The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 1 หลักพันธุศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

Genetic Principle1

หน่วยที่ 1 หลักพันธุศาสตร์

หน่วยท่ี 1 ความสาคัญของพันธศุ าสตร์

นายเสฐยี รพงศ์ เกษพิทักษ์นนท์
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยเี พชรบรุ ี

ใบความรู้ ชดุ ที่ 1

วิชา หลักพันธศุ าสตร์

เรือ่ ง ประวตั แิ ละความสาคัญของพนั ธุศาสตร์

ความหมายของวชิ าพันธุศาสตร์ (Genetic)

วชิ าพันธศุ าสตร์เปน็ สาขาหนึ่งของชวี วิทยา ซ่งึ ศึกษาถงึ พฤติกรรมและการถา่ ยทอดลักษณะต่าง ๆ
จากพ่อแม่ไปยงั ลูกหลาน เป็นวชิ าท่เี กี่ยวข้องกบั ส่งิ มชี วี ิตทุกชนิด เพราะสง่ิ มชี ีวิตมกี ารสืบพนั ธุ์ และถา่ ยทอด
ลักษณะต่าง ๆ ไปยังลกู หลาน จงึ ทาให้ลกู หลานทเี่ กิดขึน้ มีลกั ษณะเปน็ ไปตามพันธกุ รรมของพ่อแมเ่ สมอ
ดังเชน่ คาพังเพยทีว่ า่ " ลกู ไมย้ ่อมหลน่ ไมไ่ กลต้น"

วิชาพันธศุ าสตร์เกยี่ วขอ้ งกบั มนุษยส์ องทางคือ ทางตรงเกย่ี วขอ้ งในแง่ของการถา่ ยทอดลักษณะตา่ ง ๆ
ในรุ่นพ่อ แม่ ปู่ ยา่ ตา ยาย ไปยงั ลูกหลาน โดยการสืบพันธุ์ สว่ นทางอ้อมน้ันวชิ าพนั ธุศาสตร์ทาให้
มนษุ ย์มีความรู้นามาใชใ้ นการปรบั ปรุงพนั ธุ์พืช และสตั ว์ เพ่ือให้มผี ลผลติ สงู มีความตา้ นทานโรค ชว่ ยใน
การเพิ่มผลผลติ ใหเ้ พียงพอต่อความต้องการของมนษุ ย์ และยังทาให้มนษุ ย์สามารถนาความร้ทู างพันธศุ าสตร์
มาใชใ้ นการดารงชวี ติ เช่นการปอ้ งกันไมใ่ หล้ ักษณะด้อยบางอยา่ งถา่ ยทอดไปยังลกู หลานโดยการเลือกคสู่ มรส
การวางแผนครอบครัว การรักษาพยาบาล การตัดสนิ คดีเกี่ยวกบั ช้สู าว นอกจากนัน้ อาจใช้ในการปรับปรุง
ชาตพิ นั ธุ์ของมนุษยโ์ ดยพยายามส่งเสริมใหพ้ ่อแม่ทฉ่ี ลาดมีบุตรมาก สว่ นพ่อแมท่ ่ีมคี วามเฉลยี วฉลาดน้อยหรือ
มภี าวะผิดปกติ อาจจากดั การมีบุตร เพอื่ ลดภาระตา่ ง ๆ ของสังคม ซงึ่ จะทาใหส้ ังคมมีมนุษย์ที่มีสติปัญญาดี
มากข้ึน สามารถสร้างสรรคส์ ิ่งดใี ห้แกส่ ังคมได้

ในแง่ของความสัมพนั ธก์ บั วทิ ยาการสาขาอื่นน้นั พันธุศาสตรเ์ กย่ี วขอ้ งกบั หลาย ๆ สาขาวิชา
โดยเฉพาะสาขาทีเ่ กย่ี วข้องกับส่ิงมชี ีวติ มนุษย์หรอื สตั ว์ เช่น ชวี วิทยา เคมี พฤกษศาสตร์ สัตววิทยา
เกษตรศาสตร์ สถติ ิ กฎหมาย การแพทย์ มนุษย์วทิ ยา เปน็ ต้น

ประวตั ขิ องวชิ าพันธศุ าสตร์

ความสนใจเรือ่ งพันธศุ าสตร์ของมนุษยม์ มี าต้ังแต่โบราณประมาณ 6000 ปีมาแล้ว โดยเหตุผลท่วี า่
สัตว์ และพชื เกี่ยวขอ้ งและจาเปน็ ต่อการดารงชีพ มนุษย์จึงจาเปน็ ตอ้ งปรับปรงุ ทงั้ สัตวแ์ ละพืช สมัยกอ่ น
มนุษยท์ ราบแต่เพยี งว่าพชื หรือสตั ว์พนั ธดุ์ ีย่อมใหล้ ูกหลานที่ดี แต่ก็ไมส่ ามารถบอกไดว้ า่ เป็นเพราะสาเหตุใด
จนกระทั่งถึงยคุ สมยั ของเมนเดล (Mendel) ซึง่ ไดท้ าการทดลองปลูกถวั่ ลันเตา และสามารถสรุปผลการ
ทดลองอธิบายลักษณะการถา่ ยทอดพันธกุ รรมได้

ประวตั ขิ องเมนเดล

เมนเดลเกิดในปี ค.ศ. 1822 บิดามารดาเป็นชาวออสเตรีย เป็นชาวนาทย่ี ากจน อาศัยอยทู่ ีต่ าบล
Helzendorf ใน Silesia ซงึ่ ปจั จบุ นั เปน็ สว่ นหนึง่ ของประเทศสาธารณรฐั เชค เมนเดลในวัยเด็กมีความ
ปรารถนาทีจ่ ะเรียนหนังสอื มากจึงได้ไปเรยี นทีโ่ บสถ์ออกสั ตินเนียน โมนาสเตอร่ี (Augustinian Monastery)
ที่กรุงบรุน (Brunn) ต่อมาในปี ค.ศ. 1847 เมนเดลได้บวชพระและได้รับนามว่าเกรเกอร์ (Gredgor) จงึ มี
ชือ่ เรยี กเต็มวา่ เกรเกอร์ โจฮาน เมนเดล (Gregor Johann Mendel) เมนเดลได้ไปศึกษาต่อที่
มหาวิทยาลัยเวียนนา ทางดา้ นฟสิ ิกส์ คณิตศาสตร์ และธรรมชาตวิ ิทยา เมอ่ื สาเร็จแล้วได้กลับกรงุ บรนุ
(Brunn) ในปี ค.ศ. 1854 และเปน็ ครูสอนวชิ าวทิ ยาศาสตร์

ในปี ค.ศ. 1857 เมนเดลได้รวบรวมพันธ์ถุ วั่ ลนั เตา (garden pea) และทดลองผสมถ่ัวลันเตา
พนั ธุ์ตา่ ง ๆ เพ่ือศึกษาลกั ษณะของถ่วั ลันเตา โดยทาการทดลองทีส่ วนหลงั วดั เปน็ เวลา 7 ปี และได้สรุปผล
งานและเสนอกฎของการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมตอ่ สมาคม Natural Society of Brunn ในปี ค.ศ.
1865 ทางสมาคมได้พมิ พ์ผลงานของเมนเดลในปี ค.ศ. 1866 และส่งไปใหห้ อ้ งสมดุ ตา่ ง ๆ นอกจากนี้เมน
เดลยงั ไดท้ ดลองกับพืชอนื่ กับผึง้ และหนูดว้ ย จนกระท่ังปี ค.ศ. 1868 เมนเดลได้รับการแตง่ ต้งั ให้เป็น
อธกิ ารวดั จึงไม่มเี วลาท่จี ะทดลองต่อไป เมนเดลเสยี ชวี ติ เมือ่ ปี ค.ศ. 1884 ต่อมาในปี ค.ศ. 1900 นกั
ชวี วิทยา 3 ท่าน คอื คารล์ คอรเ์ รนส์ (Carl Correns) จากประเทศเยอรมนั ฮูโก เดลฟรสี ์ (Hugo
de Vries) จากประเทศฮอลแลนด์ และเอริก ฟอน เชอรแ์ มค (Erik von Tschermak) จากประเทศ
ออสเตรีย ได้ทดลองผสมพนั ธถุ์ ว่ั ลันเตา และไดผ้ ลการทดลองคลา้ ยคลึงกับงานทดลองของเมนเดลทีไ่ ดท้ าไว้
ทาใหผ้ ลงานของเมนเดลมีชือ่ เสียงไปท่ัวโลก และไดร้ บั การยกยอ่ งให้เป็นบิดาแหง่ วิชาพนั ธุศาสตร์

……………………………………………………

บรรณานุกรม

ประดษิ ฐ์ พงศ์ทองคา 2537. พนั ธุศาสตร์เบ้ืองต้น. ภาควชิ าพนั ธศุ าสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.์

ไพศาล เหลา่ สวุ รรณ. 2535. พันธศุ าสตร์. สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพาณชิ . กรงุ เทพฯ.


Click to View FlipBook Version