกว่า 80% ของระยะเวลาฝึกในรายวิชา นักศึกษา

ต้องรบั ผดิ ชอบในการติดต่ออาจารย์ประจากลุ่ม เพ่ือขึ้นฝึกชดเชยภายหลังการฝึกวิชานี้ หากไม่มาติดต่อก่อนส้ินสุดการ

ฝกึ ปฏบิ ตั ิ พจิ ารณาใหเ้ กรด I หรอื E ยกเว้น กรณีท่ขี าดด้วยเหตุสุดวิสัย เช่น เจ็บปุวยต้องมีใบรับรองแพทย์โรงพยาบาล

รัฐบาล หรือเหตุอื่นให้อาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติพิจารณาตามความเหมาะสมเป็นตามกรณี หากระยะเวลาไม่ครบตาม

เกณฑ์ที่กาหนด พิจารณาให้นกั ศึกษาข้นึ ฝึกปฏบิ ัติในแผนกท่ีขาดใหค้ รบตามเกณฑ์

3. นกั ศกึ ษาทปี่ ุวยหรอื ขาดหรือลากิจ โดยไม่มเี หตผุ ลท่ีสมควร หากไมเ่ กนิ 80% พจิ ารณาตกั เตือน หากเกิน

80% พิจารณาปฏบิ ตั ติ ามตามระเบียบคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฎสุราษฎร์ธานี

4. วนั ปฐมนเิ ทศและวันประเมนิ ผล นักศึกษาจะต้องเขา้ รว่ ม มฉิ ะน้ันถือวา่ ขาดภาคปฏบิ ัติ

5. นักศกึ ษาตอ้ งมผี ลการเรียนไม่ต่ากว่า ระดับ C หรือรอ้ ยละ 65 ขน้ึ ไป โดยใชว้ ธิ ีองิ เกณฑด์ งั ต่อไปนี้

คะแนนร้อยละ 85 ข้นึ ไป = A คะแนนร้อยละ 80 - 84.99 = B+

คะแนนร้อยละ 75- 79.99 = B คะแนนร้อยละ 70 - 74.99 = C+

คะแนนร้อยละ 65- 69.99 = C

ในกรณกี ารลา

1. การลาปวุ ย นกั ศกึ ษาตอ้ งแจ้งใหอ้ าจารย์ผสู้ อนภาคปฏบิ ัติหรอื อาจารย์พี่เล้ยี งทราบทุกคร้งั และต้อง

รับผดิ ชอบในการเขียนใบลาปุวยเสนออาจารย์ผู้สอนภาคปฏบิ ตั ิหรอื อาจารย์พเ่ี ล้ียง พร้อมทงั้ แนบใบรับรองแพทย์ที่

ไดร้ ับจากโรงพยาบาลของรัฐให้เรยี บรอ้ ยในวันแรกของการกลบั มาปฏิบัตงิ าน

2. การลากจิ ให้นักศึกษารบั ผิดชอบในการเขยี นใบลากิจ และขออนุญาตอาจารย์ผูส้ อนภาคปฏบิ ัติหรืออาจารย์

พเ่ี ลีย้ งให้เรยี บรอ้ ยก่อนลากจิ อย่างน้อย 2 วัน ยกเวน้ กรณีลากจิ ฉุกเฉินใหเ้ ขียนใบลาให้เรียบร้อยในวันแรกของการ

กลบั มาปฏบิ ัตงิ าน

2. กระบวนการประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของนักศกึ ษา

2.1 ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแบบประเมิน เป็น checklist โดยนักศึกษาจะได้รับการประเมินในระหว่าง

ฝกึ เพื่อใหม้ กี ารปรับปรงุ ตนเองก่อนทจี่ ะประเมนิ เพ่ือตดั สินคะแนน

2.2 ประเมินผลการประชุมก่อนและหลังการปฏิบัติงาน ตามแบบประเมิน เป็น checklist โดยนักศึกษาจะ

ได้รบั การประเมนิ ในระหว่างฝึกเพอ่ื ใหม้ ีการปรบั ปรงุ ตนเองก่อนท่จี ะประเมินเพื่อตดั สินคะแนน

2.3 ประเมินผลการประชุมปรึกษาปัญหาทางการพยาบาลและประเด็นจริยธรรมตามแบบประเมินเป็น

checklist

2.4 ประเมิน Mind Map การนาเสนอกรณีศึกษาตามแบบประเมินเป็น checklist โดย Mind Map ของ

นกั ศกึ ษาจะไดร้ ับการตรวจและใหน้ ากลับไปแก้ไขตามขอ้ เสนอแนะของอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติก่อนท่ีจะมีการประเมิน

ใหค้ ะแนนจรงิ

2.5 ประเมินรายงานการวางแผนทางการพยาบาล ตามแบบประเมินเป็น checklist โดยรายงานของนักศึกษา

19

จะได้รับการตรวจและให้นากลับไปแก้ไขตามข้อเสนอแนะของอาจารย์ผู้สอนภาคปฏิบัติ ก่อนท่ีจะมีการประเมินให้
คะแนนจริง

2.6 ประเมินรายงานการประเมินการเจริญเติบโต พัฒนาการและการได้รับวัคซีน ตามแบบประเมินเป็น
checklist

2.7 ทดสอบโดยใชขอสอบหลงั การฝึกภาคปฏิบัติ ใหคะแนนตามเกณฑ์
2.8 นักศกึ ษาต้องผา่ นการประเมินผลทกุ กิจกรรมทก่ี าหนด (ถ้าขาดอย่างใดอย่างหนึ่งถอื วา่ ไม่ผา่ น)
3. ความรบั ผดิ ชอบของพนักงานพเ่ี ลี้ยง/ ครพู ีเ่ ล้ียงต่อการประเมินนักศึกษา
ตดิ ตามและประเมนิ ตามหลักเกณฑ์

4. ความรับผิดชอบของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบประสบการณภ์ าคสนามต่อการประเมนิ นกั ศึกษา
รว่ มประเมนิ ผลกบั อาจารย์ผ้สู อนภาคปฏิบัติ และรวบรวมผลการประเมินตามหลกั เกณฑ์การประเมนิ ผลเพอื่

การตดั เกรด และนาเสนอผลการตดั เกรดตอ่ คณะกรรมการในท่ปี ระชมุ วิชาการต่อไป
5. การสรุปผลการประเมนิ ท่ีแตกต่าง

หากมคี วามแตกต่างกนั ของผลการประเมิน อาจารย์ผสู้ อนภาคปฏิบัติกบั อาจารย์พเิ ศษสอนปฏบิ ัติประชมุ หารือ
กันโดยเชญิ พยาบาลวชิ าชีพประจาตกึ เขา้ รว่ มในการให้ข้อมูลและแสดงความคิดเหน็ เกี่ยวกบั การฝึกงานของนักศกึ ษา
เพ่อื หาข้อสรปุ

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรงุ การดาเนินการของการฝกึ ประสบการณภ์ าคสนาม

1. กระบวนการประเมินการฝึกประสบการณ์ภาคสนามจากผู้เกีย่ วข้องต่อไปน้ี
1.1 นกั ศกึ ษา
1.1.1 ประเมินการบรรลวุ ตั ถุประสงค์ในการฝึกภาคสนามในแง่ของความเพียงพอของแหล่งสนับสนนุ การ

เรียนรู้ ความพร้อมของสถานท่ีฝึก ความร่วมมือของทีมสขุ ภาพ จานวนและความเหมาะสมของผรู้ บั บริการ คณุ ภาพการ
ดแู ลของอาจารยน์ ิเทศ และอาจารย์พเิ ศษสอนภาคปฏบิ ตั ิ

1.1.2 ประเมนิ เกณฑ์การประเมนิ ผล แบบประเมิน และวธิ กี ารประเมนิ
1.1.3 ให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ การจัดประสบการณ์ภาคสนามและความต้องการฝึกเพ่ิมเติม
1.2 พ่ีเล้ยี งหรือผปู้ ระกอบการ (บทบาท หนา้ ท่แี ละความรบั ผิดชอบของพยาบาลพ่เี ลี้ยงในสถานท่ี
นกั ศกึ ษาฝกึ ปฏิบัตงิ าน)
1.2.1 ปฐมนเิ ทศเกยี่ วกับสถานท่ีฝึกงาน กฎระเบียบ แนวปฏิบตั ิตา่ ง ๆ เกีย่ วกบั การฝกึ ปฏิบัติงาน
1.2.2 ใหค้ าแนะนาในขณะที่นักศกึ ษาปฏบิ ตั งิ าน
1.2.3 ร่วมกจิ กรรมของนักศึกษา ไดแ้ ก่ การประชุมปรึกษาก่อนและหลังการปฏบิ ตั ิงาน ตรวจเยี่ยมทางการ
พยาบาล และการประชมุ ปรึกษาปญั หาทางการพยาบาล
1.2.4 ร่วมประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของนักศกึ ษา
1.3 อาจารย์ท่ีดูแลกิจกรรมภาคสนาม

20

1.3.1 ประเมินสมรรถนะของนกั ศกึ ษาในภาพรวมวา่ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคข์ องการฝกึ ประสบการณ์
ภาคสนามของรายวิชาน้ีหรือไม่

1.3.2 ประเมินผลการจัดประสบการณภ์ าคสนามเกีย่ วกบั ความเพยี งพอของแหล่งสนับสนนุ การเรียนรู้
ความพร้อมของสถานทฝี่ กึ ความรว่ มมือของทีมสุขภาพ จานวนและความเหมาะสมของผู้รบั บริการคุณภาพ การดูแลที่
นักศึกษาได้รบั จากตนเอง และ อาจารย์พิเศษทส่ี อนปฏิบตั ิ

1.3.3 ประเมินการทาหน้าที่ของตนเองและอาจารย์พเิ ศษสอนปฏบิ ัติตามแบบประเมนิ กลาง
1.4 อืน่ ๆ

1.4.1 ประเมนิ ผลการสอบขึน้ ทะเบียนใบประกอบวชิ าชพี ในรายวิชาการพยาบาลเด็กและวยั รุน่
1.4.2 ตดิ ตามประเมินผลสมรรถนะบัณฑติ จบใหมท่ ีท่ างานในแผนกทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การพยาบาลเด็กและ
วัยรนุ่ ทัง้ จากตวั บณั ฑิตเอง ผู้รบั บรกิ าร และ ผู้ใช้บณั ฑติ
2. กระบวนการทบทวนผลการประเมนิ และการวางแผนปรับปรุง
2.1 มีคณะกรรมการในสาขาวชิ าตรวจสอบผลการประเมนิ การฝกประสบการณภาคสนามของนักศกึ ษา
(คะแนน/เกรด) กับจานวนและลกั ษณะของผูรบั บริการ รายงานวางแผนการพยาบาล รายงานกรณีศึกษา การประชุม
ปรึกษาปญหาทางการพยาบาลและประเด็นจริยธรรม ผลการสอบหลงั ฝกภาคปฏบิ ตั ิ และการใหคะแนนผลการฝึก
ภาคปฏบิ ัตขิ องงนักศึกษา
2.2 เมอ่ื ส้ินสุดภาคการศกึ ษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวชิ านาผลการประเมนิ การจัดการเรยี น การสอนเข้าสู่การ
ประชมุ กลุม่ วชิ าเพอื่ ประเมนิ คุณภาพการจัดการเรยี นการสอนโดยภาพรวมของกลุ่มวิชา และผลการประเมินนาเสนอต่อ
คณะกรรมการกากับมาตรฐาน เพอ่ื หาแนวทางพัฒนา ปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอนรายวชิ าให้มีประสทิ ธิภาพต่อไป
2.4 กอ่ นเปิดสอนในปีการศึกษาต่อไป กล่มุ วิชาจัดใหม้ ีการประชมุ วพิ ากษร์ ายละเอียดของประสบการณ์
ภาคสนาม (มคอ.4) เพือ่ พจิ ารณาความเหมาะสมของการจัดการเรยี นการสอน ความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานผลการ
เรียนรู้ กลยทุ ธ์การสอนและการประเมนิ ผล และคณาจารย์ภายในกลุ่มวิชานาแนวทางการพัฒนามาปรับปรงุ การ
ออกแบบการเรยี นการสอนรายวชิ าต่อไป
3. วธิ กี ารทวนสอบผลการเรียนรู้ของนกั ศึกษา >> ใหน้ กั ศกึ ษาทวนสอบผลสมั ฤทธ์ขิ องนกั ศกึ ษา
3.1 การทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาปฏบิ ัติการพยาบาลเด็กและวัยรนุ่
3.1.1 มีคณะกรรมการในสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมนิ การเรียนรูข้ องนกั ศึกษา (คะแนนหรือเกรด)
3.1.2 กาหนดส่ิงที่ต้องการทวนสอบ : กลยทุ ธก์ ารสอน การวดั และประเมนิ ผล การประเมนิ ผลลพั ธก์ าร
เรียนรู้

ก) กลยทุ ธก์ ารสอน ไดแ้ ก่
- การประชุมปรกึ ษาก่อนและหลังการปฏิบัตงิ าน (pre - post conference)
- การสอนขา้ งเตยี ง (Bed side teaching)
- การตรวจเยีย่ มทางการพยาบาล (Nursing round)
- การประชมุ ปรกึ ษาทางการพยาบาล (Nursing case conference)
- สาธติ และสาธิตยอ้ นกลับ (Demonstration and return demonstration)

21

ข) การวดั ผลประเมินผล เครือ่ งมือการประเมิน ไดแ้ ก่
- การทดสอบหลังฝึกปฏิบตั กิ ารพยาบาล (Post test)
- การประชุมปรึกษาทางการพยาบาล (Nursing care conference)
- รายงานประเมนิ การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการ
- รายงานการวางแผนการพยาบาล
- การนาเสนอกรณีศกึ ษาและการทางานเป็นทีม
- การประชมุ ปรกึ ษาประเดน็ จริยธรรม (Ethic conference)
- สมดุ เก็บประสบการณ์การฝึกปฏบิ ัติของนักศึกษา

ค) การประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนกั ศกึ ษา ไดแ้ ก่ แบบประเมินการสอน การสมั ภาษณ์ การสังเกต
3.1.3 กาหนดวิธีการทวนสอบรายวชิ า

- การประเมินตามผลลัพธก์ ารเรียนรู้ โดยนกั ศกึ ษา
- สังเกตการสอน กิจกรรมการเรียนรู้
- แบบสอบถาม
- การประเมนิ การสอนโดยนักศกึ ษา
- วิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ 4 /มคอ 6
- การประเมนิ ข้อสอบ การปฏิบตั งิ าน และงานท่นี ักศึกษาได้รบั
- การประเมินการจดั การเรยี นการสอน โดยอาจารย/์ กรรมการ /ผูท้ รงคุณวฒุ ิ
3.1.4 รายงานผลการทวนสอบต่อกรรมการผู้รบั ผดิ ชอบ/กรรมการบริหารหลักสตู ร/สาขาวิชา
3.1.5 นาผลการทวนสอบไปรายงานใน มคอ 6 และจดั ทาแผนในการปรับปรงุ มคอ 4

ทรพั ยากรประกอบการเรียนการสอน

1. ตาราและเอกสารหลัก
พรทิพย์ ศิริบรู ณพ์ ิพฒั นา และคณะ (บรรณาธกิ าร) .(2558). การพยาบาลเด็ก เลม่ 1-3 (ฉบับปรับปรงุ ) (พมิ พ์คร้งั ท่ี 3).

นนทบุร:ี ธนาเพรส.
วลั ยา ธรรมพนชิ วัฒน,์ สมสริ ิ ร่งุ อมรรัตน์ และสุดาภรณ์ พยัคฆเรือง (บรรณาธกิ าร) .(2559). การพยาบาลทารก

แรกเกิดที่มคี วามเสย่ี งสงู . กรุงเทพฯ: พร-ี วนั .
ศรีสมบรู ณ์ มกุ สกิ สคุ นธ,์ ฟองคา ดลิ กสกุลชัย, วไิ ล เลิศธรรมเทวี, อจั ฉรา เปร่อื งเวทย์, พรรณรตั น์ แสงเพ่มิ และ

สดุ าภรณ์ พยคั ฆเรือง (บรรณาธกิ าร). (2561). ตาราการพยาบาลเดก็ เลม่ 1-2 (ฉบับปรับปรงุ คร้งั ที่ 2)
(พิมพ์ครงั้ ที่ 5). นนทบรุ :ี สหมติ รพรน้ิ ติ้งแอนดพ์ ับลชิ ช่งิ .
2. เอกสารและขอ้ มลู สาคัญ
เกรยี งศักดิ์ จีระแพทย์. (2558). ภาวะปรกติและผิดปรกติทพ่ี บบอ่ ยในทารกแรกเกดิ (พมิ พ์คร้ังท่ี 2). กรุงเทพฯ:
ด้านสทุ ธาการพิมพ์.

22

งานบรกิ ารวชิ าการและศนู ยก์ ารศกึ ษาตอ่ เน่อื งทางการพยาบาลรามาธบิ ด.ี (2561). เอกสารประกอบการประชุม
วชิ าการ เรือ่ ง Update Pediatric Nursing in 2018. กรงุ เทพฯ: โรงเรียนพยาบาลรามาธบิ ดี
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวิทยาลยั มหดิ ล

ชลดา จนั ทรข์ าว. (2558). การพยาบาลทารกแรกเกิด. กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .
ทศั นยี ์ อรรถารส. (2561). การพยาบาลโดยให้ครอบครัวเปน็ ศูนย์กลางในเด็กท่ปี ่วยเปน็ โรคมะเรง็ และครอบครวั . (พิมพ์
ครง้ั ท่ี 1). กรุงเทพฯ : งานตาราและวารสาร สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย.
พิมพาภรณ์ กล่ันกลนิ่ . (2561). การพยาบาลเดก็ เพื่อการสร้างเสริมสขุ ภาพ.เชียงใหม่ : โครงการตารา

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.
รุจา ภ่ไู พบลู ย์. (2558). การวางแผนการพยาบาลเดก็ สุขภาพดีและเดก็ ป่วย (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 3). กรุงเทพฯ: โรงพมิ พพ์ ุทธ

ศาสนาของธรรมสภา.
รงุ้ ตวรรณ์ ช้อยจอหอ และปรยี าวรรณ วิบูลย์วงศ์. (2560). ทารกแรกเกดิ : การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพการสง่ เสริม

และการปูองกันสขุ ภาพ. นนทบรุ ี: ธนาเพรส.
วรรณไพร แย้มมา. (2560). เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าการพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ 2. เพชรบุรี:

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏเพชรบุรี.
สพุ ัตรา นตุ รักษ์. (2560). เอกสารประกอบการสอนรายวชิ าการพยาบาลเด็กและวยั รนุ่ 1. เพชรบุร:ี

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเพชรบรุ ี.
อัญชลี ล้ิมรังสกิ ุล และพฤหัส พงษ์มี. (2559). ตาราการก้ชู ีพทารกแรกเกดิ = Textbook of neonatal resuscitation
กรุงเทพฯ : ชมรมเวชศาสตร์ทารกแรกเกดิ แห่งประเทศไทย.
Bindler, R., & Ball, J, W. (2008). Clinical Skills Manual for Pediatric nursing: Caring for children

(4th ed). Connecticut: Appleton & Lange.
Ball, J, W., Bindler, R., & Cowen, K., Shaw, M. R. (2017). Principles of Pediatric Nursing: Caring for

Children (7th Ed). New York : Pearson
Burns, C. E., Dunn, A. M., Brady, M. A., Starr, N. B., Garzon, D. L., & Gaylord, N. M. (2017).

Pediatric primary care (6th ed.). Philadelphia: Elsevier.
Hockenberry, M. J., & Wilson, D. (2016). Wong's Nursing care of infants and children (10th ed).

St. Louis: Mosby Elsevier.
Potts, N. L. & Mandleco, B. L. (2012). Pediatric nursing : Caring for children and their fammilies.

(3th ed). Connecticut : Appleton & Lange.
3. เอกสารและขอ้ มลู แนะนา

รายงานวิจัยทางการพยาบาลเดก็ และทีเ่ ก่ยี วข้อง
กรณศี ึกษาการพยาบาลเดก็
วารสารตา่ ง ๆ

- วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสขุ
- วารสารพยาบาลคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยบรู พา
- วารสารพยาบาลทหารบก

23

- วารสารพยาบาลสาธารณสุข
- วารสารพยาบาลศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั
- วารสารพยาบาลศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหิดล
- วารสารพยาบาลศาสตรแ์ ละสขุ ภาพ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ขอนแกน่
- วารสารพยาบาลสาร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่
- วารสารพยาบาลสงขลานครนิ ทร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร์
- วารสารรามาธิบดพี ยาบาลสาร คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล
- วารสารสภาการพยาบาล
- Advanced in Nursing Science
- American Journal of Maternal-Child Nursing
- American Journal Nursing
- Australian Nursing Journal
- Child Development
- Nursing research
- Pediatric Nursing
www.pediatricnursing.net
www.pediatricnursing.org/
www.jpedsurg.org/
http://journals.lww.com/pidj/pages/default.aspx

หมวดท่ี 8 การบรู ณาการรายวิชาที่สอดคล้องกับพนั ธกจิ อ่ืนๆ (ถา้ มี)

รูปแบบการบูรณาการ เนื้อหารายวิชา
ไม่มี

ช่อื อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบรายวิชา
ลงชือ่ ..............................................................................วันทรี่ ายงาน…………………………………………………..

.......................................................................
(นางสาวศมิ าภรณ์ พวงสุวรรณและนางสาวสพุ ัตรา ลกั ษณะจันทร์)

ชือ่ อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร
ลงชอ่ื ..............................................................................วันทรี่ ายงาน............................................................

……………………………………………………………..
(ดร.นิตยา ศรีสขุ )

24

กาหนดการเตรยี มความพรอ้ ม วชิ าปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุน่ NURNS24 จานวน
วันที่ รายละเอียด (ชม.)

วันอังคารท่ี 16 มี.ค. 64 - เตรยี มความพร้อมหตั ถการ ไดแ้ ก่ การใส่ NG ในเดก็ และ OG 1

13.30 – 14.30 น. tube ในทารก, การให้อาหารทารก, การใช้ Incubator + Photo 2

(ดร.กชณภิ า ผลพฤกษ)์ 1.30

วนั อังคารท่ี 16 ม.ี ค. 64 - เตรียมความพร้อมหตั ถการ ไดแ้ ก่ การให้ O2 ในเด็ก, การพน่ ยา 1.30
1
14.30 – 16.30 น. ในเด็ก, เคาะปอดและจัดท่าระบายเสมหะ + Suction
1
(อ.ศิมาภรณ์ พวงสวุ รรณ) 4

วันพุธที่ 17 ม.ี ค. 64 - เตรียมความพร้อมหตั ถการ ได้แก่ เช็ดตวั ลดไข้, การใหเ้ ลือดใน 4
3
13.30 – 15.00 น. เด็ก, การเตรียมกอ่ น-หลงั ผ่าตัดในเด็ก, การจดั ท่าทาหตั ถการ, 3

การห่อตัว (อ.สุมณฑา โพธิบุตร และ อ.ศิมาภรณ์ พวงสวุ รรณ)

วนั พธุ ท่ี 17 มี.ค. 64 - เตรียมความพร้อมหตั ถการ ไดแ้ ก่ การบริหารยา small dose,

15.00 – 16.30 น. การอาบน้าเดก็ (อ.จฬุ าลกั ษณ์ แก้วสกุ )

วนั จนั ทรท์ ่ี 22 มี.ค. 64 ปฐมนเิ ทศรายวิชา แนะนา มคอ. อาจารย์ผสู้ อน รายละเอียด

16.00 – 17.00 น. ภาพรวมต่างๆ

- ชแ้ี จงแบบฟอร์มการฝึกปฏิบตั ิ และแบบประเมินการฝึกปฏบิ ัติ

วันพฤหัสบดที ่ี 25 ม.ี ค. 64 - เตรียมความพร้อมหตั ถการ ได้แก่ การเกบ็ ส่ิงสง่ ตรวจในเดก็

16.00 – 17.00 น. (UA, Stool, เสมหะ, เลือด) (อ.ศมิ าภรณ์ พวงสวุ รรณ)

วันพฤหัสที่ 1 เม.ย. 64 - นักศึกษา (ทีข่ ้ึนปฏิบัตฝิ กึ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี) ทบทวนการ

8.00 – 12.00 น. เตรียมความพร้อมในทักษะตา่ งๆพร้อมทั้งอัด vdo กลมุ่ ละ 2

ทักษะ ได้แก่

1. ทกั ษะการบริหารยา

2. ทักษะการให้ออกซเิ จนและพ่นยาในเด็ก

3. ทักษะการใส่สายให้อาหารทางปาก (OG) ในเดก็

วนั ศกุ ร์ท่ี 2 เม.ย. 64 - สอบ pre-test โดยการสอบสถานการณ์ simulation 1

8.00 – 12.00 น. สถานการณ์ และ OSCE 2 ฐาน โดยแบ่งเปน็ 3 กล่มุ ใหญ่

วันศกุ ร์ท่ี 2 เม.ย. 64 - นกั ศึกษาที่ขึ้นฝึกปฏิบตั ิท้ังหมดของโรงพยาบาลสรุ าษฎรธ์ านี

13.30 - 16.30 น. ปฐมนิเทศแหลง่ ฝึก ณ โรงพยาบาลสรุ าษฎร์ธานี

วันศกุ ร์ท่ี 2 เม.ย. 64 - นกั ศกึ ษา (ทีข่ น้ึ ปฏิบตั ิฝึกโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต) ทบทวนการ

13.30 - 16.30 น. เตรยี มความพรอ้ มในทักษะตา่ งๆพร้อมทง้ั อัด vdo กลุ่มละ 2

ทกั ษะ ได้แก่

วันที่ รายละเอียด 25

วันจันทรท์ ่ี 5 เม.ย. 64 1. ทักษะการบริหารยา จานวน
8.30 – 12.00 น. 2. ทักษะการให้ออกซิเจนและพ่นยาในเดก็ (ชม.)
วันอังคารท่ี 11 พ.ค. 64 3. ทักษะการใส่สายให้อาหารทางปาก (OG) ในเด็ก
8.30 – 12.00 น. - นักศึกษารอบท่ี 1 ปฐมนเิ ทศแหล่งฝกึ ณ โรงพยาบาลวชิระ 4
วันจันทร์ท่ี 7 ม.ิ ย. 64 ภูเก็ต 4
8.30 – 12.00 น. - นักศึกษารอบที่ 2 ปฐมนิเทศแหลง่ ฝึก ณ โรงพยาบาลวชริ ะ 4
ภูเกต็
- นกั ศึกษารอบท่ี 3 ปฐมนิเทศแหลง่ ฝึก ณ โรงพยาบาลวชริ ะ
ภูเก็ต

เตรียมความพรอ้ ม
วนั พฤหสั บดที ่ี 1 เมษายน เวลา 8.00-12.00 น.
นักศกึ ษาชั้นปีท่ี 3 ท่ีขน้ึ ฝึกปฏบิ ตั ิ โรงพยาบาลสรุ าษฎร์ธานี
นักศึกษาฝกึ ปฏิบตั ิทักษะการพยาบาลเดก็ และวยั รนุ่ ดงั นี้
1. ทกั ษะการบรหิ ารยา
2. ทกั ษะการให้ออกซิเจนและพ่นยาในเดก็
3. ทกั ษะการใส่สายให้อาหารทางปาก (OG) ในเดก็
รายละเอยี ด : ให้นกั ศกึ ษาท่ีข้ึนฝึกปฏิบัติ โรงพยาบาลสุราษฎรธ์ านี ไดแ้ ก่ กล่มุ ท่ี 1, 2, 6, 7, 10, 11 และ 12
ถา่ ย vdo กลุม่ ละ 2 ทกั ษะ ตามตาราง
อปุ กรณ์

-หุ่นเด็กเลก็ -NSS piggy bag 100, 500,1000cc
-ห่นุ ทารก/เด็กทใี่ สส่ าย NG,OG ได้ -SW,D5W piggy bag 100 cc
-คลปิ เด็กอ่อน -Syringe 1,3,5,10,20,50 cc
-stethoscope -SW ขวด 1,000 cc สาหรบั ลา้ งสาย
-set พ่นยา - OG-tube ขนาดตา่ งๆ
-สายออกซิเจน -set IV, three way, extension tube
- O2 box, O2 cannula, O2 Mask -เขม็ เบอร์ 18 กบั 24 และเบอรอ์ ่นื ๆ
-ถงั ออกซิเจน, เกย์ออกซิเจน -สาย suction ขนาดตา่ งๆ
-เครื่อง suction -ถุงมอื , ถุงมือ sterile
-stethoscope เด็ก -แถบสีระบวุ นั Exp.

26

-ถาด -พลาสเตอร์ fixomull
-กรรไกร -ET-tube
-เหยือก -สาลี alcohol, สาลีแหง้
-แก้วนา้ - ผา้ sterile รองถาดยา
-syringe pump, Infusion pump - Amp ยา, Vial ยา

ตาราง การฝกึ ปฏบิ ัตทิ ักษะต่างๆ

วัน/เวลา กล่มุ รายชือ่ นักศกึ ษา ทกั ษะ
วันพฤหสั บดีที่ 1 นายอานูวา ดอื เระ๊ ทกั ษะการบรหิ ารยา/
เมษายน เวลา 8.00- นางสาวจนั ทกานต์ แกน่ สาร ทกั ษะการให้ออกซเิ จนและ
นางสาวกมลชนก จนั ทร
12.00 น. นางสาวมธุรศ คงเลิศ พน่ ยาในเดก็
นางสาวกชพรรณ จาปา
1 นางสาวกาญจนา สนั เพช็ ร์ ทกั ษะการบรหิ ารยา/
นางสาวทติ สยา อาหมาย ทกั ษะการใสส่ ายให้อาหาร
วนั พฤหสั บดีที่ 1 นางสาวษญิ ดา พรมจนั ทร์
เมษายน เวลา 8.00- นางสาววนั ทนี สุขารมณ์ ทางปาก (OG) ในเดก็
นางสาวอรปรีญา ภิรมยร์ กั ษ์
12.00 น. นางสาวพชั ริดา บารุงศรี ทกั ษะการบริหารยา/
นางสาวนารสี นั ณ์ ดาตยู าแฮ ทกั ษะการให้ออกซเิ จนและ
2 นางสาวภาสนิ ี หมาดงะ๊
นางสาวอษุ ณา อุเสน็ พ่นยาในเด็ก
วนั พฤหัสบดีท่ี 1 นางสาวพทั ธชิ์ ญา หวงั สาสขุ
เมษายน เวลา 8.00- นางสาวธญั ญารัตน์ ทองในแก้ว ทกั ษะการบรหิ ารยา/
นายสทิ ธิสมบรู ณ์ ภคู รองนา
12.00 น. นายคณาธิป แสงพรหม
นางสาวโชษติ า สายใจบญุ
6 นางสาวศศนิ ภิ า ศรีโพนทอง
นางสาวพชิ ชาพร บรรจงศิริ
วันพฤหัสบดที ่ี 1 7 นางสาวณัฐธิดา ชานาญกจิ
นางสาวเจตปรียา สุขดา
นางสาววรัญญา พงษว์ ิเศษ
นางสาวเยาวมินทร์ เขยี วภักดี

วนั /เวลา กล่มุ รายชอื่ นักศึกษา 27
เมษายน เวลา 8.00-
นางสาวจิรพรรณ เทพวงค์ ทกั ษะ
12.00 น. ทักษะการใสส่ ายใหอ้ าหาร
นางสาวสุไมยา หดั บิลแหม
วนั พฤหัสบดีที่ 1 ทางปาก (OG) ในเดก็
เมษายน เวลา 8.00- นางสาวปยิ าภรณ์ ชัยทอง
ทักษะการบริหารยา/
12.00 น. นางสาวรัตตยิ า ชอบงาม ทกั ษะการให้ออกซเิ จนและ

วนั พฤหสั บดีที่ 1 นางสาวจรี นันท์ ชืน่ ชมนอ้ ย พน่ ยาในเด็ก
เมษายน เวลา 8.00-
นางสาวภทั รวดี ปานเนียม ทกั ษะการบรหิ ารยา/
12.00 น. ทักษะการใส่สายให้อาหาร
นางสาวศนิกานต์ กิจสาเรจ็
วนั พฤหสั บดีท่ี 1 ทางปาก (OG) ในเดก็
เมษายน เวลา 8.00- นายยศพร จนั ทร์เกล้ยี ง
ทักษะการบริหารยา/
12.00 น. นางสาวณัฐปภัสร์ พงศ์ทองเมอื ง ทักษะการใหอ้ อกซเิ จนและ

นางสาวนิอารีนี กูทา พ่นยาในเดก็

10 นางสาวปรีญานุช ทองนอ้ ย
นางสาวมริ นั ตี ไพศรรี ตั น์

นางสาวพมิ พล์ ภสั คงมา

นางสาวกมลชนก ลมพดั

นางสาววนิดา โงน่ ชาลี

นางสาวสายสิริ แกว้ เหมือน

นางสาวปนัดดา มเี พยี ร

นางสาวบญุ ญสิ า รอดศรี

11 นางสาวจฑุ ารตั น์ รักษายศ
นางสาวปวีณา บญุ สนอง

นางสาวพชิ ามญชุ์ ศรสี วุ รรณ

นางสาวพชั รภรณ์ รักบ้านดอน

นางสาวญานติ า เขตอนนั ต์

นางสาวกงิ่ รงั ษี ชอบกิจ

นางสาวอารยิ า เครอื หงษ์

นางสาวอารนี า โตะสา

12 นางสาวฑิตฐิตา รัตนคาม
นางสาวสชุ านาฏ ทองผอม

นางสาวสดุ ารัตน์ ชอ่ งรักษ์

นางสาวจนั จิรา ตราสุวรรณ

นางสาววิภาดา ขนอม

28

เตรยี มความพร้อม
วนั ศุกร์ท่ี 2 เมษายน เวลา 13.30-16.30 น.
นกั ศึกษาช้นั ปที ่ี 3 ท่ีขึ้นฝึกโรงพยาบาลวชริ ะภเู ก็ต
นักศกึ ษาฝึกปฏิบตั ทิ ักษะการพยาบาลเดก็ และวัยรุ่น ดงั นี้
1. ทักษะการบรหิ ารยา
2. ทกั ษะการให้ออกซิเจนและพน่ ยาในเด็ก
3. ทักษะการใสส่ ายให้อาหารทางปาก (OG) ในเด็ก
รายละเอียด : ใหน้ ักศึกษาทข่ี ้ึนฝึกปฏบิ ตั ิ โรงพยาบาลวชริ ะภูเกต็ ไดแ้ ก่ กล่มุ ที่ 3, 4, 5, 8, 9, 13 และ 14
ถ่าย vdo กลมุ่ ละ 2 ทกั ษะ ตามตาราง
อุปกรณ์

-หนุ่ เด็กเล็ก -NSS piggy bag 100, 500,1000cc
-หุ่นทารก/เด็กทใี่ ส่สาย NG,OG ได้ -SW,D5W piggy bag 100 cc
-คลปิ เด็กอ่อน -Syringe 1,3,5,10,20,50 cc
-stethoscope -SW ขวด 1,000 cc สาหรบั ลา้ งสาย
-set พน่ ยา - OG-tube ขนาดต่างๆ
-สายออกซเิ จน -set IV, three way, extension tube
- O2 box, O2 cannula, O2 Mask -เขม็ เบอร์ 18 กับ 24 และเบอร์อ่ืนๆ
-ถงั ออกซิเจน, เกยอ์ อกซเิ จน -สาย suction ขนาดต่างๆ
-เคร่ือง suction -ถงุ มอื , ถุงมอื sterile
-stethoscope เด็ก -แถบสรี ะบุวนั Exp.
-ถาด -พลาสเตอร์ fixomull
-กรรไกร -ET-tube
-เหยือก -สาลี alcohol, สาลีแหง้
-แก้วน้า - ผ้า sterile รองถาดยา
-syringe pump, Infusion pump - Amp ยา, Vial ยา

ตาราง การฝึกปฏบิ ตั ทิ ักษะต่างๆ 29

วัน/เวลา กลมุ่ รายชื่อนักศกึ ษา ทกั ษะ
นางสาวอรจิรา เมฆาสุวรรณรัตน์
วนั ศุกร์ที่ 2 เมษายน นางสาวอลษิ า ชฉู างหวาง ทกั ษะการบริหารยา/
นางสาวสริ ิยากร ศรีสงคราม ทักษะการใหอ้ อกซิเจน
เวลา 13.00-16.00 น. นางสาวฮดู ีญา ใจสมุทร
นางสาวอซั มาอ์ เสม็ หมาด และพ่นยาในเดก็
3 นางสาวเกศมณี พรมศรี
นางสาวนติยา ตาเดอนิ ทักษะการบรหิ ารยา/
วันศกุ ร์ที่ 2 เมษายน นางสาวศริ ิลักษณ์ ขาณรงค์ ทกั ษะการใสส่ ายให้
เวลา 13.00-16.00 น. นางสาวอรวี อินสวุ รรณ์ อาหารทางปาก (OG) ใน
นางสาวเบญญาภรณ์ ทิพเสภา
4 นางสาวธนญั ญา อนิ ทะสระ เด็ก
นางสาวกรรนิการ์ ยอดทอง
วนั ศกุ รท์ ่ี 2 เมษายน นางสาวสุทธดิ า แกว้ ระยับ ทักษะการบริหารยา/
เวลา 13.00-16.00 น. นางสาวบณั ฑิตา เกิดสมบัติ ทกั ษะการให้ออกซิเจน
นางสาวรตั ติวัลย์ ษฏั เสน
5 นางสาวธนั ยมยั ดาวเรือง และพ่นยาในเด็ก
นางสาวปทั มา หอ้ งแซง
วันศุกรท์ ี่ 2 เมษายน นางสาวอณติ ยา เหมนแกว้ ทักษะการบรหิ ารยา/
เวลา 13.00-16.00 น. นางสาวญานิกา ทาระการ ทกั ษะการใสส่ ายให้
นางสาวอารสิ า รอดแจง้ อาหารทางปาก (OG) ใน
8 นางสาวรุชดา บุหลาด
นางสาวณฐั มล สโุ สะ เด็ก
นางสาวสาธิกา ผวิ นิล
นางสาวปาลนิ หีตหมื่น
นางสาวมัฑณา อัศดรกาญจน์
นางสาวปัทมาภรณ์ เผ่าภูรี
นางสาวอารยี า จาปาทอง
นางสาวสภุ าพร รตั นรตั น์
นางสาวกาญจนา วา่ หาบ
นางสาวธิญาดา มิตสุวรรณ

วนั /เวลา กลมุ่ รายชื่อนกั ศึกษา 30

วนั ศกุ รท์ ี่ 2 เมษายน นางสาวนูรวาฮีดา ยโู ซะ ทักษะ

เวลา 13.00-16.00 น. นางสาวพุทธมาศ เรศประดิษฐ ทกั ษะการบริหารยา/
ทักษะการให้ออกซิเจน
นางสาวธีรารตั น์ เพชรทอง
และพน่ ยาในเด็ก
9 นางสาวอภสิ รา ทาระการ
นางสาววราวลั ย์ คงบารุง ทกั ษะการบรหิ ารยา/
ทกั ษะการใส่สายให้
นางสาวโชตกิ า ธนศู ลิ ป อาหารทางปาก (OG) ใน

นางสาวปนัดดา คลองยวน เด็ก

นางสาวภัทรภร บญุ รอด ทักษะการบรหิ ารยา/
ทกั ษะการให้ออกซิเจน
วันศุกร์ท่ี 2 เมษายน นางสาวสุกญั ญา นิยมพรอ้ ม
และพ่นยาในเดก็
เวลา 13.00-16.00 น. นางสาวรชั นีกร จนี บวช

นางสาวรไู วดา สาแม

13 นางสาวศยามล เจ๊ะหมวก

นางสาวสุวรรณดี จีนเมือง

นางสาวมารสิ า กาเดร์

นางสาวสุชานาฎ แสนโยชน์

วันศุกรท์ ี่ 2 เมษายน นางสาวสุชานนั ท์ เบ้าไธสง

เวลา 13.00-16.00 น. นางสาวศิริรตั น์ วิจาราณ์

นางสาวซาพรนี า อาบา

14 นางสาววรนิ ดาว คาเจรญิ

นางสาวจริ นนั ท์ เกตแุ กว้

นางสาวธันยพร บญุ ชว่ ย

นางสาวณารีรัตน์ มากกราย

31

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านี
ตารางการฝกึ ภาคปฏิบตั ิรายวิชา NURNS24 ปฏิบัติการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

นักศกึ ษาพยาบาลศาสตรช์ น้ั ปที ี่ 3 ภาคการศึกษาที่ 3 ปีการศกึ ษา 2563
ระหวา่ งวันท่ี 5 เมษายน – 7 พฤษภาคม 64 (จานวน 4 สัปดาห)์ 38 คน
ณ โรงพยาบาลสรุ าษฎรธ์ านี จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี และโรงพยาบาลวชริ ะภเู กต็ จังหวัดภเู ก็ต
รอบท่ี 1 โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี (จานวน 16 คน)

รายชอ่ื นักศึกษา สัปดาห์ที่ 1 สปั ดาห์ที่ 2 สปั ดาหท์ ่ี 3 สปั ดาห์ท่ี 4
5-9 เม.ย.64 19-23 เม.ย.64 26-30 เม.ย.64 3-7 พ.ค.64
นักศกึ ษากลมุ่ 1
1 นายอานูวา ดือเร๊ะ PICU กมุ าร 2 กุมาร 1 * NICU1 อ.จุฬา
2 นางสาวจนั ทกานต์ แกน่ สาร อ.ศิมาภรณ์ อ.สมุ ณฑา อ.สมุ ณฑา ลักษณ์ (นกั ศกึ ษา
3 นางสาวกมลชนก จันทร (เก็บ case (WBC 21 เม.ย.)
4 นางสาวมธุรศ คงเลิศ 1-4)
5 นางสาวกชพรรณ จาปา study) NICU2 อ.สุมณฑา
6 นางสาวกาญจนา สันเพช็ ร์
7 นางสาวทิตสยา อาหมาย (นกั ศกึ ษา5-8)
8 นางสาวษิญดา พรมจนั ทร์
NICU1 อ.จฬุ า กุมาร 1 * กุมาร 2 PICU
นักศกึ ษากลุ่ม 2 ลกั ษณ์ (นักศกึ ษา อ.จฬุ าลักษณ์ อ.ศมิ าภรณ์ อ.ศมิ าภรณ์
1 นางสาววันทนี สขุ ารมณ์ (เก็บ case (WBC 28 เม.ย.)
2 นางสาวอรปรญี า ภริ มย์รกั ษ์ 1-4)
3 นางสาวพชั ริดา บารุงศรี NICU2 อ.สมุ ณฑา study)
4 นางสาวนารีสนั ณ์ ดาตูยาแฮ
5 นางสาวภาสนิ ี หมาดงะ๊ (นักศกึ ษา5-8)
6 นางสาวอุษณา อเุ สน็
7 นางสาวพทั ธิช์ ญา หวงั สาสุข
8 นางสาวธัญญารัตน์ ทองในแก้ว

หมายเหตุ :
1. วันที่ 12-16 เมษายน 64 หยุดวันสงกรานต์ งดขนึ้ ฝึกปฏบิ ัติทุกแผนก
2. วนั ท่ี 6 เมษายน 64 วนั จกั รี และ วนั ท่ี 4 พฤษภาคม 64 วันฉัตรมงคล ขึ้นฝึกปฏิบตั ิงานตามปกติ
3. วันศุกรท์ ่ี 9 เมษายน 2564 (สัปดาหท์ ี่ 1) ช่วงบา่ ย conference ward ที่ขึน้ ฝึกปฏิบตั ิงานอยู่

32

4. วนั ศกุ ร์ ท่ี 23 เมษายน 2564 (สปั ดาห์ท่ี 2) เป็นวัน conference ทง้ั วนั โดยช่วงเช้า ทา ethic
conference และชว่ งบา่ ยเป็นวัน conference ward ที่ข้ึนฝกึ ปฏบิ ัตงิ านอยู่
5. วนั ศุกรท์ ่ี 30 เมษายน 2564 (สปั ดาหท์ ่ี 3) ช่วงบ่าย conference
6. วันศุกร์ ท่ี 7 พฤษภาคม 2564 (สัปดาหท์ ี่ 4) เปน็ วนั conference ท้ังวัน โดยช่วงเชา้ conference ward
ที่ข้นึ ฝึกปฏิบตั ิงานอยู่ และช่วงบ่ายนาเสนอ case study
7. ฝกึ ปฏิบตั คิ ลินกิ เด็กสขุ ภาพดี

- นกั ศกึ ษากล่มุ ท่ี 1 ไปคลินกิ เดก็ สุขภาพดี (WBC) วนั ที่ 21 เมษายน 64 เวลา 13.00 – 16.00 น.
- นกั ศึกษากลุ่มที่ 2 ไปคลินกิ เดก็ สุขภาพดี (WBC) วันที่ 28 เมษายน 64 เวลา 13.00 – 16.00 น.
8. งานกลมุ่ case study
- นักศกึ ษากล่มุ ที่ 1 เก็บ case study ในสปั ดาห์ที่ 1 หอผ้ปู วุ ย PICU
- นกั ศกึ ษากลมุ่ ที่ 2 เก็บ case study ในสัปดาหท์ ่ี 2 หอผปู้ วุ ยกุมารเวชกรรม 1

รอบที่ 1 โรงพยาบาลวชิระภูเกต็ (จานวน 22 คน)

รายช่อื นกั ศกึ ษา สปั ดาหท์ ่ี 1 สัปดาหท์ ่ี 2 สปั ดาห์ท่ี 3 สปั ดาห์ที่ 4
5-9 เม.ย.64 19-23 เม.ย.64 26-30 เม.ย.64 3-7 พ.ค.64
นกั ศกึ ษากลุม่ 3
1 นางสาวอรจิรา เมฆาสุวรรณรัตน์ กมุ าร 1 กมุ าร 2 PICU Sick NB
2 นางสาวอลิษา ชฉู างหวาง ดร.กชณภิ า อ.ชนานนั ท์ อ.สุพตั รา ดร.กชณภิ า
3 นางสาวสิรยิ ากร ศรสี งคราม (เก็บ case (WBC 22 เม.ย.)
4 นางสาวฮดู ีญา ใจสมุทร
study)
5 นางสาวอัซมาอ์ เสม็ หมาด (คลินิกเด็กและ
6 นางสาวเกศมณี พรมศรี Hemato 8
7 นางสาวนตยิ า ตาเดอิน
8 นางสาวศิรลิ ักษณ์ ขาณรงค์ เม.ย.)

นักศึกษากลุม่ 4 กมุ าร 2 กุมาร 1 Sick NB PICU
1 นางสาวอรวี อินสุวรรณ์ อ.ชนานนั ท์ อ.สพุ ัตรา ดร.กชณภิ า อ.สพุ ตั รา
2 นางสาวเบญญาภรณ์ ทิพเสภา (เก็บ case (คลนิ ิกเด็กและ
3 นางสาวธนัญญา อินทะสระ Hemato 22
4 นางสาวกรรนกิ าร์ ยอดทอง study) เม.ย.)
5 นางสาวสทุ ธดิ า แก้วระยับ (WBC 8 เม.ย.)
6 นางสาวบณั ฑติ า เกดิ สมบตั ิ
7 นางสาวรตั ตวิ ลั ย์ ษฏั เสน

รายช่อื นักศึกษา 33

นกั ศกึ ษากล่มุ ท่ี 5 สปั ดาหท์ ่ี 1 สปั ดาห์ท่ี 2 สัปดาหท์ ี่ 3 สัปดาหท์ ี่ 4
1 นางสาวธนั ยมัย ดาวเรอื ง 5-9 เม.ย.64 19-23 เม.ย.64 26-30 เม.ย.64 3-7 พ.ค.64
2 นางสาวปัทมา ห้องแซง
3 นางสาวอณิตยา เหมนแกว้ PICU Sick NB กุมาร 1 กุมาร 2
4 นางสาวญานกิ า ทาระการ อ.สุพัตรา ดร.กชณิภา อ.ชนานนั ท์ อ.ชนานนั ท์
5 นางสาวอารสิ า รอดแจ้ง (เกบ็ case (คลินกิ เดก็ และ (WBC 6 พ.ค.)
6 นางสาวรชุ ดา บหุ ลาด study) Hemato 29
7 นางสาวณฐั มล สโุ สะ
เม.ย.)

หมายเหตุ :
1. วันที่ 12-16 เมษายน 64 หยดุ วันสงกรานต์ งดขน้ึ ฝึกปฏิบัตทิ ุกแผนก
2. วนั ที่ 6 เมษายน 64 วันจักรี และวันท่ี 4 พฤษภาคม 64 วนั ฉตั รมงคล ขึ้นฝกึ ปฏบิ ัติงานตามปกติ
3. วันศกุ รท์ ่ี 9 เมษายน 64 (สัปดาหท์ ี่ 1) ชว่ งบา่ ย conference ward ท่ีข้นึ ฝึกปฏบิ ตั ิงานอยู่
4. วันศกุ ร์ ท่ี 23 เมษายน 64 (สัปดาหท์ ่ี 2) เปน็ วัน conference ทงั้ วัน โดยชว่ งเช้า ทา ethic conference
และชว่ งบา่ ยเปน็ วัน conference ward ที่ขน้ึ ฝึกปฏิบัตงิ านอยู่
5. วันศกุ รท์ ี่ 30 เมษายน 2564 (สัปดาหท์ ่ี 3) ชว่ งบา่ ย conference
6. วนั ศกุ ร์ ท่ี 7 พฤษภาคม 2564 (สปั ดาหท์ ี่ 4) เป็นวัน conference ทงั้ วัน โดยช่วงเชา้ conference ward
ท่ีขึน้ ฝกึ ปฏบิ ตั งิ านอยู่ และช่วงบา่ ยนาเสนอ case study
7. ฝกึ ปฏบิ ัตคิ ลนิ ิกเด็กสุขภาพดี

- นกั ศึกษากลมุ่ ที่ 3 ไปคลนิ กิ เดก็ สุขภาพดี (WBC) วันที่ 22 เมษายน 64 เวลา 13.00 – 16.00 น.
- นักศึกษากลมุ่ ท่ี 4 ไปคลนิ ิกเดก็ สขุ ภาพดี (WBC) วนั ท่ี 8 เมษายน 64 เวลา 13.00 – 16.00 น.
- นกั ศึกษากลมุ่ ที่ 5 ไปคลนิ ิกเดก็ สุขภาพดี (WBC) วนั ท่ี 6 พฤษภาคม 64 เวลา 13.00 – 16.00 น.
8. ฝกึ ปฏิบัตคิ ลินกิ เดก็ และคลินกิ โรคเลอื ด
- นักศกึ ษากลุ่มที่ 3 ไปคลนิ กิ เด็กและคลินกิ โรคเลอื ด วนั ท่ี 8 เมษายน 64 เวลา 8.00 – 16.00 น.
- นักศึกษากลุ่มท่ี 4 ไปคลนิ ิกเด็กและคลนิ กิ โรคเลือด วนั ที่ 22 เมษายน 64 เวลา 8.00 – 16.00 น.
- นักศึกษากลุ่มที่ 5 ไปคลินิกเดก็ และคลินกิ โรคเลอื ด วนั ที่ 29 เมษายน 64 เวลา 8.00 – 16.00 น.
9. งานกลุ่ม case study
- นักศึกษากลุม่ ที่ 3 เกบ็ case study ในสปั ดาห์ท่ี 1 หอผปู้ ุวยกุมารเวชกรรม 1
- นกั ศกึ ษากลมุ่ ท่ี 4 เก็บ case study ในสปั ดาห์ที่ 1 หอผู้ปุวยกมุ ารเวชกรรม 2
- นักศึกษากลุ่มท่ี 5 เกบ็ case study ในสัปดาห์ที่ 1 หอผ้ปู วุ ย PICU

34

ตารางการฝึกภาคปฏิบตั ริ ายวชิ า NURNS24 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลเดก็ และวัยรุ่น
นักศกึ ษาพยาบาลศาสตร์ช้ันปีที่ 3 ภาคการศึกษาท่ี 3 ปกี ารศกึ ษา 2563

ระหวา่ งวันท่ี 10 พฤษภาคม - 4 มถิ ุนายน 2564 (จานวน 4 สปั ดาห์) 32 คน
ณ โรงพยาบาลสุราษฎรธ์ านี จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี และโรงพยาบาลวชริ ะภเู กต็ จังหวัดภูเก็ต
รอบที่ 2 โรงพยาบาลวชริ ะภเู ก็ต สปั ดาหท์ ี่ 1 และ 2 จานวน 32 คน สัปดาหท์ ่ี 3 และ 4 จานวน 16 คน (กลมุ่
ที่ 6 และ 7 ในสปั ดาหท์ ่ี 1 และ 2 ขึ้นฝึกปฏิบตั ทิ โ่ี รงพยาบาลวชิระภเู ก็ต)
โรงพยาบาลสรุ าษฎรธ์ านี สปั ดาห์ท่ี 3 และ 4 จานวน 16 คน

รายชอ่ื นักศึกษา สัปดาหท์ ่ี 1 สปั ดาหท์ ี่ 2 สัปดาห์ท่ี 3 สัปดาห์ที่ 4
นกั ศกึ ษากล่มุ 6
11-14 พ.ค.64 17-21 พ.ค.64 24-28 พ.ค.64 31-4 มิ.ย.64

โรงพยาบาลวชริ ะภเู กต็ โรงพยาบาลสรุ าษฎร์ธานี

1 นายสิทธิสมบรู ณ์ ภคู รองนา PICU Sick NB กุมาร 2 กมุ าร 1*
2 นายคณาธปิ แสงพรหม อ.สุมณฑา อ.จุฬาลกั ษณ์ อ.สุมณฑา อ.กชณิภา
3 นางสาวโชษติ า สายใจบญุ (เกบ็ case (WBC 20 พ.ค.)
4 นางสาวศศนิ ิภา ศรีโพนทอง study)
5 นางสาวพิชชาพร บรรจงศริ ิ
6 นางสาวณฐั ธิดา ชานาญกิจ Sick NB PICU กุมาร 1* กมุ าร 2
7 นางสาวเจตปรียา สขุ ดา ดร.กชณิภา อ.ศมิ าภรณ์ อ.กชณิภา อ.สุมณฑา
8 นางสาววรัญญา พงษ์วิเศษ (เกบ็ case (นกั ศึกษา1-4) (WBC 2 มิ.ย.)
/อ.สุพัตรา
นกั ศกึ ษากลมุ่ 7 study) (นักศึกษา5-8)
1 นางสาวเยาวมนิ ทร์ เขียวภักดี
2 นางสาวจริ พรรณ เทพวงค์
3 นางสาวสุไมยา หัดบลิ แหม
4 นางสาวปยิ าภรณ์ ชัยทอง
5 นางสาวรตั ตยิ า ชอบงาม
6 นางสาวจรี นนั ท์ ชืน่ ชมนอ้ ย
7 นางสาวภทั รวดี ปานเนียม
8 นางสาวศนกิ านต์ กจิ สาเร็จ

35

รอบที่ 2 โรงพยาบาลวชริ ะภูเกต็ จานวน 16 คน

รายช่ือนกั ศกึ ษา สปั ดาหท์ ่ี 1 สัปดาหท์ ี่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สปั ดาหท์ ่ี 4
11-14 พ.ค.64 17-21 พ.ค.64 24-28 พ.ค.64 31-4 มิ.ย.64
นกั ศึกษากลุ่มที่ 8
1 นางสาวสาธกิ า ผวิ นิล กมุ าร 1 กมุ าร 2 PICU Sick NB
2 นางสาวปาลิน หตี หม่ืน อ.สุพตั รา อ.ชนานนั ท์ อ.ศมิ าภรณ์ อ.จฬุ าลกั ษณ์
3 นางสาวมฑั ณา อศั ดรกาญจน์ (เกบ็ case (นกั ศกึ ษา1-4) (WBC 3 ม.ิ ย.)
4 นางสาวปัทมาภรณ์ เผ่าภรู ี study) /อ.ชนานันท์
5 นางสาวอารียา จาปาทอง (นกั ศกึ ษา5-8)
6 นางสาวสภุ าพร รตั นรัตน์ (คลินกิ เดก็ และ
7 นางสาวกาญจนา วา่ หาบ Hemato 27
8 นางสาวธญิ าดา มิตสวุ รรณ
พ.ค.)
นกั ศกึ ษากลุม่ ที่ 9
1 นางสาวนูรวาฮีดา ยโู ซะ กุมาร 2 กุมาร 1 Sick NB PICU
2 นางสาวพทุ ธมาศ เรศประดิษฐ อ.ชนานนั ท์ ดร.กชณิภา อ.จฬุ าลกั ษณ์ อ.ศมิ าภรณ์
3 นางสาวธรี ารัตน์ เพชรทอง (เก็บ case (คลนิ ิกเด็กและ (WBC 27 พ.ค.)
4 นางสาวอภิสรา ทาระการ Hemato 20
5 นางสาววราวลั ย์ คงบารงุ study)
6 นางสาวโชติกา ธนศู ลิ ป พ.ค.)
7 นางสาวปนดั ดา คลองยวน
8 นางสาวภทั รภร บุญรอด

หมายเหตุ :
1. วนั ที่ 10 พฤษภาคม 64 เดินทางไปยงั โรงพยาบาลวชริ ะภเู กต็
2. วันท่ี 26 พฤษภาคม 64 วันวิสาขะบูชา และวนั ที่ 3 มถิ ุนายน 64 วันเฉลมิ พระชนพรรษาพระราชนิ ี ขึ้นฝกึ
ปฏบิ ตั งิ านตามปกติ
3. วนั ศุกรท์ ี่ 14 พฤษภาคม 64 (สัปดาห์ที่ 1) ช่วงบ่าย conference ward ทข่ี ึ้นฝกึ ปฏบิ ตั งิ านอยู่
4. วนั ศุกร์ ที่ 21 พฤษภาคม 64 (สปั ดาหท์ ่ี 2) เปน็ วนั conference ทง้ั วัน โดยช่วงเช้า ทา ethic
conference และชว่ งบา่ ยเป็นวัน conference ward ท่ีข้ึนฝกึ ปฏบิ ตั ิงานอยู่
5. วนั ศกุ ร์ท่ี 28 พฤษภาคม 2564 (สัปดาห์ที่ 3) ชว่ งบ่าย conference
6. วนั ศุกร์ ที่ 4 มถิ ุนายน 2564 (สปั ดาหท์ ่ี 4) เป็นวนั conference ทั้งวัน โดยชว่ งเช้า conference ward ท่ี
ขนึ้ ฝึกปฏบิ ัติงานอยู่ และช่วงบ่ายนาเสนอ case study

36

7. ฝึกปฏิบัติคลนิ ิกเดก็ สุขภาพดี
- นกั ศึกษากลุ่มที่ 6 ไปคลนิ ิกเด็กเดก็ สขุ ภาพดีท่ีรพ.วชิระภเู ก็ต (WBC) วันท่ี 20 พฤษภาคม 64 เวลา

13.00 – 16.00 น.
- นกั ศกึ ษากลมุ่ ที่ 7 ไปคลินกิ เด็กเด็กสขุ ภาพดีที่รพ.สรุ าษฎร์ธานี (WBC) วนั ท่ี 2 มถิ ุนายน 64 เวลา

13.00 – 16.00 น.
- นกั ศึกษากลมุ่ ท่ี 8 ไปคลินิกเดก็ เด็กสขุ ภาพดีทร่ี พ.วชิระภเู ก็ต (WBC) วนั ที่ 3 มถิ ุนายน 64 เวลา

13.00 – 16.00 น.
- นักศึกษากลมุ่ ท่ี 9 ไปคลนิ ิกเดก็ เด็กสุขภาพดีทร่ี พ.วชริ ะภเู ก็ต (WBC) วันที่ 27 พฤษภาคม 64 เวลา

13.00 – 16.00 น.
8. ฝกึ ปฏิบัติคลินกิ เดก็ และคลินกิ โรคเลือด

- นกั ศกึ ษากลุ่มที่ 8 ไปคลินิกเดก็ และคลนิ ิกโรคเลือด วนั ที่ 27 พฤษภาคม 64 เวลา 8.00 – 16.00 น.
- นกั ศกึ ษากล่มุ ที่ 9 ไปคลินิกเด็กและคลินิกโรคเลอื ด วันที่ 20 พฤษภาคม 64 เวลา 8.00 – 16.00 น.
9. งานกลมุ่ case study
- นักศกึ ษากลมุ่ ท่ี 6 เก็บ case study ในสปั ดาหท์ ่ี 1 หอผู้ปุวย PICU และกลับมา conference ท่สี ุ
ราษฎรธ์ านกี ับอาจารยส์ มุ ณฑา โพธิบตุ ร
- นกั ศึกษากลมุ่ ที่ 7 เกบ็ case study ในสปั ดาหท์ ี่ 1 หอผปู้ ุวย sick NB และกลบั มา conference ท่ี
สรุ าษฎรธ์ านกี บั อาจารย์กชณิภา
- นกั ศึกษากลมุ่ ท่ี 8 เก็บ case study ในสปั ดาหท์ ่ี 1 หอผู้ปุวยกุมารเวชกรรม 1
- นกั ศกึ ษากลมุ่ ท่ี 9 เกบ็ case study ในสัปดาห์ที่ 1 หอผ้ปู ุวยกุมารเวชกรรม 2

37

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี
ตารางการฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิรายวิชา NURNS24 ปฏบิ ตั ิการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

นักศกึ ษาพยาบาลศาสตรช์ ั้นปที ี่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563
ระหวา่ งวันที่ 7 มิถนุ ายน - 2 กรกฏาคม 2564 (จานวน 4 สปั ดาห์) 38 คน
ณ โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี และโรงพยาบาลวชิระภูเก็ต จงั หวัดภูเกต็
รอบท่ี 3 โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี (จานวน 24 คน)

รายช่ือนกั ศึกษา สปั ดาห์ท่ี 1 สัปดาหท์ ่ี 2 สัปดาห์ท่ี 3 สัปดาหท์ ี่ 4
7-11 ม.ิ ย.64 14-18 ม.ิ ย.64 21-25 มิ.ย.64 28 ม.ิ ย.-2 ก.ค.64
นักศกึ ษากลุ่ม 10
1 นายยศพร จนั ทรเ์ กล้ียง กมุ าร 1* กมุ าร 2 กมุ าร 3 PICU
2 นางสาวณัฐปภสั ร์ พงศ์ทองเมือง อ.ชนานนั ท์ อ.ศิมาภรณ์ อ.สมุ ณฑา อ.สมุ ณฑา
3 นางสาวนอิ ารนี ี กทู า (เก็บ case (WBC 16 มิ.ย.)
4 นางสาวปรญี านชุ ทองน้อย
5 นางสาวมิรันตี ไพศรรี ัตน์ study)
6 นางสาวพิมพ์ลภัส คงมา
7 นางสาวกมลชนก ลมพดั กมุ าร 2 กมุ าร 1 PICU กมุ าร 3
8 นางสาววนดิ า โงน่ ชาลี อ.ศิมาภรณ์ อ.ชนานนั ท์ อ.ศมิ าภรณ์ ดร.กชณิภา
(เก็บ case
นักศกึ ษากล่มุ 11
1 นางสาวสายสิริ แกว้ เหมือน study)
2 นางสาวปนัดดา มีเพยี ร (WBC 9 มิ.ย.)
3 นางสาวบญุ ญสิ า รอดศรี
4 นางสาวจฑุ ารัตน์ รักษายศ กมุ าร 3 PICU กุมาร 1 กุมาร 2
5 นางสาวปวณี า บญุ สนอง ดร.กชณิภา อ.สมุ ณฑา อ.ชนานนั ท์ อ.ศมิ าภรณ์
6 นางสาวพชิ ามญชุ์ ศรสี ุวรรณ (เก็บ case (WBC 30 ม.ิ ย.)
7 นางสาวพชั รภรณ์ รกั บา้ นดอน
8 นางสาวญานิตา เขตอนนั ต์ study)

นกั ศึกษากลมุ่ 12
1 นางสาวกง่ิ รังษี ชอบกจิ
2 นางสาวอาริยา เครือหงษ์
3 นางสาวอารีนา โตะสา
4 นางสาวฑติ ฐติ า รัตนคาม
5 นางสาวสชุ านาฏ ทองผอม

รายช่อื นักศกึ ษา 38

6 นางสาวสดุ ารตั น์ ชอ่ งรกั ษ์ สปั ดาห์ท่ี 1 สัปดาหท์ ี่ 2 สปั ดาหท์ ี่ 3 สัปดาห์ท่ี 4
7 นางสาวจันจริ า ตราสุวรรณ 7-11 มิ.ย.64 14-18 ม.ิ ย.64 21-25 มิ.ย.64 28 มิ.ย.-2 ก.ค.64
8 นางสาววิภาดา ขนอม

หมายเหตุ :
1. วันศกุ รท์ ี่ 11 มิถนุ ายน 2564 (สัปดาหท์ ี่ 1) ชว่ งบา่ ย conference ward ท่ีขน้ึ ฝึกปฏบิ ตั งิ านอยู่
2. วันศุกร์ ท่ี 18 มถิ นุ ายน 2564 (สปั ดาห์ท่ี 2) เปน็ วนั conference ท้งั วนั โดยช่วงเชา้ ทา ethic
conference และชว่ งบา่ ยเป็นวัน conference ward ท่ขี ้ึนฝกึ ปฏบิ ตั ิงานอยู่
3. วนั ศุกร์ท่ี 25 มิถุนายน 2564 (สัปดาหท์ ี่ 3) ช่วงบ่าย conference
4. วันศกุ ร์ ที่ 2 กรกฎาคม 2564 (สปั ดาหท์ ี่ 4) เปน็ วนั conference ท้งั วนั โดยชว่ งเชา้ conference ward
ทขี่ ึน้ ฝกึ ปฏบิ ัตงิ านอยู่ และชว่ งบ่ายนาเสนอ case study
5. ฝึกปฏิบตั คิ ลินิกเด็กสุขภาพดี

- นกั ศึกษากลมุ่ ท่ี 10 ไปคลนิ ิกเดก็ สุขภาพดี (WBC) วันที่ 16 มิถนุ ายน 64 เวลา 13.00 – 16.00 น.
- นักศึกษากลุม่ ที่ 11 ไปคลินิกเด็กสขุ ภาพดี (WBC) วันท่ี 9 มิถนุ ายน 64 เวลา 13.00 – 16.00 น.
- นักศึกษากลุ่มท่ี 12 ไปคลินิกเด็กสขุ ภาพดี (WBC) วนั ที่ 30 มิถุนายน 64 เวลา 13.00 – 16.00 น.
6. งานกลมุ่ case study
- นกั ศึกษากลมุ่ ท่ี 10 เก็บ case study ในสปั ดาหท์ ่ี 1 หอผปู้ วุ ยกมุ ารเวชกรรม 1
- นกั ศึกษากลุ่มท่ี 11 เก็บ case study ในสัปดาหท์ ี่ 1 หอผปู้ วุ ยกมุ ารเวชกรรม 2
- นักศกึ ษากลุ่มท่ี 12 เก็บ case study ในสปั ดาห์ท่ี 1 หอผปู้ วุ ยกมุ ารเวชกรรม 3

39

รอบท่ี 3 โรงพยาบาลวชริ ะภูเก็ต (จานวน 14 คน)

รายช่ือนกั ศกึ ษา สปั ดาหท์ ่ี 1 สปั ดาหท์ ี่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สปั ดาห์ท่ี 4

นักศึกษากลมุ่ 13 7-11 มิ.ย.64 14-18 ม.ิ ย.64 21-25 มิ.ย.64 28 ม.ิ ย.-2 ก.ค.64
1 นางสาวสกุ ัญญา นิยมพรอ้ ม กุมาร 1
2 นางสาวรัชนีกร จนี บวช อ.สุพัตรา Sick NB กมุ าร 2 PICU
3 นางสาวรูไวดา สาแม (เก็บ case อ.จุฬาลกั ษณ์ อ.จฬุ าลักษณ์ อ.สุพัตรา
4 นางสาวศยามล เจะ๊ หมวก study) (WBC 24 มิ.ย.)
5 นางสาวสุวรรณดี จนี เมือง
6 นางสาวมารสิ า กาเดร์ (คลินกิ เด็กและ PICU กมุ าร 1 กมุ าร 2
7 นางสาวสุชานาฎ แสนโยชน์ Hemato 10 อ.สพุ ัตรา อ.สุพตั รา อ.จุฬาลักษณ์
(คลนิ กิ เด็กและ (WBC 1 ก.ค.)
นักศกึ ษากลมุ่ 14 ม.ิ ย.) Hemato 24
1 นางสาวสุชานนั ท์ เบา้ ไธสง
2 นางสาวศิริรัตน์ วจิ าราณ์ Sick NB มิ.ย.)
3 นางสาวซาพรนี า อาบา อ.จุฬาลักษณ์
4 นางสาววรนิ ดาว คาเจรญิ (เกบ็ case
5 นางสาวจิรนันท์ เกตแุ ก้ว
6 นางสาวธนั ยพร บุญช่วย study)
7 นางสาวณารรี ตั น์ มากกราย

หมายเหตุ :
1. วันศกุ ร์ที่ 11 มิถุนายน 2564 (สปั ดาหท์ ี่ 1) ช่วงบา่ ย conference ward ทข่ี นึ้ ฝกึ ปฏิบัติงานอยู่
2. วนั ศุกร์ ท่ี 18 มิถนุ ายน 2564 (สัปดาหท์ ี่ 2) เปน็ วัน conference ทงั้ วัน โดยช่วงเชา้ ทา ethic
conference และชว่ งบา่ ยเป็นวัน conference ward ทข่ี ้ึนฝึกปฏบิ ตั ิงานอยู่
3. วันศุกรท์ ี่ 25 มิถนุ ายน 2564 (สัปดาห์ท่ี 3) ชว่ งบา่ ย conference
4. วันศกุ ร์ ที่ 2 กรกฎาคม 2564 (สปั ดาห์ท่ี 4) เปน็ วัน conference ทั้งวัน โดยช่วงเชา้ conference ward
ทขี่ น้ึ ฝกึ ปฏิบัติงานอยู่ และชว่ งบ่ายนาเสนอ case study
5. ฝึกปฏิบตั ิคลนิ ิกเดก็ สขุ ภาพดี

- นกั ศกึ ษากลมุ่ ที่ 13 ไปคลนิ กิ เดก็ สุขภาพดี (WBC) วนั ท่ี 24 มถิ ุนายน 64 เวลา 13.00 – 16.00 น.
- นักศึกษากลุ่มท่ี 14 ไปคลนิ ิกเดก็ สขุ ภาพดี (WBC) วนั ที่ 1 กรกฎาคม 64 เวลา 13.00 – 16.00 น.
6. ฝึกปฏิบัตคิ ลนิ กิ เดก็ และคลินกิ โรคเลือด

40

- นักศึกษากลมุ่ ท่ี 13 ไปวันท่ี 10 มิถนุ ายน 64 เวลา 8.00 – 16.00 น.
- นักศึกษากลุ่มที่ 14 ไปวนั ท่ี 24 มิถนุ ายน 64 เวลา 8.00 – 16.00 น.
7. งานกลุ่ม case study
- นักศกึ ษากลุ่มท่ี 13 เก็บ case study ในสัปดาห์ที่ 1 หอผู้ปุวยกมุ ารเวชกรรม 1
- นกั ศกึ ษากลุ่มท่ี 14 เกบ็ case study ในสัปดาหท์ ่ี 1 หอผู้ปุวย sick NB

41

บรบิ ทหอผู้ป่วย โรคทีพ่ บบ่อยและการเตรียมตัวกอ่ นฝึกปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลเดก็ และวัยรุ่น
หอผ้ปู ่วยกุมารเวชกรรม 1 โรงพยาบาลสรุ าษฎรธ์ านี

o รับ case เดก็ ปุวยดว้ ยโรคทางอายุรกรรม ท่ีมีอายุ 5 ปีข้นึ ไป, เด็กปุวยโรคทางศัลยกรรมทกุ ช่วงอายุ
และเด็กปุวยโรคมะเรง็ และโรคเลือดทุกชว่ งอายุ
 แบ่งออกเปน็ 4 Area
 Area 1 เตยี ง 1-14 รบั ผ้ปู ุวยโรคทางศลั ยกรรม โดย เตียง 1 และ 14 เป็นเตียงท่ีตดิ
เคานเ์ ตอร์พยาบาล รบั ผ้ปู วุ ยทว่ี ิกฤติต้องเฝูาระวงั /สงั เกตอาการอยา่ งใกล้ชิด/ผปู้ วุ ย
ทีใ่ ช้เครื่องชว่ ยหายใจ
 Area 2 เตียง 15-30 รบั ผปู้ ุวยโรคทางอายุรกรรม โดยเตียง 15 และ 30 เปน็ เตยี งท่ี
ตดิ เคาน์เตอร์พยาบาล รับผู้ปวุ ยทวี่ ิกฤตติ ้องเฝูาระวงั /สังเกตอาการอย่างใกลช้ ิด/
ผู้ปุวยทใ่ี ชเ้ คร่อื งชว่ ยหายใจ
 Area 3 หอ้ งแยกรวม และหอ้ งแยกเด่ียว ติดห้องน้าผู้ปวุ ยและญาติ รับผ้ปู ุวยโรค
เลือดและโรคมะเรง็
 Area 4 หอ้ งพิเศษแผนกกมุ าร

โรคทางศลั ยกรรม เชน่ โรคทางอายุรกรรม เชน่
 Thalassemia
 Hirschsprung’s disease  Trombocytopenia/
 Intussuseption Hemophilia
 Cleft lip/Cleft palate  Dengue fever
 Undescended testis  Pneumonia/ Asthma
 Toung tie  Conginital heart disease
 Burn  Fleural effusion
 Absess  SLE
 Appendicitis  Seizure/ Epilepsy
 Orthopedic surgery  AGN/ NS
 DM
โรคมะเร็ง เชน่  Febrile neutropenia
 Lymphoma/Leukemia
 Wilms’s tumor
 Neuroblastoma
 Astrocytoma
 Tumor lysis syndrome

42

ประเด็นความรู้ทีน่ ักศกึ ษาควรทบทวนมีดังนี้
 การพยาบาลเด็กที่มีปญั หาในระบบต่าง ๆ
 การเตรียมเด็กปุวยและครอบครัวก่อนผ่าตัด
 การจดั กิจกรรมเดก็ เลน่
 การใหเ้ ลือด
 การดแู ลเด็กที่ได้รบั ยาเคมบี าบัด
 การชว่ ยแพทยท์ าหัตถการ เชน่ การเจาะหลงั การเจาะไขกระดกู
 การทดสอบ Tourniquet test
 การทา Rectal irrigation
 การทาแผล
 การคานวณยา เตรยี มยา และใหย้ า
 การตรวจร่างกายเด็กและวยั รุ่นฯลฯ

43

หอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม 2 โรงพยาบาลสรุ าษฎร์ธานี

o รบั case เดก็ ปวุ ยหลังคลอด 24 ชวั่ โมง จนถึง 5 ปี แบ่งออกเปน็ 2 Area ได้แก่

 แบ่งออกเป็น 3 Area
 Area 1 ห้องกระจก: รบั case ทารกหลังคลอดเกิน 24 ช่ัวโมงท่มี ีปัญหา
 Area 2 หน้าเคานเ์ ตอร์พยาบาล: รับ case เด็กเล็กจนถงึ 5 ปี โดยเตียง 1-10 เป็น
เตยี งทีอ่ ยู่หน้าเคาน์เตอร์พยาบาล รับผู้ปุวยทวี่ กิ ฤตติ ้องเฝูาระวงั /สังเกตอาการอย่าง
ใกล้ชดิ /ผปู้ วุ ยท่ีต้องใช้ออกซิเจน แบ่งหน้าที่รับผดิ ชอบออกเป็นทมี 1 และทมี 2

 ห้องแยกกั้นกระจกตดิ ทางออก รับผู้ปวุ ยเด็กท่ตี ้องมปี ัญหาภมู ิคุ้มกันตา่

 เตยี งท่ีอยู่หน้าห้องนา้ ผปู้ วุ ยและญาติสว่ นใหญ่รับผ้ปู วุ ยทม่ี ีปัญหาระบบ

ทางเดนิ อาหาร เชน่ ถ่ายเหลว อาเจียน

โรคท่ีพบบ่อย

 pneumonia  Cleft lip Cleft palate

 febrile convulsion  Kawasaki disease

 Seizure/ Epilepsy  Jaundice/ Hyperbilirubinemia

 gastroenterilitis  congenital heart disease: PDA, ASD,

 acute glomerulonephritis VSD

 nephrotic syndrome  Biliary atresia
 urinary tract infection

 Dengue fever

ประเดน็ ความรู้ทน่ี ักศึกษาควรทบทวนมีดงั นี้

 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาในระบบตา่ ง ๆ  การให้ยาฉดี เข้าหลอดเลือดดา

 การตรวจรา่ งกายเด็ก  การให้ยารับประทานท้ังยานา้ และยาเม็ด

 การประเมินและส่งเสริมการเจรญิ เติบโต  การเช็ดตวั ลดไข้

 การพ่นยา  การใหเ้ ลือดและส่วนประกอบของเลือด

 การเคาะปอด  การพยาบาลเด็กท่ีไดร้ บั การรักษาดว้ ยการ

 การจัดทา่ ระบายเสมหะ ส่องไฟ (Phototherapy)

 การให้ออกซเิ จน  การเกบ็ เสมหะส่งตรวจ

 การใสส่ ายใหอ้ าหารทางปาก (OG) และ  การเกบ็ ปสั สาวะส่งตรวจ

ทางจมูก (NG)  การเกบ็ อจุ จาระส่งตรวจ

 การใหน้ มทางสายให้อาหาร  การเจาะ hematocrit

 การใหส้ ารน้าทางหลอดเลือดดา

44

หอผู้ป่วยกมุ ารเวชกรรม PICU โรงพยาบาลสุราษฎรธ์ านี
รับ case เด็กอายุต้งั แต่คลอดเกนิ 24 ชม.ถงึ 15 ปี ท่ีปวุ ยระยะวกิ ฤตทิ ี่ต้องใช้เคร่อื งชว่ ยหายใจและ/
ตอ้ งเฝาู ระวังอย่างใกลช้ ดิ มี 8 เตยี ง อตั ราพยาบาล:ผูป้ วุ ย = 1:2 case กรณีมีผู้ปุวยต้องแยกโรค รบั ไวห้ อ้ ง
แยก (เตยี ง 8)
โรคทพ่ี บบ่อย
 Pneumonia
 Congenital heart disease: PDA, ASD, VSD
 Head injury
 Hernia
 Dengue shock
 โรคต่าง ๆ ท่ที าให้เกิด Respiratory failure และ Heart failure
ประเดน็ ความรู้ที่นักศกึ ษาควรทบทวนมดี งั นี้
 การพยาบาลเด็กท่ีใส่ท่อช่วยหายใจ
 การพยาบาลเด็กท่ีมีปัญหาในระบบตา่ ง ๆ
 การตรวจรา่ งกายเด็กและวัยรุ่น
 การพน่ ยา
 การเคาะปอด
 การดูดเสมหะ
 การให้ออกซเิ จน
 การใส่สายให้อาหารทางปาก (OG) และทางจมกู (NG)
 การใหน้ มทางสายให้อาหาร
 การใหส้ ารน้าทางหลอดเลือดดา
 การให้ยาฉดี เขา้ หลอดเลือดดา
 การให้ยารบั ประทาน
 การเชด็ ตวั ลดไข้
 การเก็บเสมหะส่งตรวจ
 การเกบ็ ปัสสาวะส่งตรวจ
 การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
 การเจาะ hematocrit
 การพยาบาลผปู้ ุวยเด็กระยะวิกฤต

******************************************************************

45

หอผูป้ ่วยกมุ ารเวชกรรม 3 (Sick newborn) และ NICU โรงพยาบาลสุราษฎรธ์ านี

o NICU โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี รับ case ทารกแรกเกดิ ในโรงพยาบาลและนอกโรงพยาบาลภายใน
24 ชม. ท่มี ปี ญั หาและตอ้ งได้รบั การรกั ษาดว้ ยการใช้เคร่ืองชว่ ยหายใจและ/อยู่ในภาวะวิกฤติ

o หอผ้ปู ่วยกุมารเวชกรรม 3 (Sick newborn) โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี รับ case ทารกทม่ี ีปัญหา
สุขภาพไม่วิกฤติ และรับย้ายจาก NICU

โรคที่พบบ่อย และพบไดใ้ นหอผูป้ ่วยกุมารเวชกรรม 3, NICU

Preterm : LBW, VLBW, ELBW Persistent Pulmonary Hypertension of the
Respiratory distress syndrome: RDS Newborn: PPHN
Transient tachypnea of the Newborn: Congenital heart disease: PDA, ASD, VSD
TTNB Down’s syndrome
Bronchopulmonary dysplasia: BPD Hypothyroid
Congenital pneumonia, Pneumonia Twin
Meconium aspiration syndrome: MAS Twin-to-twin transfusion syndrome
Jaundice/ Hyperbilirubinemia Cephalhematoma, subgaleal hematoma
Neonatal sepsis Polycythemia
Birth asphyxia Anemia
Retinopathy of prematurity: ROP Erb's palsy
Apnea of prematurity: AOP Pneumothorax
Hypothermia, Hyperthermia Atelectasis
Necrotizing Enterocolitis: NEC BBA
Hypoglycemia/ Hyperglycemia Undescended testis
Cleft lip Cleft palate Umbilical hernia

46

ประเด็นความรู้ทนี่ กั ศึกษาควรทบทวนมีดงั น้ี

 การพยาบาลทารกเกิดก่อนกาหนดและครบกาหนดที่มปี ญั หา
 โรคตา่ ง ๆ ทพ่ี บได้ในหอผปู้ ุวย
 การใช้เครอ่ื งควบคุมอุณหภมู ิกายทารก
 การคานวณยา เตรียมยา และบริหารยา small dose
 การตรวจร่างกายทารกแรกเกิด
 การใส่ OG และใหน้ มทารกแรกเกิด
 การประเมนิ และส่งเสริมการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการวัยทารก
 การเลย้ี งลกู ด้วยนมแม่
 ภาวะปกติและผิดปกตทิ ่ีพบบ่อยในทารกแรกเกิด
 การอมุ้ , หอ่ ตัวเดก็ ทารก
 การอาบนา้ และการเช็ดตัวทารก
 การใช้ Infusion pump, syringe pump
 การให้ออกซเิ จนในทารกแรกเกดิ
 การกชู้ พี ทารกแรกเกิด
 การพ่นยาทารกแรกเกิด
 การสอนสุขศกึ ษามารดา
 การวางแผนจาหน่ายทารกแรกเกิด

ฯลฯ

******************************************************************

47

บรบิ ทหอผ้ปู ่วย โรคทพี่ บบ่อยและการเตรยี มตัวกอ่ นฝึกปฏิบัตกิ ารพยาบาลเด็กและวัยรุน่
โรงพยาบาลวชิระภเู ก็ต

กลุม่ งานกุมารเวชกรรม

พนั ธกจิ

ดูแลผปู้ วุ ยเด็กแบบองคร์ วม มาตรฐานระดบั นานาชาติ

ความมุ่งหมาย

เป็นทีมนาทางคลินิกให้การดูแลทารกแรกเกิดและเด็กท่ีมีปัญหาทางด้านกุมารเวชกรรม ตามมาตรฐานวิชาชีพ

ผู้ปุวยปลอดภัย ไม่มีภาวะแทรกซ้อน การบริการรวดเร็ว พ่อแม่หรือผู้ดูแล (care giver) มีความพึงพอใจ

สามารถดแู ลผูป้ วุ ยอยา่ งมั่นใจเม่ือกลับบา้ น

ขอบเขตบรกิ าร

PCT กุมารเวชกรรมประกอบด้วยทีมสหสาขาวิชาชีพ ให้บริการด้านกุมารเวชกรรม ครอบคลุมด้าน

ส่งเสรมิ ปูองกัน รักษาโรคทว่ั ไปและโรคที่ซับซ้อน ไดแ้ ก่ ทารกแรกเกดิ นา้ หนักน้อย โรคหวั ใจ โรคทางเดินหายใจ

โรคทางระบบประสาท โรคทางภมู ิแพ้และอมิ มูนโนวิทยา โลหติ วทิ ยา โรคทางระบบตอ่ มไร้ท่อ ศัลยกรรมเด็ก จิต

เวชเดก็ ทันตกรรมสาหรับเดก็ รวมท้ังการฟื้นฟสู ภาพแก่ผู้ปุวยต้ังแตท่ ารกแรกเกิดจนถงึ 15 ปี ท้งั ในจังหวัดภูเก็ต

รับส่งต่อจาก รพ.ในจังหวัดใกล้เคียง ได้แก่ จังหวัดพังงา จังหวัดกระบี่ และจังหวัดระนอง รวมท้ังบริการ

นักท่องเท่ียว กลุ่มประชากรแฝง และแรงงานต่างด้าว แต่ยังต้องส่งต่อผู้ปุวยในกลุ่มโรคไตและผู้ปุวยโรคหัวใจท่ี

จาเป็นตอ้ งทาการผา่ ตัด

อตั รากาลัง

กุมารแพทย์

แพทยผ์ ูเ้ ช่ียวชาญดา้ นกุมารเวชกรรมทว่ั ไป 4 คน

แพทย์ผู้เชยี่ วชาญด้านระบบประสาท 1 คน

แพทย์ผูเ้ ช่ียวชาญระบบทางเดนิ หายใจ 1 คน

แพทย์ผเู้ ช่ียวชาญด้านหวั ใจ 2 คน

แพทยผ์ ู้เชยี่ วชาญดา้ นทารกแรกเกดิ 1 คน

แพทย์ผ้เู ชี่ยวชาญด้านต่อมไร้ทอ่ 1 คน

แพทย์ผเู้ ชี่ยวชาญด้านภูมิแพ้ 1 คน

แพทย์ผู้เช่ยี วชาญด้านติดเชอ้ื 1 คน

แพทยผ์ เู้ ช่ียวชาญดา้ นโลหติ วิทยา 1 คน

แพทย์กุมารศลั ยกรรม 1 คน


Click to View FlipBook Version