The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เศรษฐกิจพอเพียง ทช21001 ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by l.kongka999, 2022-05-25 23:25:54

เศรษฐกิจพอเพียง ทช21001 ม.ต้น

เศรษฐกิจพอเพียง ทช21001 ม.ต้น

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง ทช21001
ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551

สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั สพุ รรณบรุ ี
สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ



คานา

แผนการจัดการเรยี นรู้รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช21001 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ สาระความรู้
การดาเนนิ ชีวิต หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 ประจาภาคเรยี น
ที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จัดทาขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย แนวทางการ
จัดการเรียนการสอนแบบ ONIE MODEL 4 ข้ันตอน ได้แก่ ขั้นตอนท่ี 1 การกาหนดสภาพ ปัญหา ความ
ต้องการในการเรียนรู้ (O : Orientation) ขนั้ ตอน ท่ี 2 การแสวงหาข้อมูลและจัดการเรยี นรู้ (N : New ways
of learning) ข้ันตอนที่ 3 การปฏิบัตแิ ละนาไปประยกุ ตใ์ ช้ (I : Implementation) ขนั้ ตอนที่ 4 การประเมนิ ผล
(E : Evaluation) มีเนื้อหาความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน.
ปีงบประมาณ 2565 และแนวนโยบาย จุดเน้นการปฏิบัติในการจัดการศึกษาเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา
นอกระบบแบบมงุ่ ผลสัมฤทธ์ิ ในการจัดทาแผนการจัดการเรียนการสอนเล่มนี้ ผู้จัดทาได้รวบรวม องค์ความรู้
ทักษะและสภาพปัญหาจากการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านมา เพ่ือนามาปรับปรุงเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน มีการจัดการเรียนรู้ครบตามเน้ือหา และตัวช้ีวัดของ
หลักสตู ร

ขอขอบคุณภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านท่ีให้ความรู้ คาแนะนาและ
ให้คาปรึกษาเป็นแนวทาง ทาให้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาเล่มนี้ จนสาเร็จเป็นรูปเล่มสมบูรณ์
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์สาหรับผู้นาไปใช้จัดกิจกรรม การเรียนรู้
ได้อย่างมีประสิทธิภาพหากพบข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะประการใด คณะผู้จัดทาขอน้อมรับไว้แก้ไข
ปรับปรงุ ด้วยความขอบคณุ ยงิ่

กศน.อาเภอหนองหญ้าไซ
พฤศจิกายน 2564

สารบญั ข

คานา หนา้
สารบัญ
คาอธิบายรายวชิ า เศรษฐกิจพอเพยี ง ทช21001 ก
รายละเอียดคาอธบิ ายรายวชิ า เศรษฐกิจพอเพยี ง ทช21001 ข
ตารางวิเคราะห์ยากง่ายรายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพียง ทช21001 1
แผนการจดั การเรียนรู้แบบพบกลุม่ ครง้ั ที่ 5 2
4
- ใบความรู้ 6
- ใบงาน 8
- เฉลยใบงาน 12
- แบบทดสอบย่อย 13
- เฉลยแบบทดสอบย่อย 14
- บันทกึ ผลหลังการเรยี นรู้ 16
แผนการจัดการเรียนรู้แบบพบกลุม่ คร้งั ที่ 16 18
- ใบความรู้ 20
- ใบงาน 22
- เฉลยใบงาน 29
- แบบทดสอบยอ่ ย 30
- เฉลยแบบทดสอบยอ่ ย 31
- บันทึกผลหลังการเรยี นรู้ 33
ปฏทิ ินการเรยี นรู้ด้วยตนเอง วิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ทช21001 34
แผนการจดั การเรยี นรู้ด้วยตนเอง ครัง้ ที่ 5 36
- ใบความรู้ 37
- ใบงาน 39
- เฉลยใบงาน 48
แผนการจัดการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ครัง้ ท่ี 16 49
- ใบความรู้ 52
- ใบงาน 53
- เฉลยใบงาน 55
บรรณานกุ รม 56
คณะทางาน ง

1

คาอธิบายรายวชิ า เศรษฐกิจพอเพียง ทช21001 จานวน 1 หน่วยกิต
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ
มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับ เห็นคุณค่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ใน

การประกอบอาชีพและมีภมู คิ ุ้มกันในการดาเนินชีวิตของตนเอง ครอบครัว และชุมชนอยา่ งมคี วามสขุ

ศึกษาและฝึกทักษะเกย่ี วกับเรื่องตอ่ ไปนี้
ความเป็นมา ความหมาย หลักการ แนวคิด ตามปรัชญาของเศรษฐกิจเพื่อการประกอบอาชีพ

การวางแผนการประกอบอาชีพ การสร้างเครือข่ายเพ่ือการดาเนนิ ชีวิตอย่างพอเพียง เพ่ือให้เป็นคนมีเหตุผล
พอประมาณ มีภูมิคุ้มกัน มีความรู้ และมีคณุ ธรรมจริยธรรมในการประกอบอาชีพ การดาเนินชวี ิตของตนเอง
ครอบครวั และชุมชนอยา่ งมีความสขุ

การจัดประสบการณ์การเรียนูร้
ศกึ ษาข้อมลู ตนเอง ข้อมูลวชิ าการ ขอ้ มลู ส่ิงแวดล้อม วเิ คราะห์ สังเคราะห์ เช่อื มโยงเข้ากบั ความรูแ้ ละ

ประสบการณ์ โดยศึกษาจากกรณตี วั อย่าง สภาพจรงิ ส่อื ทุกประเภท การอภปิ รายแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ภูมิ
ปัญญา การทดลอง ฝึกปฏิบตั ิ ประเมินผลและวางแผนประยุกต์ในชีวิต

การวดั และประเมินผล
ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความคิดเห็น ชิน้ งาน ผลงาน โดยวธิ ีการทดสอบ สงั เกต สัมภาษณ์

ตรวจสอบ ประเมนิ การปฏิบตั ิจริง และประเมินสภาพจรงิ

2

รายละเอยี ดคาอธิบายรายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพียง ทช21001 จานวน 1 หนว่ ยกิต

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ
มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับ เห็นคุณค่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ใน

การประกอบอาชพี และมภี มู คิ ุ้มกนั ในการดาเนนิ ชวี ิตของตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนอย่างมีความสขุ

ท่ี หัวเรื่อง ตัวชวี้ ัด เนอื้ หา จานวน
1. ความพอเพียง ชัว่ โมง
1.อธิบายความเป็นมา 1.ความเปน็ มา ความหมาย หลกั การแนวคดิ
ความหมาย หลักการของ ของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 4
ปรัชญาของเศรษฐกจิ 2.การแสวงหาความรู้
พอเพยี ง

2. ประกอบอาชพี 1.นาหลกั ปรัชญา 1.หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ เพยี งกบั การจดั การ 16
อย่างพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้ใน ทรัพยากรทม่ี ีอยขู่ องตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน

การจัดการทรัพยากรท่ีมี 2.หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการ

อยู่ของตนเอง ครอบครวั ประกอบอาชพี

ชุมชน

2.ก า ห น ด แ น ว ท า ง แ ล ะ

ปฏิบัติตนในการนาหลัก

ปรัชญ าของ เศร ษฐกิ จ

พอเพียงไปประยุกต์ใช้ใน

การประกอบอาชพี

3. การวางแผน 1.สามารถวางแผนในการ 1 การวางแผนประกอบอาชีพตามหลักปรัชญา 10

ประกอบอาชพี แบบ ประกอบอาชีพทเ่ี หมาะสม เศรษฐกิจพอเพียง

พอเพยี ง กับตนเอง ไดอ้ ย่างน้อย 1 2 โครงการและแผนงานประกอบอาชพี ตาม

อาชพี หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

2 การวางแผนและจัดทา 3 แนวทางการประกอบอาชีพให้ประสบ

โครงงานการประกอบ ความสาเรจ็

อาชพี ตามแผนงานทว่ี างไว้

ได้อยา่ งเหมาะสม

3 สามารถนาความรมู้ าใช้

เป็นฐานในการประกอบ

อาชพี

4.มคี ุณธรรมในการ

ประกอบอาชพี

3

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตวั ชว้ี ัด เน้อื หา จานวน
ช่ัวโมง
4. สรา้ งเครือข่าย 1.ปฏิบตั ติ นเป็นแบบอย่าง 1.การส่งเสริม เผยแพร่ ขยายผลงานการปฏิบตั ิ
ดาเนินชีวติ แบบ ของชุมชนในการประกอบ ตาม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ 10
พอเพียง
อาชพี และการดาเนนิ ชีวติ บคุ คล ชมุ ชน ที่ประสบผลสาเรจ็
ตามหลักปรัชญาของ 2.การสร้างเครือขา่ ยการประกอบอาชีพและ
เศรษฐกจิ พอเพียง การดาเนินชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง
3.กระบวนการขับเคล่ือนเศรษฐกิจพอเพียง

4

ตารางวเิ คราะห์ยากง่ายรายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช21001 จานวน 1 หนว่ ยกิต

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

ออกแบบแผน

ท่ี ตัวชี้วัด เนอื้ หา ช่ัวโมง การจัดการเรียนรู้
พบ การเรียนรู้

กลุม่ ด้วยตนเอง

1. เรอ่ื ง ความพอเพยี ง 4 

1. อธิบายควาเป็นมา 1.ความเป็นมา ความหมาย หลกั การแนวคิด
ของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ความหมาย หลกั การของ 2.การแสวงหาความรู้
ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

2. เร่อื ง ประกอบอาชีพอยา่ ง 16
พอเพยี ง

1. นาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจ 1.หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ เพยี งกบั การจัดการ 
พอเพียงไปใช้ในการจดั การ ทรัพยากรทม่ี ีอยขู่ องตนเอง ครอบครัว

ทรัพยากรที่มอี ยู่ของตนเอง ชมุ ชน
ครอบครวั ชุมชน

2.กาหนดแนวทางและ 1.หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกบั การ
ปฏบิ ัตติ นในการนาหลกั ประกอบอาชพี

ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงไปประยกุ ตใ์ ช้ใน
การประกอบอาชพี

3. เรื่อง การวางแผนประกอบ 10
อาชพี แบบพอเพียง

1.สามารถวางแผนในการ 1 การวางแผนประกอบอาชีพตามหลัก
ประกอบอาชพี ที่เหมาะสม ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
กบั ตนเอง ได้อย่างนอ้ ย 1

อาชพี

2 การวางแผนและจัดทา 2 โครงการและแผนงานประกอบอาชพี ตาม 
โครงงานการประกอบอาชพี หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
ตามแผนงานทีว่ างไว้ไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสม

5

ออกแบบแผน

ที่ ตวั ชว้ี ัด เนอ้ื หา ชั่วโมง การจดั การเรียนรู้
พบ การเรียนรู้

กลุ่ม ดว้ ยตนเอง

3 สามารถนาความรู้มาใช้ 3 แนวทางการประกอบอาชีพให้ประสบ 

เปน็ ฐานในการประกอบ ความสาเร็จ

อาชพี

4.มีคุณธรรมในการประกอบ

อาชีพ

4. สรา้ งเครอื ขา่ ยดาเนนิ ชีวติ 10

แบบพอเพียง

1.ปฏบิ ตั ติ นเปน็ แบบอย่าง 1.การสง่ เสริม เผยแพร่ ขยายผลงานการ 

ของชุมชนในการประกอบ ปฏบิ ตั ติ าม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ

อาชพี และการดาเนินชวี ิต พอเพยี งของบุคคล ชมุ ชน ทป่ี ระสบ

ตามหลักปรัชญาของ ผลสาเรจ็

เศรษฐกจิ พอเพียง 2.การสร้างเครือข่ายการประกอบอาชีพและ

การดาเนนิ ชวี ติ ตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

3.กระบวนการขับเคลือ่ นเศรษฐกจิ พอเพยี ง

6

แผนการจดั การเรยี นรู้ (พบกลุ่ม)
รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง ทช21001 จานวน 1 หน่วยกติ

ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
คร้งั ท่ี 5 จานวน 6 ช่ัวโมง

เรือ่ ง ประกอบอาชีพอย่างพอเพยี ง
ตัวชีว้ ัด

1.นาหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชในการจัดการทรัพยากรทม่ี อี ยูของตนเอง ครอบครัว ชุมชน

2.กาหนดแนวทางและปฏิบัติตนในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต ใชในการ
ประกอบอาชพี
เนอื้ หา

1. หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจดั การทรพั ยากรทมี่ ีอยูของตนเอง ครอบครัว ชุมชน
2. หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกับการประกอบอาชพี
ข้นั ตอนการจัดกระบวนการเรยี นรู้
ขัน้ ที่ 1 กาหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้

1. ครูกับผู้เรียนร่วมกันชวนคิดชวนคุยในเรื่องสภาพปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติของ
ประเทศไทยในด้านความพร้อมทั้งในด้านทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรบุคคลที่สามารถนามา
สร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับประเทศได้ รวมท้ังการบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการ
บริโภคการใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่อย่างจากัดได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและคุ้มคา่ รวมท้ังเข้าใจหลกั การของ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและเป้าหมายสาคัญที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการทรัพยากรใน
ท้องถ่นิ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้
ขนั้ ท่ี 2 การแสวงหาข้อมลู และจัดการเรียนรู้

1. ครใู หผ้ ู้เรยี นชม วดี ีทัศน์ หัวขอ้ เรอื่ ง ข่าวน้าท่วมในประเทศไทย ปี พ.ศ 2564
2.ครูต้ังประเด็นคาถามให้ผู้เรียนด้วยคาว่าสาเหตุของการเกิดน้าท่วมกรุงเทพฯปี 2564
เพราะอะไรและมีผลกระทบอย่างไรบ้างโดยให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและตอบคาถาม
ดงั กล่าว
3 แบ่งกลมุ่ ผู้เรยี นออกเปน็ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 - 5 คน รว่ มกันระดมความคดิ ถึงผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึน
วา่ มีผลกระทบต่อตนเองครอบครวั ชุมชนและสงั คมอยา่ งไรพร้อมนาเสนอหนา้ ชน้ั เรียน
4. ผูเ้ รียนศกึ ษาค้นควา้ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ เพยี งกับการจดั การทรพั ยากรทมี่ ีอยูข่ องตนเอง
ครอบครัว ชุมชน ลงในใบงาน
5 ครูให้ผู้เรียนจับกลุ่มกลุ่มละ 4-5 คน โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ให้ผู้เรียนทากิจกรรมเร่ือง
ออกแบบอนาคต ผู้เรียนต้องผลิตสินค้าขึ้นมาเพ่ือค้าขายกันในห้อง โดยใช้ทรัพยากรท่ีกาหนดให้คือ
กระดาษลงั กรรไกร กาว แลคซีน ปากกาเคมีสีต่างๆ เชือกฟาง และเขียนคมู่ อื การใช้สินค้าชิ้นน้ันแนบ
มาด้วยใหเ้ วลา 1 ช่ัวโมง เช่น หมอ้ หงุ ขา้ ว แว่นตาเอนกประสงค์ พัดลมมหศั จรรย์ เป็นต้น

7

ข้ันที่ 3 ปฏิบัตแิ ละนาไปประยุกต์ใช้
1. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนนาเสนอสินค้าของตนเองตามหวั ขอ้ ดงั น้ี
1.1 สนิ คา้ มีช่อื วา่ อะไร
1.2 สนิ คา้ มีคุณสมบัตหิ รอื การใชง้ านอยา่ งไรสามารถอา้ งคณุ สมบัติเกินจริงได้
1.3 สนิ คา้ ชนดิ นเี้ หมาะกบั อาชีพใดบ้าง
1.4 สินค้าใชท้ รพั ยากรท่ีกาหนดใหค้ รบหรือไม่
1.5 ให้กาหนดราคาสนิ ค้าของตนเอง
2. ใหผ้ เู้ รยี นในหอ้ งใหค้ ะแนนกนั เองโดยกลมุ่ ใดท่ีมีเพื่อนยกมอื เลือกซอ้ื สินคา้ มากท่สี ุด

จะได้รบั รางวลั
3. ผู้เรียนจัดทาใบงาน และแบบทดสอบย่อย ศึกษาหาข้อมูลจากใบความรู้ เรื่องประกอบ

อาชีพอย่างพอเพียง และอินเตอร์เน็ต
4. ครูเฉลยใบงานและแบบทดสอบยอ่ ย และร่วมกันสรุปองค์ความรู้ท่ีได้เพ่ือนาไปประยุกต์ใช้

ในชีวติ ประจาวนั
ขั้นที่ 4 ประเมนิ ผลการเรียนรู้

1. ใบงาน
2. แบบทดสอบย่อย

สอื่
1. หนงั สอื แบบเรยี น
2. อนิ เตอรเ์ น็ต
3. ใบความรู้

การวัดผลประเมินผล
1.ใบงาน
2. ทดสอบย่อย

8

ใบความรู้ ครงั้ ท่ี 5

รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ทช21001 จานวน 1 หน่วยกิต

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้

เร่อื ง ประกอบอาชีพอยา่ งพอเพยี ง

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจดั การทรพั ยากรท่ีมอี ยูของตนเอง ครอบครัว ชุมชน
เศรษฐกิจพอเพียงเปนเศรษฐกิจท่ีพอเพียงกับตนเองทาใหอยูไดไมตองเดือดรอน มีสิ่งจาเปนที่ทาได

โดยตัวเองไมตองแขงขันกับใคร และมีเหลือเพื่อชวยเหลือผูท่ีไมมี อันนาไปสูการแลกเปล่ียนในชุมชน และ
ขยายไปจนสามารถท่ีจะเปนสินคาสงออก เศรษฐกิจพอเพียงเปนเศรษฐกิจระบบเปดที่เร่ิมจากตนเองและ
ความรวมมือ วิธีการเชนน้ีจะดึงศักยภาพของประชากรออกมาสรางความเขมแข็งของครอบครัว ซ่ึงมีความ
ผกู พันกับ “จติ วิญญาณ” คือ “คุณคา” มากกวา “มูลคา”ในระบบเศรษฐกจิ พอเพียงจะจัดลาดับความสาคัญ
ของ “คุณคา” มากกวา “มูลคา” มูลคาน้ันขาดจิตวิญญาณ เพราะเปนเศรษฐกิจภาคการเงินท่ีเนนท่ีจะ
ตอบสนองตอความตองการที่ไมจากดั ซ่ึงไรขอบเขต ถาไมสามารถควบคุมไดการใชทรัพยากรอยางทาลายลาง
จะรวดเร็วขึ้นและ ปญหาจะตามมาเปนการบริโภคท่ีกอใหเกดิ ความทุกขหรือพาไปหาความทุกข และจะไมมี
โอกาสบรรลุวัตถุประสงค ในการบริโภค ท่ีจะก อให เกิดความพอใจและความสุข (Maximization of
Satisfaction) ผูบริโภคตองใชหลักขาดทุนคือกาไร (Our loss is our gain) อยางน้ีจะควบคุมความตองการท่ี
ไมจากัดได และสามารถจะลดความตองการลงมาได กอใหเกิดความพอใจและความสุขเทากับไดตระหนักใน
เร่ือง “คุณคา” จะชวยลดคาใชจายลงได ไมตองไปหาวิธีทาลายทรพั ยากรเพ่ือใหเกดิ รายไดมาจัดสรรส่ิงท่ีเปน
“ความอยากที่ไมมีท่ีส้ินสุด” และขจัดความสาคัญของ “เงิน” ในรูปรายไดท่ีเปนตัวกาหนดการบริโภคลงได
ระดับหนึ่ง แลวยังเปนตัวแปรที่ไปลดภาระของกลไกของตลาดและการพ่ึงพิงกลไกของตลาด ซึ่งบุคคล
โดยท่ัวไปไมสามารถจะควบคุมได รวมทั้งไดมีสวนในการปองกันการบริโภคเลียนแบบ (Demonstration
Effects) จะไมทาใหเกดิ การสูญเสยี จะทาใหไมเกิดการบริโภคเกนิ (Over Consumption) ซ่ึงกอใหเกิดสภาพ
เศรษฐกิจดี สงั คมไมมปี ญหา การพัฒนายัง่ ยืนประเทศไทยอดุ มไปดวยทรัพยากรและยังมพี อสาหรับประชาชน
ไทย ถามีการจดั สรรทีด่ ี โดยยึด "คุณคา " มากกวา " มลู คา " ยึดความสัมพันธของ “บุคคล” กบั “ระบบ”
และปรับความตองการท่ีไมจากัดลงมาใหไดตามหลักขาดทุนเพ่ือกาไร และอาศัย ความรวมมือเพ่ือใหเกิด
ครอบครัวท่ีเขมแข็งอนั เปนรากฐานทสี่ าคญั ของระบบสงั คม ในการผลิตน้นั จะตองทาดวยความรอบคอบไมเห็น
แกได จะตองคิดถึงปจจัยที่มีและประโยชนของผูเกี่ยวของ มิฉะน้ันจะเกิดปญหาอยางเชนบางคนมีโอกาส
ทาโครงการแตไมไดคานึงวาปจจัย ตาง ๆ ไมครบปจจัยหน่ึงคือขนาดของโรงงาน หรือเครื่องจกั รที่สามารถที่
จะปฏิบัติได แตขอสาคัญที่สุด คือวัตถุดิบ ถาไมสามารถท่ีจะใหคาตอบแทนวัตถุดิบแกเกษตรกรท่ีเหมาะสม
เกษตรกรก็จะไมผลิต ย่ิงถาใชวตั ถุดิบสาหรับใชในโรงงานนัน้ เปนวัตถุดิบทจ่ี ะตองนามาจากระยะไกล หรือนา
เขาก็จะยิ่งยาก เพราะวาวัตถุดิบท่ีนาเขานั้นราคายิ่งแพง บางปวัตถุดิบมีบริบูรณ ราคาอาจจะต่าาลงมา แต
เวลาจะขายสิง่ ของที่ผลิตจากโรงงานกข็ ายยากเหมือนกัน เพราะมีมากจึงทาใหราคาตก หรือกรณีใชเทคโนโลยี
ทางการเกษตร เกษตรกรรูดวี าเทคโนโลยีทาใหตนทุนเพ่ิมขน้ึ และผลผลิตทเี่ พ่มิ น้ันจะลนตลาด ขายไดในราคา
ที่ลดลง ทาให ขาดทุน ตองเปนหน้ีสิน 15 การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในการจัดสรร
ทรัพยากรท่ีมีอยูของตนเอง ครอบครัวและชุมชนจะชวยใหดารงชีวิตอยางไมเดือดรอน และเกิดความยั่งยืน
โดยคานึงถงึ

9

1. รูจกั ใชและจัดการทรัพยากรท่ีมีอยูอยางชาญฉลาดและรอบคอบ โดยเริ่มตนผลิตหรอื บรโิ ภคภายใต
ขอจากัดของรายไดหรอื ทรัพยากรที่มีอยูไปกอน คือใชหลักพ่ึงพาตนเอง โดยมุงเนนการผลิตพืชผลใหเพียงพอ
กับความตองการบริโภคในครัวเรือนเปนอันดับแรก เมื่อเหลือจากการบริโภคแลวจึงคานึงถึงการผลิต เพ่ือ
การคาเปนอันดับรองลงมา รูจักประมาณตนโดยใชทรัพยากรอยางประหยัด ไมฟุมเฟอยในการลงทนุ ประกอบ
อาชีพใหเปนไปตามกาลังทรพั ยและศกั ยภาพของตนเอง เชน

1.1 ปลกู ผักสวนครัวลดคาใชจาย

1.2 นาน้าที่ผานการใชแลวในครัวเรอื นมารดพืชผักสวนครวั

1.3 นาพืชผักสวนครัวที่เพาะปลูกไดมาบริโภค แบงปนเพื่อนบาน บางสวนนาไปขายท่ีตลาดสวนท่ี
เหลอื นาไปเลย้ี งหมู

1.4 นาเงินจากการขายพืชผักสวนครัวและหมูไปซ้ือสินคาและบริการท่ีสมาชิกในครัวเรือนตองการ
และมคี วามจาเปนในการอุปโภคบริโภค

1.5 เกบ็ ออมเงนิ สวนทเ่ี หลอื จากการบรโิ ภคไวใชจายในอนาคต

1.6 นาเงนิ สวนหนึง่ มาลงทนุ ซื้อเมล็ดพชื เพื่อเพาะปลกู ตอไป

2. เลือกใชทรัพยากรท่มี ีอยูใหเกิดความย่งั ยนื สูงสดุ โดยการนาทรพั ยากรหรือวัสดุตางๆ ท่ีสามารถหา
ไดงายในชุมชนมาใชประโยชน ใชทรัพยากรทม่ี ีอยูในชมุ ชนอยางคุมคาดวยการหมุนเวียนทุนธรรมชาติในพื้นท่ี
เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตไดดวยตนเอง ชวยลดภาระการเสี่ยงดานราคาจากการไม
สามารถควบคมุ ระบบตลาด ไดอยางมีประสิทธิภาพ และใชทรพั ยากร โดยคานึงทีไ่ มเปนภัยกับสง่ิ แวดลอม

2.1 การทาไรนาสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพื่อใหมีการหมุนเวียน มีสินคาหลากหลายลด
ภาวะเสย่ี งดานราคา

2.2 การจางแรงงานภายในชมุ ชน เพ่อื สงเสรมิ ใหตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนมรี ายได

2.3 การทาปุยหมกั ปยุ คอกและใชวัสดุเหลือใชเปนปจจยั การผลิต (ปุย) เพอ่ื ลดคาใชจายและบารุงดิน

2.4 การเพาะเห็ดฟางจากวสั ดุเหลอื ใชในไรนา

2.5 การปลูกไมผลสวนหลงั บาน และไมใชสอยในครวั เรอื น

2.6 การปลูกพืชสมุนไพร ชวยสงเสรมิ สขุ ภาพอนามยั

2.7 การเลีย้ งปลาในรองสวน ในนาขาวและแหลงํนา้ เพ่อื เปนอาหารโปรตีนและรายไดเสริม

2.8 การเลย้ี งไกพืน้ เมอื ง และไกไข ประมาณ 10 – 15 ตัวตอครัวเรอื นเพื่อเปนอาหารในครัวเรือนโดย
ใชเศษอาหาร รา และปลายขาวจากผลผลิตการทานา การเล้ียงสัตวจากการปลกู พืชไร เปนตน

2.9 การทากาซชีวภาพจากมูลสัตว์

10

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การประกอบอาชพี

จากพระราชดารัส : เศรษฐกจิ พอเพียง มิไดจากดั เฉพาะของเกษตรกรหรอื ชาวไรชาวนาเพียงเทานั้น
แตเปนเศรษฐกิจของทุกคนทุกอาชีพ ทั้งท่ีอยูในเมืองและอยูในชนบท เชน ผูที่ไดเปนเจาของโรงงาน
อุตสาหกรรมและบรษิ ทั ในระบบเศรษฐกิจพอเพยี ง ถาจะตองขยายกจิ การเพราะความเจริญเติบโตจากเนื้อของ
งาน โดยอาศัยการขยายตัวอยางคอยเปนคอยไป หรือหากจะกูยืมก็กระทาตามความเหมาะสม ไมใชกูมาลงทุน
จนเกินตวั จนไมเหลือทีม่ ั่นใหยืนอยูได เม่อื ภาวะของเงินผันผวน ประชาชนก็จะตองไมใชจายฟุมเฟอยเกินตัว
และ (จากการศึกษารายงานการวิจัยศึกษาการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน
บานโงกน้า) นาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชในกระบวนการประกอบอาชีพของชุมชนบานโงกน้า
ตาบลนาขยาด อาเภอควนขนุน จงั หวดั พัทลุง ไดรับการคัดเลอื กใหเปนหมูบานเศรษฐกจิ ชุมชน พ่งึ ตนเอง ของ
จังหวัดพัทลุง ในป 2544 และเปนหมูบานตนแบบในการสงเสริมเศรษฐกิจพอเพียงท้ังใน ระดับครัวเรือน
กลุมองคกร และระดับหมูบาน ไดยึดหลักทางสายกลาง อันไดแก 3 หวงยึด เหนี่ยว และ2 หวงเงื่อนไขการ
ปฏิบัติ โดยเสนอผลการวคิ ราะหในแตละดาน ดังน้ี

3 หวงยึดเหน่ียว

1. ดานความพอประมาณ ชุมชนรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีอยูอยางพอเพียง เหมาะสมแบบคอย
เปนคอยไป ใชเทคโนโลยีเทาท่ีจาเปน มรี ายไดเสริมจากการปลูกผัก เลีย้ งสุกร เลี้ยงโค เล้ียงปลาดุก ไวจุนเจือ
ครอบครวั อกี ทางหน่ึง สภาพเศรษฐกจิ ของครอบครวั เหมาะสมตามอัตภาพของตน

2. ดานความมีเหตผุ ล ใชทรัพยากรทุกชนิดอยางประหยดั และมีประสิทธิภาพสูงสุด เนนการใชวัตถุดิบ
ภายในทองถิ่น และตอบสนองตลาดในทองถิ่น เนนการจางงานเปนหลัก โดยไมนาเทคโนโลยีมาทดแทน
แรงงาน มีขนาดการ ผลติ ท่ีสอดคลองกบั ความสามารถในการบริหารจดั การ เชน ใชพน้ื ทที่ างการเกษตรทวี่ างอ
ยูอยางคุมคา โดย การปลูกพืชผักสวนครัวขางบาน พนื้ ที่สวนขางบาน ตามสายรวั้ บาน บางครอบครัว ก็ปลูก
พืชผักและผลไม ครบวงจรเพื่อลดคาใชจายบางครอบครัวก็เล้ียงโค เลี้ยงสุกร เลี้ยงปลาดุก กลุมอาชพี ทาขนม
เพือ่ เพิม่ รายไดใหแกครัวเรือนจากอาชีพเสริม “ชาวบานโงกน้าสวนใหญประกอบอาชีพอยูในชุมชน ไมคอยไป
ทางานนอกหมูบานและไมคอยมคี นนอกมาคาขายหรอื ประกอบอาชีพในหมูบาน

3. ดานความมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี เนนการกระจายความเสี่ยงจากการมีผลผลิตหลากหลาย ไมกอหนี้
จนเกินความสามารถใน ความบริหารจัดการ มีการเปดศูนยปราชญชาวบานข้ึนที่กลุมออมทรัพยบานโงกน้า
ถายทอดความรูและ ประสบการณใหกับคนในชุมชน และกลุมอาชีพตางๆ ท้ังท่ีเปนทางการและไมเปนทาง
การอยางตอเน่ือง มี การทากลุมปุยชีวภาพอัดเม็ด ซึ่งทาใหลดคาใชจายในการซ้ือปุยเคมีไดคอนขางมาก
การรวมกลุมทา ปลาดุกราทาใหเพ่ิมมูลคาของปลาดุก และถนอมอาหารเก็บไว รับประทานไดนานข้ึน
นอกจากชวยในดานการ 17 ประกอบอาชีพหลักแลว ยังมีกลุมทาสบูเหลว ยาสระผม ซ่ึงก็ใหการสนับสนุน
และมสี วนรวมอยูเสมอ ในสวน ของขอเสนอแนะนั้น ยงั บอกวา อยากใหหนวยงานทางราชการเขามา สงเสริม
และใหความรูกับกลุมตางๆ อยางสม่าเสมอ และตอเนื่อง และอยากใหมีกลุมอาชพี เสรมิ น้ีใหความรูดานอาชีพ
บางอยาง เชน การซอมรถ มอเตอรไซค การเย็บผา การเช่ือมโลหะ ชางตัดผม เปนตน เพราะหลายคนอยาก
ให หนวยงานทางราชการ เขามาอบรมใหบาง เพ่ือใหสามารถซอมแซมของตนเองไดและประกอบอาชีพเปน
ธรุ กจิ หรอื กลุมของตนเอง เพอื่ ใหมีรายไดเสรมิ ของครอบครัวดวย 2 หวงเง่ือนไขการปฏบิ ตั ิ

11

1. เง่ือนไขความรู ในการประกอบอาชีพของคนในชุมชน บานโงกน้า มีความรอบคอบ มีความรู และมี
ความ ระมัดระวัง มีการทาแผนแมบท การแบงงาน ความรับผิดชอบในแตละกลุม รูจักการอนุรักษท้ัง
สิ่งแวดลอมและประเพณี รูจักการฟนฟูสิ่งท่ีมีคุณคาที่หายไปแลว ใหกลับมา เปนประโยชนอีกคร้ังหนึ่ง
ตลอดจนมีการประยุกตภูมิปญญาของการประกอบอาชีพ แบบดัง้ เดิม นามาบูรณาการกับเทคนิคและ วิธกี าร
ของการประกอบอาชพี ในสมัยปจจุบนั แตทง้ั นกี้ ารสงเสริมการใหความรูก็ตองทาอยางเปนระบบ และตอเนอ่ื ง
ตลอดจนใหเกิดความท่ัวถึงเพ่อื ใหบรรลเุ ปาหมายสวนบคุ คลและของแตละกลุมอาชีพตางๆ ตลอดจนใหสอดคล
องกบั กระแสโลกทีม่ กี ารเปลี่ยนแปลง และความตองการของผูรับสินคาและผูรบั บรกิ าร ใหมากขึน้ ทายที่สดุ คือ
การสงเสรมิ ใหเยาวชนคนรุนใหมไดรับการศึกษาสงู สุดเทาทจี่ ะทาได เพือ่ ใหเขาเหลานั้นกลับมาพฒั นาบานเกิด
ภายใตปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หัวหนาครอบครัว สวนใหญไดอธิบายใหทราบ วา การประกอบอาชีพ
ซง่ึ สวนใหญเปนอาชีพเกษตรกรรมนั้น มีการถายทอด ความรูจากคนรุนปรู นุ พอ รุนแม มายัง รุนลูก และหลาน
ไปตลอด สวนใหญแลวเปนการใหความรูจากการได ลงมือปฏิบัติรวมกนั เชน เมื่อไปปลูกยางก็จะพาลูกหลาน
ไปดวย ในขณะท่ีไปชวยเปนการใหเขาไดมีสวนรวม โดยการสอน แนะนา ใหลูกหลานไดเห็น การเล้ียงสุกรก็
เชนกัน และอ่ืนๆ ก็เปนลักษณะน้ี ถามมาใหทาง ราชการนาความรูมาใหก็นานๆ มาครง้ั แตกต็ องเปนหมูบาน
แตก็ถือวาเปนหมูบานที่โชคดีท่ีมีประชากร ชาวบาน ท่เี ปนแหลงใหความรูไดคอนขางมาก ถึงแมวาคนรุนใหม
จะไมเรียนนอกบานมากข้ึน แตทานก็ รวบรวมความรู และวัสดุอุปกรณในการทามาหากินหรือประกอบอาชีพ
ใหเหน็

2. เงอ่ื นไขคุณธรรม มีความซื่อสตั ยในการประกอบการ ไมเอารัดเอาเปรียบผูบรโิ ภคและไมเอารดั เอา
เปรียบลูกคา มีความขยันอดทน การประกอบอาชีพของชมุ ชนบานโงกํน้าสวนใหญแลว เปนคนที่มีความซื่อ
สัตยในการ ประกอบอาชีพของตนเอง มีความขยัน อดทน มกี ารแบงปนระหวางครวั เรือน หัวหนาครอบครัวท่ี
มอี าชีพ การทาสวนยางพารา มีความซ่ือสัตยตอตนเองในการขายผลผลิตจากยางพาราที่เปนน้ายางมีคุณภาพ
ไมมี การใสนา้ และส่ิงแปลกปลอม มีความตระหนักในการเพาะปลูก โดยพยายามหลกี เลี่ยงในการใชสารเคมี
ใน การกาจดั ศัตรูพืช หนั มาใชสารกาจัดแมลงในธรรมชาติแทน ปุยที่ใชสวนใหญกใ็ ชปุยํนา้ ชวี ภาพ ทผ่ี ลติ ข้ึนมา
18 เอง ใชมูลปุยคอก หรือปุยชีวภาพอัดเม็ด เพื่อความปลอดภัยของสมาชิกในครัวเรือนเอง และยังผลไปถึง
ผูท่ีซื้อไปบริโภค สวนการเล้ียงสัตวก็ใชอาหารสัตวจากธรรมชาติที่มีหรือเพาะปลูกเอง เชน หญาท่ีใชเล้ียง
โคเพาะ อาหารสุกรท่ีเหลือจากเศษอาหาร และอาหารจากพืชผัก พืชธรรมชาติที่หาไดเอง หลีกเลี่ยงการใช
สารเรงเน้ือแดง เวลาสวนใหญใชไปในการทามาหาเลี้ยงครอบครัว ใหสมาชกิ ไดมีสวนรวม หางไกล ยาเสพติด
ถึงแมวาหมูบานโงกน้าจะเปนชุมชนปลอดยาเสพติดก็ตาม ซึ่งในขณะน้ีไดทางานรวมกัน และมีการสอน
คณุ ธรรมกับครอบครัวดวย

12

ใบงาน คร้งั ท่ี 5
รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง ทช 21001

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

ช่ือ – นามสกุล
กศน.ตาบล

เร่ือง ประกอบอาชีพอยา่ งพอเพียง
คาช้ีแจง ให้ผ้เู รยี นตอบคาถามตอ่ ไปนี้

1.จงอธิบายแนวคิดและหลักการทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาพอเขา้ ใจ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2. นักศึกษานาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดการทรัพยากรทีมีอยู่ในครอบครัวอย่างไรบ้าง
จงอธิบาย

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

13

เฉลยใบงาน ครงั้ ที่ 5
รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพียง ทช 21001

ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

เรอ่ื ง ประกอบอาชีพอยา่ งพอเพียง
คาช้ีแจง ให้ผูเ้ รยี นตอบคาถามต่อไปน้ี

1.จงอธิบายแนวคิดและหลักการทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาพอเขา้ ใจ
ตอบ เศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ กรอบแนวคดิ ซง่ึ มุ่งใหท้ ุกคนสามารถพึง่ พาตัวเองได้ รวมถึงการพัฒนาให้
ดีย่ิงขึ้น จนเกิดความย่ังยืน คาว่า พอเพียง คือ การดาเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดยตั้งอยู่บนหลักสาคัญ
สามประการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมภี ูมคิ ุ้มกันทด่ี ี

2. นกั ศึกษานาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ในการจัดการทรัพยากรทมี อี ยใู่ นครอบครวั อย่างไร
จงอธบิ าย

ตอบ การนาหลกั เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้น้นั ข้ันแรกตอ้ งยดึ หลัก "พ่ึงตนเอง" คอื พยายามพง่ึ ตนเองให้
ได้ก่อน ในแต่ละครอบครัวมีการบรหิ ารจัดการอย่างพอดี ประหยัดไม่ฟมุ่ เฟือย สมาชิกในครอบครัวแต่ละคน
ต้องรู้จักตนเอง เช่น ข้อมูล รายรับ-รายจ่าย ในครอบครัวของตนเอง สามารถรักษาระดับการใช้จ่ายของตน
ไม่ให้เป็นหน้ีและรู้จักดึงศักยภาพในตัวเองในเร่ืองของปัจจัยส่ีให้ได้ในระดับหน่ึง การพัฒนาตนเองให้
สามารถ "อยู่ได้อย่างพอเพียง" คือ ดาเนินชีวิตโดยยึด หลักทางสายกลางให้อยู่ได้อย่างสมดุล คือ มีความสุข
ท่ีแท้ไม่ให้รู้สึกขาดแคลน จนต้องเบียดเบียนตนเองหรือดาเนนิ ชีวิตอยา่ งเกินพอดีจนต้องเบียดเบียนผู้อื่นหรือ
เบียดเบยี นส่ิงแวดลอ้ ม โดยยดึ หลกั พออยู่ พอกนิ พอใช้

14

แบบทดสอบย่อย ครง้ั ท่ี 5
รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง ทช21001

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้
ช่ือ – นามสกลุ

กศน.ตาบล

เรอื่ ง การวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพยี ง

คาช้ีแจง ตอนที่ 1 ให้ผู้เรยี นเลือกขอ้ ถกู เพียงขอ้ เดียว
1. เศรษฐกจิ พอเพยี ง หมายถงึ อะไร

ก. การทาเกษตรกรรม
ข. การดารงชีวติ อยู่อยา่ งพออยู่พอกิน
ค. การคา้ ขายใหไ้ ด้เงินเพียงพอสาหรบั ครอบครัว
ง. การปลูกพชื และเล้ียงสัตวเ์ พอื่ ให้ครอบครัวพออยพู่ อกนิ

2. เปา้ หมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคอื ขอ้ ใด
ก. มุ่งแก้ไขปญั หาวกิ ฤตเศรษฐกิจชาติ
ข. เพ่อื ให้สามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งม่นั คง
ค. เพื่อให้ก้าวทนั ต่อโลกในยคุ โลกาภิวัฒน์
ง. ม่งุ ให้เกดิ ความสมดุลพรอ้ มรับตอ่ การเปลีย่ นแปลง

3. การปฏบิ ตั ิตนตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงจะกอ่ ให้เกิดผลดีต่อตนเองและครอบครวั ยกเวน้ ขอ้ ใด
ก. มีความรบั ผิดชอบต่อสังคม
ข. มีความพอประมาณในการใช้จ่าย
ค. มีการวางแผนการบริหารจดั การประเทศ
ง. ทาให้ร้จู ักใชเ้ หตุผลในการวางแผนและการปฏิบัติตน

4. ข้อใดเป็นหลกั การทีส่ าคัญตามแนวคิดปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ก. การพ่ึงพาตนเอง
ข. การรู้เท่าทนั เทคโนโลยแี ละขา่ วสารข้อมูล
ค. การเพิ่มพนู รายได้และการใช้จ่ายอย่างประหยัด
ง. การใชท้ รัพยากรเท่าทม่ี อี ยู่

5.ข้อใดเปน็ การจัดการน้าทค่ี มุ้ ค่าท่ีสดุ
ก. ใช้นา้ ทิ้งจากการล้างจานไปรดนา้ ตน้ ไม้
ข. เปดิ ก๊อกนา้ แรงๆ ใหเ้ ตม็ โอง่ เรว็ ๆ
ค. รดน้าต้นไม้ให้ชุม่ ๆ ทุกวัน
ง. ใช้น้าทิ้งจากการซกั ผา้ ไปเลย้ี งสตั ว์

15

ขอ้ สอบอตั นัย (จานวน 2 ขอ้ )

1. เศรษฐกิจพอเพยี ง หมายถงึ อะไร

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.การวางแผนในการประกอบอาชีพ ทเ่ี หมาะสมกับตนเองไดอยางน้อย 1 อาชพี

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

16

เฉลยแบบทดสอบยอ่ ย ครัง้ ที่ 5
รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง ทช21001

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้

เรื่อง การวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพยี ง
คาชแ้ี จง ตอนท่ี 1 ให้ผเู้ รยี นเลือกขอ้ ถกู เพยี งขอ้ เดียว

1.ตอบ ข

2.ตอบ ข

3.ตอบ ค

4.ตอบ ก

5.ตอบ ก

1. เศรษฐกจิ พอเพยี ง หมายถงึ อะไร

ตอบ กิจพอเพยี ง คือ ปรัชญาท่พี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ทรงช้แี นวทางการดาเนนิ ชวี ิตให้แก่ปวงชน
ชาวไทยมาเปน็ ระยะเวลานาน ในช่วงตั้งแต่กอ่ นการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อมุ่งให้พสกนิกรได้ดารงชีวิตอยู่ได้
อย่างย่ังยืน มั่นคง และปลอดภัย ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนตามกระแสโลกาภิวั ฒน์ อีกท้ัง
พระองค์ยังได้ทรงพระราชทานความหมายของ เศรษฐกิจพอเพียง เอาไว้เป็นภาษาอังกฤษว่า Sufficiency
Economy ดงั พระราชดารสั ที่ไดท้ รงตรัสไวเ้ ม่อื วันที่ 23 ธันวาคม 2554

2. การวางแผนในการประกอบอาชีพ ทีเ่ หมาะสมกับตนเองไดอยางนอ้ ย 1 อาชีพ

ตอบ การประกอบอาชีพด้านการเกษตร ควรดาเนินชีวิตโดยใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ ด้วยความรู้
ความสามารถ เพ่ือให้เกิดการพออยู่พอกิน ก่อให้เกิดความสุขสบายภายในครอบครัว และหากเหลือจากการ
ดารงชพี จึงค่อยนาไปแจกจ่ายและขายตอ่ เพือ่ เปน็ รายได้และเก็บออมเป็นเงนิ ทนุ ต่อไป ซึง่ อาชีพเกษตรที่ดีอาจ
ดาเนนิ การดงั นี้

1.ทาไร่นาสวนผสม เพื่อเป็นจุดเร่ิมต้นของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงนอกจากจะได้พืชผักปลอดสารพิษ
แลว้ กย็ ังประหยัดค่าใชจ้ ่ายไปไดม้ ากอีกดว้ ย

2.ปลูกผกั สวนครัวไวก้ ินเอง เพ่ือลดรายจา่ ยด้านอาหารในครอบครวั
3.เลอื กใช้ปุ๋ยคอก ทาปุ๋ยหมักใช้เองร่วมกับปุ๋ยเคมี เพื่อเป็นการลดรายจ่ายและช่วยปรับปรุงบารุงดิน
ใหด้ ขี นึ้
4.ปลูกต้นไมเ้ พื่อใชส้ อยอย่าง สะเดา มะขาม และปลูกผลไมไ้ วก้ ินเอง
5.เพาะเห็ดไว้กินเอง
6.ปลูกพชื สมนุ ไพรไว้เปน็ ยาสามญั ประจาบ้าน

17

7.เลี้ยงไก่ เล้ยี งเป็ดไว้กนิ ไข่ และเก็บขาย
8.เล้ียงปลาในร่องสวน และนาข้าวทานา
9.เล้ยี งหมู เลย้ี งวัวทากา๊ ชชีวภาพจากมลู หมูหรอื ววั เพ่ือใช้เปน็ พลงั งานในครอบครัว
10.ทาปยุ๋ นา้ ฮอรโ์ มนไว้ใช้ในนาและสวนเอง
11.พชื ผลทางการเกษตร ปลา ไข่ เกบ็ ไว้กนิ เพยี งพอ เหลอื จงึ แจกและจาหนา่ ย

18

บันทึกผลหลังการเรยี นรู้

คร้ังที่ ..................
วันที่...........................เดอื น..............................................พ.ศ. ............................ ระดับ………………….....…………

จุดประสงค์การเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

จานวนนกั ศกึ ษา ท้ังหมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน
จานวนนักศกึ ษาที่เขา้ เรยี น ทั้งหมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน
จานวนนักศกึ ษาที่ขาดเรยี น ทง้ั หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน

สภาพการจัดการเรียนรแู้ บบพบกลุ่ม (ปจั จยั กระบวนการจดั กิจกรรมและผเู้ รยี น)
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

สภาพการจดั การเรียนรู้แบบเรียนรู้ด้วยตนเอง (ปจั จยั กระบวนการจดั กจิ กรรมและผู้เรียน)
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ด้านส่อื การเรยี นรู้
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ปัญหาทีพ่ บและการแก้ไขปญั หา (อย่างไร)
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
ขอ้ คดิ เห็นขอ้ เสนอแนะ (เพื่อการปรบั ปรุงแก้ไข/พัฒนา)

1. ...........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2. ...........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................................ผู้บนั ทกึ
(.............................................................)

(อาจแนบภาพแสดงให้เห็นเฉพาะสว่ นเดน่ และส่วนที่เปน็ ปญั หา)

19

เสนอขอ้ คิดเหน็
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................................ผตู้ รวจเสนอ
(.............................................................)
นายทะเบียน

การดาเนนิ การแกไ้ ข/พัฒนา
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................................ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
(.............................................................)
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ............................

ผลจากการนาขอ้ เสนอแนะไปปฏบิ ตั ิ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................................ผปู้ ฏิบัติ
(.............................................................)

20

แผนการจดั การเรียนรู้ (พบกลุ่ม)

รายวชิ า เศรษฐกิจพอเพยี ง ทช21001 จานวน 1 หนว่ ยกิต

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้
คร้งั ที่ 16 จานวน 6 ช่ัวโมง

เรอื่ ง การวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพียง
ตัวชี้วัด

1. การวางแผนงาน และจัดทาโครงงานการประกอบอาชีพ ตามแผนงานทว่ี างไวไ้ ด้อย่างเหมาะสม
2. สามารถนาความรมู้ าใช้เปน็ ฐานในการประกอบอาชีพ
3. มคี ณุ ธรรมในการประกอบอาชีพใหป้ ระสบความสาเร็จ
เนือ้ หา
1. โครงการและแผนงานประกอบอาชีพ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
2. แนวทางการประกอบชีพให้ประสบความสาเรจ็
ข้ันตอนการจัดกระบวนการเรยี นรู้
ขั้นที่ 1 กาหนดสภาพปัญหาความต้องการในการเรียนรู้

ครูพูดคุยเก่ียวกบั แนวคดิ หลกั การใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดาเนินชีวติ และ
ให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็น พร้อมอธิบายการวางแผนประกอบอาชีพท่ีเป็นไปตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และการทาโครงงานการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการ 3 หว่ ง 2 เง่ือนไขโดย
ให้ผู้เรียนเลือกและจัดทาโครงงานที่เกี่ยวกับการประกอบอาชีพ โดยยึดหลักการใช้ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง ในการดาเนนิ ชวี ติ
ขนั้ ท่ี 2 การแสวงหาข้อมลู และจดั การเรียนรู้

1. ครูอธบิ ายเร่ือง การวางแผนประกอบอาชีพทเ่ี ป็นไปตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. ครูให้ผู้เรยี นศกึ ษาเพิ่มเติมจากใบความรู้ เรื่อง การวางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพยี ง
3. ครูแบง่ กลุม่ ผู้เรียนออกเป็น 3 กลุ่ม เพ่ือใหศ้ กึ ษาค้นคว้า และออกมานาเสนอหน้าชน้ั เรยี น
ในรปู แบบแผนผงั ความคดิ (Mind Mapping) ดงั นี้
กลุ่มท่ี 1 พอประมาณ
กลมุ่ ที่ 2 มเี หตผุ ล
กลุ่มท่ี 3 มีภมู ิค้มุ กันท่ีดี
4. ครูให้ผู้เรียนศึกษาคลิปวิดีโอ เร่ือง หลักสาคัญของความพอดี จาก YouTube จากนั้น
ผู้เรียนสรุปผลเน้ือหา และปัญหาอุปสรรคที่สาคัญของหลักสาคัญของความพอดี ลงในสมุดบันทึกการ
เรียนรู้
ข้ันท่ี 3 ปฏบิ ตั แิ ละนาไปประยกุ ต์ใช้
1. ครูสุ่มผู้เรยี นออกมานาเสนอหน้าช้นั เรียน
2. ผเู้ รยี นนาเสนอแผนผังความคดิ (Mind Mapping)
3. ผู้เรียนจัดทาใบงานและแบบทดสอบย่อยเรื่องการวางแผนประกอบอาชีพท่ีเป็นไปตาม
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. ครูเฉลยใบงานและแบบทดสอบยอ่ ย และร่วมกนั สรุปองค์ความรทู้ ี่ได้เพ่ือนาไปประยุกตใ์ ช้
ในชีวติ ประจาวนั

21

ขั้นที่ 4 ประเมินผลการเรียนรู้
1. ใบงาน

2. แบบทดสอบยอ่ ย
3. สมุดบนั ทกึ การเรยี นรู้

4. แผนผงั ความคิด (Mind Mapping)
สื่อ

1. หนงั สือเรยี น

2. อินเตอร์เนต็ เช่น Youtube
3. ใบความรู้

การวัดผลประเมินผล
1. ใบงาน
2. สมดุ บนั ทกึ การเรียนรู้

3. แผนผงั ความคิด (Mind Mapping)
4. แบบทดสอบยอ่ ย

22

ใบความรู้ ครง้ั ที่ 10
รายวชิ า เศรษฐกิจพอเพียง ทช 21001

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น

เรื่อง การวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพียง

ความรเู้ ก่ยี วกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกจิ พอเพียง คือ ปรัชญาทพ่ี ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงชีแ้ นวทางการดาเนินชีวิตให้แก่ปวง
ชนชาวไทยมาเป็นระยะเวลานาน ในชว่ งตั้งแต่ก่อนการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ เพือ่ มุ่งใหพ้ สกนกิ รไดด้ ารงชีวิตอยู่
ได้อย่างยั่งยืน ม่ันคง และปลอดภัย ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดข้ึนตามกระแสโลกาภิวัฒน์ อีกทั้ง

พระองค์ยังได้ทรงพระราชทานความหมายของ เศรษฐกิจพอเพียง เอาไว้เป็นภาษาอังกฤษว่า Sufficiency
Economy ดังพระราชดารสั ที่ได้ทรงตรสั ไวเ้ มอ่ื วันท่ี 23 ธนั วาคม 2554

“ในท่ีนี้เราฟังเขาถามว่าเศรษฐกิจพอเพียง จะแปลเป็นภาษาอังกฤษว่าอย่างไร ก็อยากจะตอบว่ามี
แล้วในหนงั สือ ไม่ใช่หนังสอื ตาราเศรษฐกิจ แตเ่ ปน็ หนังสอื พระราชดารัสทีอ่ ุตสา่ หม์ าปรับปรุงใหฟ้ ังได้ และแปล
เป็นภาษาอังกฤษ เพราะคนที่ฟังภาษาไทยบางทีไมเ่ ข้าใจภาษาไทย ต้องแปลเปน็ ภาษาอังกฤษ จงึ ไดแ้ ปลเป็น

ภาษาองั กฤษ และเนน้ ว่าเศรษฐกิจพอเพยี ง แปลว่า Sufficiency Economy โดยเขยี นเป็นตัวหนาในหนังสอื ”
แต่เน่ืองด้วยคาว่า Sufficiency Economy เป็นคาที่เกิดมาจากความคิดใหม่ อีกทั้งยังเป็นทฤษฎีใน

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงไม่มีปรากฏอยู่ในตาราเศรษฐศาสตร์ ซ่ึงบางคนอาจจะยังสงสัยอยู่ว่า Self-
Sufficient Economy สามารถใช้แทน Sufficiency Economy ได้หรือไม่ หากว่าไม่ได้มีความหมายอย่าง
เดยี วกัน หรือไมส่ ามารถใช้เหมือนกันด้ จะมคี วามเหมือน หรอื แตกตา่ งกันอย่างไร โดยคาว่า Self-Sufficiency

มีความหมายตามพจนานกุ รท่ีว่า การไม่ต้องพ่ึงใคร และการไม่ต้องพ่ึงใครในความหมายของพระองค์ทา่ นนั้น
คอื

“Self-Sufficiency นั้นหมายความวา่ ผลติ อะไรมพี อทจ่ี ะใช้ ไม่ตอ้ งไปขอยมื คนอืน่ อยู่ได้ดว้ ยตนเอง”
ฉะน้ัน เมื่อเติมคาว่า Economy เข้าไป กลายเป็น Self-Sufficient Economy แล้วน้ัน จะมี
ความหมายว่า เศรษฐกจิ แบบพอเพียงกับตัวเอง คือ การที่สามารถอย่ไู ด้ด้วยตนเองอย่างไมเ่ ดือดร้อน ไม่ต้อง

พ่ึงพาผูอ้ ื่น แต่ในทกุ วันนี้ ประเทศไทยเรายังเดือดร้อน ยังมคี วามจาเป็นตอ้ งพึ่งพาผู้อืน่ อยู่ ท่ใี นความเปน็ จรงิ ท่ี
เราจะสามารถชว่ ยเหลือตัวเองได้ก็ตาม ดังนั้น Self-Sufficient Economy จึงหมายถึงเศรษฐกิจแบบพอเพียง

กับตวั เอง ที่แตกตา่ งจาก Sufficiency Economy ซึ่งหมายถงึ เศรษฐกิจพอเพยี งที่ยังคงมีการพึ่งพากนั และกัน
อยู่ ดงั พระราชดารัสเพมิ่ เตมิ ทวี่ ่า

23

“คอื พอมีพอกนิ ของตัวเองน้ันไม่ใชเ่ ศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นเศรษฐกิจสมยั หิน สมัยหินนัน้ เปน็ เศรษฐกิจ
พอเพยี งเหมอื นกนั แต่ว่าค่อยๆ พัฒนาข้นึ มา ต้องมีการแลกเปล่ียนกนั มกี ารช่วยระหวา่ งหมู่บ้าน หรือระหวา่ ง
จะเรียกว่าอาเภอ จงั หวดั ประเทศ จะต้องมกี ารแลกเปล่ยี น มีการไม่พอเพียง จึงบอกว่าถา้ มีเศรษฐกิจพอเพียง
เพยี งเศษหนึง่ ส่วนส่กี จ็ ะพอแลว้ จะใช้ได้”

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน เป็นแนวทางการดารงชีวิตและการปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ
โดยยึดแนวทางการพัฒนาท่ีมีคน หรือประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งส่ิงเหล่านี้เองจะเป็นตัวการท่ีนาไปสู่การ
พัฒนาทย่ี ั่งยืน หรอื ในภาษาองั กฤษ คอื Sustainable Development

หลกั แนวคดิ ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
การพฒั นาตามหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง คือการพัฒนาที่ตัง้ อยูบ่ นพ้ืนฐานของทางสายกลางและ
ความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว ตลอดจนใช้
ความรคู้ วามรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจและการกระทา
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มหี ลักพจิ ารณาอยู่ ๕ สว่ น ดังน้ี
1. กรอบแนวความคดิ
เป็นปรัชญาที่ช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถี
ชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต เพ่ือความมั่นคง และ ความยั่งยืน ของการ
พัฒนา
2. คณุ ลักษณะ
เศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใชก้ ับการปฏิบัติตนไดใ้ นทุกระดบั โดยเน้นการปฏิบัติบนทาง
สายกลาง และการพฒั นาอย่างเปน็ ขนั้ ตอน
3. คานยิ าม

ความพอเพยี งจะต้องประกอบด้วย ๓ คณุ ลักษณะ พร้อม ๆ กนั ดงั น้ี
ความพอประมาณ: หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง
และผอู้ ่นื เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ
ความมีเหตุผล: หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงน้ัน จะต้องเป็นไปอย่างมี
เหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเก่ียวข้องตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทานั้น ๆ
อยา่ งรอบคอบ
การมีภูมิคมุ้ กันท่ีดีในตัว: หมายถึง การเตรยี มตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านตา่ ง
ๆ ที่จะเกดิ ขนึ้ โดยคานึงถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ท่คี าดว่าจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตทั้งใกลแ้ ละไกล
4. เงอ่ื นไข
การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้นต้องอาศัยทั้งความรู้ และ
คุณธรรมเปน็ พนื้ ฐาน กลา่ วคอื
เง่ือนไขความรู้: ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านนั้ มาพจิ ารณาให้เช่อื มโยงกัน เพอื่ ประกอบการวางแผน และความระมดั ระวังใน
ข้นั ปฏิบตั ิ
เงื่อนไขคุณธรรม: ท่ีจะตอ้ งเสริมสรา้ งประกอบด้วย มคี วามตระหนักในคุณธรรม มคี วามซื่อสัตยส์ ุจริต
และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สติปัญญาในการดาเนนิ ชวี ติ

24

5. แนวทางปฏบิ ตั /ิ ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ
ผลจากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุลและย่ังยืน พร้อมรับ
ตอ่ การเปลีย่ นแปลงในทุกดา้ น ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม ความรู้และเทคโนโลยี

เศรษฐกิจพอเพียงกบั ทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ
เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาท่ีนาไปสู่
ความสามารถในการพึ่งตนเอง ในระดับต่าง ๆ อย่างเปน็ ขั้นตอน โดยลดความเส่ียงเกี่ยวกับความผันแปรของ
ธรรมชาติ หรือการเปล่ียนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณและความมีเหตุผล การสร้าง
ภูมิคุ้มกันท่ีดี มีความรู้ ความเพียรและความอดทน สติและปัญญา การช่วยเหลือซึ่งกันและกันและความ
สามคั คี
เศรษฐกิจพอเพียงมคี วามหมายกว้างกวา่ ทฤษฎีใหม่โดยทเี่ ศรษฐกิจพอเพียงเปน็ กรอบแนวคิดทชี่ ี้บอก
หลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ในขณะท่ี แนวพระราชดาริเก่ียวกับทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎี
ใหม่ ซ่ึงเป็นแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง
ในทางปฏบิ ัติ ทเ่ี ป็นรูปธรรมเฉพาะในพ้นื ท่ที ีเ่ หมาะสม

ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ
อาจเปรียบเทยี บกบั หลักเศรษฐกจิ พอเพียง ซ่งึ มอี ยู่ 2 แบบ คือ แบบพืน้ ฐานกับแบบก้าวหน้า ไดด้ ังน้ี
ความพอเพยี งในระดับบุคคลและครอบครัวโดยเฉพาะเกษตรกร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน
เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ขั้นท่ี 1 ท่ีมุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้า ต้องพ่ึงน้าฝนและประสบ
ความเสี่ยงจากการท่นี า้ ไมพ่ อเพยี ง แมก้ ระทง่ั สาหรับการปลูกข้าวเพ่อื บรโิ ภค และมีข้อสมมติวา่ มที ดี่ ินพอเพยี ง
ในการขุดบ่อเพื่อแก้ปัญหาในเรื่องดังกล่าวจากการแก้ปัญหาความเสี่ยงเร่ืองน้า จะทาให้เกษตรกรสามารถมี
ข้าวเพื่อการบริโภคยังชีพในระดับหนึ่งได้ และใช้ท่ีดินส่วนอ่ืน ๆ สนองความต้องการพ้ืนฐานของครอบครัว
รวมทั้งขายในส่วนท่ีเหลือเพ่ือมีรายได้ที่จะใช้เป็นค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ท่ีไม่สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดน้ีเป็นการ
สร้างภูมิคุ้มกันในตัวให้เกิดข้ึนในระดับครอบครัว อย่างไรก็ตาม แม้กระท่ัง ในทฤษฎีใหม่ข้ันท่ี 1 ก็จาเป็นท่ี
เกษตรกรจะตอ้ งได้รบั ความชว่ ยเหลอื จากชมุ ชนราชการ มูลนิธิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสม
ความพอเพียงในระดับชุมชนและระดับองค์กร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซ่ึงครอบคลุม
ทฤษฎีใหม่ข้ันท่ี 2 เป็นเร่ืองของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลงั กันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการํที่ธุรกิจ
ต่าง ๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เม่ือสมาชิกในแต่ละครอบครัวหรือองค์กรต่าง ๆ มี
ความพอเพียงขัน้ พน้ื ฐานเป็นเบ้อื งตน้ แล้วกจ็ ะรวมกลุ่มกันเพื่อร่วมมือกันสร้างประโยชน์ใหแ้ ก่กล่มุ และส่วนรวม
บนพน้ื ฐานของการไมเ่ บยี ดเบียนกนั การแบ่งปนั ช่วยเหลอื ซึ่งกันและกันตามกาลังและความสามารถของตนซ่ึง
จะสามารถทาให้ ชุมชนโดยรวมหรอื เครือขา่ ยวสิ าหกิจน้นั ๆ เกดิ ความพอเพยี งในวิถปี ฏิบัตอิ ยา่ งแทจ้ ริง
ความพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหนา้ ซ่ึงครอบคลุมทฤษฎีใหมข่ ั้นที่ 3
ซง่ึ สง่ เสรมิ ให้ชุมชนหรือเครอื ข่ายวสิ าหกิจสร้างความรว่ มมือกับองคก์ รอ่นื ๆ ในประเทศ เช่น บรษิ ทั ขนาดใหญ่
ธนาคาร สถาบันวิจัย เปน็ ตน้
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะเช่นนี้จะเป็นประโยชน์ในการสืบท อดภูมิปัญญา
แลกเปล่ียนความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือร่วมมือกันพัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง ทาให้ประเทศอนั เป็นสังคมใหญ่อันประกอบด้วยชุมชน องค์กร และธุรกิจต่าง ๆ ทด่ี าเนินชีวิตอย่าง
พอเพียงกลายเป็นเครือข่ายชุมชนพอเพียงที่เชื่อมโยงกนั ด้วยหลัก ไม่เบยี ดเบียน แบง่ ปันและช่วยเหลอื ซึ่งกัน
และกนั ไดใ้ นที่สดุ

25

การสร้างขบวนการขับเคล่อื นเศรษฐกจิ พอเพียง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอให้ริเร่ิมการสร้าง
ขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือสานต่อความคิดและเช่ือมโยงการขยายผลที่เกิดจากการนาหลัก
ปรัชญาฯ ไปใช้อย่างหลากหลาย รวมท้ังเพื่อจุดประกายให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ซึ่งจะนาไปสู่การ
ยอมรับ และการนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้เกิดผลในทางปฏบิ ัติในทกุ ภาคสว่ นของสงั คมอย่างจรงิ จัง
จากพระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระองค์ นบั ตงั้ แต่ปี 2517 เป็นต้นมา จะพบว่าพระองค์
ทา่ นได้ทรงเน้นย้าแนวทางการพัฒนาที่อยู่บนพนื้ ฐานของการพ่งึ ตนเอง ความพอมีพอกิน พอมีพอใช้ การรจู้ ัก
ความพอประมาณ การคานึงถึงความมีเหตผุ ล การสร้างภมู ิคุม้ กันทด่ี ีในตัว และทรงเตือนสติประชาชนคนไทย
ไม่ให้ประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาตามลาดับข้ันตอนที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ตลอดจนมีคุณธรรมเป็น
กรอบในการดารงชวี ิตซงึ่ ท้งั หมดนีเ้ ป็นทรี่ ูก้ นั ภายใตช้ อ่ื วา่ เศรษฐกจิ พอเพียง
ความหมายคอื ทาอะไรให้เหมาะสมกบั ฐานะของตัวเอง คอื ทาจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐ บาท ขนึ้ ไปเป็น
สองหม่ืน สามหมื่นบาท คนชอบเอาคาพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง
คือทาเป็น Self-Sufficiency มันไม่ใช่ความหมายไม่ใช่แบบท่ีฉันคิด ที่ฉันคิดคือเป็น Self-Sufficiency of
Economy เช่น ถ้าเขาต้องการดูทีวี ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจากัดเขาไม่ให้ซื้อทีวีดู เขาต้องการดูเพื่อความ
สนุกสนาน ในหมู่บ้านไกลๆ ทีฉ่ ันไป เขามีทีวดี ูแต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถา้ Sufficiency นั้น มีทีวีเขา
ฟมุ่ เฟอื ย เปรยี บเสมอื นคนไม่มีสตางค์ไปตดั สูทใส่ และยงั ใสเ่ นคไทเวอร์ซาเช่ อันนีก้ เ็ กินไป...”
พระตาหนักเปย่ี มสขุ วังไกลกงั วล
๑๗ มกราคม ๒๕๔๔
ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพยี ง
เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผู้ผลิต หรือผู้บริโภค พยายามเริ่มต้นผลิต หรือบริโภคภายใต้ขอบเขต
ขอ้ จากัดของรายได้ หรือทรัพยากรทีม่ อี ยู่ไปก่อน ซ่งึ ก็คือ หลกั ในการลดการพง่ึ พา เพ่ิมขดี ความสามารถในการ
ควบคุมการผลิตได้ด้วยตนเอง และลดภาวะการเสี่ยงจากการไม่สามารถควบคุมระบบตลาดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
เศรษฐกิจพอเพียงมิใชห่ มายความถึง การกระเบียดกระเสียร จนเกินสมควร หากแต่อาจฟุ่มเฟือยได้
เปน็ คร้ังคราวตามอตั ภาพ แตค่ นสว่ นใหญข่ องประเทศ มักใชจ้ า่ ยเกินตัว เกนิ ฐานะที่หามาได้
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาไปสู่เป้าหมายของการสร้างความม่ันคงในทางเศรษฐกิจได้ เช่น โดย
พื้นฐานแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเน้นท่ีเศรษฐกิจการเกษตร
เน้นความมั่นคงทางอาหาร เป็นการสร้างความม่ันคงให้เป็นระบบเศรษฐกิจในระดับหน่ึง จึงเป็น ระบบ
เศรษฐกจิ ท่ีช่วยลดความเสี่ยง หรือความไม่มนั่ คงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้
เศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ ทกุ สาขา ทุกภาคของเศรษฐกจิ ไมจ่ าเปน็ จะตอ้ ง
จากัดเฉพาะแตภ่ าคการเกษตร หรือภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาคอสังหาริมทรพั ย์ และการค้าการลงทุน
ระหว่างประเทศ
โดยมีหลกั การทคี่ ลา้ ยคลงึ กนั คอื เน้นการเลอื กปฏิบัตอิ ย่างพอประมาณ มีเหตุมีผล และสร้างภมู คิ มุ้ กัน
ใหแ้ ก่ตนเองและสงั คม

26

1. ความพอเพียงตามแนวคดิ ของเศรษฐกจิ พอเพียง
- ความเป็นมาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนที่
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสแก่พสกนิกรชาวไทยมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เพื่อที่จะให้
พสกนกิ รชาวไทยได้เขา้ ถึงสายกลางของชีวิต เพื่อคงไวซ้ ึ่งทฤษฎีของการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน
- จุดเด่น คือ แนวทางท่ีสมดุลโดยธรรมชาติสามารถก้าวทันสมัยสู่ความเป็นสากลได้โดยปราศจาก
การต่อต้านกระแสโลกาภิวัฒนซ์ ึ่งคนไทยจะสามารถเล้ยี งชีพโดยอยบู่ นพนื้ ฐานของความพอเพียง
- ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความไม่มั่นคงใน
ประเทศและเป็นท่มี าของนยิ าม 3 หว่ ง 2 เงอ่ื นไข ซ่งึ ประกอบด้วย
1. ความพอประมาณ คอื ความพอดี ไม่มากเกินไปและไม่น้อยเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ
ผ้อู ่ืน
2. ความมีเหตุผล คือ การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงน้ันจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุผลปัจจยั ท่ีเก่ียวข้องตลอดจนคานึงถงึ ผลกระทบทีค่ าดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทาน้ัน ๆ
อย่างรอบคอบ
3. มีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัวเอง คือการเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
โดยคานึงถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณต์ า่ ง ๆ
วงรี : พอประมาณ
วงรี : มีภมู ิคุม้ กัน
วงรี: มีเหตผุ ล

27

2. การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งไปใช้
- การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในประเทศ ถูกบรรจุลงในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554 ) เพอ่ื มงุ่ สู่การพัฒนาทีส่ มดุล ยั่งยืน มีภมู ิคุ้มกนั เพ่ือความอยู่ดีมี
สขุ มงุ่ สสู่ ังคมท่ียั่งยนื ตอ่ ไป
- การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในต่างประเทศ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการแลกเปล่ียน
ผ่านทางสานักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ ( สพร.) มีหน้าท่ีคอยประสานงานรับความ
ช่วยเหลือทางวิชาการด้านต่าง ๆจากต่างประเทศมาสู่ภาครัฐแล้วถ่ายทอดต่อไปยังภาคประชาชนและยัง
ส่งผา่ นความรูท้ ่มี ีไปยงั ประเทศกาลงั พัฒนาอน่ื ๆ
- การนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน สามารถนาไปใช้ได้กับสังคม
โดยรวมไม่ใช่เฉพาะครอบครัวหรือชุมชนเท่านั้น ซึ่งก็คือเราสามารถนาวิธีการของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ในระดับบุคคลท่ัวไป ก็คือ ความสามารถในการดารงชีวิตอย่างไม่เดือดร้อน มีความเป็นอยู่อย่าง
ประมาณตนตามฐานะโดยสามารถเล้ยี งตวั เองได้บนพน้ื ฐานของการประหยัด

3. การวางแผนการประกอบอาชีพแบบพอเพยี ง
- กรอบแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี ง
การที่ต้องการให้ทุกคนพยามยามท่ีจะหาความรู้และสร้าง ตนเองให้มั่นคงนี้ เพื่อตนเอง เพ่ือท่ีจะให้
ตัวเองมีความเป็นอยู่ท่ีกา้ วหน้า มคี วามสุข พอมีพอกินเป็นช้ันหน่ึงและขน้ั ต่อไป ก็คอื ให้มีเกียรติว่ายืนไดด้ ้วย
ตัวเองพยายามไม่ก่อความชั่วให้เป็นเคร่ืองทาลายตัวเอง ทาลายผู้อ่ืน พยายามลด พยายามละความชั่วท่ี
ตนเองมีอยู่พยามยามก่อความดีให้แก่ตัวอยู่เสมอ พยายามรักษาและเพ่ิมพูนความดีที่มีอยู่นั้นให้งอกงาม
สมบูรณ์ข้นึ
- หลกั สาคัญของความพอดี 5 ประการ
1. ความพอดดี ้านจิตใจ : ตอ้ งเขม้ แข็ง พงึ่ ตนเองได้ มีจิตสานึกทด่ี ี เอ้อื อาทร นกึ ถึงผลประโยชน์
ส่วนรวม
2. ความพอดีด้านสังคม : ต้องมคี วามชว่ ยเหลอื เกือ้ กลู กัน สร้างความเข้มแข็งใหแ้ ก่ชมุ ชน รู้จักผนึก
กาลัง และที่สาคัญมกี ระบวนการเรยี นรทู้ เ่ี กดิ จากรากฐานที่ม่ันคงและแขง็ แรง
3. ความพอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาด รอบคอบ
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความยัง่ ยืนสูงสุด
4. ความพอดดี ้านเทคโนโลยี : รู้จักใชเ้ ทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมให้สอดคล้องกับความต้องการ และควร
พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมปิ ญั ญาชาวบ้านก่อน
5. ความพอดีดา้ นเศรษฐกิจ : เพ่มิ รายได้ ลดรายจา่ ย ดารงชวี ิตอยา่ งพอควร พออยู่ พอมี สมควร
ตามอตั ภาพและฐานะของตน

28

- ทฤษฎใี หม่เปน็ แนวทางในการบรหิ ารจดั การที่ดินและน้าเพอื่ การเกษตรในทีด่ นิ ขนาดเล็กใหเ้ กดิ ประโยชน์
สงู สดุ วิธกี ารแกก้ ็คือ แบ่งพ้นื ท่กี ารเกษตรออกเปน็

วงรี : 30 %
-ขุดสระกักเก็บน้าไวเ้ พาะปลูก
วงรี : 30 %
- พื้นท่ปี ลูกข้าววธิ กี ารแบง่ เนื้อทก่ี ารเกษตร
วงรี : 10 %
- ถนนหนทาง คูน้า /ทอี่ ยอู่ าศัย
วงรี : 30 %
- พื้นทปี่ ลูกพชื ไร่

ขน้ั ที่ 1 ทฤษฎใี หม่ขน้ั ต้น
สถานะพืน้ ฐานทางการเกษตร มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างเสถียรภาพของการผลิต เมอ่ื เข้าใจหลักการ
และได้ลงมอื ปฏบิ ตั ิตามจนได้ผลแลว้ เกษตรกรกจ็ ะพฒั นาตนเองจากข้นั พออยพู่ อกนิ ไปสู่ ขน้ั พออนั มีจะกนิ

ขั้นท่ี 2 ทฤษฎีใหม่ข้ันกลางจะเป็นการรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ ร่วมแรง ร่วมใจกัน
ดาเนนิ การในด้าน

- ดา้ นการผลิต - ดา้ นการตลาด - ด้านความเปน็ อยู่ - ด้านสวัสดกิ าร - ด้านการศกึ ษา
- ด้านสังคมและศาสนา

ขัน้ ที่ 3 ทฤษฎีใหมข่ ้ันกา้ วหน้า เกษตรกรจะมรี ายได้ ฐานะม่นั คง อาจพฒั นากา้ วหนา้ ไปสขู่ ั้นตดิ ต่อ
ประสานงานเพอ่ื จดั หาทนุ หรือแหลง่ ทุน

4.เครอื ขา่ ยดาเนนิ ชวี ติ แบบพอเพยี ง
ในการพัฒนาประเทศจาเปน็ ต้องทาตามลาดับขั้น เริม่ ดว้ ยการสร้างพื้นฐาน คือ ความมกี ินมีใช้ของ
ประชาชนก่อนด้วยวิธีการทีป่ ระหยดั ระมัดระวังแตถ่ กู ตอ้ งตามหลกั วชิ า

29

ใบงาน ครั้งท่ี 16
รายวชิ า เศรษฐกิจพอเพยี ง ทช21001 จานวน 1 หน่วยกิต

ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

ชือ่ – นามสกลุ ...................................................................................

กศน.ตาบล ..........................................

เรอื่ ง การวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพียง
คาชีแ้ จง ให้ผเู้ รียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี
1.จงอธบิ ายความหมายของหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................

30

เฉลยใบงาน คร้ังที่ 16
รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง ทช21001 จานวน 1 หน่วยกิต

ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

เรอ่ื ง การวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพียง
คาชี้แจง ให้ผ้เู รียนตอบคาถามตอ่ ไปน้ี

1.จงอธิบายความหมายของหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งพร้อมยกตัวอยา่ งประกอบ
ตอบ เศรษฐกิจพอเพียง คือ ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงช้ีแนวทางการดาเนินชีวิต

ให้แก่ปวงชนชาวไทยมาเป็นระยะเวลานาน ในช่วงตั้งแต่ก่อนการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อมุ่งให้พสกนิกรได้
ดารงชีวิตอยู่ได้อย่างยั่งยืน มั่นคง และปลอดภัย ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นตามกระแส
โลกาภิวัฒน์ อีกท้ังพระองค์ยงั ได้ทรงพระราชทานความหมายของ เศรษฐกิจพอเพยี ง เอาไวเ้ ป็นภาษาอังกฤษ
ว่า Sufficiency Economy

31

แบบทดสอบยอ่ ยครงั้ ท่ี 16
รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช21001 จานวน 1 หนว่ ยกิต

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น

ชอื่ – นามสกุล ...................................................................................

กศน.ตาบล ..........................................

ขอ้ สอบปรนยั (จานวน 5 ขอ้ )
คาชแี้ จง ตอนที่ 1 ให้ผ้เู รียนเลือกขอ้ ถกู เพยี งขอ้ เดียว
1. คาวา่ เศรษฐกิจ พอเพยี ง หมายถึงขอ้ ใด

ก. การทาเกษตรกรรม
ข. การดารงชีวติ อยู่อยา่ งพออยพู่ อกนิ
ค. การประกอบอาชพี ใหม้ รี ายไดเ้ ท่ากับรายจา่ ย
ง. การดาเนนิ ชวี ิตแบบมอี ย่มู กี ินพอดีกบั ฐานะของตนเอง
2. ข้อใดอธิบายความหมายของเศรษฐกจิ พอเพียงได้ดที ่สี ุด
ก. จด จา ไม่มจี น
ข. คุณธรรมนาชีวติ
ค. ออมวันละนิดจิตแจ่มใส
ง. ปฏิบตั ิตามทางสายกลาง
3. ข้อใดไม่ใชห่ ลักสาคญั ของความพอดี 5 ประการ
ก. ความพอดีด้านจิตใจ
ข. ความพอดีดา้ นรา่ งกาย
ค. ความพอดีดา้ นเทคโนโลยี
ง. ความพอดดี า้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
4. ข้อใดอธิบายความหมายของ คาว่า ความพอดีดา้ นเทคโนโลยี ไดถ้ ูกต้อง
ก. ตอ้ งเขม้ แขง็ พ่งึ ตนเองได้ มีจิตสานกึ ท่ีดี เออ้ื อาทร นึกถงึ ผลประโยชน์สว่ นรวม
ข. เพ่ิมรายได้ ลดรายจา่ ย ดารงชีวิตอยา่ งพอควร พออยู่ พอมี สมควรตามอัตภาพและฐานะของตน
ค. รจู้ ักใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมให้สอดคล้องกับความต้องการ และควรพัฒนาเทคโนโลยจี าก

ภูมปิ ัญญาชาวบ้านก่อน
ง. ตอ้ งมีความชว่ ยเหลือเกอ้ื กูลกัน สร้างความเข้มแขง็ ให้แก่ชมุ ชน รู้จักผนึกกาลงั และทีส่ าคัญมี

กระบวนการเรียนร้ทู ี่เกิดจากรากฐานทมี่ น่ั คงและแข็งแรง
5. เกษตรทฤษฎใี หม่เปน็ แนวทางในการบริหารจัดการทีด่ ินและน้า ข้อใดถกู ต้อง

ก. 30 : 30 : 30 : 10
ข. 30 : 30 : 20 : 20
ค. 30 : 20 : 10 : 40
ง. 20 : 20 : 10 : 50

32

ข้อสอบอัตนยั (จานวน 2 ขอ้ )
1.จงอธบิ ายแนวคดิ และหลกั การทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาพอเขา้ ใจ

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2.จงบอกแนวทางการนาหลกั เศรษฐกจิ พอพยี งไปใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตของท่านอยา่ งไร

..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

33

เฉลยแบบทดสอบยอ่ ยครงั้ ท่ี 16
รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช21001 จานวน 1 หน่วยกติ

ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

ขอ้ สอบปรนัย (จานวน 5 ขอ้ )
1. ง
2. ง
3. ข
4. ค
5. ก

ขอ้ สอบอัตนัย (จานวน 2 ขอ้ )
1.จงอธบิ ายแนวคดิ และหลักการทางปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาพอเขา้ ใจ
ตอบ เศรษฐกิจพอเพยี ง เปน็ กรอบแนวคดิ ซ่ึงม่งุ ใหท้ ุกคนสามารถพึง่ พาตวั เองได้ รวมถงึ การพฒั นาให้

ดียิ่งขน้ึ จนเกดิ ความยง่ั ยนื คาวา่ พอเพยี ง คือ การดาเนินชวี ติ แบบทางสายกลาง โดยตง้ั อยบู่ นหลกั สาคญั
สามประการ คอื ความพอประมาณ ความมเี หตุผล และการมภี มู คิ มุ้ กนั ที่ดี

2.จงบอกแนวทางการนาหลกั เศรษฐกิจพอพยี งไปใช้ในการดาเนนิ ชีวติ ของทา่ นอยา่ งไร
ตอบ การนาหลักเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้นน้ั ขัน้ แรก ต้องยึดหลัก "พึ่งตนเอง" คือ พยายามพ่ึงตนเอง
ให้ได้ก่อน ในแตล่ ะครอบครัวมกี ารบริหารจัดการอย่างพอดี ประหยัดไมฟ่ ุ่มเฟือย สมาชิกในครอบครวั แต่ละ
คนต้องรู้จักตนเอง เชน่ ข้อมูล รายรบั -รายจ่าย ในครอบครวั ของตนเอง สามารถรกั ษาระดบั การใช้จ่าย
ของตน ไมใ่ ห้เป็นหนแ้ี ละร้จู ักดงึ ศักยภาพในตวั เองในเรอื่ งของปัจจยั ส่ใี หไ้ ด้ในระดบั หน่ึง การพัฒนาตนเองให้
สามารถ "อยูไ่ ด้อยา่ งพอเพียง" คอื ดาเนินชวี ติ โดยยึด หลักทางสายกลางใหอ้ ยู่ได้อยา่ งสมดลุ คือ มคี วามสขุ
ทแ่ี ท้ ไม่ใหร้ ูส้ ึกขาดแคลน จนตอ้ งเบียดเบียนตนเอง หรือดาเนนิ ชีวิตอยา่ งเกนิ พอดี จนต้องเบียดเบยี นผอู้ ่ืน
หรือเบียดเบยี นส่ิงแวดลอ้ ม โดยยดึ หลัก พออยู่ พอกิน พอใช้

34

บนั ทกึ ผลหลังการเรยี นรู้

คร้ังท่ี ..................
วันท่ี...........................เดอื น..............................................พ.ศ. ............................ ระดับ………………….....…………

จุดประสงค์การเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

จานวนนักศกึ ษา ทัง้ หมด....................คน ชาย................คน หญิง..................คน
จานวนนักศกึ ษาที่เข้าเรยี น ทง้ั หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน
จานวนนักศกึ ษาท่ขี าดเรยี น ท้งั หมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน

สภาพการจดั การเรียนรแู้ บบพบกลมุ่ (ปัจจยั กระบวนการจัดกจิ กรรมและผู้เรยี น)
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

สภาพการจดั การเรียนรแู้ บบเรียนรดู้ ้วยตนเอง (ปจั จัยกระบวนการจดั กิจกรรมและผู้เรียน)
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ด้านสอ่ื การเรยี นรู้
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ปัญหาทพี่ บและการแกไ้ ขปญั หา (อยา่ งไร)
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
ขอ้ คิดเห็นขอ้ เสนอแนะ (เพื่อการปรับปรุงแก้ไข/พัฒนา)

1. ...........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

2. ...........................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................................ผบู้ ันทกึ
(.............................................................)

(อาจแนบภาพแสดงใหเ้ หน็ เฉพาะส่วนเดน่ และส่วนทเ่ี ป็นปญั หา)

35

เสนอขอ้ คิดเหน็
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื .............................................................ผู้ตรวจเสนอ
(.............................................................)
นายทะเบียน

การดาเนนิ การแกไ้ ข/พัฒนา
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ลงชือ่ .............................................................ผู้บรหิ ารสถานศึกษา
(.............................................................)
ผู้อานวยการ กศน.อาเภอ............................

ผลจากการนาขอ้ เสนอแนะไปปฏบิ ตั ิ
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................................ผู้ปฏิบัติ
(.............................................................)

36

ปฏิทินการเรียนร้ดู ้วยตนเอง รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช21001 จานวน 1 หนว่ ยกิต

ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น

จานวน 28 ชัว่ โมง

วนั /เดือน/ปี เรื่อง สาระสาคญั วธิ กี ารหาข้อมูล จานวน แหล่งข้อมูล/
ชว่ั โมง แหลง่ เรียนรูท้ ีใ่ ช้

เรอ่ื ง 1.ความเป็นมา -ศกึ ษาค้นหาจาก 14 -หนงั สือเรยี น

ความพอเพยี ง ความหมาย หลักการ เอกสารประกอบ วชิ าเศรษฐกิจ

แนวคิดของปรัชญาของ การเรียนวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกจิ พอเพยี ง พอเพียง ระดับมัธยมศึกษา

2.การแสวงหาความรู้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ ตอนตน้

-คน้ คว้าจาก -หอ้ งสมดุ ประชาชน

อินเทอรเ์ นต็ -กศน.ตาบล

- ค้ น ค ว้ า จ า ก เ อ ก ส า ร ท่ี -อินเทอร์เน็ต

เกย่ี วข้องกบั เน้ือหา

เรือ่ ง 1.การวางแผนประกอบ
การวางแผน อาชีพ ตามหลกั ปรชั ญา

ประกอบอาชีพ เศรษฐกจิ พอเพยี ง
แบบพอเพยี ง

เรอื่ ง 1.การส่งเสริม เผยแพร่ -ศึกษาค้นหาจาก 14 -หนงั สอื เรยี น

สรา้ งเครอื ขา่ ย ขยายผลงานการปฏิบัติ เอกสารประกอบ วชิ าเศรษฐกจิ

ดาเนนิ ชีวิต ตามหลักปรัชญาของ การเรยี นวชิ าเศรษฐกิจ พอเพียง

แบบพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงของ พอเพยี ง ระดบั มัธยมศึกษา

บุคคล ชุมชน ที่ประสบ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ตอนต้น

ผลสาเร็จ -คน้ คว้าจาก -ห้องสมดุ ประชาชน

2.การสร้างเครือข่าย อินเทอรเ์ น็ต -กศน.ตาบล

การประกอบอาชีพและ -ค้นคว้าจากเอกสารท่ี -อนิ เทอรเ์ น็ต

การดาเนนิ ชวี ติ ตามหลัก เกยี่ วข้องกบั เนอื้ หา

ปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง

3.กระบวนการขบั

เคลือ่ นเศรษฐกิจ

พอเพยี ง

37

แผนการจดั การเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (กรต.)
รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช21001 จานวน 1 หน่วยกิต

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น
คร้งั ที่ 5 จานวน 14 ชวั่ โมง

เรอื่ ง ความพอเพยี ง
ตวั ชวี้ ัด

1.อธิบายความเป็นมา ความหมายหลักการปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
เนอื้ หา

1.ความเปน็ มา ความหมายหลักการ แนวคดิ ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. การแสวงหาความรู้
เรอ่ื ง การวางแผนประกอบอาชีพ แบบพอเพยี ง
ตัวชีว้ ัด
1.สามารถวางแผนในการประกอบอาชีพ ที่เหมาะสมกับตนเองไดอยางน้อย 1 อาชีพ
เนื้อหา
1.การวางแผนประกอบอาชีพ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ขน้ั ตอนการจดั กระบวนการเรียนรู้
ขน้ั ท่ี 1 การกาหนดสภาพปญั หา

ครูมอบหมายให้ผู้เรียนศึกษา ค้นคว้า เร่ืองหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการ
วางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพยี ง โดยศึกษาหาขอ้ มูลจากหนังสอื เรียน สือ่ อินเตอร์เน็ต
ขน้ั ท่ี 2 การแสวงหาขอ้ มลู และการเรยี นรู้

1. ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าจากใบความรู้เรื่อง ความพอเพียง และเรื่อง ทักษะการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง หนังสือเรียน และสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากอินเตอร์เน็ต อธิบายความเป็นมา
ความหมายหลกั การของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. ผู้เรียนค้นคว้าการวางแผนในการประกอบอาชีพ ที่เหมาะสมกับตนเองไดอยางน้อย 1
อาชีพ

3. ผูเ้ รียนค้นควา้ เรื่อง การแสวงหาความรู้
ข้ันที่ 3 การปฏิบตั ิและการนาไปประยุกต์ใช้

1. ผู้เรียนทาใบงานเรื่อง การวางแผนในการประกอบอาชีพ ที่เหมาะสมกับตนเองได
อยางนอ้ ย 1 อาชีพ

2. ผู้เรียนจัดทาใบงานเร่ืองส่ิงประดิษฐ์จากวัสดุตามหลักสะเต็มศึกษา เทคโนโลยีการกาจัด
วสั ดุ

ขั้นท่ี 4 การประเมนิ ผล
ใบงาน

สอ่ื
1. อินเตอร์เนต็
2. ใบความรู้
3. หนงั สอื เรียน

38

การวดั ผลละประเมนิ ผล
ใบงาน

39

ใบความรู้ ครั้งที่ 5
รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง ทช21001 จานวน 1 หนว่ ยกิต

ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้

เร่ือง ความพอเพียง
ความรเู้ กยี่ วกบั เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง คือ ปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวทรงชี้แนวทางการดาเนินชวี ิตใหแ้ กป่ วง
ชนชาวไทยมาเป็นระยะเวลานาน ในช่วงตั้งแตก่ ่อนการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ เพื่อมุ่งใหพ้ สกนิกรไดด้ ารงชีวิตอยู่
ได้อย่างย่ังยืน ม่ันคง และปลอดภัย ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนตามกระแสโลกาภิวัฒน์ อีกท้ัง
พระองค์ยังได้ทรงพระราชทานความหมายของ เศรษฐกิจพอเพียง เอาไว้เป็นภาษาอังกฤษว่า Sufficiency
Economy ดังพระราชดารสั ทไี่ ด้ทรงตรัสไว้เมื่อวันท่ี 23 ธนั วาคม 2554

“ในท่ีน้ีเราฟังเขาถามว่าเศรษฐกิจพอเพียง จะแปลเป็นภาษาอังกฤษว่าอย่างไร ก็อยากจะตอบว่ามี
แล้วในหนงั สอื ไม่ใชห่ นังสือตาราเศรษฐกิจ แตเ่ ปน็ หนังสือพระราชดารัสที่อุตส่าหม์ าปรับปรงุ ใหฟ้ ังได้ และแปล
เป็นภาษาอังกฤษ เพราะคนท่ฟี ังภาษาไทยบางทีไมเ่ ข้าใจภาษาไทย ต้องแปลเป็นภาษาอังกฤษ จึงไดแ้ ปลเป็น
ภาษาองั กฤษ และเน้นวา่ เศรษฐกิจพอเพียง แปลว่า Sufficiency Economy โดยเขยี นเปน็ ตวั หนาในหนงั สือ”

แต่เน่ืองด้วยคาว่า Sufficiency Economy เป็นคาท่ีเกิดมาจากความคิดใหม่ อีกทั้งยังเป็นทฤษฎีใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงไม่มีปรากฏอยู่ในตาราเศรษฐศาสตร์ ซ่ึงบางคนอาจจะยังสงสัยอยู่ว่า Self-
Sufficient Economy สามารถใช้แทน Sufficiency Economy ได้หรือไม่ หากว่าไม่ได้มีความหมายอย่าง
เดียวกัน หรือไม่สามารถใช้เหมือนกันได้ จะมีความเหมือน หรือแตกต่างกันอย่างไร โดยคาว่า Self-
Sufficiency มีความหมายตามพจนานุกรท่ีว่า การไม่ต้องพ่ึงใคร และการไม่ต้องพึ่งใครในความหมายของ
พระองค์ทา่ นนน้ั คอื

“Self-Sufficiency นน้ั หมายความว่า ผลิตอะไรมพี อทีจ่ ะใช้ ไม่ต้องไปขอยืมคนอ่นื อย่ไู ด้ด้วยตนเอง”

40

ฉะนั้น เมื่อเติมคาว่า Economy เข้าไป กลายเป็น Self-Sufficient Economy แล้วนั้น จะมี
ความหมายวา่ เศรษฐกจิ แบบพอเพยี งกับตัวเอง คือ การที่สามารถอยไู่ ด้ด้วยตนเองอย่างไมเ่ ดือดร้อน ไม่ต้อง
พึง่ พาผูอ้ ่ืน แต่ในทกุ วันน้ี ประเทศไทยเรายังเดือดร้อน ยังมีความจาเป็นต้องพึง่ พาผู้อ่ืนอยู่ ท่ใี นความเปน็ จรงิ ท่ี
เราจะสามารถช่วยเหลอื ตวั เองได้กต็ าม ดงั น้นั Self-Sufficient Economy จึงหมายถึง เศรษฐกิจแบบพอเพยี ง
กับตัวเอง ที่แตกต่างจาก Sufficiency Economy ซ่ึงหมายถึง เศรษฐกจิ พอเพยี งท่ียงั คงมกี ารพง่ึ พากนั และกัน
อยู่ ดังพระราชดารัสเพ่มิ เตมิ ทีว่ ่า

“คอื พอมีพอกนิ ของตัวเองน้ันไม่ใชเ่ ศรษฐกจิ พอเพียง เป็นเศรษฐกิจสมยั หิน สมยั หินน้ันเปน็ เศรษฐกิจ
พอเพยี งเหมอื นกนั แต่วา่ คอ่ ยๆ พัฒนาข้นึ มา ตอ้ งมีการแลกเปลย่ี นกนั มีการชว่ ยระหวา่ งหมบู่ ้าน หรอื ระหว่าง
จะเรียกวา่ อาเภอ จังหวดั ประเทศ จะต้องมีการแลกเปลี่ยน มกี ารไม่พอเพียง จึงบอกว่าถ้ามีเศรษฐกิจพอเพียง
เพียงเศษหน่งึ สว่ นสี่กจ็ ะพอแลว้ จะใชไ้ ด้”

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน เป็นแนวทางการดารงชีวิตและการปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ
โดยยึดแนวทางการพัฒนาท่ีมีคน หรือประชาชนเป็นศูนย์กลาง ซ่ึงสิ่งเหล่านี้เองจะเป็นตัวการท่ีนาไปสู่การ
พัฒนาทย่ี ง่ั ยืน หรอื ในภาษาอังกฤษ คือ Sustainable Development

หลกั แนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพียง

การพัฒนาตามหลกั แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง คือการพฒั นาท่ีตั้งอย่บู นพื้นฐานของทางสายกลางและ
ความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว ตลอดจนใช้
ความรูค้ วามรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สนิ ใจและการกระทา

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มหี ลักพิจารณาอยู่ ๕ สว่ น ดงั นี้
1.กรอบแนวความคดิ
เป็นปรัชญาท่ีชี้แนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถี
ชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สมารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวกิ ฤต เพื่อความมั่นคง และ ความยั่งยืน ของการ
พฒั นา
2. คุณลกั ษณะ
เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยุกต์ใช้กับการปฏิบตั ติ นได้ในทุกระดับโดยเน้นการปฏิบตั ิบนทาง
สายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเปน็ ข้ันตอน
3. คานิยาม
ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบด้วย ๓ คุณลักษณะ พรอ้ ม ๆ กัน ดงั นี้
ความพอประมาณ: หมายถงึ ความพอดที ีไ่ ม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไมเ่ บยี ดเบยี นตนเอง
และผู้อ่นื เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคทอ่ี ยใู่ นระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล: หมายถงึ การตัดสินใจเกี่ยวกบั ระดบั ของความพอเพยี งนัน้ จะต้องเปน็ ไปอยา่ ง
มีเหตผุ ลโดยพจิ ารณาจากเหตปุ ัจจยั ที่เกี่ยวขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนจากการกระทานัน้ ๆ
อยา่ งรอบคอบ

41

การมีภมู ิคุ้มกันท่ีดีในตวั : หมายถงึ การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดา้ น

ตา่ ง ๆ ท่จี ะเกดิ ขึ้นโดยคานงึ ถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ที่คาดว่าจะเกดิ ข้นึ ในอนาคต

ทัง้ ใกล้และไกล

4. เง่ือนไข

การตดั สินใจและการดาเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดับพอเพยี งนั้นต้องอาศัยท้งั ความรู้ และ

คุณธรรมเปน็ พ้ืนฐาน กล่าวคอื

เง่ือนไขความรู้: ประกอบด้วย ความรอบรู้เก่ียวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องอย่างรอบด้าน

ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ

ระมัดระวังในข้นั ปฏิบัติ

เง่อื นไขคณุ ธรรม: ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคณุ ธรรม มีความซ่ือสัตยส์ ุจริต

และมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนินชีวติ

5. แนวทางปฏบิ ัติ/ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั

ผลจากการนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้ คือ การพฒั นาทส่ี มดุลและย่ังยืน พรอ้ มรบั

ต่อการเปล่ียนแปลงในทกุ ดา้ น ท้ังดา้ นเศรษฐกิจ สังคม สงิ่ แวดล้อม ความรแู้ ละเทคโนโลยี

เศรษฐกิจพอเพยี งกบั ทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ

เศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพัฒนาท่ีนาไปสู่

ความสามารถในการพ่ึงตนเอง ในระดับต่าง ๆ อย่างเปน็ ข้ันตอน โดยลดความเส่ียงเกี่ยวกับความผันแปรของ

ธรรมชาติ หรือการเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยต่าง ๆ โดยอาศัยความพอประมาณและความมีเหตุผล การสร้าง

ภูมิคุ้มกันท่ีดี มีความรู้ ความเพียรและความอดทน สติและปัญญา การช่วยเหลือซ่ึงกัน

และกนั และความสามัคคี

เศรษฐกจิ พอเพียงมคี วามหมายกว้างกวา่ ทฤษฎีใหม่โดยทเ่ี ศรษฐกิจพอเพยี งเป็นกรอบแนวคิดทช่ี ี้บอก

หลักการและแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ในขณะที่ แนวพระราชดาริเก่ียวกับทฤษฎีใหม่หรือเกษตรทฤษฎี

ใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรอย่างเป็นข้ันตอนนั้น เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียง

ในทางปฏบิ ตั ิ ทเ่ี ปน็ รปู ธรรมเฉพาะในพ้นื ท่ที ีเ่ หมาะสม

ทฤษฎีใหมต่ ามแนวพระราชดาริ

อาจเปรียบเทยี บกบั หลักเศรษฐกิจพอเพยี ง ซง่ึ มอี ยู่ 2 แบบ คอื แบบพนื้ ฐานกับแบบก้าวหนา้ ได้ดงั นี้

ความพอเพยี งในระดับบุคคลและครอบครัวโดยเฉพาะเกษตรกร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน

เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ข้ันท่ี 1 ที่มุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรท่ีอยู่ห่างไกลแหล่งน้า ต้องพึ่งน้าฝนและประสบ

ความเสยี่ งจากการทน่ี ้าไมพ่ อเพียง แมก้ ระทงั่ สาหรับการปลูกข้าวเพอื่ บรโิ ภค และมีขอ้ สมมตวิ ่า มที ีด่ ินพอเพยี ง

ในการขุดบ่อเพ่ือแก้ปัญหาในเร่ืองดังกล่าวจากการแก้ปัญหาความเส่ียงเร่ืองน้า จะทาให้เกษตรกรสามารถมี

ข้าวเพื่อการบริโภคยังชีพในระดับหน่ึงได้ และใช้ท่ีดินส่วนอื่น ๆ สนองความต้องการพื้นฐานของครอบครัว

รวมท้ังขายในส่วนท่ีเหลือเพ่ือมีรายได้ท่ีจะใช้เป็นค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ ท่ีไม่สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดน้ีเป็นการ

สร้างภูมิคุ้มกันในตัวให้เกิดขึ้นในระดับครอบครัว อย่างไรก็ตาม แม้กระท่ัง ในทฤษฎีใหม่ข้ันที่ 1 ก็จาเป็นที่

เกษตรกรจะต้องไดร้ ับความช่วยเหลอื จากชมุ ชนราชการ มูลนธิ ิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสม

ความพอเพียงในระดับชุมชนและระดับองค์กร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซ่ึงครอบคลุม

ทฤษฎีใหม่ข้ันที่ 2 เป็นเร่ืองของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลงั กันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรอื การท่ีธรุ กิจ

ตา่ ง ๆ รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เมื่อสมาชิกในแต่ละครอบครัวหรือองค์กรต่าง ๆ มี

ความพอเพยี งขนั้ พนื้ ฐานเป็นเบือ้ งต้นแล้วกจ็ ะรวมกลุ่มกันเพือ่ ร่วมมอื กนั สรา้ งประโยชน์ใหแ้ กก่ ล่มุ และส่วนรวม

42

บนพื้นฐานของการไมเ่ บยี ดเบียนกนั การแบง่ ปันช่วยเหลือซ่ึงกนั และกันตามกาลังและความสามารถของตนซึ่ง
จะสามารถทาให้ ชุมชนโดยรวมหรือเครือขา่ ยวิสาหกิจนัน้ ๆ เกดิ ความพอเพียงในวถิ ปี ฏิบัติอย่างแทจ้ ริง

ความพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหนา้ ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ข้ันท่ี 3
ซึง่ สง่ เสริมใหช้ ุมชนหรือเครือข่ายวสิ าหกิจสร้างความร่วมมือกับองค์กรอ่ืน ๆ ในประเทศ เช่น บริษทั ขนาดใหญ่
ธนาคาร สถาบนั วิจยั เป็นต้น

ก า ร ส ร้ า ง เ ค รื อ ข่ า ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ใ น ลั ก ษ ณ ะ เ ช่ น น้ี จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ ใ น ก า ร สื บ ท อ ด ภู มิ ปั ญ ญ า
แลกเปลี่ยนความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือร่วมมือกันพัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิจ
พอเพียง ทาให้ประเทศอนั เป็นสังคมใหญ่อนั ประกอบด้วยชุมชน องค์กร และธุรกิจตา่ ง ๆ ทด่ี าเนินชวี ิตอย่าง
พอเพียงกลายเป็นเครือข่ายชุมชนพอเพียงที่เชื่อมโยงกนั ด้วยหลัก ไม่เบียดเบยี น แบง่ ปันและช่วยเหลอื ซึ่งกัน
และกันไดใ้ นทสี่ ุด

การสรา้ งขบวนการขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ พอเพียง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) เสนอให้ริเร่ิมการสร้าง
ขบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือสานต่อความคิดและเช่ือมโยงการขยายผลที่เกิดจากการนาหลัก
ปรัชญาฯ ไปใช้อย่างหลากหลาย รวมท้ังเพ่ือจุดประกายให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ซึ่งจะนาไปสู่การ
ยอมรับ และการนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ผลในทางปฏบิ ตั ิในทกุ ภาคส่วนของสังคมอย่างจรงิ จงั
จากพระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระองค์ นบั ตั้งแต่ปี 2517 เปน็ ต้นมา จะพบว่าพระองค์
ท่านได้ทรงเนน้ ย้าแนวทางการพัฒนาท่ีอยู่บนพนื้ ฐานของการพึ่งตนเอง ความพอมีพอกิน พอมีพอใช้ การร้จู ัก
ความพอประมาณ การคานึงถึงความมีเหตุผล การสร้างภมู ิค้มุ กันท่ีดีในตวั และทรงเตือนสตปิ ระชาชนคนไทย
ไม่ให้ประมาท ตระหนักถึงการพัฒนาตามลาดับขั้นตอนท่ีถูกต้องตามหลักวิชาการ ตลอดจนมีคุณธรรมเป็น
กรอบในการดารงชวี ิตซงึ่ ทั้งหมดน้เี ปน็ ที่ร้กู ันภายใต้ช่อื ว่า เศรษฐกิจพอเพียง
ความหมายคือ ทาอะไรให้เหมาะสมกบั ฐานะของตัวเอง คอื ทาจากรายได้ ๒๐๐-๓๐๐ บาท ข้นึ ไปเป็น
สองหม่ืน สามหมื่นบาท คนชอบเอาคาพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง
คือทาเป็น Self-Sufficiency มันไม่ใช่ความหมายไม่ใช่แบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิดคือเป็น Self-Sufficiency of
Economy เช่น ถ้าเขาต้องการดูทีวี ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจากัดเขาไม่ให้ซ้ือทีวีดู เขาต้องการดูเพ่ือความ
สนุกสนาน ในหมู่บ้านไกลๆ ท่ฉี ันไป เขามีทีวีดูแต่ใช้แบตเตอร่ี เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถา้ Sufficiency นั้น มีทีวีเขา
ฟุ่มเฟือย เปรยี บเสมอื นคนไม่มีสตางค์ไปตดั สทู ใส่ และยงั ใสเ่ นคไทเวอร์ซาเช่ อันนกี้ เ็ กนิ ไป...”
พระตาหนกั เปยี่ มสขุ วังไกลกงั วล
๑๗ มกราคม ๒๕๔๔
ประเทศไทยกับเศรษฐกจิ พอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผู้ผลิต หรือผู้บริโภค พยายามเร่ิมต้นผลิต หรือบริโภคภายใต้ขอบเขต
ขอ้ จากัดของรายได้ หรือทรัพยากรทม่ี ีอยู่ไปกอ่ น ซงึ่ กค็ ือ หลกั ในการลดการพง่ึ พา เพม่ิ ขดี ความสามารถในการ
ควบคุมการผลิตได้ด้วยตนเอง และลดภาวะการเส่ียงจากการไม่สามารถควบคุมระบบตลาดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
เศรษฐกิจพอเพยี งมิใชห่ มายความถงึ การกระเบยี ดกระเสียร จนเกินสมควร หากแตอ่ าจฟุ่มเฟอื ยได้
เปน็ ครงั้ คราวตามอตั ภาพ แตค่ นส่วนใหญข่ องประเทศ มกั ใชจ้ ่ายเกินตัว เกนิ ฐานะทีห่ ามาได้

43

เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาไปสู่เป้าหมายของการสร้างความม่ันคงในทางเศรษฐกิจได้ เช่น โดย
พ้ืนฐานแล้ว ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเน้นที่เศรษฐกิจการเกษตร
เน้นความมั่นคงทางอาหาร เป็นการสร้างความม่ันคงให้เป็นระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเป็นระบบ
เศรษฐกิจท่ชี ว่ ยลดความเสี่ยง หรือความไมม่ ่ันคงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้

เศรษฐกจิ พอเพยี ง สามารถประยุกตใ์ ช้ได้ในทกุ ระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไม่จาเป็นจะตอ้ ง
จากัดเฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แมแ้ ตภ่ าคการเงิน ภาคอสังหาริมทรพั ย์ และการคา้ การลงทุน
ระหว่างประเทศ

โดยมีหลกั การทค่ี ลา้ ยคลึงกันคอื เนน้ การเลือกปฏบิ ัตอิ ย่างพอประมาณ มเี หตมุ ีผล และสร้างภมู คิ มุ้ กัน
ให้แก่ตนเองและสงั คม

44

ใบความรู้ ครงั้ ท่ี 5
รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง ทช21001 จานวน 1 หน่วยกติ

ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้

เร่ือง ทกั ษะการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง

การแสวงหาความรู้ เปน็ ทกั ษะทต่ี อ้ งอาศยั การเรยี นรแู้ ละวิธกี ารฝกึ ฝนจนเกดิ ความชานาญทาให้เกิด
แนวความคิดความเข้าใจท่ีถูกต้องและกวา้ งขวางยิ่งขึน้ เนอ่ื งจากผทู้ ี่แสวงหาความรู้จะเกดิ ทกั ษะในการค้นคว้า
ส่ิงท่ีต้องการและสนใจอยากรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ จะทาให้ทราบข้อเท็จจริง และสามารถเปรียบเทียบ

ข้อเท็จจริงที่ได้มาว่าควรเชื่อได้หรือไม่ทักษะในการสร้างปัญญาเพ่ือนาไปสู่การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
มี 10 ขั้นตอน ดังนี้ (พฒั นาทักษะการแสวงหาความรู้ให้กบั ตนเอง, 2554 : ออนไลน์)

1. ทักษะการสังเกต คือ การสังเกตสิ่งท่ีเห็น ส่ิงแวดล้อม หรือสิ่งที่ต้องการจะศึกษา โดยสังเกต
เก่ยี วกับแหล่งท่มี า ความเหมือน ความแตกตา่ ง สาเหตุของความแตกตา่ ง ประโยชน์ และผลกระทบ วิธีฝึกการ
สงั เกต คือ การฝกึ สมาธิ เพ่อื ใหม้ ีสติ และทาใหเ้ กิดปัญญา มโี ลกทรรศน์ มวี ิธีคดิ

2. ทักษะการบันทึก คือ การบันทึกสิ่งที่ต้องจาหรือต้องศึกษา มีหลายวิธี ได้แก่ การทาสรุปย่อการ
เขยี นเค้าโครงเร่ือง การขดี เสน้ ใต้ การเขียนแผนภูมิ การทาเป็นแผนภาพ หรือ ทาเป็นตาราง เป็นตน้ วิธีฝึกการ

บันทกึ คอื การบนั ทกึ ทกุ ครง้ั ทม่ี ีการสงั เกต มกี ารฟัง หรอื มกี ารอา่ น เป็นการพัฒนาปัญญา
3.ทักษะการนาเสนอ คือ การทาความเข้าใจในเรื่องท่ีจะนาเสนอให้ผู้อ่ืนรับรู้ได้ โดยจดจาในส่ิงท่ีจะ

นาเสนอออกมาอย่างเป็นระบบ ซ่งึ สามารถทาได้หลายรูปแบบ เช่น การทารายงานเปน็ รูปเล่มการรายงานปาก

เปล่า การรายงานด้วยเทคโนโลยี เป็นต้น วิธีฝึกการนาเสนอ คือ การฝึกตามหลักการของการนาเสนอใน
รปู แบบตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วอย่างสม่าเสมอ จนสามารถนาเสนอได้ดี ซึ่งเปน็ การพัฒนาปัญญา

4. ทักษะการฟัง คือ การจับประเด็นสาคัญของผู้พูด สามารถตั้งคาถามเรื่องที่ฟังได้ รู้จุดประสงค์ใน
การฟัง แสวงหาความรู้จะต้องค้นหาเร่ืองสาคัญในการฟังให้ได้ วิธีฝึกการฟัง คือ การทาเค้าโครงเร่ืองที่ฟัง
จดบันทึกความคิดหลัก หรือถ้อยคาสาคัญลงในกระดาษบันทึกท่ีเตรียมไว้ อาจตั้งคาถามในใจเช่น ใคร อะไร

ที่ไหน เมื่อไร เพราะเหตใุ ด อยา่ งไร เพราะจะทาให้การฟงั มีความหมายและมปี ระสิทธิภาพมากข้นึ
5. ทกั ษะการถาม คือ การถามเรอ่ื งสาคญั ๆ การตั้งคาถามสั้น ๆ เพื่อนาคาตอบมา เชือ่ มต่อให้สัมพันธ์

กบั สิ่งท่ีเรารู้แล้วมาเป็นหลักฐานสาหรับประเด็นที่กล่าวถึง ส่ิงท่ีทาให้เราฟัง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ การ
ถามเกย่ี วกับตัวเราเอง การฝึกถาม-ตอบ เป็นการฝกึ การใชเ้ หตุผลวเิ คราะห์สงั เคราะห์ ทาให้เขา้ ใจในเรอ่ื งนน้ั ๆ
อยา่ งชัดเจน ถ้าเราฟงั โดยไมถ่ าม-ตอบ กจ็ ะเขา้ ใจ ในเรอื่ งน้นั ๆไม่ชัดเจน

45

6. ทกั ษะการตั้งสมมติฐานและตั้งคาถาม คือ การตั้งสมมติฐาน และตั้งคาถาม ส่ิงที่เรียนรู้ไปแล้วได้ว่า
คืออะไร มีประโยชน์อย่างไร ทาอย่างไรจึงจะสาเร็จได้ การฝึกตั้งคาถาม ท่ีมีคุณค่าและมีความสาคัญ ทาให้
อยากได้คาตอบ

7. ทกั ษะการคน้ หาคาตอบจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น จากหนังสือ อินเทอร์เน็ต คุยกับผู้สูงอายุ
แล้วแต่ธรรมชาติของคาถาม การค้นหาคาตอบต่อคาถามที่สาคญั จะสนกุ และทาให้ไดค้ วามรู้มาก บางคาถาม
หาคาตอบทุกวิถที างแลว้ ไม่พบ ตอ้ งหาคาตอบต่อไปดว้ ยการวจิ ยั

8. ทักษะการทาวิจัยสร้างความรู้ การวิจัยเพื่อหาคาตอบเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ทุก
ระดับ การวจิ ยั จะทาให้คน้ พบความรู้ใหม่ ทาใหเ้ กิดความภมู ิใจ สนกุ และมีประโยชนม์ าก

9. ทักษะการเชื่อมโยงบูรณาการ คือ การเชื่อมโยงเร่ืองท่ีเรียนรู้มาให้เห็นภาพรวมท้ังหมด มองเห็น
ความงดงาม มองใหเ้ ห็นตัวเอง ไมค่ วรให้ความร้นู ้ันแยกออกเปน็ ส่วน ๆ

10. ทกั ษะการเขียนเรียบเรียง คือ การเรียบเรียงความคิดให้ประณีตขึ้น โดยการค้นคว้าหาหลักฐาน
อ้างอิงความรู้ให้ถี่ถ้วน แม่นยาข้ึน การเรียบเรียงทางวิชาการจึงเป็นการพัฒนาปัญญาอย่างสาคัญ และเป็น
ประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นในวงกว้างออกไปกล่าวโดยสรุป การแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจะเกิดขึ้นได้
ผแู้ สวงหาความรู้จะต้องฝึกฝนทักษะในการสังเกต การบนั ทกึ การนาเสนอ การฟงั การถาม การต้ังสมมตฐิ าน
และตั้งคาถาม การค้นหาคาตอบจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ การทาวิจัยสร้างความรู้ การเช่ือมโยงบูรณาการ
และการเขยี นเรียบเรยี ง

การวางแผนการประกอบอาชีพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การประกอบอาชีพ คือการทามาหากินของมนษุ ย์ เปน็ การแบง่ หน้าที การทางานของคนในสงั คม และ
ทาให้ดารงชีวิตในสังคมได้ บุคคลที่ประกอบอาชีพจะได้ค่าตอบแทน หรือรายได้ทีจะนาไปใช้จ่ายในการ
ดารงชีวติ และสรา้ งมาตรฐานทีดใี ห้แกค่ รอบครัว ชุมชน และประเทศชาติความจาเป็นของการประกอบอาชีพ
มี ดังนี้

1. เพ่อื ตนเอง การประกอบอาชพี ทาให้มรี ายได้มาจบั จา่ ยใช้สอยในชวี ิต
2. เพื่อ ครอบครัว ทาให้สมาชิกของครอบครัวได้รบั การเลย้ี งดทู าใหม้ ีคุณภาพชีวิตทดี ขี ้นึ
3. เพือ่ ชมุ ชน ถ้าสมาชกิ ในชมุ ชนมีอาชีพและมรี ายไดด้ ีจะส่งผลใหส้ มาชิกมคี วามเป็นอยู่ดขี ้ึนอยดู่ ีกินดี
สง่ ผลใหช้ ุมชนเข้มแขง็ ทางเศรษฐกจิ และพฒั นาตนเองได้
4. เพอ่ื ประเทศชาติ เพ่ือประชากรของประเทศมีการประกอบอาชีพทีดี มีรายได้ดี ทาให้มรี ายได้ทีเสีย
ภาษีให้กบั รฐั บาลมีรายได้ไปใช้บริหารประเทศต่อไป

46

ดงั นัน้ การวางแผนการประกอบอาชีพ จึงเป็นการกาหนดทิศทาง ขอบเขต วัตถุประสงค์เป้าหมายและ
วิธีการประกอบอาชพี โดยมีกระบวนการท่ีชดั เจนอยา่ งเป็นระบบ เพ่อื ให้บรรลุเป้าหมายและความต้องการด้าน
อาชีพของตนเอง การประกอบอาชีพมีหลายรูปแบบ หลายวิธีการ หลากหลายแนวทางท่ีจะทาให้ประสบ
ความสาเร็จในอาชพี นน้ั ๆการวางแผนการประกอบอาชพี ก็เหมือนกับ เสาไฟทใี หแ้ สงสว่างตามทอ้ งถนนทผี า่ น
ไปมาเพ่ือให้เกิดความปลอดภัยในการเดินทางตลอดเส้นทางน้ัน การวางแผนการประกอบอาชีพจึงเป็นเร่ืองท่ี
สาคัญยิ่งการจะประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพได้ ก็ข้ึนอยู่กับการวางแผนการประกอบอาชีพที
ถกู ตอ้ ง และการทจ่ี ะวางแผนการประกอบอาชพี ควรจะต้องศึกษา ดังนี้

1. การรจู้ ักตนเอง
2. การศึกษาการประกอบอาชพี
3. การตดั สนิ ใจ
การประกอบอาชพี สามารถแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คอื
1. การประกอบอาชีพอิสระ มีลักษณะเป็นเจ้าของกิจการ ดาเนินการบริหารจัดการด้วยตนเองในรูป
ของกลุ่มอาชีพ หา้ งหุ้นส่วน บรษิ ัท ฯลฯ การประกอบการหรือเจ้าของตอ้ งมคี วามตั้งใจ อดทนท่มุ เท ไมย่ ่อท้อ
ตอ่ อปุ สรรค เพ่อื ใหก้ ิจการดาเนินไปจนเกิดความมั่นคงประสบความสาเรจ็ การประกอบอาชีพอิสระยังสามารถ
แบง่ เปน็

1.1 อาชีพอิสระด้านการผลิต ผู้ประกอบอาชีพต้องมีกระบวนการ หรือข้ันตอนการผลติ หรือ
การแปรรูปสินค้าออกไปจาหน่ายในทอ้ งตลาด ในลักษณะขายส่งหรือขายปลกี เช่น การทาอาหาร การทาสวน
ผลไม้ การเลยี้ งปลา ฯลฯ

1.2 อาชพี อิสระด้านการให้บรกิ าร เป็นอาชีพที่นยิ มกันอย่างแพร่หลายตามสภาพแวดลอ้ มและวิถีชีวิต
ทาให้คนทมี ีเวลาว่างน้อยหันมาพงึ เทคโนโลยีประกอบกับการประกอบอาชีพงานการให้บรกิ ารมคี วามเสี่ยงนอ้ ย
การลงทุนตา่ การประกอบอาชีพดา้ นน้ปี ัจจุบนั จึงแพรห่ ลาย เช่น บริการทาการประกอบอาชีพรับจ้าง เปน็ การ
ประกอบอาชีพโดยไมไ่ ด้เป็นผู้ประกอบการ แต่ต้องทางานตามทเ่ี จา้ นายมอบหมาย ได้รบั คา่ ตอบแทนเป็นเงิน
อาหารทพ่ี ักอาศัย และส่ิงจาเป็นอ่ืน ๆ ปัจจบุ ันสังคมไทยสว่ นใหญน่ ิยมเป็นลูกจ้าง เนืองจากความรับผิดชอบมี
จากัดไม่เสยี งกับผลกาไรขาดทนุ ซงึ อาจทางานในสถานประกอบการขนาดใหญ่ หรือขนาดเล็ก หรือเป็นธุรกิจ
การผลติ หรอื การบริการ เชน่ โรงงานพนกั งานขาย พนักงานบริษทั พนักงานธนาคาร พนกั งานบญั ชี เป็นตน้

การประกอบอาชพี ของบุคคลทกุ คน ยอ่ มมุ่งหวังให้ตนเองประสบความสาเรจ็ ในอาชพี หน้าทกี ารงาน
ทัง้ นัน และแนวทาง วิธกี ารท่ีจะนาไปสู่ความสาเร็จ สามารถยึดเป็นหลักการ แนวทางในการประกอบอาชีพได้
ทกุ อาชีพ คอื หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

การประกอบอาชพี ตามแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ควรยึดหลกั ในการปฏิบตั ติ นดงั นี้
1. ยดึ ความประหยดั ตัดทอนค่าใชจ้ ่ายในทกุ ด้าน ลดละความฟุ่มเฟือยในการดารงชวี ิตอย่างจริงจงั ดัง

พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ว่า “ความเป็นอยู่ทีต้องไม่
ฟุ้งเฟอ้ ต้องประหยัดไปในทางทถี ูกต้อง” ปฏบิ ตั ไิ ด้ด้วยวธิ ีจดบันทึกหรอื ทาบัญชคี รัวเรอื น

2. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง สุจริต แม้จะตกอยู่ในภาวะขาดแคลนในการดารงชีพ
กต็ าม ดงั พระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี9) ทีว่า “ความเจริญ
ของคนทง้ั หลายย่อมเกดิ มาจากการประพฤติชอบและการหาเล้ียงชีพของตนเป็นหลักสาคญั ”

3. ละเลิกการแก่งแย่งประโยชน์ และแข่งขันกันในทางการค้าขายประกอบอาชีพแบบต่อสู้กันอย่าง
รุนแรงดังอดีต ซ่ึงมีพระราชดารสั เรื่องน้ีว่า “ความสุขความเจริญอนั แท้จริงน้ัน หมายถงึ ความสุขความเจรญิ ที่

47

บุคคลแสวงหามาได้ด้วยความเปน็ ธรรมทังในเจตนา และการกระทา ไมใ่ ช่ได้มาดว้ ยความบังเอิญ หรือดว้ ยการ
แกง่ แย่งเบยี ดบงั มาจากผ้อู น่ื ”

4. ใฝ่ หาความรู้ ไม่หยุดนิ่งท่ีจะหาทางในชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยากครั้งนี้โดยต้องขวนขวาย
ใฝ่หาความรูใ้ ห้เกิดมีรายได้เพ่ิมพูนขึ้นจนถึงข้ันพอเพียงเป็นเป้าหมายสาคญั พระราชดารัสตอนหน่ึงท่ีให้ความ
ชัดเจนว่า “การที่ต้องการให้ทกุ คนพยายามที่ จะหาความรู้ และสร้างตนเองให้ม่ันคงน้ีเพอ่ื ตนเอง เพื่อท่ีจะให้
ตัวเองมีความเป็นอยู่ทุกก้าวหน้าท่ีมีความสุข พอมีพอกินเป็นข้ันหน่ึง และข้ันต่อไปก็คือ ให้มีเกียรติว่ายืนได้
ดว้ ยตัวเอง”

5. ปฏิบัติตนในแนวทางทีดี ลดละสิ่งยั่วกิเลสให้หมดสิ้นไป ทั้งนี้ด้วยสังคมไทยที่ล่มสลายลงในครั้งน้ี
เพราะยงั มบี คุ คลจานวนมิใช่นอ้ ยท่ีดาเนนิ การโดยปราศจากละอายต่อแผน่ ดนิ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ได้
พระราชทานพระบรมราโชวาทว่า “พยายามไม่ก่อความชั่ว ให้เป็นเคร่ืองทาลายตัวทาลายผู้อ่ืน พยายามลด
พยายามละความชั่ว ทต่ี ัวเองมีอยู่ พยายามก่อความดีให้แก่ตัวอย่เู สมอ พยายามรักษา และเพิ่มพูนความดีที่มี
อยู่น้ันให้งอกงามสมบรู ณข์ ึ้น” ทรงย้าเน้นว่าคาสาคญั ท่ีสดุ คือ คาว่า “พอ” ต้องสร้างความพอที่สมเหตุสมผล
ใหก้ ับตัวเองใหไ้ ด้และเราก็จะพบกบั ความสขุ


Click to View FlipBook Version