The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบวัดความสามารถการอ่าน การเขียนภาษาไทย ม.1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rotjang611, 2019-07-06 01:59:06

การเขียนภา

แบบวัดความสามารถการอ่าน การเขียนภาษาไทย ม.1

Keywords: การเขียนม,.1

+% / (! % $ / % ! '

& / % ! '
)
" . (! + - ,

/$ %

& % "
* %
# ) ( ! "
" %
+



คาํ นาํ

สาํ นกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑ ไดด้ าํ เนินงานโครงการการพฒั นาคุณภาพ
การเรียนการสอนภาษาไทยมาอย่างต่อเนื่อง มีการพฒั นานักเรียน พฒั นาครู โดยใชว้ ิธีการท่ีหลากหลาย
เพอ่ื ใหบ้ รรลุเป้ าหมายตามนโยบายของสาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานและสาํ นักงานเขตพ้นื ที่
การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๑ คือ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาทุกคนต้องอ่านคล่อง เขียนคล่อง และมี
ผลสมั ฤทธ์ิการเรียนภาษาไทยสูงข้ึนจากฐานเดิม ร้อยละ ๕

ดว้ ยเหตุผลดงั กล่าวขา้ งตน้ จึงไดพ้ ฒั นาเอกสารชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียน
ภาษาไทยของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓ ข้ึน สาํ หรับให้ครูผูส้ อนใชเ้ ป็ นแนวทางในการจดั การเรียน
การสอน เพื่อพฒั นาทกั ษะการอ่าน การเขียนภาษาไทยตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ในการจัดทาํ เอกสารชุดน้ีไดร้ ับความร่วมมือจากครูผูเ้ ชี่ยวชาญและผูท้ รงคุณวุฒิ
ดา้ นภาษาไทยจากหน่วยงานต่างๆ เป็นอยา่ งดี

สาํ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑ หวงั เป็ นอย่างยิ่งว่า เอกสารชุดน้ีจะเป็ น
ประโยชน์ต่อการพฒั นาการเรียนรู้การอ่าน และการเขียนภาษาไทยและผูเ้ ก่ียวขอ้ งทุกฝ่ าย ขอขอบคุณ
คณะกรรมการทุกคนตลอดจนหน่วยงานทมี่ ีส่วนเก่ียวขอ้ งในการจดั ทาํ เอกสารไว้ ณ โอกาสน้ี

(นายสมพศิ ศุภพงษ)์
ผอู้ าํ นวยการสาํ นกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑

คาํ ชี้แจง

เอกสารชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียนภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ น้ี
สาํ นกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต ๑ ไดจ้ ดั ทาํ ข้ึนโดยมีวตั ถุประสงคใ์ หค้ รูภาษาไทยนาํ ไปใชเ้ ป็ น
แนวทางในการพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียนภาษาไทย ของนักเรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้

โดยสามารถเลือกกิจกรรมได้หลากหลายให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาของแต่ละโรงเรียน รวมท้ังการ
ส่งเสริมและพฒั นาความสามารถของนกั เรียนดา้ นการอ่าน การเขียนใหเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพของแต่ละคน

เอกสารชุดน้ีมีท้งั หมด ๔ เล่ม ดงั น้ี
เล่มที่ ๑ แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓
เล่มท่ี ๒ ชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑
เล่มที่ ๓ ชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย

ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๒
เล่มท่ี ๔ ชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๓

กิจกรรมในแต่ละเล่มมีให้เลือกใชอ้ ยา่ งหลากหลายตามความสามารถของนกั เรียนโดยได้
แบ่งกิจกรรมไวอ้ ยา่ งชดั เจน เป็น ๔ ส่วน คอื อ่านไม่ออก เขยี นไม่ได้ อ่านไม่คล่อง เขียนไม่คล่อง เพื่อความ
สะดวกในการนาํ ไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน

การใชเ้ อกสารชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษา
ท้งั ๔ เล่มน้ี จะบรรลุตามวตั ถุประสงค์ ควรปฏิบตั ติ ามข้นั ตอนดงั น้ี

๑. ทดสอบความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทยของนกั เรียนเป็ นรายบคุ คล
โดยใชเ้ อกสารเล่มที่ ๑ แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓
เพอื่ ตรวจสอบนกั เรียนท่มี ีปัญหาการอ่านไม่ออก เขยี นไม่ได้ อ่านไม่คล่องและเขียนไม่คล่อง

๒. นาํ ผลการทดสอบเปรียบเทียบกบั เกณฑป์ ระเมิน โดยใชเ้ กณฑม์ าตรฐานของสาํ นกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ดงั น้ี

๒.๑ การประเมินความสามารถการอ่าน เกณฑผ์ า่ นรอ้ ยละ ๖๐
๒.๒ การประเมินความสามารถการเขียน เกณฑผ์ า่ นรอ้ ยละ ๕๐

สาํ หรับเกณฑผ์ ่านการประเมิน โรงเรียนสามารถปรับลด/เพิ่มไดต้ ามบริบทและเป้ าหมาย
ของโรงเรียน

๓. เมื่อทราบผลการประเมินและพบวา่ นกั เรียนคนใดมีปัญหาการอ่าน การเขยี นภาษาไทย
ระดบั ใด ครูผสู้ อนสามารถเลือกใชช้ ุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย เล่มที่ ๒ เล่มที่ ๓
หรือ เล่มท่ี ๔ ตามผลการประเมินแต่ละระดบั ช้นั ของนักเรียน โดยเลือกกิจกรรมใหเ้ หมาะสมกบั ปัญหาของ
นกั เรียน

๔. เมื่อนกั เรียนทาํ กิจกรรมในชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย
แต่ละกิจกรรมเสร็จ สามารถตรวจสอบกบั คาํ เฉลย ถา้ มีการทาํ ผดิ ควรแกไ้ ขให้ถูกตอ้ ง และเมื่อทาํ กิจกรรม
ครบทุกส่วนแล้ว นักเรียนควรทดสอบความสามารถโดยใช้แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียน
วิชาภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนพฒั นาและหลังพฒั นาว่ามี
ความกา้ วหนา้ เพมิ่ ข้ึนหรือไม่

ชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย แต่ละเล่มประกอบดว้ ย กิจกรรมท่ี
หลากหลายที่มุ่งเนน้ พฒั นาความสามารถการอ่าน การเขยี นภาษาไทย ควบคู่กบั การฝึกทกั ษะการคิดวเิ คราะห์
สังเคราะห์ และคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซ่ึงจุดเด่นของชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียนวิชา
ภาษาไทย ท้งั ๔ เล่ม คอื คาํ ทีน่ าํ มาใชฝ้ ึกในกิจกรรมทุกชุดไดผ้ า่ นการทดลองใชจ้ ากนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษา
ปี ที่ ๑ – ๓ แลว้ นอกจากน้ีเน้ือหาสาระทีน่ าํ มาใหน้ กั เรียนอ่านไดบ้ ูรณาการความรู้จากทกุ กลุ่มสาระ ผนวก
กับการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ซ่ึงประพนั ธ์เรื่องต่างๆ โดยคณะกรรมการจดั ทาํ เอกสารชุดพฒั นา
ความสามารถการอ่าน การเขียนวิชาภาษาไทย เป็ นส่วนใหญ่ นบั ว่าเอกสารชุดน้ีช่วยพฒั นาความสามารถ
ของนักเรียนอยา่ งรอบดา้ น จึงเป็ นสื่อท่ีมีคุณค่าและเป็ นประโยชน์ต่อการจดั การเรียนการสอนภาษาไทย
เพอื่ พฒั นาคุณภาพของเยาวชนไทยใหบ้ รรลุเป้ าหมายการจดั การศกึ ษาต่อไป

คณะผจู้ ดั ทาํ

สารบัญ หนา

แบบวัดความสามารถการอ่าน การเขยี นภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ ๒
แบบวดั ความสามารถนักเรียนทอ่ี า นไมออก ช้ันมัธยมศกึ ษาปที่ ๑ ๘
แบบวัดความสามารถนกั เรยี นที่เขียนไมได ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๑
แบบวดั ความสามารถนกั เรยี นทอ่ี า นไมค ลอ ง ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี ๑ ๑๔
แบบวดั ความสามารถนักเรียนที่เขียนไมค ลอ ง ชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี ๑ ๑๘
๒๓
แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒ ๒๔
แบบวดั ความสามารถนักเรยี นทอ่ี า นไมอ อก ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี ๒ ๓๑
แบบวัดความสามารถนักเรยี นทีเ่ ขยี นไมไ ด ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี ๒ ๓๔
แบบวดั ความสามารถนักเรยี นที่อานไมค ลอ ง ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ ๒ ๔๐
แบบวัดความสามารถนักเรียนทเ่ี ขียนไมค ลอ ง ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี ๒ ๔๕
๔๖
แบบวัดความสามารถการอ่าน การเขยี นภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๓ ๕๙
แบบวดั ความสามารถนักเรียนที่อานไมอ อก ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ ๓ ๖๓
แบบวัดความสามารถนักเรยี นทเ่ี ขยี นไมได ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๓ ๖๙
แบบวดั ความสามารถนักเรยี นทอ่ี านไมค ลอ ง ชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี ๓ ๗๔
แบบวัดความสามารถนกั เรียนท่เี ขยี นไมค ลอ ง ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี ๓ ๗๕

บรรณาณกุ รม
คณะทาํ งาน

5

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย

อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ อ่านไม่คล่อง เขยี นไม่คล่อง

ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑

แบบวดั ความสามารถการอ่าน
เพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนทอี่ ่านไม่ออก

ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๒

แบบวดั ความสามารถการอ่าน
เพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนทอี่ ่านไม่ออก

ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑

กจิ กรรมที่ ๑
คาํ ชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนอ่านออกเสียงคาํ ในผลไมท้ ้งั ๑๐ ชนิด ใหถ้ กู ตอ้ ง

ตริตรอง พร้อมเพรียง พระเพลา
กว้างขวาง พลกิ แพลง พฤษภาคม
ปลอดโปร่ง
ประเสริฐ ปรารถนา กะเพรา

รวม...........คะแนน รวม...........คะแนน

ฉะเชิงเทรา โศกเศร้า สําราญ
ศีรษะ พทุ รา ทรัพย์สิน แทรกแซง
นกอนิ ทรี
ทรวดทรง ทรุดโทรม

รวม...........คะแนน

หงุดหงดิ หรูหรา รวม...........คะแนน
เอร็ดอร่อย ขมีขมนั รวม.............คะแนน

เปรียบเปรย

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๓

โฉนด ฉลาก กาญจนบุรี
เถลงิ อเนก เพริศแพร้ว อภวิ าท
สละสลวย
เภทภยั กราบ
รวม...........คะแนน
รวม...........คะแนน
คฤหาสน์ โอกาส
พศิ วาส ตระหนัก ฉกาจ
บําเหนจ็ มจั ฉา
มหาศาล มหาสมุทร
สําเร็จ
รวม...........คะแนน
รวม...........คะแนน

เพชร ตะไคร้ รวม.................คะแนน
จลาจล แยบยล

สร้างสรรค์

รวม...........คะแนน

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๔

เฉลยกจิ กรรมท่ี ๑

แบบวดั ความสามารถการอ่านเพอ่ื ตรวจสอบนกั เรียนทอี่ ่านไม่ออก
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๑

กจิ กรรมท่ี ๑
คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านออกเสียงคาํ ในผลไมท้ ้งั ๑๐ ชนิด ใหถ้ กู ตอ้ ง

มงั คุด อ่าน ตฺริ-ตฺรอง สับปะรด
๑. ตริตรอง อ่าน พฺรอ้ ม-เพฺรียง ๖. พระเพลา อ่าน พฺระ-เพฺลา
๒. พรอ้ มเพรียง อ่าน กฺวา้ ง-ขฺวาง ๗. พฤษภาคม อ่าน พฺรึด-สะ-พา-คม
๓. กวา้ งขวาง อ่าน พฺลิก-แพฺลง ๘. ปลอดโปร่ง อ่าน ปฺลอด-โปรฺ ่ง
๔. พลิกแพลง อ่าน ปฺระ-เสิด ๙. ปรารถนา อ่าน ปฺราด-ถะ-หฺนา
๕. ประเสริฐ ๑๐. กะเพรา อ่าน กะ-เพฺรา

มะม่วง อ่าน ฉะ-เชิง-เซา ฝรั่ง อ่าน โสก-เสา้
๑๑. ฉะเชิงเทรา อ่าน สี-สะ ๑๖. โศกเศร้า อ่าน สาํ -ราน
๑๒. ศีรษะ อ่าน พดุ -ซา ๑๗. สาํ ราญ อ่าน ซบั -สิน
๑๓. พทุ รา อ่าน นก-อิน-ซี ๑๘. ทรัพยส์ ิน อ่าน แซก-แซง
๑๔. นกอินทรี อ่าน ซวด-ซง ๑๙. แทรกแซง อ่าน ซุด-โซม
๑๕. ทรวดทรง ๒๐. ทรุดโทรม

แตงโม อ่าน หฺงดุ -หฺงิด
๒๑. หงุดหงิด อ่าน หฺรู-หฺรา
๒๒. หรูหรา อ่าน อะ-เหฺร็ด-อะ-หฺร่อย
๒๓. เอร็ดอร่อย อ่าน ขะ-หฺมี-ขะ-หฺมนั
๒๔. ขมีขมนั อ่าน เปฺรียบ-เปรฺ ย
๒๕. เปรียบเปรย

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๕

กิจกรรมที่ ๑ (ต่อ )

ส้ มโอ อง่นุ
๒๖. โฉนด อ่าน ฉะ-โหฺนด ๓๑. กาญจนบรุ ี อ่าน กาน-จะ-นะ-บ-ุ รี
๒๗.ฉลาก อ่าน ฉะ-หลฺาก ๓๒. เพริศแพร้ว อ่าน เพฺริด-แพฺรว้
๒๘. เถลิง อ่าน ถะ-เหฺลิง ๓๓. อภวิ าท อ่าน อะ-พ-ิ วาด
๒๙. อเนก อ่าน อะ-เหฺนก ๓๔. เภทภยั อ่าน เพด-ไพ
๓๐. สละสลวย อ่าน สะ-หฺละ-สะ-หฺลวย ๓๕. กราบ อ่าน กรฺาบ

ส้ ม คะ-รึ-หาด
๓๖. คฤหาสน์ อ่าน โอ-กาด
๓๗. โอกาส อ่าน พดิ -สะ-หฺวาด
๓๘. พศิ วาส อ่าน ตระ-หฺนกั
๓๙. ตระหนกั อ่าน มะ-หา-สาน
๔๐. มหาศาล อ่าน

ขนุน มะพร้าว อ่าน เพด็
๔๑. ฉกาจ อ่าน ฉะ-กาด ๔๖. เพชร อ่าน ตะ-ไครฺ ้
๔๒.บาํ เหน็จ อ่าน บาํ -เหฺน็ด ๔๗. ตะไคร้
๔๓. มจั ฉา อ่าน มดั -ฉา อ่าน จะ-ลา-จน
๔๔. มหาสมุทร อ่าน มะ-หา-สะ-หฺมุด ๔๘. จลาจล อ่าน แยบ-ยน
๔๕.สาํ เร็จ อ่าน สาํ -เหฺร็ด ๔๙. แยบยล อ่าน สา้ ง-สนั
๕๐. สรา้ งสรรค์

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๖

เกณฑ์การประเมินความสามารถการอ่าน
วชิ าภาษาไทย

ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑

การประเมินความสามารถในการอ่าน เป็ นการประเมินการอ่านออกเสียงคาํ ที่
กาํ หนดให้ จาํ นวนคาํ ท่ีให้นกั เรียนอ่านท้งั หมด ๕๐ คาํ นักเรียนอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง
ไม่นอ้ ยกว่า ๓๐ คาํ จึงผ่านเกณฑก์ ารประเมิน (ร้อยละ ๖๐)

ระดับการประเมนิ

อ่านออกระดบั ดี อ่านถกู ตอ้ ง ๔๐ – ๕๐ คาํ
อ่านออกระดบั พอใช้ อ่านถูกตอ้ ง ๓๐ – ๓๙ คาํ
อ่านไม่ออก อ่านถกู ตอ้ งนอ้ ยกวา่ ๓๐ คาํ

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๗

แบบวดั ความสามารถการเขยี น
เพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนทเี่ ขยี นไม่ได้

ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๘

แบบวดั ความสามารถการเขยี น
เพอื่ ตรวจสอบนักเรียนท่ีเขียนไม่ได้

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑

กจิ กรรมท่ี ๑
คาํ ชีแ้ จง นกั เรียนเขียนคาํ ศพั ทจ์ ากคาํ อ่านต่อไปน้ีใหถ้ ูกตอ้ ง

๑ อะ-นุ-ยาด
๒ ปฺราด-ถะ-หฺนา
๓ บนั -พะ-บุ-หฺรุด
๔ ไตฺร-รง
๕ กด-หฺมาย
๖ อา-นิ-สง
๗ เซ็น-ช่ือ
๘ กะ-ทดั -รดั
๙ กา–ละ–เท– สะ
๑๐ ผา-สุก

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๙

กิจกรรมท่ี ๑ (ต่อ)

๑๑ มะ-หดั -สะ-จนั
๑๒ ขะ-มกั -ขะ-เม่น
๑๓ จะ-รา-จอน
๑๔ ทาํ -มาด
๑๕ ราด-ชะ-กาน
๑๖ พฺรึก-สะ-ชาด
๑๗ รด-ชาด
๑๘ กฺระ-เพาะ
๑๙ รา-คา-เยา
๒๐ สาย-สอ้ ย

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๑๐

เฉลยกจิ กรรมที่ ๑

แบบวดั ความสามารถการเขยี นเพอ่ื ตรวจสอบนกั เรียนทเ่ี ขยี นไม่ได้
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๑

กิจกรรมท่ี ๑
คาํ ชี้แจง นกั เรียนเขียนคาํ ศพั ทจ์ ากคาํ อ่านต่อไปน้ีใหถ้ ูกตอ้ ง

๑ อะ-นุ-ยาด อนุญาต
๒ ปรฺ าด-ถะ-หฺนา ปรารถนา
๓ บนั -พะ-บุ-หฺรุด บรรพบรุ ุษ
๔ ไตฺร-รง ไตรรงค์
๕ กด-หฺมาย กฎหมาย
๖ อา-นิ-สง อานิสงส์
๗ เซ็น-ช่ือ เซ็นช่ือ
๘ กะ-ทดั -รัด กะทดั รดั
๙ กา–ละ–เท– สะ กาลเทศะ
๑๐ ผา-สุก ผาสุก

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๑๑

เฉลยกจิ กรรมที่ ๑

แบบวดั ความสามารถการเขยี นเพอื่ ตรวจสอบนกั เรียนทเี่ ขยี นไม่ได้
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑

กิจกรรมท่ี ๑ (ต่อ) มหศั จรรย์
ขะมกั เขมน้
๑๑ มะ-หดั -สะ-จนั
๑๒ ขะ-มกั -ขะ-เม่น จราจร
๑๓ จะ-รา-จอน ธรรมาสน์
๑๔ ทาํ -มาด ราชการ
๑๕ ราด-ชะ-กาน พฤกษชาติ
๑๖ พฺรึก-สะ-ชาด รสชาติ
๑๗ รด-ชาด กระเพาะ
๑๘ กฺระ-เพาะ ราคาเยา
๑๙ รา-คา-เยา สายสรอ้ ย
๒๐ สาย-สอ้ ย

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๑๒

เกณฑ์การประเมินความสามารถการเขยี น
วชิ าภาษาไทย

ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑

การประเมินความสามารถในการเขียน เป็นการประเมินการเขยี นจากคาํ อ่าน
จาํ นวนคาํ ทใี่ หน้ กั เรียนเขียน ๒๐ คาํ นกั เรียนเขยี นไดถ้ ูกตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ ๑๐ คาํ
จงึ ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน

เกณฑก์ ารประเมิน

เขยี นไดร้ ะดบั ดี เขยี นถูกตอ้ ง ๑๖ – ๒๐ คาํ
เขยี นไดร้ ะดบั พอใช้
เขียนไม่ได้ เขียนถูกตอ้ ง ๑๐ – ๑๕ คาํ

เขียนถูกตอ้ งต่าํ กวา่ ๑๐ คาํ

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๑๓

แบบวดั ความสามารถการอ่าน
เพอื่ ตรวจสอบนักเรียนทอี่ ่านไม่คล่อง

ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๑๔

แบบวดั ความสามารถการอ่าน
เพอื่ ตรวจสอบนักเรียนทอี่ ่านไม่คล่อง

ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑

คาํ ชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนอ่านเรื่องที่กาํ หนดต่อไปน้ี ภายในเวลา ๒ นาที

ความสําเร็จของอเนก

อเนก เรียนวชิ าสงั คมศึกษา คุณครูได้สอนเร่ืองการทาํ สมาธิเพ่ือฝึ กจิตใหป้ ลอดโปร่ง
กาํ จดั ความหงุดหงิด ความโศกเศร้าออกไปจากใจ เม่ืออเนกตริตรองดูจึงเกิดความตระหนัก
ว่าเป็ นวธิ ีการพฒั นาจิตใจท่ีแยบยล ทาํ ใหท้ ุกคนมีโอกาสยกจิตตนให้ประเสริฐข้ึน อเนกจึง
ขมีขมนั หมนั่ กราบพระ สวดมนต์ นั่งสมาธิก่อนนอนทุกวนั จนทาํ ใหอ้ เนกมีจิตใจเบิกบาน
แจ่มใส ประสบความสาํ เร็จในการเรียน และสามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานไดอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง

(ที่มา : คณะกรรมการจดั ทาํ ชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย)

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๑๕

เกณฑ์การประเมินความสามารถในการอ่าน
วิชาภาษาไทย

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑

พจิ ารณาจากการอ่านออกเสียง ดงั น้ี
๑. การอ่านถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน (คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน) อ่านผิดหักคาํ ละ ๑ คะแนน

(อ่านผดิ แลว้ อ่านใหม่ไดถ้ ูกตอ้ งในทนั ทีไม่ถือวา่ อ่านผดิ )
๒. การอ่านเวน้ วรรคตอน คะแนนเตม็ ๕ คะแนน พจิ ารณา ดงั น้ี
๕ คะแนน = อ่านแบ่งวรรคตอนและจาํ นวนคาํ ไดถ้ ูกตอ้ งทุกคาํ
๔ คะแนน = อ่านแบ่งวรรคตอนและจาํ นวนคาํ ได้ ผดิ ๑ – ๓ ตาํ แหน่ง
๓ คะแนน = อ่านแบ่งวรรคตอนและจาํ นวนคาํ ได้ ผดิ ๔ – ๖ ตาํ แหน่ง
๒ คะแนน = อ่านแบ่งวรรคตอนและจาํ นวนคาํ ได้ ผดิ ๗ – ๙ ตาํ แหน่ง
๑ คะแนน = อ่านแบ่งวรรคตอนและจาํ นวนคาํ ได้ ผดิ ๑๐ ตาํ แหน่งข้ึนไป
๓. การใชน้ ้าํ เสียงในการอ่าน คะแนนเตม็ ๓ คะแนน พจิ ารณาดงั น้ี
๓ คะแนน = อ่านเสียงดงั ชดั เจน ระดบั เสียงสม่าํ เสมอ
๒ คะแนน = อ่านเสียงดงั ชดั เจน ระดบั เสียงไม่สม่าํ เสมอ
๑ คะแนน = อ่านเสียงเบา ฟังไม่ชดั ระดบั เสียงไม่สม่าํ เสมอ
๔. การอ่านภายในเวลาทก่ี าํ หนด คะแนนเตม็ ๒ คะแนน พจิ ารณาการอ่านดงั น้ี
๒ คะแนน = อ่านจบภายในเวลาทก่ี าํ หนด หรือเร็วกวา่ เวลาท่ีกาํ หนด
๑ คะแนน = อ่านชา้ กวา่ เวลาทก่ี าํ หนด

ระดบั ผลการประเมินจากคะแนนรวม คะแนนเตม็ ๒๐ คะแนน ดงั น้ี

อ่านคล่อง ระดบั ดีมาก = ๑๘ – ๒๐ คะแนน

อ่านคล่อง ระดบั ดี = ๑๕ – ๑๗ คะแนน

อ่านคล่อง ระดบั พอใช้ = ๑๒ – ๑๔ คะแนน

อ่านไม่คล่อง = ๐ – ๑๑ คะแนน

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๑๖

การแปลความหมายของการประเมิน
อ่านคล่อง ระดับดีมาก หมายถึง การอ่านออกเสียงไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่วถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน

แบ่งวรรคตอนไดถ้ ูก เสียงดงั ฟังชดั อ่านไดภ้ ายในเวลาทก่ี าํ หนด
อ่านคล่องระดับดี หมายถึง การอ่านออกเสียงได้ค่อนขา้ งคล่อง ถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน เสียง

ค่อนขา้ งดี ฟังชดั เจน อ่านไดภ้ ายในเวลาท่ีกาํ หนดหรือชา้ กวา่ เลก็ นอ้ ย
อ่านคล่องระดับพอใช้ หมายถึง การอ่านออกเสียงไดไ้ ม่คล่อง อ่านไม่ถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน

เสียงค่อนขา้ งเบา ฟังไม่ชดั ชา้ กวา่ เวลาที่กาํ หนด
อ่านไม่คล่อง หมายถึง การอ่านออกเสียงไดไ้ ม่คล่อง อ่านตะกุกตะกกั หรืออ่านชา้ ไม่ถูกตอ้ งตาม

หลกั การอ่าน เสียงเบาฟังไม่ชดั แบ่งวรรคตอนไม่ถูก อ่านชา้ กวา่ เวลาทีก่ าํ หนดมาก

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๑๗

แบบวดั ความสามารถการเขยี น
เพอื่ ตรวจสอบนักเรียนทเ่ี ขยี นไม่คล่อง

ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๑๘

แบบวดั ความสามารถการเขียน
เพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนที่เขยี นไม่คล่อง

ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๑

คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนเรื่องจากภาพภายใน ๒๐ นาที
ความยาวไม่นอ้ ยกว่า ๕ บรรทดั พร้อมต้งั ชื่อเรื่องใหเ้ หมาะสม

----------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๑๙

เกณฑ์การประเมินความสามารถการเขยี นคล่อง
วชิ าภาษาไทย

ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑

การประเมินความสามารถในการเขียนคล่อง เป็ นการประเมินการเขียนเร่ืองจากภาพท่ีกาํ หนด
ความยาวไม่นอ้ ยกวา่ ๕ บรรทดั พร้อมต้งั ชื่อเร่ืองใหเ้ หมาะสม ภายในเวลา ๒๐ นาที

ความสามารถในการเขียนคล่องมีเกณฑก์ ารประเมินเป็นคะแนนดงั น้ี

๑. การต้งั ช่ือเร่ือง ๒ คะแนน
คะแนน
๒. เน้ือเรื่อง ๑๐ คะแนน
คะแนน
๓. หลกั การเขียน ๕ คะแนน

๔. ความยาวของเรื่องและเวลาท่ีกาํ หนด ๓

รวม ๒๐

คาํ อธิบายเกณฑ์
๑. การต้งั ช่ือเร่ือง หมายถึง ขอ้ ความท่เี ป็นเร่ืองสอดคลอ้ งกบั เร่ืองทเี่ ขยี นและภาพทีก่ าํ หนด
๒. เน้ือเรื่อง หมายถึง ส่วนที่เป็ นเน้ือหาที่เขียนโดยเลือกใชภ้ าษามาเรียบเรียงเป็ นประโยคไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสม มีความต่อเน่ืองสอดคลอ้ งกนั ตลอดท้งั เร่ือง เรียงลาํ ดบั เน้ือหาไดส้ อดคลอ้ งเป็ นเหตุเป็ นผลและ
มีความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์

๓. หลักการเขียน หมายถึง การเขียนไดถ้ ูกต้องตามอักขรวิธี เวน้ วรรคตอนและใชเ้ คร่ืองหมาย
วรรคตอนไดเ้ หมาะสม ลายมือเป็นระเบยี บอ่านง่าย และสะอาด

๔. ความยาวของเรื่อง หมายถึง เน้ือเร่ืองมีความยาวตามท่ีกําหนดไม่น้อยกว่า ๕ บรรทัด
(ความยาวเกินท่ีกาํ หนดไม่นบั คะแนนเพมิ่ )

๕. เวลาท่กี าํ หนด หมายถึง เขียนเสร็จตามเวลาทีก่ าํ หนด

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๒๐

เกณฑ์การประเมินความสามารถการเขียนคล่อง
วชิ าภาษาไทย

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑

๑. การต้ังชื่อเรื่อง ๒ คะแนน ๒ คะแนน
๑.๑ ต้งั ชื่อเร่ืองไดส้ อดคลอ้ งกบั เน้ือเรื่องและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๑.๒ ต้งั ชื่อเร่ืองไดแ้ ตไ่ ม่สอดคลอ้ งกบั เน้ือเรื่องและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๑ คะแนน
ท่ีกาํ หนดให้ ๐ คะแนน
๑.๓ ไม่ต้งั ชื่อเร่ือง
๔ คะแนน
๒. เนือ้ เรื่อง ๑๐ คะแนน ๓ คะแนน
๒.๑ การเรียงลาํ ดบั เน้ือหา ๔ คะแนน ๒ คะแนน
- เรียงลาํ ดบั เน้ือหาไดต้ ่อเน่ืองตลอดเรื่องไม่วกวน ๑ คะแนน
- เรียงลาํ ดบั เน้ือหาไดค้ ่อนขา้ งต่อเน่ืองเป็นส่วนใหญ่ ไม่วกวน ๐ คะแนน
- เรียงลาํ ดบั เน้ือหาไดค้ ่อนขา้ งต่อเนื่อง แต่วกวนบา้ ง
- เรียงลาํ ดบั เน้ือหาไม่ต่อเนื่อง ๓ คะแนน
- ไม่เขยี นเรื่อง ๒ คะแนน
๒.๒ การใชภ้ าษา ๓ คะแนน ๑ คะแนน
- เรียบเรียงประโยคโดยเลือกใชค้ าํ และภาษาไดถ้ ูกตอ้ งเหมาะสม ๐ คะแนน
- เรียบเรียงประโยคโดยเลือกใชค้ าํ และภาษาไดถ้ กู ตอ้ งเหมาะสมบา้ ง
- เรียบเรียงประโยคโดยเลือกใชค้ าํ และภาษาไม่เหมาะสม ๓ คะแนน
- ไม่เขยี นเรื่อง ๒ คะแนน
๒.๓ ความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ ๓ คะแนน ๑ คะแนน
- สามารถแสดงความคิดท่ีแปลกใหม่และเป็นประโยชนม์ าก ๐ คะแนน
- สามารถแสดงความคดิ ทีแ่ ปลกใหม่และเป็นประโยชน์มากบา้ ง
- สามารถแสดงความคิดไดแ้ ตไ่ ม่เป็นประโยชน์
- ไม่แสดงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๒๑

๓. หลกั การเขียน ๕ คะแนน ๒ คะแนน
๓.๑ การเขยี นสะกดคาํ ๒ คะแนน ๑ คะแนน
- เขยี นสะกดคาํ ผดิ ไม่เกิน ๕ คาํ ๐ คะแนน
- เขียนสะกดคาํ ผดิ ๖ – ๑๐ คาํ
- เขยี นสะกดคาํ ผดิ มากกวา่ ๑๐ คาํ ๑ คะแนน
๓.๒ การเวน้ วรรคตอน ๑ คะแนน ๐ คะแนน
- เวน้ วรรคตอนผดิ ๑-๒ แห่ง
- เวน้ วรรคตอนผดิ มากกวา่ ๒ แห่ง ๒ คะแนน
๓.๓ ลายมือเป็นระเบียบ สะอาด ๒ คะแนน ๑ คะแนน
- ลายมือเป็นระเบียบ อ่านง่าย ผลงานสะอาด ไม่มีรอยลบ ๐ คะแนน
- ลายมือไม่เป็นระเบยี บ แต่อ่านง่าย ผลงานมีรอยลบไม่เกิน ๒ แห่ง
- ลายมือไม่เป็นระเบียบ อ่านยาก ผลงานมีรอยลบมากกวา่ ๓ แห่ง ๒ คะแนน
๑ คะแนน
๔. ความยาวและเวลาในการเขียนเร่ือง ๓ คะแนน ๐ คะแนน
๔.๑ ความยาวของเรื่อง ๒ คะแนน
- มีความยาวของเร่ืองไม่นอ้ ยกวา่ ๕ บรรทดั ๑ คะแนน
- มีความยาวของเรื่อง ๓ – ๔ บรรทดั ๐ คะแนน
- มีความยาวของเร่ือง ๐ – ๒ บรรทดั
๔.๒ เวลา ๑ คะแนน
- เขียนเสร็จทนั เวลา
- เขยี นไม่เสร็จตามเวลาท่ีกาํ หนด

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๒๒

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย

อ่านไม่ออก เขยี นไม่ได้ อ่านไม่คล่อง เขยี นไม่คล่อง

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๒

แบบวดั ความสามารถการอ่าน
เพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนท่อี ่านไม่ออก

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๒๔

แบบวดั ความสามารถการอ่าน
เพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนทอ่ี ่านไม่ออก

ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๒

กจิ กรรมท่ี ๑
คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านประโยคต่อไปน้ี โดยออกเสียงคาํ ทีอ่ ยใู่ นกรอบใหถ้ ูกตอ้ ง
๑. คนธรรพ์ มีทรัพย์ ศฤงคาร นบั โกฏิ ในสวรรคช์ ้นั ฉกามาพจร
๒. ทุกคนควร ขวนขวาย หาความรูอ้ ยา่ งไม่ ไขวเ้ ขว
๓. ท่าน พฤฒาจารย์ นงั่ ขดั สมาธิ
๔. นกั เรียนช้นั ม.๒ ชม วดี ิทศั น์ เรื่อง โสฬสไตรยางค์ และ นฤทมุ นาการ
๕. สฤษฎ์ สรรพางค์ มรรคา เป็นคาํ ภาษา สนั สกฤต
๖. บรรดา เสวก แสดงความ กกั ขฬะ เพราะความมี ทิฐิ
๗. หนาํ เล้ียบ และ สมุลแวง้ เป็นสมุนไพรทม่ี ีประโยชน์
๘. สปั เหร่อ คนน้ีดูท่าทางเป็นคน วติ ถาร
๙. ประธานกล่าว ปฏิสนั ถาร ต่อทป่ี ระชุม
๑๐. เขาถูก อุปโลกน์ ใหเ้ ป็นผรู้ า้ ยในภาพยนตร์ โฆษณา

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๒๕

เฉลยกจิ กรรมที่ ๑

แบบวดั ความสามารถการอ่านเพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนทอี่ ่านไม่ออก
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๒

กิจกรรมท่ี ๑

คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านประโยคต่อไปน้ี โดยออกเสียงคาํ ที่อยใู่ นกรอบใหถ้ ูกตอ้ ง

๑. คนธรรพ์ อ่านวา่ คน - ทนั

๒. ศฤงคาร อ่านวา่ สะ – หฺริง – คาน

๓. โกฏิ อ่านวา่ โกด

๔. ฉกามาพจร อ่านวา่ ฉะ – กา – มา – พะ – จอน

๕. ขวนขวาย อ่านวา่ ขฺวน – ขฺวาย

๖. ไขวเ้ ขว อ่านวา่ ไขฺว้ – เขฺว

๗. พฤฒาจารย์ อ่านวา่ พฺรึด – ทา – จาน

๘. ขดั สมาธิ อ่านวา่ ขดั – สะ – หฺมาด

๙. วดี ิทศั น์ อ่านวา่ วี – ดิ – ทดั

๑๐. โสฬสไตรยางค์ อ่านวา่ โส – ลด – ตฺรยั – ยาง

๑๑. นฤทมุ นาการ อ่านวา่ นะ – รึ – ทุม – มะ – นา – กาน

๑๒. สฤษฎ์ิ อ่านวา่ สะ – หฺริด

๑๓. สรรพางค์ อ่านวา่ สนั – ระ – พาง

๑๔. มรรคา อ่านวา่ มนั – คา

๑๕. สนั สกฤต อ่านวา่ สนั – สะ – กฺริด

๑๖. เสวก อ่านวา่ เส – วก

๑๗. กกั ขฬะ อ่านวา่ กกั – ขะ – หฺละ

๑๘. ทฐิ ิ อ่านวา่ ทิ – ถิ

๑๙. หนาํ เล้ียบ อ่านวา่ หฺนาํ – เล้ียบ

๒๐. สมุลแวง้ อ่านวา่ สะ – หฺมุน – ละ - แวง้

๒๑. สปั เหร่อ อ่านวา่ สบั – ปะ – เหฺร่อ

๒๒. วติ ถาร อ่านวา่ วดิ – ถาน

๒๓. ปฏิสนั ถาร อ่านวา่ ปะ – ติ – สนั – ถาน

๒๔. อุปโลกน์ อ่านวา่ อุบ – ปะ – โหฺลก

๒๕. โฆษณา อ่านวา่ โคด – สะ – นา

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๒๖

แบบวดั ความสามารถการอ่าน
เพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนท่ีอ่านไม่ออก

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒

กจิ กรรมที่ ๒
คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านขอ้ ความต่อไปน้ี โดยออกเสียงคาํ ทขี่ ดี เสน้ ใตใ้ หถ้ ูกตอ้ ง

เรื่องที่ ๑
นางสาวบุณฑริก แต่งตวั มิกซ์ แอนด์แมกซ์ อย่างอะร้ าอร่ าม ดูแอร่ มแช่ม
ช้อย เพื่อไปชมขบวนพยุหยาตราทางชลมารค แต่ในวนั น้ีอากาศขมุกขมัว เธอไม่
สามารถมองเห็นขบวนเรือไดอ้ ย่างชัดเจน มีคนจาํ นวนมากเบียดเสียดส่งเสียงขรม
เป็ นวิกฤตการณ์อนั เป็ นท่ีไม่พงึ ประสงคข์ องเธอ จนไม่สามารถพรรณนาได้ เธอรู้สึก
เวยี นศรี ษะจงึ ตรงไปคลนิ ิกเพอื่ พบหมอ

เร่ืองที่ ๒
มะขวิดเป็ นชาวเตลงขี่ช้างแม่แปรกไปเมืองฉวางเพ่ือต่อสู้กับพม่า ซ่ึงเป็ น
ปรปักษ์กับฝ่ ายตน จนพม่าวิ่งเตลิด ชาวมอญต่างยอมพลีชีพต่อสู้กับเหล่าอริที่
เบียนบีฑาแผ่นดินของตน ฟาดฟันกนั ดุจเพชฌฆาต ลม้ ตายกันจาํ นวนมาก รวมท้งั
มะขวิดซ่ึงกอปรด้วยคุณงามความดี แมเ้ ขาจะถูกปรามาสว่าการรบคร้ังน้ีไม่สําเร็จก็
ตาม ชาวเมืองต่างเศร้าโศกกําสรวลไม่สร่าง พร้อมใจกันยกย่องสรรเสริญ ขอให้
วิญญาณของมะขวิดและผูก้ ล้าท้ังหลายไปสู่สัมปรายภพ อุดมด้วยจตุรพิธพรชัย
ชวั่ นิรนั ดร์

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๒๗

เฉลยกจิ กรรมท่ี ๒

แบบวดั ความสามารถการอ่านเพอ่ื ตรวจสอบนกั เรียนทอ่ี ่านไม่ออก
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒

กจิ กรรมท่ี ๒
คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านขอ้ ความต่อไปน้ี โดยออกเสียงคาํ ทขี่ ดี เสน้ ใตใ้ หถ้ ูกตอ้ ง

เรื่องที่ ๑ อ่านวา่ บุน – ทะ – ริก
๑. บุณฑริก อ่านวา่ มิก – แอน – แม็ก
๒. มิกซ์แอนดแ์ มกซ์ อ่านวา่ อะ – ร้า – อะ – หฺร่าม
๓. อะรา้ อร่าม อ่านวา่ อะ – แหฺร่ม
๔. แอร่ม อ่านวา่ ชน – ละ – มาก
๕. ชลมารค อ่านวา่ ขะ – หฺมุก – ขะ – หฺมวั
๖. ขมุกขมวั อ่านวา่ ขะ-หฺรม
๗. ขรม อ่านวา่ วิ – กฺริด – ตะ – กาน หรือ วิ – กฺริด – กาน
๘. วกิ ฤตการณ์ อ่านวา่ พนั – นะ – นา
๙. พรรณนา อ่านวา่ คลิ – หฺนิก
๑๐. คลินิก

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๒๘

เรื่องท่ี ๒ อ่านวา่ ตะ – เลง
๑. เตลง อ่านวา่ แม่ – ปะ – แหฺรก
๒. แม่แปรก อ่านวา่ ฉะ – หฺวาง
๓. ฉวาง อ่านวา่ ปอ – ระ – ปัก
๔. ปรปักษ์ อ่านวา่ ตะ – เหฺลิด
๕. เตลิด อ่านวา่ พฺลี – ชีบ
๖. พลีชีพ อ่านวา่ อะ – หฺริ
๗. อริ อ่านวา่ เบยี น – บี – ทา
๘. เบยี นบีฑา อ่านวา่ เพด็ – ชะ – คาด
๙. เพชฌฆาต อ่านวา่ กอบ
๑๐. กอปร อ่านวา่ ปรฺ า – มาด
๑๑. ปรามาส อ่านวา่ กาํ – สวน
๑๒. กาํ สรวล อ่านวา่ ส่าง
๑๓. สร่าง อ่านวา่ สาํ – ปรฺ าย – ยะ -พบ
๑๔. สมั ปรายภพ อ่านวา่ จะ – ตุ – ระ – พดิ – ทะ – พอน – ชยั
๑๕. จตุรพธิ พรชยั

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๒๙

เกณฑ์การประเมินความสามารถการอ่าน
วชิ าภาษาไทย

ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๒

การประเมินความสามารถในการอ่าน เป็นการประเมินการอ่านออกเสียงคาํ ที่
มีอยใู่ นกรอบใหถ้ ูกตอ้ ง จาํ นวนคาํ ทใ่ี หน้ กั เรียนอ่านท้งั หมด ๕๐ คาํ
ประกอบดว้ ย ๒ กิจกรรม

กิจกรรมท่ี ๑ นกั เรียนอ่านประโยคโดยออกเสียงคาํ ทอ่ี ยใู่ นกรอบใหถ้ ูกตอ้ ง
จาํ นวนคาํ ท้งั หมด ๒๕ คาํ นกั เรียนตอ้ งอ่านถูกตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ ๑๕ คาํ จึงผา่ นเกณฑ์
การประเมิน ถา้ อ่านไดต้ ่าํ กวา่ ๑๕ คาํ แสดงวา่ อ่านไม่ออก

กิจกรรมที่ ๒ นกั เรียนอ่านขอ้ ความท่กี าํ หนดใหโ้ ดยออกเสียงคาํ ที่ขีดเสน้ ใตใ้ ห้
ถูกตอ้ ง จาํ นวนคาํ ท้งั หมด ๒๕ คาํ นกั เรียนตอ้ งอ่านถูกตอ้ งไม่นอ้ ยกวา่ ๑๕ คาํ จึง
ผา่ นเกณฑก์ ารประเมิน ถา้ อ่านไดต้ ่าํ กวา่ ๑๕ คาํ แสดงวา่ อ่านไม่ออก

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๓๐

แบบวดั ความสามารถการเขยี น
เพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนทเ่ี ขยี นไม่ได้

ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๒

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๓๑

แบบวดั ความสามารถการเขยี น เพ่อื ตรวจสอบนกั เรียนทเ่ี ขยี นไม่ได้
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๒

คาํ ชี้แจง ครูอ่านคาํ ต่อไปน้ีใหน้ กั เรียนเขยี นตามคาํ บอก

๑. จกั รพรรดิ (จกั – กฺระ - พดั )
๒. พสิ มยั (พดิ – สะ – ไหฺม)
๓. โลกาภวิ ตั น์ (โล – กา –พิ - วดั )
๔. จาบลั ย์ (จา - บนั )
๕. ไพรสณฑ์ (ไพฺร - สน)
๖. คอนเฟิร์ม (คอน – เฟิม)
๗. โศกศลั ย์ (โสก - สนั )
๘. ธรรมาสน์ (ทาํ - มาด)
๙. อชั ฌาสยั (อดั – ชา – ไส)
๑๐. ดึกดาํ บรรพ์ (ดึก – ดาํ - บนั )
๑๑. ผรุสวาท (ผะ – รุด – สะ - วาด)
๑๒. พยกั เพยดิ (พะ – ยกั – พะ - เยดิ )
๑๓. อเนจอนาถ (อะ – เหฺน็ด – อะ - หฺนาด)
๑๔. ฟลุ สแก๊ป (ฟนุ – สะ - แก๊บ)
๑๕. อิเลก็ ทรอนิกส์ (อิ – เล็ก – ทฺรอ - หฺนิก)
๑๖. อฒั จนั ทร์ (อดั – ทะ - จนั )
๑๗. เกษมสนั ต์ (กะ – เสม - สนั )
๑๘. อิริยาบถ (อิ – ริ – ยา - บด)
๑๙. รโหฐาน (ระ – โห - ถาน)
๒๐. นยั นต์ า (ไน - ตา)

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๓๒

เกณฑ์การประเมินความสามารถในการเขียน
วชิ าภาษาไทย

ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๒

การประเมินความสามารถในการเขียน เป็ นการประเมินการเขียนตาม
คาํ บอกที่ครูอ่านให้นักเรียนฟัง จาํ นวนคาํ ท่ีให้นักเรียนเขียนตามคาํ บอก
๒๐ คาํ นักเรียนเขียนได้ถูกต้องไม่น้อยกว่า ๑๐ คํา จึงผ่านเกณฑ์การ
ประเมิน ถา้ เขยี นไดต้ ่าํ กวา่ ๑๐ คาํ แสดงวา่ เขียนไม่ได้

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๓๓

แบบวดั ความสามารถการอ่าน
เพอื่ ตรวจสอบนักเรียนทอ่ี ่านไม่คล่อง

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๓๔

แบบวดั ความสามารถการอ่าน
เพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนท่ีอ่านไม่คล่อง

ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๒

กจิ กรรมท่ี ๑
คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านออกเสียงคาํ ทเ่ี นน้ ในเรื่องต่อไปน้ี ภายในเวลา ๓ นาที

ทฐิ ิเป็ นเหตุ

พระเจา้ บาร์ยอผูค้ รองแควน้ ฉวางมีทรัพยศ์ ฤงคารนับโกฏิสุดท่ีจะพรรณนา//พระองคม์ ีโอรส
๒ พระองค/์ /โอรสองคโ์ ตมีพฤฒาจารย์เป็นพรรคพวก//ส่วนโอรสองคเ์ ล็กมีเหล่าเสวกเป็ นพรรคพวก//
โอรสท้งั สองพระองคต์ ่างถูกพวกของตนยแุ หยจ่ นเกิดความคลางแคลงใจกนั //วนั หน่ึงเกิดวิกฤตการณ์
ข้ึนภายในเมือง//เพราะชาวเตลงคู่อริที่เป็ นปรปักษ์จะยกไพร่พลมาเบียนบีฑา//พระเจา้ บาร์ยอไดเ้ รียก
พระโอรสท้งั สองมาเขา้ เฝ้ า//เพ่ือปรึกษาเรื่องที่มีกองทพั มารุกราน//เม่ือถึงเวลาประชุมพระเจา้ บาร์ยอ
ตรัสปฏิสันถารแก่โอรสท้งั สอง//แลว้ มีรับสั่งให้โอรสองคโ์ ตนาํ ทหารออกไปต่อสู้กับขา้ ศึก//แต่โอรส
องคโ์ ตไม่ยอมปฏบิ ตั ติ ามรบั สงั่ //ส่วนโอรสองคเ์ ล็กก็ถือทิฐิไม่ยอมยกทพั ออกไปต่อสู้กบั ขา้ ศึกเช่นกนั //
เมื่อกองทพั ศตั รูยกมาประชิด//ชาวเมืองบ่นกนั เสียงขรมและไม่มีผูใ้ ดขวนขวายวางแผนป้ องกนั ศตั รู//
ในท่ีสุดเมืองน้ีก็ล่มจมอยา่ งง่ายดาย

(ที่มา : คณะกรรมการจดั ทาํ ชุดพฒั นาความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย)

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๓๕

กิจกรรมท่ี ๒
คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาํ ถามจากเร่ืองทอี่ ่าน
๑. พระเจา้ บาร์ยอครองแควน้ อะไร

………………………………………………………………………………………
๒. พระเจา้ บาร์ยอมีโอรสกี่พระองค์

……………………………………………………………………………………….
๓. กองทพั ทีม่ ารุกรานเมอื งของพระเจา้ บาร์ยอคอื ชาตใิ ด

......................................................................................................................
๔. เพราะเหตุใดเมืองของพระเจา้ บาร์ยอจงึ พา่ ยแพข้ า้ ศกึ

.....................................................................................................................
๕. ขอ้ คดิ ที่นกั เรียนไดร้ ับจากการอ่านเรื่องน้ีที่สามารถนาํ ไปใชใ้ นการดาํ เนินชีวติ มีอะไรบา้ ง

……………………………………………………………………………………..

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๓๖

เฉลยกจิ กรรมท่ี ๑ - ๒

แบบวดั ความสามารถการอ่านเพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนทอี่ ่านไม่คล่อง
ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒

กจิ กรรมท่ี ๑

คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนอ่านออกเสียงคาํ ทีเ่ นน้ เร่ืองต่อไปน้ี

๑. ฉวาง อ่านวา่ ฉะ – หฺวาง

๒. ศฤงคาร อ่านวา่ สะ – หฺริง – คาน

๓. โกฏิ อ่านวา่ โกด

๔. พรรณนา อ่านวา่ พนั – นะ – นา

๕. พฤฒาจารย์ อ่านวา่ พฺรึด – ทา – จาน

๖. เสวก อ่านวา่ เส – วก

๗. วกิ ฤตการณ์ อ่านวา่ วิ – กฺริด – ตะ – กาน หรือ วิ – กฺริด – กาน

๘. เตลง อ่านวา่ ตะ – เลง

๙. อริ อ่านวา่ อะ – หฺริ

๑๐. ปรปักษ์ อ่านวา่ ปอ – ระ – ปัก

๑๑. เบยี นบีฑา อ่านวา่ เบียน – บี – ทา

๑๒. ปฏิสนั ถาร อ่านวา่ ปะ – ติ – สนั – ถาน

๑๓. ทฐิ ิ อ่านวา่ ทิ – ถิ

๑๔. ขรม อ่านวา่ ขะ-หฺรม

๑๕. ขวนขวาย อ่านวา่ ขฺวน – ขฺวาย

กิจกรรมที่ ๒
คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาํ ถามจากเร่ืองทอ่ี ่าน
๑. เมืองฉวาง
๒. มีโอรส ๒ พระองค์
๓. ชาวเตลง
๔. เพราะพระโอรสมีทิฐิต่อกนั
๕. การแตกความสามคั คี การมีทฐิ ิต่อกนั การชิงดีชิงเด่น ความไม่ไวว้ างใจกนั ฯลฯ

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๓๗

เกณฑ์การประเมนิ ความสามารถการอ่านคล่อง
วชิ าภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๒

การใชแ้ บบวดั ความสามารถการอ่าน เป็นการประเมินความสามารถในการอ่านคล่อง

ประกอบดว้ ยเกณฑก์ ารประเมินเร่ืองท่อี ่านดงั น้ี

๑. การอ่านถกู ตอ้ งตามหลกั การอ่าน คะแนนเตม็ ๑๕ คะแนน

๒. การอ่านเวน้ วรรคตอน คะแนนเตม็ ๑๕ คะแนน

๓. การใชน้ ้าํ เสียงในการอ่าน คะแนนเตม็ ๓ คะแนน

๔. การอ่านภายในเวลาที่กาํ หนด คะแนนเตม็ ๒ คะแนน

๕. การประเมินความเขา้ ใจเร่ืองทีอ่ ่าน คะแนนเตม็ ๕ คะแนน

รวม ๔๐ คะแนน

พิจารณาจากการอ่านออกเสียงและความเข้าใจในเร่ืองที่อ่าน ดงั น้ี

๑. การอ่านถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน คะแนนเตม็ ๑๕ คะแนน

พจิ ารณาจากการอ่านคาํ ทเ่ี นน้ ในเร่ือง มีท้งั หมด ๑๕ คาํ อ่านผดิ หกั คาํ ละ ๑ คะแนน

(อ่านผดิ แลว้ อ่านใหม่ไดถ้ ูกตอ้ งในทนั ที ไม่ถือวา่ อ่านผดิ )

๒. การอ่านเวน้ วรรคตอน คะแนนเตม็ ๑๕ คะแนน

พจิ ารณาจากการอ่านเวน้ วรรคตอนตามทีก่ าํ หนดในเน้ือเร่ือง สญั ลกั ษณ์ // หมายถึง เวน้ วรรคใหญ่

ในบทอ่านมีจาํ นวน ๑๕ แห่ง อ่านผดิ หกั แห่งละ ๑ คะแนน

๓. การใชน้ ้าํ เสียงในการอ่าน คะแนนเตม็ ๓ คะแนน

พจิ ารณาจากการอ่าน ดงั น้ี

๓ คะแนน อ่านเสียงดงั ฟังชดั เจน ระดบั เสียงสม่าํ เสมอ

๒ คะแนน อ่านเสียงดงั บา้ ง เบาบา้ ง จงั หวะไม่สม่าํ เสมอ

๑ คะแนน อ่านเสียงเบา ฟังไม่ชดั เจน จงั หวะไม่สม่าํ เสมอ

๐ คะแนน ไม่อ่าน

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๓๘

๔. การอ่านภายในเวลาทีก่ าํ หนด คะแนนเตม็ ๒ คะแนน
พจิ ารณาจากการอ่าน ดงั น้ี

๒ คะแนน อ่านไดต้ ่อเน่ือง ไม่ตะกกุ ตะกกั และอ่านเรื่องจบภายในเวลาทกี่ าํ หนด
หรือจบเร็วกวา่ เวลาท่กี าํ หนด

๑ คะแนน อ่านไม่ตอ่ เนื่อง ตะกุกตะกกั และอ่านเรื่องไม่จบภายในเวลาทีก่ าํ หนด
๐ คะแนน ไม่อ่าน
๕. การประเมินความเขา้ ใจเรื่องทอ่ี ่าน คะแนนเตม็ ๕ คะแนน
พจิ ารณาจากการตอบคาํ ถามจากการอ่านของนกั เรียน ดงั น้ี
๕ คะแนน ตอบคาํ ถามจากเรื่องทอ่ี ่านได้ ๕ ขอ้
๔ คะแนน ตอบคาํ ถามจากเร่ืองท่อี ่านได้ ๔ ขอ้
๓ คะแนน ตอบคาํ ถามจากเรื่องทอี่ ่านได้ ๓ ขอ้
๒ คะแนน ตอบคาํ ถามจากเรื่องทีอ่ ่านได้ ๒ ขอ้
๑ คะแนน ตอบคาํ ถามจากเรื่องท่ีอ่านได้ ๑ ขอ้
๐ คะแนน ไม่สามารถตอบคาํ ถามได้ หรือตอบไม่ตรงกบั เน้ือหาในเรื่องทอ่ี ่าน

ระดบั ผลการประเมนิ จากคะแนนรวม คะแนนเตม็ ๔๐ คะแนน ดงั น้ี

อ่านคล่อง ระดบั ดีมาก = ๓๖ – ๔๐ คะแนน

อ่านคล่อง ระดบั ดี = ๓๐ – ๓๕ คะแนน

อ่านคล่อง ระดบั พอใช้ = ๒๔ – ๒๙ คะแนน

อ่านไม่คล่อง = ๐ – ๒๓ คะแนน

การแปลความหมายของการประเมนิ
อ่านคล่อง ระดับดีมาก หมายถึง การอ่านออกเสียงไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่วถูกตอ้ งตามหลกั การอ่าน

แบ่งวรรคตอนไดถ้ ูก เสียงดงั ฟังชดั อ่านไดภ้ ายในเวลาที่กาํ หนด และรบั รูส้ ิ่งที่อ่านไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจ

อ่านคล่องระดับดี หมายถึง การอ่านออกเสียงได้ค่อนข้างคล่อง ถูกต้องตามหลักการอ่าน
เสียงค่อนขา้ งดี ฟังชดั เจน อ่านไดภ้ ายในเวลาทก่ี าํ หนดหรือชา้ กวา่ เลก็ นอ้ ย และรับรูส้ ิ่งทีอ่ ่านไดเ้ ขา้ ใจบา้ ง

อ่านคล่องระดับพอใช้ หมายถึง การอ่านออกเสียงไดไ้ ม่คล่อง อ่านไม่ถูกตอ้ งตามหลักการอ่าน
เสียงค่อนขา้ งเบา ฟังไม่ชดั อ่านชา้ กวา่ เวลาท่ีกาํ หนด และรับรูส้ ิ่งทอ่ี ่านไดค้ ่อนขา้ งนอ้ ย

อ่านไม่คล่อง หมายถึง การอ่านออกเสียงไดไ้ ม่คล่อง อ่านตะกุกตะกกั หรืออ่านชา้ ไม่ถูกตอ้ งตาม
หลกั การอ่าน เสียงเบาฟังไม่ชดั แบ่งวรรคตอนไม่ถูก อ่านชา้ กวา่ เวลาที่กาํ หนดมาก และไม่สามารถรับรู้สิ่งที่
อ่านได้

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขียนวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๓๙

แบบวดั ความสามารถการเขยี น
เพอ่ื ตรวจสอบนักเรียนทเ่ี ขยี นไม่คล่อง

ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๒

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๔๐

แบบวดั ความสามารถการเขยี น
เพอื่ ตรวจสอบนักเรียนท่ีเขยี นไม่คล่อง

ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๒

คาํ ชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนเร่ืองจากภาพทีก่ าํ หนด ความยาวไม่นอ้ ยกวา่ ๗ บรรทดั พรอ้ ม
ต้งั ช่ือเร่ืองใหเ้ หมาะสม ใชเ้ วลา ๒๐ นาที

..................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
....................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………..

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓ หนา้ ๔๑

เกณฑ์การประเมินความสามารถในการเขียนคล่อง
วชิ าภาษาไทย

ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๒

การประเมินความสามารถในการเขียนคล่อง เป็ นการประเมินการเขียนเร่ืองจากภาพท่ีกาํ หนด
ความยาวไม่นอ้ ยกวา่ ๗ บรรทดั พรอ้ มต้งั ช่ือเรื่องใหเ้ หมาะสม ภายในเวลา ๒๐ นาที

ความสามารถในการเขยี นคล่องมีเกณฑก์ ารประเมินเป็นคะแนนดงั น้ี

๑. การต้งั ช่ือเร่ือง ๒ คะแนน

๒. เน้ือเร่ือง ๑๐ คะแนน

๓. หลกั การเขียน ๕ คะแนน

๔. ความยาวของเร่ืองและเวลาที่กาํ หนด ๓ คะแนน

รวม ๒๐ คะแนน

คาํ อธิบายเกณฑ์
๑. การต้งั ช่ือเรื่อง หมายถึง ขอ้ ความทเี่ ป็นเร่ืองสอดคลอ้ งกบั เร่ืองทีเ่ ขียนและภาพทีก่ าํ หนด
๒. เน้ือเรื่อง หมายถึง ส่วนทเี่ ป็นเน้ือหาท่ีเขียนโดยเลือกใชภ้ าษามาเรียบเรียงเป็ นประโยคไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสม มีความต่อเน่ืองสอดคลอ้ งกนั ตลอดท้งั เรื่อง เรียงลาํ ดบั เน้ือหาไดส้ อดคลอ้ งเป็นเหตุเป็ นผลและ
มีความคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์

๓. หลกั การเขียน หมายถึง การเขียนไดถ้ ูกตอ้ งตามอกั ขรวิธี เวน้ วรรคตอนและใชเ้ คร่ืองหมาย
วรรคตอนไดเ้ หมาะสม ลายมือเป็นระเบยี บอ่านง่าย และสะอาด

๔. ความยาวของเร่ือง หมายถึง เน้ือเรื่องมีความยาวตามที่กําหนดไม่น้อยกว่า ๕ บรรทดั
(ความยาวเกินที่กาํ หนดไม่นบั คะแนนเพมิ่ )

๕. เวลาทกี่ าํ หนด หมายถึง เขียนเสร็จตามเวลาที่กาํ หนด

แบบวดั ความสามารถการอ่าน การเขยี นวชิ าภาษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปี ท่ี ๑ – ๓ หนา้ ๔๒


Click to View FlipBook Version