The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือผ้าลายโบราณชาติพันธู์ผู้ไท
จัดทำโดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดมุกดาหาร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by otopmukdahan7, 2022-04-11 22:51:30

หนังสือผ้าลายโบราณชาติพันธู์ผู้ไท

หนังสือผ้าลายโบราณชาติพันธู์ผู้ไท
จัดทำโดยสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดมุกดาหาร

Keywords: ผ้าลายโบราณ

รูปที่ 45 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตุ้มเครือร่าย

ลายตุ้มจะอยู่ชั้นในและมีองค์ประกอบ
เป็นเครือร่ายขึ้นมา

48

รูปที่ 46 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายขอเครือตุ้ม

ลายเป็นหลักมีองค์ประกอบลายตุ้มขึ้นมา

49

รูปที่ 47 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายแมงดานา

เป็นลวดลายที่ผู้ออกแบบได้ออกแบบ
ตามสัตว์ที่เป็นอาหารในวิถีของชาวบ้าน
ซึ่งแมงดานาเป็นสัตว์ที่ชาวบ้านนิยมนำมา
ประกอบอาหาร เช่น น้ำพริกแมงดานา

50

รูปที่ 48 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายพรรณมหา

ลายพรรณมหา เป็นลายโบราณหายาก
ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของพิธีเหยา ซึ่งเป็นความ
เชื่อโบราณว่าเวลาที่ใครมีอาการเจ็บป่วยก็จะ
ต้องพาผู้ป่วยไปให้หมอเหยา อัญเชิญผีฟ้า
มาช่วยรักษาอยู่ร่ำไป และผ้าลายนี้จะเป็น
ของมอบให้ครูหมอเหยา พร้อมเหล้าขาว
ไข่ต้ม และของเซ่นบวงสรวงอื่นๆ

ผ้าต้นแบบได้มาจากลูกหลานทายาท
หมอเหยาที่เขาเก็บไว้แค่ผืนเดียว

51

รูปที่ 49 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายต้างน้อย

เป็นลายที่ผู้ออกแบบลวดลายสมัย
ก่อนได้เห็น ต้าง หรือตุ้มหู ที่คนสมัยก่อน
ได้แขวนในหูจึงนำมาทำลวดลายผ้า

52

รูปที่ 50 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายพวงมาลัยโหลง

เป็นพวงมาลัยข้อมูล ซึ่งผู้ทำผ้าได้จิตนา
การว่าพวงมาลัยโหลงคือพวงมาลัยที่ใหญ่
สำหรับถือถวายพระ

* โหลง หมายถึง ใหญ่

53

รูปที่ 51 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายนาคซ่อนชู้

เป็นลายนาคที่ผู้ออกแบบลวดลาย
จินตนาการว่า นาคสองตัวซ้อนกันอยู่ใน
เรือนจึงทำเป็นลวดลายขึ้นมาโดยมีนาค
สองตัว

54

รูปที่ 52 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายขออุ้มสน

เป็นลวดลายขอ มีต้นสนอยู่ตรงกลาง
เป็นการออกแบบลวดลาย โดยที่ผู้
ออกแบบได้ออกแบบขึ้นมา

55

รูปที่ 53 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายนาคโต้น

เป็นลายนาคที่ผู้ออกแบบลวดลายที่หัว
ของนาคให้มีขนาดใหญ่

56

รูปที่ 54 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายพันหวี

ผู้ออกแบบลวดลาย ได้แรงบันดาล
ใจมาจากหวีโบราณ จึงนำมาทำเป็นพันหวี
เกิดการผสมผสานเป็นลายพันวี

57

รูปที่ 55 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายเครือโซ่

เกิดจากเอาโซ่ที่ผูกช้างมาจินตนาการ
เป็นเครือโซ่แทนเครือดาว

58

รูปที่ 56 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายนาคขด

เน้นลำตัวนาค เลื้อยไปมาเต็มผืน ลาย
ผ้าจะเน้นตัวนาค

59

รูปที่ 57 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตุ้มเครือจ่อง

ปกติจะทำเป็นเครือขึ้นมา แต่เขาเอา
ตุ้มมาผสมผสานใส่ตรงเครือจ่องคือดึงไว้
เครือจะไปดึงตุ้มไว้

60

รูปที่ 58 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายนาคซ้อนกอ

เป็นลายนาคที่อยู่เป็นกลุ่ม

61

รูปที่ 59 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายขอหลง

เป็นลายขอที่หันหน้าเข้ากันแต่มีเครือ
ร่ายมาคั่นไว้

62

รูปที่ 60 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายมาลัยขาเก

เครื่องหมายหยุดอยู่ข้างใน แล้วมาทำ
เป็นพวงมาลัยล้อมเก

63

รูปที่ 61 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายขอล้อม

แบบลวดลายขอเกี้ยวไปเกี้ยวมามีลายขอ
ล้อมรอบเครือล้าย

64

รูปที่ 62 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตาควาย

แบบลวดลายขอเกี้ยวไปเกี้ยวมามีลาย
ขอล้อมรอบเครือล้าย

65

รูปที่ 63 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายหมากจับเครือ

เกิดจากการลายมากจับเป็นลายพื้น
ฐานการทอผ้าผู้ออกแบบสร้างสรรค์โดย
เอามากจับมาเรียงเป็นเครือขึ้นมา

66

รูปที่ 64 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายขอด้ามพร้า

ทำลายขอขึ้นมาแล้วต่อยอดลายด้าม
พร้าตามจินตนาการ

67

รูปที่ 65 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตุ้มตีนโคม

ข้างบนผ้าจะเป็นลายตุ้ม ตรงตีนผ้าจะ
เป็นโคม

68

รูปที่ 66 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายนาคในเรือนแก้ว

เกิดจากลายนาคทั่วไปแต่นำลาย
เรือนแก้วมาใส่ตรงกลางลายผ้า

69

รูปที่ 67 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายดอกวี

จินตนาการลายผ้าขึ้นมาจากเครื่องใช้
ในครัว ซึ่ง วี มายถึง พัด

70

รูปที่ 68 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายขาเก

มีความหมายว่าหยุด เป็นเครื่องหมาย
กากบาทอยู่ตรงกลางลายผ้า

71

รูปที่ 69 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายนาคแข่วโหลง

เกิดจากลายนาคสองตัวมีฟันใหญ่กว่า
นาคตัวอื่นๆ

72

รูปที่ 70 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายนาคหัววี

เป็นลายนาคที่ทำจากหัวนาคแล้วนำ
ลายวี (พัด) มาใส่ตรงกลางหัวนาค

73

รูปที่ 71 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตุ้มโหลง

เป็นลายตุ้มที่มีขนาดใหญ่ แล้วใส่ลาย
มากจับตรงกลางตุ้ม

74

รูปที่ 72 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตุ้มหาง

ลายตุ้มเป็นลายพื้นฐานของลายผ้า
ความโดดเด่นของลายตุ้มหางคือ หางจะ
ยาวกว่าลายตุ้มทั่วไป

75

รูปที่ 73 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตุ้มแถว

เป็นลายตุ้มที่เรียงกันเป็นแถวยาวไป
เรื่อย

76

รูปที่ 74 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตุ้มหมู่

เป็นลายตุ้มที่อยู่ร่วมกันล้อมรอบ

77

รูปที่ 75 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายช่อสน

เป็นลายที่ช่างทอผ้าทำขึ้นมาจาก
จินตนาการของยอดต้นสน

78

รูปที่ 76 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายนาคน้อยลอยน้ำ

เป็นลายที่เน้นตัวนาค ไม่มีลายอื่นผสม
เป็นตัวนาคขนาดเล็ก

79

รูปที่ 77 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายหวีคำ

เกิดขึ้นจากลายหวีคำ

80

รูปที่ 78 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายหว่างปอ

(หว่าง=ระยะห่าง) – เป็นลายจินตนาการ
มาจากวิถีชีวิตของเกษตรกรที่ปลูกปอ

81

รูปที่ 79 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายดอกวีเครือตุ้ม

เป็นการนำลายตุ้มมาทำเป้นลายเครือ
ล้อมลายวี

82

รูปที่ 80 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายดอกวีโหลง

เป็นลายที่เน้นลายวีทั่วทั้งผืนที่ทอขึ้น
มาเป็นหลายชั้น

83

รูปที่ 81 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายมาลัยซ้อน

เกิดจากลายมาลัยทำซ้อนกันมากกว่า
สองพวงขึ้นไป

84

รูปที่ 82 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายดอกสา

เป็นลายดอกไม้ที่ทำจากเกสรของ
ดอกสา

85

รูปที่ 83 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายนาคสร้อย

เกิดจากลายหัวนาค ที่ทำให้มีขนาด
แตกต่างกัน

86

รูปที่ 84 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายสร้อยมาลา

เป็นการนำลายตุ้มมาเรียงกันเป็นแถว

87

รูปที่ 85 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตุ้มโคมห้า

เกิดจากลายตุ้มที่ทอเรียงกัน

88

รูปที่ 86 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตุ้มเคียง

เป็นลายตุ้มแถว ล้อมรอบด้วยเครือร่าย

89

รูปที่ 87 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายนาคหนาม

ลายนางพญา ตัวนาคที่มีลักษณะตัว
ใหญ่และมีหงอนนาคเป็นหนามขึ้นมา 12
หงอน โดยปกตินาคจะมีไม่เกิน 7 หงอน

90

รูปที่ 88 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายดอกปีบ

ประกอบด้วยลายมากจับเครือ เครือ
ล่าย มีจำนวนหลายชั้นก่อนจะถึงลายดอก
ปีบอยู่ข้างใน

91

รูปที่ 89 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายตุ้มน้อย

เป็นลายตุ้มที่มีขนาดเล็ก

92

รูปที่ 90 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายดอกดิน

ดอกดินเป็นดอกที่เกิดจากฤดูฝน บ่ง
บอกถึงความอุดมสมบูรณ์ของพื้นป่า

93

รูปที่ 91 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายหวีคู่

เกิดจากลายหวี 2 อัน หันมาประกบกัน

94

รูปที่ 92 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายขาเกเครือร่าย

ลายขาเกอยู่ตรงกลางล้อมรอบด้วย
ลายเครือร่าย

95

รูปที่ 93 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายต้างขจร

ลายที่มีแรงบันดาลใจมาจากเครื่อง
ประดับสมัยโบราณ

* ต้าง หมายถึง ต่างหู

96

รูปที่ 94 ลายผ้าโบราณชาติพันธุ์ผู้ไท

ลายหวีเงิน

เกิดจากลายหวี ตามจินตนาการของช่างทอ

97


Click to View FlipBook Version