รายงานวิจัยในชั้นเรียน
เร่อื ง การพฒั นาทักษะการอานอย่างมีวจิ ารณญาณ
โดยการจดั การเรียนรูดว้ ยเทคนคิ KWLH – PLUS
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี ๖
นางสาวสภุ าพร ธานา
ตำแหนง่ ครู
โรงเรียนนาสักวิทยา
สำนกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษาสุราษฎรธ์ านี ชุมพร
สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
การพัฒนาทกั ษะการอานอย่างมวี ิจารณญาณ โดยการจดั การเรียนรูดวยเทคนิค KWLH – PLUS
ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี ๖
-----------------------------------------------------------------------------------------------
ความสำคัญของปัญหา
การอ่านมีความสำคัญมากในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการอ่านป้ายโฆษณา ฉลากยา หนังสือพมิ พ์
แผนที่ พจนานุกรม ป้ายชื่อถนนหนทาง ล้วนแล้วแต่เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องอ่านในชีวิตประจำวัน แต่เนื่องจาก
ปัจจุบันมีข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ จำนวนมากและหลายรูปแบบ ข้อมูลเหล่านั้นมีทั้งส่วนที่เป็นประโยชน์และให้
โทษ จึงทำให้ผู้อ่านจำเป็นต้องมีวิธกี ารรับข้อมูลข่าววสารอย่างมีประสิทธภิ าพ ฉะน้ันทักษะการอ่านออกและ
อ่านไดจ้ ึงยังไม่เพยี งพอ นกั อ่านทีด่ ีจะต้องอา่ นให้เปน็ มวี จิ ารณญาณในการอ่าน
ข้อมูลรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) วิชาภาษาไทยของผู้เรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนนาสักวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๖๑-๒๕๖๓ พบว่ามาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้
กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพอ่ื นำไปใช้ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวติ และมีนิสัยรักการ
อ่าน เป็นมาตรฐานการเรียนรู้ที่สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติระบุไว้ว่า โรงเรียนควรเร่งพัฒนา
เน่ืองจากคะแนนเฉลี่ยของโรงเรียนต่ำกว่าคะแนนเฉล่ียระดับประเทศ
รายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) วชิ าภาษาไทย
ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖ โรงเรยี นนาสักวทิ ยา ปีการศึกษา ๒๕๖๒-๒๕๖๔
มาตรฐาน คะแนน ปกี ารศึกษา ระดบั โรงเรียน ระดบั ประเทศ
การเรียนรู้ เต็ม Mean S.D Mean S.D
มาตรฐาน ท ๑.๑ ๑๐๐ ๒๕๖๑ 35.00 11.87 57.48 21.32
มาตรฐาน ท ๑.๑ ๑๐๐ ๒๕๖๒ 34.50 11.06 43.65 17.61
มาตรฐาน ท ๑.๑ ๑๐๐ ๒๕๖๓ 38.53 16.43 48.10 19.62
ผู้เรียนระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนนาสักวทิ ยา ขาดทักษะการอานอย่างมีวิจารณญาณ ดงั น้ี
๑. อา่ นไมเขาใจ
๒. อ่านวิเคราะหไม่เปน
๓. อ่านสรุปความไมเปน
๔. อ่านประเมนิ คาไมได้
กระบวนการดำเนินงาน
การจัดการเรยี นรูด้วยเทคนิค KWLH –Plus
๑. เตรยี มความพรอมใหความรูพน้ื ฐานด้านการอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณ
๒. กิจกรรมฝกการอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณ
๒.๑ นำเข้าสบู่ ทเรียน
๒.๒ เสนอหัวขอเรอ่ื ง ใหนกั เรียนตอบในขนั้ K นักเรยี นรอู ะไรบางจากหวั เรอ่ื ง เขยี นคำตอบ
ลงในชอง K
๒.๓ ครถู ามคำถามนักเรียน อยากรูอะไรบางจากหวั เร่ือง ดงั กล่าว ข้ัน W เขียนคำตอบลงใน
ชอง W
๒.๔ นักเรียนอ่านรายละเอยี ดของเรอ่ื งและใหเขยี นตอบ ลงในชอง L ใหท่วั ถงึ ทกุ คนคอื ข้ัน
L นักเรยี นรอู ะไรบา้ ง
๒.๕ นกั เรียนหาความรูเพมิ่ เติม ขน้ั H โดยถามคำถามวา นกั เรยี นจะหาความรูเพมิ่ เตมิ ใน
เรื่องดังกล่าวไดจากทใี่ ดบ้างและอย่างไร นกั เรยี นช่วยกันตอบลงในชอง H
๒.๖ นกั เรยี นช่วยกนั สร้างแผนผังความคิดจากเรื่องทอ่ี ่าน
๒.๗ ครแู ละนกั เรียนช่วยกนั สรปุ เร่ืองท่ีอ่าน
๒.๘ นกั เรียนฝกเพ่ิมเตมิ การอ่านอย่างมีวิจารณญาณโดยใช ผัง KWLH และเขยี นแผนผงั
ความคิดและสรปุ
๓. วัดและประเมนิ ผลการคิดโดยใชแบบฝกหัดย่อยหรือใหสรปุ วธิ คี ดิ
บนั ทกึ ขอมูล KWLH - Plus
KW L H
(นักเรยี นรอู ะไรบาง) (นกั เรียนตองการรอู ะไรบาง) (นักเรียนไดเรยี นรูอะไร) (หาความรูเพมิ่ เติมไดอยางไร)
แผนผงั ความคดิ
เครอ่ื งมือทีใ่ ชว้ ัดผล
๑. เครอ่ื งมือที่ใชในการทดลอง
- แผนการจดั การเรยี นรูการอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณด้วยเทคนคิ KWLH - Plus
๒. เครือ่ งมือท่ใี ชในการเก็บรวบรวมขอมลู
- แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านอย่างมวี จิ ารณญาณ
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑ เรือ่ ง การอ่านอยา่ งมีวิจารณญาณ
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๓ ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ วจิ ารณญาณในการฟังและการอา่ น
รายวชิ า ภาษาไทย ๖ รหสั วชิ า ท๓๓๑๐๒
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ จำนวน ๑ คาบ
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้วี ัด
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้ตดั สนิ ใจ
แกป้ ญั หาในการดำเนนิ ชวี ิต และมีนสิ ยั รกั การอา่ น
ตัวชีว้ ัด
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๒ ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องทอี่ า่ น
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๓ วเิ คราะหแ์ ละวิจารณ์เรือ่ งทอ่ี ่านในทุก ๆ ด้านอย่างมีเหตผุ ล
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๔ คาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเร่ืองทีอ่ า่ นและประเมินค่าเพ่อื นำความรคู้ วามคิด
ไปใช้ตัดสนิ ใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวติ
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๘ สังเคราะห์ความรูจ้ ากการอา่ นส่อื สิง่ พมิ พ์ ส่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ และแหล่ง
เรยี นร้ตู ่าง ๆ มาพัฒนาตน พฒั นาการเรียน และพัฒนาความรู้ทางอาชพี
ท ๑.๑ ม. ๔-๖/๙ มมี ารยาทในการอา่ น
๒. จุดประสงค์การเรียนรู้
๒.๑ ดา้ นความรู้ (K)
- อธบิ ายความหมายของการอ่านอย่างมวี ิจารณญาณ
๒.๒ ดา้ นกระบวนการ (P)
- เขยี นแผนภาพความคิดประเภทของสารท่ีอ่าน
๒.๓ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
- ใฝ่เรียนรู้
๓. สาระสำคัญ
การอ่านเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในชีวิตประจำวัน และในขณะที่อ่านจะต้อง
คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ประเมินค่าเรื่องที่อ่านได้อย่างถูกต้องและ
มีเหตุผลประกอบ ด้วยการคิดใคร่ครวญอย่างมีเหตุผล และฝึกฝนการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ เพื่อจะได้
รับสื่อต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีเหตุผล และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ในชวี ติ ประจำวนั
๔. สาระการเรยี นรู้
๑. ความหมายของวจิ ารณญาณ
๒. การอา่ นอยา่ งมวี จิ ารณญาณ
๓. ประเภทของสารทอ่ี า่ น
๔. ข้นั ตอนการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
๕. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น
๑. ความสามารถในการส่อื สาร
๒. ความสามารถในการคดิ
๖. ช้นิ งาน/ภาระงาน
ใบงานเร่อื ง การอ่านอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
๗. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรียน
๑. ครูนำคำขวัญเนือ่ งในงานสัปดาห์หนังสอื ว่า “รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวิตคือหนังสอื ”
ให้นักเรียนอา่ นบนกระดาน และให้นกั เรียนทกุ คนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเหน็ วา่ การอา่ นหนังสอื มีผลดี
อยา่ งไร
๒. ครูพยายามให้นักเรียนสรุปได้ว่า คุณค่าของการเลือกอ่านหนังสือที่ดี จะช่วยเสริมสร้างความรู้
ความคิดแก่ผูอ้ ่าน และสามารถนำความร้นู ั้นไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในชีวติ ได้
ข้นั สอน
๓. ให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นว่า การอ่านที่ดีมีลักษณะอย่างไร และวิจารณญาณ
กับการอ่านมีความสมั พันธก์ นั อย่างไร โดยครูกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เหน็
๔. ครอู ธิบายความหมายของคำว่า วจิ ารณญาณ ใหน้ ักเรยี นฟัง (เพ่ิมเติมกรณที นี่ กั เรียนยังไม่สามารถ
อธบิ ายไดช้ ดั เจน) จากนั้นใหน้ กั เรียนศกึ ษาความร้เู รอ่ื ง วจิ ารณญาณในการฟังและการอา่ น
๕. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ตามความสมัครใจ ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านบทความที่ครู
นำมาแจกใหก้ ลุ่มละ ๓ เร่อื ง แล้วช่วยกนั วิเคราะห์วา่ สารที่อ่านน้นั เป็นสารท่ีมีเนอ้ื หาประเภทใด พรอ้ มทง้ั เขียน
เหตุผลวา่ เพราะเหตใุ ดจงึ เป็นสารประเภทนน้ั
๖. ให้นกั เรยี นจำแนกประเภทของสารที่อ่าน แล้วเขยี นเปน็ แผนภาพความคดิ
สารให้ความรู้
สารจรรโลงใจ ประเภทของสาร
สารโนม้ นา้ วใจ
๗. ครูอธิบายให้นกั เรยี นเข้าใจว่าปัจจุบนั นักเรียนบรโิ ภคข้อมลู ขา่ วสารจากแหลง่ ต่าง ๆ ที่หลากหลาย
ผู้รับสารจึงต้องรับสารอย่างระมัดระวัง คิดวิเคราะห์ก่อนที่จะรับข้อมูลข่าวสารน้ัน ๆ ซึ่งนักเรียนสามารถนำ
ความรเู้ รอ่ื ง ขนั้ ตอนการคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ มาปรบั ใช้ได้
๘. ครูสนทนากับนักเรียนเรื่องการรับสารทางอินเทอร์เน็ต ว่านักเรียนมีวิธีการรับสารนั้นอย่างมี
วิจารณญาณอย่างไรบ้าง
๙. ครมู อบหมายให้นักเรียนอ่านบทความในอินเทอร์เน็ต แล้วคดั เลอื กบทความโดยวิเคราะห์ประเภท
ของสาร คือ สารให้ความรู้ สารโน้มน้าวใจ และสารจรรโลงใจ อย่างละ ๑ บทความ แล้วส่งมาให้ครูทาง
ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-mail) โดยอา้ งอิงแหล่งขอ้ มูลนน้ั ดว้ ย พรอ้ มเขียนให้เหตผุ ลดว้ ยว่า เหตุใดบทความ
ทส่ี ่งมานัน้ มเี นอื้ หาประเภทนน้ั ๆ อยา่ งไร (เปน็ การตรวจสอบความเขา้ ใจผ้เู รียน)
*** ครคู วรมหี รือสร้าง e-mail ส่วนตวั เพ่อื ให้นักเรียนส่งงานได้
๑๐. ให้นกั เรียนทำใบงานที่ ๑๗ เร่อื ง การอา่ นอย่างมีวจิ ารณญาณ แลว้ ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
ขัน้ สรุป
๑๑. ใหน้ กั เรยี นและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้
๘. สือ่ การเรยี นรู้
๑. คำขวญั
๒. บทความ
๓. ใบงาน
๙. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้
รายการประเมนิ วิธีการวดั ผล เคร่ืองมอื เกณฑก์ ารวัด
ดา้ นความรู้ (K)
- อธิบายความหมายของ - ตรวจใบงาน - แบบการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ผ่าน
การอา่ นอยา่ งมี การอา่ นอยา่ งมี เกณฑ์
วิจารณญาณ วิจารณญาณ
รายการประเมิน วธิ ีการวดั ผล เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารวัด
ระดับคณุ ภาพ ๒ ผา่ น
ด้านกระบวนการ (P) เกณฑ์
- เขยี นแผนภาพ -สังเกตพฤติกรรมการ - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดบั คุณภาพ ๒ ผ่าน
เกณฑ์
ความคิดประเภทของ เข้ารว่ มกจิ กรรม การเข้าร่วมกิจกรรม
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่าน
สารที่อ่าน เกณฑ์
ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A)
- คณุ ลักษณะอันพึง - สังเกตความใฝ่เรยี นรู้ - แบบประเมิน
ประสงค์ คณุ ลกั ษณะอนั พึง
ประสงค์
สมรรถนะที่สำคัญ
- สมรรถนะที่สำคญั - สงั เกตความสามารถใน - แบบประเมนิ
การสือ่ สารและ สมรรถนะทสี่ ำคัญ
ความสามารถในการคดิ
เกณฑ์การประเมนิ เรอ่ื ง การอา่ นอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
เกณฑก์ ารประเมิน ดเี ยีย่ ม (๓) ดี (๒) ผ่าน (๑) ไม่ผ่าน (๐)
การอ่านอยา่ งมี วิเคราะห์สารได้ วเิ คราะห์สารได้ วิเคราะห์สารได้ วิเคราะหส์ ารได้
วิจารณญาณ ถูกตอ้ งเกอื บทุกข้อ
ถูกตอ้ งทุกข้อ ถกู ต้องทกุ ข้อ ถูกต้องทุกขอ้ แต่ไม่สามารถอธบิ าย
เหตผุ ลที่
มคี วามรวดเร็ว บางข้ออาจใช้เวลาใน แตต่ อ้ งใช้เวลา หนกั แนน่ และอาจ
ตอ้ งมผี แู้ นะนำ
และแมน่ ยำ สามารถ การพิจารณาบา้ งแต่ พอสมควรและ
อธิบายเหตุผลได้ กส็ ามารถอธิบายเหตุ สามารถอธิบาย
ผลได้ เหตผุ ลได้
เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ดเี ยยี่ ม = ๓ คะแนน
ดี = ๒ คะแนน
ผา่ น = ๑ คะแนน
ไมผ่ ่าน = ๐ คะแนน
แบบการประเมินเรื่อง การวเิ คราะหเ์ ร่อื งและประเมินเรื่องท่ีฟงั และดู
คำชี้แจง : ใหพ้ ิจารณาพฤตกิ รรมตอ่ ไปน้ี แล้วให้ระดับคะแนนที่ตรงกบั การปฏิบัตขิ องนักเรียนตามความเปน็
จริง
เลขที่ ชือ่ -สกุล การวิเคราะห์เรอ่ื ง คะแนน การแปลผล
และประเมินเรอื่ งทฟี่ งั และดู
ดีเยยี่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ า่ น
(๓) (๒) (๑) (๐)
ลงช่ือ ............................................... ผู้ประเมิน
(นางสาวสภุ าพร ธานา)
............ / ............ / ...........
เกณฑ์การประเมนิ ผลคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
ใฝ่เรยี นรู้
ตวั ช้ีวัดท่ี ๔.๑ ตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา้ รว่ มกจิ กรรมการเรียนรู้
พฤตกิ รรมบง่ ชี้ ดเี ยยี่ ม (๓) ดี (๒) ผา่ น (๑) ไมผ่ ่าน (๐)
๔.๑.๑ ต้ังใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา เขา้ เรียนตรงเวลา เข้าเรียนตรงเวลา ไม่ตั้งใจเรียน
๔.๑.๒ เอาใจใส่และ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ต้งั ใจเรยี น เอาใจใส่ ตง้ั ใจเรยี น เอาใจใส่
มคี วามเพียร และมคี วามเพยี ร- และมคี วามเพยี ร- และมคี วามเพยี ร-
พยายามใน พยายามในการเรยี นรู้ พยายามในการเรยี นรู้ พยายามในการเรียนรู้
การเรียนรู้ มีสว่ นรว่ มในการเรยี นรู้ มสี ่วนร่วมในการเรียนรู้ มสี ่วนร่วมในการเรียนรู้
๔.๑.๓ สนใจเข้ารว่ ม และเขา้ รว่ มกิจกรรมการ และเข้ารว่ มกจิ กรรมการ และเข้ารว่ มกิจกรรมการ
กิจกรรมการเรียนรู้ เรียนรตู้ ่าง ๆ เรียนร้ตู า่ ง ๆ เรียนรตู้ ่าง ๆ บางครั้ง
ตา่ ง ๆ ทั้งภายในและภายนอก ทงั้ ภายในและภายนอก
โรงเรยี นเป็นประจำ โรงเรียนบ่อยครั้ง
และเปน็ แบบอย่างทด่ี ี
ตวั ชีว้ ดั ท่ี ๔.๒ แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ท้ังภายในและภายนอกโรงเรยี น
ด้วยการเลือกใช้สือ่ อยา่ งเหมาะสม บันทกึ ความรู้ วเิ คราะห์ สรปุ เปน็
องค์ความรู้ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
พฤติกรรมบ่งช้ี ดีเยี่ยม (๓) ดี (๒) ผา่ น (๑) ไมผ่ ่าน (๐)
๔.๒.๑ ศึกษาคน้ ควา้ หา ศกึ ษาคน้ ควา้ ศกึ ษาคน้ ควา้ ศึกษาคน้ คว้า ไมศ่ กึ ษาคน้ ควา้
ความรู้จากหนงั สือ หาความร้จู ากหนังสือ หาความรจู้ ากหนงั สือ หาความรูจ้ ากหนังสอื หาความรู้
เอกสาร ส่ิงพิมพ์ เอกสาร ส่ิงพมิ พ์ เอกสาร สิ่งพมิ พ์ เอกสาร สงิ่ พมิ พ์
สอื่ เทคโนโลยีต่าง ๆ สือ่ เทคโนโลยี สื่อเทคโนโลยี ส่ือเทคโนโลยี
แหล่งเรียนรูท้ ั้ง และสารสนเทศ และสารสนเทศ แหลง่ เรียนรู้ทงั้ ภายใน
ภายในและภายนอก แหล่งเรยี นร้ทู งั้ ภายใน แหล่งเรียนรู้ทงั้ ภายใน และภายนอกโรงเรยี น
โรงเรียน และเลือก และภายนอกโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน เลอื กใช้ส่ือไดอ้ ย่าง
ใชส้ อ่ื ได้อยา่ ง เลอื กใช้สื่อไดอ้ ย่าง เลอื กใช้ส่ือได้อยา่ ง เหมาะสม มีการบนั ทกึ
เหมาะสม เหมาะสม มีการบนั ทึก เหมาะสม มกี ารบันทกึ ความรู้
๔.๒.๒ บันทึกความรู้ ความร้วู เิ คราะห์ขอ้ มลู ความรวู้ เิ คราะห์ข้อมูล
วเิ คราะห์ตรวจสอบ สรุปเป็นองค์ความรู้ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้
จากส่ิงทเี่ รียนรู้ แลกเปล่ียนเรียนรดู้ ้วย แลกเปลย่ี นเรยี นรู้
สรุปเป็นองค์ความรู้ วธิ ีการทห่ี ลากหลายและ กับผ้อู ืน่ ได้ และนำไปใช้
๔.๒.๓ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เผยแพร่แกบ่ ุคคล ในชวี ิตประจำวันได้
ด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ ทั่วไป นำไปใช้
เพ่ือนำไปใชใ้ น ในชีวิตประจำวนั ได้
ชวี ติ ประจำวนั
แบบมาตรประเมนิ คา่ เพอื่ ประเมินผลคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
คำชแี้ จง : ให้พิจารณาพฤตกิ รรมต่อไปนี้ แล้วให้ระดับคะแนนท่ีตรงกบั การปฏิบตั ขิ องนกั เรียนตามความเป็น
จรงิ
เลข ชอ่ื -สกลุ ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๔.๑ ตวั ชว้ี ดั ที่ ๔.๒ คะแนน การ
ที่ แปลผล
ดี ดี ผา่ น ไม่ ดี ดี ผา่ น ไม่
เยย่ี ม (๒) (๑) ผ่าน เยย่ี ม (๒) (๑) ผ่าน
(๓) (๐) (๓) (๐)
ลงช่อื ............................................... ผ้ปู ระเมิน
(นางสาวสุภาพร ธานา)
............ / ............ / ...........
เกณฑ์การประเมินสมรรถนะทสี่ ำคัญ
ตวั ชวี้ ัด เกณฑ์การใหค้ ะแนน
ดีเยย่ี ม (๓) ดี (๒) ผา่ น (๑) ไม่ผ่าน (๐)
๑. ความสามารถในการสอื่ สาร
๑.๑ พดู ถ่ายทอด พดู ถ่ายทอดความรู้ พูดถา่ ยทอดความรู้ พูดถา่ ยทอดความรู้ พดู ถา่ ยทอดความรู้
ความรู้ความเข้าใจ ความ เข้าใจจาก ความเขา้ ใจ จาก ความ เข้าใจจาก ความเขา้ ใจจาก
จากสารทอ่ี ่าน ฟัง สารทีอ่ ่าน ฟัง หรอื สารท่อี ่าน ฟัง หรอื สารท่อี ่าน ฟงั หรือ สารที่อา่ น ฟัง หรือ
หรือดู ด้วยภาษา ดดู ้วยภาษาของ ดู ดว้ ยภาษาของ ดู ด้วยภาษาของ ดตู ามแบบ
ของตนเอง พร้อม ตนเอง พรอ้ มยก ตนเอง พรอ้ มยก ตนเอง
ยกตัวอย่าง ตัวอยา่ งประกอบ ตวั อย่างประกอบ
ประกอบได้ สอดคลอ้ งกบั แตไ่ มส่ อดคล้องกบั
เร่อื งท่ถี ่ายทอด เรอ่ื งทีถ่ ่ายทอด
๑.๒ เขยี นถา่ ยทอด เขยี นถา่ ยทอด เขียนถา่ ยทอด เขยี นถา่ ยทอด เขยี นถา่ ยทอด
ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความรู้ ความเขา้ ใจ
จำกสารที่ อา่ น ฟงั จำกสารท่อี ่าน ฟงั จำกสารทอี่ ่านฟัง จำกสารที่อ่านฟงั จำกสารท่ีอ่านฟงั
หรอื ดตู ามท่ี หรอื ดู ตามท่ี หรือดูตามท่ี หรอื ดตู ามท่ี หรอื ดตู ามที่
กำหนดได้ กำหนดได้อย่าง กำหนดได้อย่าง กำหนดไดอ้ ย่าง กำหนดไมไ่ ด้
ถูกตอ้ ง ครบถว้ น มี ถูกตอ้ งครบถ้วน มี ถกู ตอ้ งครบถว้ น มี
ข้อบกพร่องในการ ข้อบกพรอ่ งในการ ขอ้ บกพร่องในการ
ใช้ภาษา วรรคตอน ใชภ้ าษา วรรคตอน ใชภ้ าษา วรรคตอน
และการเขยี นคำ และการเขียนคำ และการเขยี นคำ
ไม่เกิน ๒ แห่ง ตงั้ แต่ ๓ แหง่ แต่ ตงั้ แต่ ๖ แห่งข้ึนไป
ไมเ่ กิน ๕ แห่ง
๒. ความสามารถในการคิด
๒.๑ ระบหุ ลกั การ ระบหุ ลักการสำคญั ระบุหลกั การสำคัญ ระบุหลกั การหรอื ระบหุ ลกั การสำคัญ
สำคัญหรือ แนวคิด หรือแนวคดิ ใน หรอื แนวคดิ ใน แนวคิดทีม่ ี อยู่ใน หรือ แนวคดิ ใน
ในเนื้อหาความรู้ เนื้อหาความรู้หรอื เนอ้ื หาความรูห้ รือ เน้ือหาความรู้หรือ เนื้อหาความรู้ หรอื
ข้อมลู ทพี่ บเห็นใน ขอ้ มลู ต่าง ๆ ที่พบ ข้อมลู ต่าง ๆ ทพ่ี บ ขอ้ มลู ต่าง ๆ ทพ่ี บ ข้อมลู ตา่ ง ๆ ที่
บรบิ ทต่าง ๆ เห็นในบริบทตา่ ง ๆ เหน็ ในบริบทต่าง ๆ เห็นในบริบทตา่ ง ๆ พบเห็นในบริบท
ได้อยา่ งถกู ตอ้ งและ ได้ถูกตอ้ งแต่ ได้ถกู ต้องเป็น ต่าง ๆ ไมถ่ ูกต้อง
ครบถ้วน ไมค่ รบถว้ น บางสว่ นและไม่
ครบถว้ น
แบบมาตรประมาณคา่ เพอ่ื ประเมนิ สมรรถนะทีส่ ำคญั
คำชีแ้ จง : ใหพ้ จิ ารณาพฤตกิ รรมตอ่ ไปนี้ แลว้ ใหร้ ะดบั คะแนนทต่ี รงกับการปฏบิ ตั ขิ องนกั เรยี นตามความเป็น
จรงิ
เลขท่ี ช่อื -สกุล รายการประเมิน คะแนน การ
การพูด การเขยี น การคดิ เฉล่ีย แปลผล
ลงช่ือ ............................................... ผู้ประเมนิ
(นางสาวสภุ าพร ธานา)
............ / ............ / ...........
แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มกิจกรรม
ที่ ชื่อ – สกุล ความรว่ มมอื การแสดง การรบั ฟงั การตง้ั ใจ การสอ่ื สาร รวม
ความ ความคิดเห็น ทำงาน ถา่ ยทอด ๒๐
คดิ เหน็ ความรู้ คะแนน
๔๓๒๑๔๓ ๒๑๔๓๒๑ ๔๓๒๑๔๓๒๑
ลงชือ่ ............................................... ผู้ประเมิน
............ / ............ / ...........
เกณฑ์การให้คะแนน
ดมี าก = ๔
ดี = ๓
ปานกลาง = ๒
ปรับปรุง = ๑
เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๕ - ๒๐ ดี
๗ - ๑๔ พอใช้
๑ - ๖ ปรับปรุง
ใบงานเร่ืองการอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณ
ช่ือ...................................................................................................................เลขท่ี.....................ชั้น...................
คำสง่ั ใหน้ กั เรียนอ่านขอ้ ความท่กี ำหนดแล้วพจิ ารณาว่าเป็นสารประเภทใด
ก. สารประเภทให้ความรู้
ข. สารประเภทโนม้ น้าวใจ
ค. สารประเภทจรรโลงใจ
๑. ในทางสงั คมประวตั ศิ าสตร์ อาจกลา่ วไดว้ ่าราชาศัพท์ที่ใช้สำหรบั พระเจา้ แผ่นดนิ และ
พระราชวงศ์มีวิวฒั นาการมาแตโ่ บราณ ท้งั น้เี พราะประเทศไทยมีพระเจา้ แผน่ ดินเปน็ พระประมุขของชาตมิ า
หลายรอ้ ยปีแลว้ ต้ังแตก่ รุงสุโขทัย กรงุ ศรอี ยุธยา กรงุ ธนบรุ ี และกรงุ รัตนโกสินทร์ในปจั จบุ ัน
๒. คนเรามีหนา้ ท่ีท่ีจะตอ้ งทำงานเกอื บตลอดชวี ติ และคนเกยี จคร้าน ไม่ยอมทำงานเลย
หรือทำงานดว้ ยความมกั ง่าย หรอื พยายามหลบเล่ียงการทำงานเขาจะประสบความสุขหรอื ความสำเรจ็ ในชีวติ
ได้นอ้ ยมาก ถ้าเขามีเงนิ มากมายกต็ าม แตห่ ากชวี ิตทป่ี ล่อยให้เวลาลว่ งไปโดยไมท่ ำงาน เขาย่อมเป็นคนรกโลก
๓. ดารากร องคต์ ้นราชสกุลคอื พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหมื่นศรีสุเทพ มีพระนามเดิมวา่
“พระองค์เจา้ ชายดารากร” ทรงเป็นพระโอรสลำดบั ที่ ๓๔ และที่ ๒ ในเจา้ จอมมารดาเพ็งใหญ่ ได้ทรงกำกับ
กรมช่างสิบหมู่ สนิ้ พระชนม์เม่อื ชันษา ๕๗ ปี ในรัชกาลท่ี ๓
๔. ความดนี ัน้ หากคิดจะทำ ขอใหเ้ รมิ่ ทำเสียแตต่ อนน้ี อยา่ หมายใจวา่ ฉันจะทำใน
คร้ังหน้า เพราะหากไม่ไดท้ ำในตอนน้ี ตอนหน้าก็ยอ่ มเหมอื นกันคือเป็นไปใน
ทำนองผัดวนั ประกันพรุ่ง ทไี่ ดแ้ คค่ ดิ แต่ไมเ่ คยลงมอื ทำจริง ๆ ไดส้ กั ที
๕. คุณสมบตั ขิ องคนดมี ีเป็นอันมาก แตค่ วามกตัญญูกตเวทเี ป็นเหตุสำคัญท่สี ดุ ทจ่ี ะทำให้
คุณสมบัติของคนดตี ิดตามมา ผูม้ กี ตัญญกู ตเวทีย่อมหลกี เลี่ยงการทำส่งิ ทจี่ ะก่อความเสือ่ มเสีย
บันทกึ หลงั การสอน
๑. ผลการจัดการเรยี นการสอน
๑.๑ การประเมินดา้ นความรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๑.๒ การประเมนิ ด้านทักษะกระบวนการ
.............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................
๑.๓ การประเมินดา้ นคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................
๒. ปัญหาและอุปสรรค
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
๓. แนวทางแกไ้ ข
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
ลงชื่อ......................................................
(นางสาวสุภาพร ธานา)
ครูผสู้ อนและบนั ทึก
ความคิดเหน็ ของผูอ้ ำนวยการโรงเรียน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ...................................................
(นายศุภชัย ตักชะเลง)
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นนาสักวิทยา
แบบทดสอบวัดทักษะการอานอยางมวี ิจารณญาณกอนเรยี นและหลงั เรียน
คาํ ชแ้ี จง
1. แบบทดสอบฉบับนีจ้ ัดทำข้นึ โดยมวี ัตถุประสงคเพ่ือทดสอบทกั ษะการอานอย่างมีวิจารณญาณ
ของนักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี ๖
2. ขอสอบมีทัง้ หมด 30 ขอ แบบปรนยั 4 ตัวเลือก ขอละ 1 คะแนน โดยใหนกั เรียน ทำ
เครื่องหมาย X ลงในชองกระดาษคําตอบ ขอ ก ข ค หรอื ง ท่ีเปนคำตอบทถี่ กู ตองที่สดุ
ใหนกั เรียนอานนทิ านตอไปนแี้ ลวตอบคาํ ถาม ขอ 1-3
ณ หมูบานแหงหนง่ึ ชายหัวลาน 2 คนเปนเพ่ือนกัน ทั้งสองปรึกษาถงึ วธิ ีท่จี ะทาํ ใหมผี มดกดําเตม็ หวั
แตไมวาจะคดิ เทาไหรก็คดิ ไมออกสักที จนไดขาวมาวามพี ระอาจารยรปู หนึ่งทีว่ ดั สระแกว ลพบรุ ี ท่านมีวธิ ีทาํ
ใหผมดกดําขึน้ ได ท้ังสองจึงชวนกนั ไปท่ีวัดน้ัน เมอ่ื ไปถงึ วดั ก็พากันไปกราบนมัสการพระอาจารยและขอใหท
านชวย พระอาจารยจงึ ตอบไปวา “วธิ ที ําใหผมข้ึนดกดาํ น้นั ไมยากหรอก แตหามขัดคําครนู ะ มเิ ชนน้นั จะไม
ไดผล”ทงั้ สองกร็ ับปากเปนอยางดีวาจะทาํ ตามทพ่ี ระอาจารยบอก จากน้นั พระอาจารยก็ทองวา “สีสะพุทธา
ปานะ ชายะเต”
ทานทอง 3 ครง้ั แลวให ท้งั สองวาตาม จนจาํ ไดแมนยาํ จากนั้นกบ็ อกวา “เจาท้ังสองจงดาํ น้ำไปในสระนี้ 3
หน แลวทองคาถา ในน้ำครงั้ ละ 1 จบ” ทง้ั สองรบี ทาํ ตามท่ีพระอาจารยบอกอยางรวดเร็ว
ครง้ั ที่ 1 ทัง้ สองดาํ ลงไปทองคาถา 1จบ เม่ือโผลขึ้นมากพ็ บวาตนมีผมขึ้นมาเทาลกู มะอกึ
ครงั้ ท่ี 2 ทงั้ สองดาํ ลงไปทองคาถา 1จบ เม่ือขน้ึ มากพ็ บวาผมตนยาวขนึ้ เทาพระสึกใหม
ครงั้ ที่ 3 ทั้งสองดาํ ลงไปทองคาถา 1จบ เมื่อขึ้นมากพ็ บวาผมตนยาวขึ้นเทาดอกกระทุม
ท้ังสองดใี จมากท่ีผมของตนข้นึ แลว จงึ ปรกึ ษากนั วา “ขนาดเราดาํ น้ำแค 3 คร้งั ผมยงั ยาวไดขนาดน้ี ถ
าเราทําสัก 4-5 คร้งั ผมจะยาวแคไหนนะ” พูดจบก็พรอมใจกนั ดําน้ำเปนหนที่ 4 พอทองคาถาจบโผลข้ึนมา
ลองเอามือลูบหัวดกู ลบั พบวา ผมของตนนน้ั หายไปหมด และหวั กก็ ลบั มาลานเหมอื นเดมิ ทัง้ สองจึงรีบไปหา
พระอาจารย
พระอาจารยถามวา “พวกเองดําน้ำไปคนละกคี่ รงั้ ละ”
ทัง้ สองกต็ อบวา “4 ครั้ง ครบั ”
เมอื่ พระอาจารยไดยนิ ดงั นนั้ กเ็ อาตะบันหมากเคาะหัวท้งั สองทันที พรอมกับพูดข้ึนวา “เพราะเจา 2
คน เปนคนหวั ลานนอกครู พวกเจาถงึ ไดหวั ลานอยูอยางน้ีไงละ
1. “วธิ ีทําใหผมข้ึนดกดํานน้ั ไมยากหรอก แตหามขัดคําครูนะ มิเชนน้ันจะไมไดผล” คําพดู นีต้ องการบอกเรอื่ ง
ใด
ก. ใหปฏบิ ตั ิตามคําส่ัง ข. การประพฤตติ ามกฎ
ค. ใหปฏิบัติตามขั้นตอน ง. การใหผมขึน้ ดกดําเปนเรอื่ งง่าย
2. ผูเขยี นมีจุดมุงหมายอยางไรในการเขยี น
ก. เพ่ือใหขอคิดแกผูอาน ข. เพอื่ ใหเกิดความสนุกสนาน
ค. เพื่อเสียดสีคนทีไ่ มรกั ษาคําพดู ง. เพ่อื เตอื นใหพอใจในสงิ่ ท่ีตนมี
3. จากพฤติกรรมของชายหวั ลาน 2 คน นกั เรียนจะนําไปปรับใชในชีวติ ประจาํ วนั ไดอยางไร
ก. นายแดงขับรถยนตตามกฎจราจร ข. นายขาวไปทาํ บุญท่วี ัดทุกวนั พระ
ค. เดก็ ชายเขียวสงงานตามทคี่ รูสั่งตรงเวลา ง. นางดําไปทาํ งานแตเชาและกลับตอนเย็นทกุ วัน
ใหนักเรยี นอานนทิ านตอไปนแี้ ลวตอบคําถาม ขอ 4-6
นทิ านเรอ่ื ง คาของคน ยายคนหนึ่งชื่อ “ยายทอง” หลงั จากท่สี ามขี องแกเสียชีวติ ลกู หลานก็พากัน
แยกยายไป ทาํ มาหากนิ ทอี่ ื่น จากนนั้ ยายทองก็หากนิ อยูตัวคนเดยี วตลอดมา เก็บเลก็ ผสมนอย ใชจายอยาง
ประหยัด จนมีเงนิ ทองเกบ็ อยูพอสมควร วนั หน่ึงแกไปซอ้ื ไหมาหนึง่ ใบไวสาํ หรับใสเงิน เวลาไปไหน แกก็จะ
เอาตดิ ตัวไปดวยตลอด และไมเคยเปดใหใครดูเลยวาขางในมีอะไรอยู
เมื่อยายทองอายุมากขึ้น ทํางานไมคอยไหว ลูกหลานก็พากันคิดวายายจะตองมีทรัพย สมบัติ
มากมาย จึงพากันมารับยายไปอยูดวย ยายทองรูวาพวกลูกหลานคิดอยางไร แตแกก็ทําเฉย ทั้งยังชวย
ลูกหลานทาํ งาน เพราะไมอยากใหลูกหลานวาเอาไดวามาเกาะพวกเขากิน
วันหน่ึง ยายทองไปดายหญาทําสวนอยูคนเดยี วทามกลางแดดรอนจัด จนยายรูสึกเวียนหวั และลมฟา
ดลงไปกับพืน้ แบบไมรตู วั ยายทองหมดสตอิ ยูทามกลางแดดเปนเวลานานกวาจะมีลูกหลานมาพบและชวย
กันอมุ ยายเขาบาน เมอื่ ยายฟนข้นึ มาก็ปรากฏวาแกเปนอัมพาต แตก็พอจะพดู และเคล่อื นไหวไดบาง
ลูกหลานพาแกไปรักษาตวั อยูนานก็ไมหายสกั ที ยายใชเงินทเี่ กบ็ สะสมเอาไวไป กับคารกั ษาพยาบาลจนหมด
เมอ่ื ลูกหลานรู
วายายไมมีเงินเหลือแลวก็พากันตีตัวออกหางไป
เพอื่ นบานแถวนัน้ เห็นยายทองกอ็ ดสงสารไมไดจงึ ผลัดเปลยี่ นกันมาดูแลยาย แตทุกคนกล็ วนมีหน
าทก่ี ารงานของตน จะอยูดูแลนาน ๆ กไ็ มไดยายจึงตองชวยตวั เองซะเปนสวนมาก ครนั้ จะ ลุกไปถายอุจจาระ
กล็ กุ ไมได แกจงึ นาํ ไหที่แตกอนเอาไวใสเงนิ ทอง มาใสอจุ จาระแทน ยายถาย อุจจาระใสลงในไหทุก ๆ วนั
เสรจ็ แลวกป็ ดฝาไว เมือ่ ชาวบานมาเยย่ี ม แกกค็ ุยโออวดกบั ชาวบานวา ความจริงแลว เงินของแกยงั พอมี
เหลืออยบู าง แกเก็บเอาไวใชตอนท่ไี มมจี ริง ๆ พรอมทง้ั บอกพวก ชาวบานวา ถาไมเชื่อกล็ องโยกไหดูสิ พวก
ชาวบานตางกล็ องเอามือโยกไหดเู ลยเชื่อวามีเงนิ อยูในน้ัน พอกลบั บานไปกไ็ ปเลาตอๆ กนั วา “ยายทองแกมี
เงินเหลือเยอะแยะแกเกบ็ ใสไหไวหนกั อ้งึ เลย ทเี ดียว”
เรอ่ื งนีถ้ ูกเลาตอ ๆ กันจนถงึ หขู องลูกหลานยายทอง ดวยความโลภอยากไดเงินทอง บรรดาลกู หลาน
จึงพากันกลับมาดูแลยายทองอีก ตางคนตางก็เอาใจยายตาง ๆ นานา เพราะหวังจะได เงินทองที่อยูในไห
ของยาย ตอมาไมนานยายทองตายบรรดาลกู หลานกช็ วยกันจัดงานศพใหยายอยาง งดงาม เมอ่ื เสร็จส้ินจาก
งานศพลูกหลานทุกคนจึงตกลงกันวาจะเปดไหออกเพื่อนําเอาเงินทองมาแบง กัน แตทุกคนก็ตองตะลึง
เพราะเมื่อเปดฝาไหออกมา อุจจาระในไหก็สงกลิ่นเหม็นไปทั่ว จนทุกคนในที่ นั้นตางพากันถอยหนี
ลูกหลานจึงรูตัววาพวกเขาเสยี รูยายทองแลว
4. ขอใดกลาวไดถูกตองตามขอคิดของนทิ านเรอื่ งคาของคน
ก. ยายทองไมตองการใหลูกหลานอยูใกล ๆ เพราะกลัววาสมบัตจิ ะตกเปนของลูกหลาน
ข. ยายตองการทราบวาลูกหลานคนไหนจะรกั จริงจงึ แกลงไมสบาย
ค. ยายทองเปนคนมีเมตตาและความหวงใยตอลูกหลาน
ง. ยายไมอยากใหลกู หลานมาเอาเปรียบตวั เอง
5. การกระทาํ ของหลาน ๆ ยายทอง ตรงกับ สาํ นวนสภุ าษิตใด
ก. ปดทองหลงั พระ ข. หนาซ่อื ใจคด
ค. โลภมากลาภหาย ง. ทาํ ผลหวังผลตอบแทน
6. จากเรอื่ งเพราะเหตใุ ดยายทองจึงไมบอกความจริงกบั ลกู หลาน
ก. ยายทองกลัววาลกู หลานไมรกั ข. ยายทองคิดวาลูกหลานจะวาตวั เองจน
ค. ยายทองตองการดวู าใครจะรกั จรงิ บาง ง. ยายทองตองการพิสูจนนํ้าใจเพื่อนบาน
ใหนักเรยี นอานขอความโฆษณา ตอไปน้ี แลวตอบคําถาม ขอ 7
ทรมู ฟู เอช ภาพยนตรโฆษณาตวั ใหม “ที่ 1”
เรมิ่ เรอ่ื งดวยการเลา
- ความเปนที่ 1 ของพนกั งานขับรถ คอื การพาผูโดยสารใหถึงจุดหมายอยางปลอดภยั
- ที่ 1 ของชาวประมง คือการเปนหัวเรอื ใหญของครอบครวั
- ที่ 1 ของลูกนอง คือการไดมีสวนชวยในความสาํ เร็จของทีม
- ท่ี 1 ของเจานาย คอื การชวยตอยอดความสําเรจ็ ของทีมใหไกลออกไปอีก
- ท่ี 1 ของผูหญงิ วยั รุน คอื ไดสรางแรงบนั ดาลใจใหคนอนื่
- ท่ี 1 ของคณุ ยาย คือไดใกลชิดกบั หลานมากข้นึ และ
- ที่ 1 ของผูชายคนหน่ึง คือหางานได เพ่ือทาํ ใหแมภูมิใจ
- แตสาํ หรับทรมู ฟู เอช ท่ี 1 ของเรา คือไมหยุดอยแู คการมุงม่ันเพือ่ เปนเครอื ขาย 3G ที่ดี
ท่ีสดุ แตตองเปนที่ 1 ดวยคลนื่ ความถี่ท่ีมมี ากกวาทง้ั 850 MHz และ 2100 MHz ทํางานผสานกัน
เครอื ขาย 3G ของเราจึงทะลุทะลวงไดดกี วา และครอบคลมุ ท่ัวไทยไดกวางกวา เพ่ือใหทกุ คนเปนที่ 1 ไดใน
แบบของตัวเอง
7. จากโฆษณา คาํ วา ท่ี 1 หมายความวาอยางไร
ก. การพัฒนาระบบเครือขายโทรศัพทของ ทรมู ฟู เอช
ข. การกาวเปนท่ี 1 ในดานเทคโนโลยขี อง ทรูมฟู เอช
ค. ผูท่เี ปนหวั หนางานในตาํ แหนงตาง ๆ
ง. เปนบคุ คลทอี่ ยูในใจเธอคนเดียว
ใหนักเรียนอานโฆษณาตอไปนี้ แลวตอบคําถาม ขอ 8-9
นมเปร้ยี วแอคทเี วีย
นมเปรยี้ วแอคทเี วีย เปดตัวรสชาติใหมลาสุด กล่นิ เมลอนญป่ี ุน กล่ินหอม อรอย สดชื่น ดื่มงาย แต
ไขมัน 0% พรอมมีแอคทิเรกลารสิ ชวยระบบขับถาย ลดความรูสึก อึดอัดแนนทอง นมเปรี้ยวแอคทีเวีย
กลิ่นเมลอนญี่ปุน ลิมิเต็ด เอะดิชั่น นี้ วางจําหนายที่เทสโก โลตัส เทานั้น ในราคา เพียง 18 บาท สําหรับ
ขนาด 220 มล.
Newswit.com
8. ควรสรุปขอความขางตนนี้ตามขอ้ ใด
ก. นมเปรย้ี วแอคทเี วยี เสนอขายนมนองใหม ราคา18 บาท
ข. นมเปรีย้ วแอคทเี วยี เปนนมท่ดี ่มื งาย ไมมไี ขมัน ราคา18 บาท
ค. นมเปร้ยี วแอคทีเวีย กลน่ิ เมลอนญี่ปุน ไมมไี ขมนั ราคา18 บาท
ง. นมเปรีย้ วแอคทีเวยี กลน่ิ เมลอนญป่ี ุน ด่มื งาย ไมมีไขมัน ลดแนนทอง ราคา18 บาท
9. หากนักเรยี นจะซ้อื นมเปรย้ี วจะมีวธิ กี ารตัดสนิ ใจเลือกซ้อื ตามข้อใด
ก. พจิ ารณาจากราคาถาถกู จึงซือ้ ข. พิจารณาจากราคาและวนั หมดอายุ
ค. พิจารณาคุณคาอาหารและวนั หมดอายุ ง. พจิ ารณาจากรสชาติ และราคา
อ่านโฆษณาตอไปนแี้ ลว ตอบคาํ ถาม ขอ 10-12
Onami Nanowell Caffeine Super burn ชุดกระชับสัดสวนโอนามินาโนเวล
สําหรบั สาว Big Size ดวยเทคโนโลยกี ารถักทอขน้ั สูง Nano Technology ซ่ึงชวยเพ่ิมประสทิ ธภิ าพ
ในการกระชับรปู รางไดดีขึน้ ดวยความแตกตางของเนอ้ื ผาที่นุม กระชบั มากข้นึ ยากตอการ ฉีกขาด ยืด
ขยายกวา 5 เทา แกไขปญหา 5 จดุ แผนหลัง หนาทอง สะโพก ตนขา ตนแขน เสริมดวย เมด็ แรธรรมชาติ
จาํ นวนมากเปนพเิ ศษ เพ่ิมคุณสมบัตใิ นการเผาผลาญและสลายไขมันสวนเกนิ
ขนาดของผูสวมใส
* รองรับนาํ้ หนักตงั้ แต 70-100 กก. หรอื รอบสะโพก 40-50 นวิ้ (พจิ ารณารวมกับ สวนสงู )
คณุ สมบตั พิ เิ ศษ
* เมด็ ด็อจมสี วนผสมของ Tourmaline ทมี่ คี ุณสมบัติในการใหพลังงานความรอน Farinfrared ชวยเร
งการเผาผลาญไขมันสวนเกนิ และชวยในการไหลเวียนของโลหติ
* เสนใยมีสวนผสมของคาเฟอีน caffeine ซ่งึ ชวยในการสลายเซลลไู ลต หรือผิวเปลอื กสม
* เน้ือผา ยืดขยายไดมากกวา 5 เทา จงึ ทาํ ใหไมอดึ อัด สวมใสสบายและคลองตวั
โอนามนิ าโนเวล ใน 1 ชุด ประกอบดวย
1. เสอ้ื กลาม 1 ช้ิน ชวยยกระดับของทรวงอก กระชับหนาทองและแผนหลัง
2. กางเกงช้นั ใน 1 ชน้ิ ชวยยกกระชับชวงบ้ันทาย และกระชับหนาทอง
3. กางเกงขาสัน้ 1 ช้ิน ชวยยกระดับสะโพก กระชบั ตนขาและหนาทอง
4. ปลอก 1 คู ชวยกระชับตนแขนและนอง (ขนาด Free Size สามารถใชไดทั้งแขนและขา)
Promotion
ส่งั ซอ้ื 1 ชุด แถมฟรี ครีมกระชับสดั สวน Hot & Cool Gel 1 Set มลู คา 450 บาท สง่ั ซ้อื 2 ชดุ
แถมฟรีอีก 1 ชดุ และรบั ของแถมพเิ ศษเขม็ ขัดรดั หนาทอง 1 เสน มลู คา 1600 บาทครมี กระชบั สัดสวน
3 set มูลคา 1350 บาท
10. ขอใดเปนใจความสาํ คัญของโฆษณานี้
ก. วธิ ีการลดนาํ้ หนักดวยชุดโอนามินาโนเวล
ข. วธิ ีการที่เผาผลาญไขมันดวยชดุ โอนามนิ าโนเวล
ค. วิธีการกระชับรปู รางสาํ หรบั คนทม่ี ีรปู รางเล็กดวยชุดโอนามนิ าโนเวล
ง. วธิ กี ารกระชบั รปู รางสาํ หรบั คนท่ีมีรปู รางใหญดวยชุดโอนามนิ าโนเวล
11. พฤติกรรมของผูหญิงจากโฆษณาตรงกบั สํานวนไทยในขอใด
ก. น้าํ ขึน้ ใหรีบตกั ข. เข็นครกขนึ้ ภูเขา
ค. ตาํ น้ําพริกละลายแมน้ํา ง. ไกงามเพราะขนคนงามเพราะแตง
12. นกั เรยี นคิดวามีวิธกี ารใดทเ่ี หมาะสมกวาการใสชุดกระชบั สัดสวน
ก. การทาํ ศัลยกรรมเฉพาะสวน ข. การเขาคอรสโปรแกรมลดน้าํ หนกั
ค. การซ้อื ยาลดนํา้ หนักมารบั ประทาน ง. การออกกําลงั กายและควบคุมอาหาร
ใหนักเรียนอานขาวตอไปนีแ้ ลวตอบคําถาม ขอ 13-15
ผลวจิ ยั ช้เี ด็กไทย'ไอคิวต่าํ 'ครองอันดบั 2 ในอาเซยี น
เผยผลวิจยั โครงการสาํ รวจภาวะโภชนาการและสุขภาพเด็กในภูมภิ าคอาเซียน พบเดก็ ไทยมี
สตปิ ญญาคอนขางดอยกวาประเทศอนื่ ๆ เปนอันดบั 2 สวนเดก็ เวยี ดนามครองแชมปมีระดบั ไอควิ ลาชากวา
ปกติ...
นายกมล รอดคลาย รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) กลาวถึงกรณี
ผลการวิจัยโครงการสํารวจภาวะโภชนาการและสุขภาพเด็กในภูมิภาคอาเซียน หรือ SEANUTS (South
East Asia Nutrition Sur) สถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล (มม.) ผลการวิจัยโครงการสํารวจภาวะ
โภชนาการและสขุ ภาพเด็กในภูมภิ าคอาเซียน วา ปจจบุ ันน้ีการดูแลเด็ก จะดแู ลทัง้ ดานรางกาย สติปญญา
และการศึกษาควบคูกนั ไป โดยสวนตัวเห็นวา ในภาพรวมของเด็กไทย ดานสติปญญา ภาวะทุพโภชนาการ
ไมนาจะตาํ่ มากเมือ่ เทียบกับประเทศในกลุมอาเซยี น เนือ่ งจากในปจจุบันสขุ ภาวะเด็กไทยอยูในระดับทีด่ ี
นางนภิ า โรจนรุงวศนิ กลุ หัวหนาหนวยชวี สถติ ิ และหวั หนาโครงการสํารวจฯ กลาววา ปญหา
เด็กไทยมีภาวะทุพโภชนาการที่ต่ํากวาเกณฑ เปนปญหาสําคัญที่จะตองเรงแกไข เห็นไดชัดเจนจาก
ผลการวิจัยของ SEANUTS ระหวางป 2554-2555 เปรยี บเทียบระดับสติปญญาในเด็กอายุ 6-12 ป ใน
4 ประเทศ ไดแก ไทย อินโดนีเซยี มาเลเซยี เวยี ดนาม ภาพรวมพบวา เด็กไทยมสี ตปิ ญญาคอนขางดอยกวา
ประเทศอน่ื ๆ โดยพบวา เด็กเวยี ดนามมีระดบั ไอควิ ลาชากวาปกติ หรือมีระดบั ไอคิวต่าํ กวา 80 ถงึ 25.7%
ของจํานวนเด็กทส่ี ํารวจทงั้ หมด รองลงมาคอื ไทย 14.7% มาเลเซยี 10.1% และอนิ โดนีเซยี 6.8% ดาน
นายสมพงษ จิตระดับ อาจารยประจําคณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กลาวถึง ผลวิจัยของ
SEANUTS (South East Asia Nutrition Sur) ทพ่ี บวาปจจุบนั เดก็ ไทยกําลงั มีปญหาดาน ทพุ โภชนาการใน
มติ ิ อวน เตี้ย ไอคิวต่าํ วา วกิ ฤติเด็กไทยไมไดมีเฉพาะในเชงิ สาธารณสุขเทานั้น แตถามอง วิกฤติดังกลาวใน
เชิงสังคม และการศึกษา จะเห็นวาปญหานี้เขาขั้นวิบัติ เกินกวาคําวา ผอม อวน เตี้ยและโง ไปมากแลว
เพราะมีเรอ่ื งของ ยาเสพติด ความรนุ แรง และติดเกม
เขามาเพ่มิ จึงทาํ ใหภาพรวมเด็กไทย 60-70% ดอยคณุ ภาพ
ไทยรัฐออนไลน 2 มิ.ย. 2557 12:03
13. ขอใดเปนสาระสําคัญทส่ี ุด
ก. เดก็ ไทยรับประทานอาหารไมครบหาหมูทําใหไอคิวตา่ํ
ข. เดก็ ไทยไมออกกาํ ลงั กายทําใหสมองไมพัฒนา
ค. เด็กไทยติดเกมจนไมมเี วลาออกกาํ ลังกาย
ง. พอแมไมพาลกู ออกกําลงั กายเลยตดิ เกม
14. เรามีวิธีการแกปญหาภาวะเดก็ ไทยไอควิ ต่ำไดหลายวิธียกเวนขอใด
ก. แนะนาํ ใหเด็กกินผกั และผลไมทม่ี ีประโยชน
ข. ทําเมนอู าหารที่หลากหลายเพอื่ สขุ ภาพที่ดขี องเดก็
ค. สงเสรมิ ใหเดก็ แขงขันเร่ืองเรียนและเพ่ิมคะแนนให
ง. สงเสรมิ ใหเด็กออกกาํ ลงั กายและเลนกีฬาอยางสม่ำเสมอ
15. ขอใดเปนการปฏิบตั ติ นไดเหมาะสมตามขอมูลขา้ งต้น
ก. เอก รับประทานสมหลังอาหารทุกมอื้ ข. หนง่ึ ใสสารปรุงรสทกุ ครง้ั ทรี่ ับประทานอาหาร
ค. กอย เลือกรบั ประทานอาหารท่ีตนเองชอบ ง. สอง เลือกซือ้ อาหารราคาถูก มารับประทาน
ใหนกั เรียนอานขาวตอไปนี้ แลวตอบคําถาม ขอ16-18
เตอื น “แมลงกระเบ้ือง” กอโรคอาหารเปนพิษ
นพ. โสภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค (คร.) กลาวถงึ กรณี พบแมลงกระเบอ้ื งจํานวน มาก
อาศัยอยูในบานเลขที่ 69 หมูที่ 11 ตาํ บลทับชาง อําเภอสอยดาว จงั หวัดจันทบรุ เี ปนเวลากวา 3 เดือน ว
า คร. ไดใหกลมุ กฎี วิทยาและควบคมุ แมลงนําโรค สาํ นกั โรคตดิ ตอ นาํ โดยแมลง เขาไป ตรวจสอบในพ้ืนที่
พรอมทั้งทําการกาํ จดั แมลงดังกลาวเรียบรอยแลว โดยแมลงกระเบือ้ งจดั เปนดวง ปกแขง็ ขนาดเล็กชนิดหน่งึ
ทอ่ี ยูในวงศเดยี วกนั กบั ดวงมอดแปง (ดวงหนอนนก) แตตางกนั ทีม่ ีความ เปนอยูสกปรกกวาดวงมอดแปง เป
นแมลงมีลาํ ตัวกลมรี ตลอดลําตัวมีสนี า้ํ ตาลเขมจนถึงดําและเปลอื ก คอนขางแข็ง ชอบอาศัยอยูตามพื้นดิน
ในทีต่ าง ๆ เชน ใตไมผุ ๆ ใตกอนหิน ตามรังมด รังปลวก อยูตามตนพชื หลายชนดิ หรืออยูตามบานเรือน
ตามกองใบไมทบั ถม และตามท่ีท่ีมเี ช้อื ราขึน้ บางที อาจพบอยูตามซากสตั วเนาเปอย ตวั หนอนของดวงชนิด
นส้ี ามารถเดินไดเร็วและชอนไชเกงมาก ชอบดินช้ืน ๆ “ที่ตองระวงั คอื ดวงตวั แกทอี่ พยพเขามาอาศัย
มากมายภายในบานเรือนหากเขาหู อาจทําใหหอู ักเสบได อาจทาํ ใหเกิดโรคภมู ิแพในระบบทางเดินหายใจ
หรือแพทผ่ี ิวหนังได จากกลน่ิ ของมัน เกล็ดและขนทหี่ ลดุ รวง หรือแมกระท่ังหนามที่ขา นอกจากนี้ ยงั
สามารถนาํ โรคอาหารเปนพิษ 2 ชนิด ไดแก เชื้ออิโคโล(Escherichiacoli) ซึ่งเปนอจุ จาระแหลงสกปรกและ
เชอื้ ชาลโมเนลา (Saimonellasp) มาสูคนได เชือ้ โรคจะตดิ มาตามขาและลาํ ตัวของมนั หากปนเปอนใน
อาหารหรือ น้าํ ดมื่ ของคน จะทําใหปวยได” นพ.โสภณ กลาว
หนงั สอื พมิ พมตชิ น ฉบับวันที่ 30 พฤษภาคม 2557 หนา 10
16. ขอใดไมเปนขอเท็จจริง
ก. แมลงกระเบ้ืองเปนดวงปกแขง็ ชนดิ หน่งึ
ข. แมลงกระเบอื้ เปนสัตวในวงศเดียวกับดวงมอดแปง
ค. แมลงกระเบื้องสามารถนําเช้ือโรคมาสูคนไดจากการสมั ผัสตวั
ง. แมลงกระเบือ้ งชอบอาศยั ท่กี องใบไม ซากสัตวเนา และบานเรอื น
17. ถาปองกัน “แมลงกระเบ้อื งกอโรคอาหารเปนพษิ ” ตองปองกันเรอ่ื งใด
ก. กําจดั แหลงอาศัยของแมลงกระเบื้อง ข. จาํ กดั แหลงน้ำเสีย
ค. กาํ จดั แหลงขยะ ง. จํากดั พืชกนิ ใบ
18. ประโยชนทีไ่ ดรบั จากการอานขาวน้คี ือขอ้ ใด
ก. สวย ทําความสะอาดบ้านเรอื นอยูเสมอ ข. สาว รบั ประทานอาหารทส่ี กุ ใหมอยเู สมอ
ค. สุก ไมดืม่ น้ำท่ีปนเปอนจากตวั แมลงตาง ๆ ง. ใส ลางมือทกุ คร้ังเมื่อรับประทานอาหาร
ใหนักเรยี นอานบทความตอไปน้ี แลวตอบคําถามขอ 19-20
ปจจุบันมนุษยกําลังเขาสูยุคสังคมออนไลนที่มีอินเตอรเน็ต และอีเมล เขามามีบทบาท
สามารถรับขอมลู ขาวสารไดอยางรวดเร็วและกวางขวาง ผูคนสวนใหญตกเปนทาสของกระแสวัตถุ นิยม เกดิ
ความ
ฟุมเฟอย โดยเฉพาะเด็กไทย ตกเปนทาสของการเลนเกมคอมพิวเตอร วิดีโอเกม ไลน จนแทบไมรูจักการ
ละเลนของไทย เชน มากานกลวย งูกนิ หาง หมากเก็บ เปนตน
เกมที่เลนไดสะดวกรวดเร็ว สงผลทําใหเด็กมีนิสัยกาวราวไมมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับเพื่อนไมอ
อนนอม
ถอมตน เกิดการเหน็ แกตัว ชงิ ดชี งิ เดนกัน ทําใหสังคมไทยไมพัฒนากลบั ลาหลังลงเรือ่ ย ๆ
19. ผเู ขยี นเขยี นบทความน้ดี วยความรูสกึ ใด
ก.เห็นใจ ข. หวงใย
ค. เปนทุกข ง. โศกเศรา
20. จากบทความน้ี ข้อใดนกั เรียนสามารถนําไปปรบั ใชในชวี ติ ประจําวันได
ก. ใชอนิ เตอรเนต็ ในทางท่ีเปนประโยชน ข. ใชอินเตอรเนต็ ในทางพฒั นาประเทศ
ค. ใชอนิ เตอรเนต็ ในการเลนเกม ง. ใชอินเตอรเน็ตในการสอ่ื สาร
ใหนกั เรยี นอานบทความนีแ้ ลวตอบคําถาม ขอ 21-22
ภัยแลงคือการที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งมีฝนตกนอยหรือไมตกติดตอกันเปนเวลานาน อาจเป็น
เดือนหรือเปนป เมื่อเกิดภัยแลง เกษตรกรจะไมมีน้ําเพียงพอที่จะทําการ เพาะปลูกทําใหพืช ไมสามารถ
เจริญเตบิ โตไดตามปกติ ทุงหญาไมมีหญาเพียงพอสําหรบั ปศสุ ตั ว เม่อื ฝนไมตกแมนาํ้ และทะเลสาบก็จะแห
งขอดหรอื กลายสภาพไปอยางสิน้ เชงิ พ้ืนดนิ ที่ขาดนํา้ เปนเวลานานจะถูกแดดเผาจนแหงและแตกระแหงแม
มฝี นตกลงมา ภายหลัง ดนิ กอ็ าจแข็งจนไมสามารถดูดซบั น้ำไวได
มหศั จรรยการเรยี นรู ลมฟาอากาศ (สวทช)
21. ขอใดไมไดกลาวถงึ ในบทความน้ี
ก. ใหเห็นคุณคาของทรพั ยากรธรรมชาติ ข.ใหชวยกนั อนรุ กั ษทรพั ยากรธรรมชาติ
ค. ใหรจู กั บุญคุณของทรัพยากรธรรมชาติ ง. ใหเหน็ ประโยชนของทรัพยากรธรรมชาติ
22. พฤติกรรมของบคุ คลในขอใด คาํ นงึ ถงึ การใชทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยางคุมคา
ก. สเุ ทพใชแกสโซฮอลแทนนํา้ มันเบนซนิ ข. สุชาติใชรถจักรยานแทนรถยนต
ค. พรเทพใชถงุ ผาเวลาไปซื้อของ ง. พรพรรณจะซือ้ ของตองเทยี บราคา
ใหนักเรียนอานบทความนี้ แลวตอบคาํ ถาม ขอ 23-24
อนั ตราย....จากควนั ธปู
เม่ือจุดธูปจํานวนมาก แตละครั้ง ธูปท่เี ผาไหมจะปลอยฝุนละอองและสารมลพษิ ออกมา
มากมาย ซึ่งมีสารบางชนดิ อาจเปนสารกอมะเร็ง
3 สารอนั ตราย คอื สารเบนซนิ , บวิ ทาไดอนี , เบนโซเอไพรนี เปนสารทก่ี อมะเร็งทีเ่ กิด จากการ
เผาไหมของกาว ขี้เล่ือย และนํา้ หอมในธูป สารดงั กลาวสามารถกอมะเรง็ เม็ดเลือดขาว มะเรง็ เม็ดเลอื ด
มะเร็งปอด และมะเรง็ กระเพาะปสสาวะ
นอกจากนีใ้ นควนั ธูปมีสารพิษอกี หลายชนดิ ท่สี งผลตอสุขภาพ เชน กาซซลั เฟอรไดออกไซด กาซ
ไนโตรเจนไดออกไซด กาซคารบอนมอนอกไซด กาซคารบอนไดออกไซด กาซคารบอนไดออกไซด ท่มี ฤี ทธิ์
ทําใหเกิดอาการระคายเคืองตา และระบบทางเดนิ หายใจ เชน ตาแหง แสบตา นา้ํ ตาไหล ระคายเคืองจมกู
จาม ไอ หายใจลําบาก และยังทําใหปวดศีรษะ เหนือ่ ยลางวงนอน และหมดสติได หากสูดดมระยะเวลา
ยาวนาน หากจะหามไมใหจุดธูปคงทาํ ไมได ดังนัน้ การปองกนั ตนเองจึงเปน สงิ่ ทดี่ ีที่สุดดวยการหลีกเล่ียง
การจุดธูปในบรเิ วณทอี่ ากาศไมถายเท หรืออากาศถายเทไมสะดวก เชน หองแอร หองท่ไี มมปี ระตูหนาตาง
ควรใชธปู ขนาดสั้นแทนธปู ขนาดยาวเพ่ือใหเกิดควนั ในระยะเวลาทสี่ นั้ กวา
ศาลเจาควรตัง้ กระถางธปู ไวนอกอาคารหรือในทีท่ ่อี ากาศถายเทสะดวก และเม่อื เสรจ็ พธิ ีการ
ควรดับหรอื เก็บธปู ใหเรว็ ขึ้น เพ่อื ปองกนั อันตรายและเลี่ยงการเกดิ ไฟไหม้
เจาหนาที่ที่ปฏิบัตงิ านในศาสนสถานควรหลีกเลย่ี งการสัมผัสควนั ธปู เปนระยะเวลานาน และต
อเนอื่ ง และหลังการสัมผสั ควนั ธูปเปนระยะเวลานานและตอเนือ่ ง และหลงั การสมั ผัสควนั ธปู ควรลางมือ ล
างหนาลางตาใหบอยขน้ึ ดังนัน้ จึงควรหลีกเล่ียงการสมั ผสั หรอื สดู ดมควนั ธปู หากไม สามารถเลย่ี งไดใหใชผ
าเชด็ หนาหรอื หนากากอนามัยปดปากและจมกู รวมทัง้ หลกี เลีย่ งการพักผอน หรอื นอนหลับบริเวณท่ีมีการจดุ
ธปู และหม่ันทําความสะอาดบานอยางนอยสปั ดาหละครงั้ เพื่อลดการ สะสมของฝุนละอองจากควนั ธูปที่อาจ
ตกคางได้
กลุ สตรี ปที่ 48 กุมภาพันธ 2557 หนา 20
23. ขอใดไมใชการหลีกเลีย่ งการสมั ผสั หรือสดู ดมจากควนั ธูป
ก. หมัน่ ทําความสะอาดบานทุกวนั เมื่อมกี ารจดุ ธปู
ข. เม่ือจุดธปู ควรปดพดั ลมเพื่อทอี่ ากาศจะไดถายเทไดสะดวก
ค. ควรใชกระถางธปู ใหญและมฝี าปดเพอ่ื ปองกนั ควนั ธปู ฟุงกระจาย
ง. สวมหนากากอนามัยปดปากจมูกและลางมอื ทุกคร้งั เมอื่ สัมผัสหรือสูดดมควนั ธปู
24. เราสามารถใชส่ิงใดทดแทนธูปทม่ี ีควนั ได
ก. ธปู ไฟฟา ข. แจกัน
ค. ดอกไม ง. ดวงไฟ
ใหนกั เรียนอานบทรอยกรอง แลวตอบคําถามขอ 25
เธอโดดเด่ียว เดยี วดาย เมื่อดนดน้ั อดลุ จันทรศกั ดิ์ หนา 91
กวาจะพองพบวันท่หี วานไหว
ซึ่งความงาม ความหวงั กาํ ลังใจ
จะจุดไฟ ความฝนใหสัญจร
25. ขอใดคือจุดประสงคหลกั ของคําประพนั ธขางตนน้ี
ก. ใหมีความอดทน ข. ใหมีความอดกลัน้
ค. ใหมีความหวัง ง .ใหมีความพยายาม
ใหนักเรียนอานบทรอยกรองนแ้ี ลวตอบคําถาม ขอ 26
ใครกัน ? คกึ ฤทธิ์ ปราโมช หนา 207
เคยรับสงลูกทกุ วนั จะหาไหน
ฝากชวี ติ ลูกยากลาไวใจ
เชารีบไปเยน็ รีบรับเจากลบั มา
เดก็ จะเลนซุกซนก็ทนได
เด็กรองไหปลอบพลนั ใหหรรษา
ถงึ รบั จางก็ไมหางทางเมตตา
คิดแลวนาเหน็ ใจไมลมื เอยฯ
26. จากบทรอยกรองนี้ ตรงกบั สาํ นวนสุภาษติ ใด
ก. คนดีผีคุม ข. ยกหางตัวเอง
ค. ปดทองหลังพระ ง. จบั ปูใสกระดง
ใหนักเรียนอานบทรอยกรองนี้ แลวตอบคาํ ถาม ขอ 27-28
เรานเ้ี กิดมาแลวชาตหิ นึง่ ควรคาํ นงึ ถงึ ชาตศิ าสนา
ไมควรใหเสยี ทีที่เกดิ มา ในหมูประชาชาวไทย
แมใครต้งั จิตคดิ รกั ตัว จะมวั นอนน่งั อยไู ฉน
ควรจะรอนอกรอนใจ เพื่อใหพรั่งพรอมทั่วตน
ชาติใดไรรกั สมคั รสมาน จะทําการส่งิ ใดกไ็ รผล
แมชาติยอยยบั อับจน บุคคลจะสขุ อยูอยางไร
จากบทชวนรักชาติ
พระราชนิพนธในพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลาเจาอยูหัว
27. บทพระราชนิพนธนมี้ เี นอื้ หามงุ เนนใหแงคิดเรอื่ งใด
ก. เตือนใหคนไทยรักชาติ ข. ย้ำใหมีจิตสํานกึ รกั ความเปนไทย
ค. กระตุนเตอื นใหคนไทยมคี วามสามคั คี ง. ชใี้ หเห็นความสาํ คัญของพน้ื แผนดนิ ไทย
28. การกระทำของใครทส่ี อดคลองกบั บทชวนรักชาติมากทส่ี ุด
ก. นิดตัง้ ใจเคารพธงชาติทุกวัน ข. นาไปทำบญุ ที่วดั ทุกวนั พระ
ค. นองเขาร่วมเดินขบวนคัดค้าน ง. น้อยชวนคนในหมบู านร่วมกันพฒั นาชุมชนในวันสำคัญ
ใหนักเรียนอานบทรอยกรองนแี้ ลว ตอบคาํ ถาม ขอ 29-30
มือนนั้ เคยไกวเปลเคยเหกลอม เปล่ยี นผาออมและคอยเช็ดนํ้าตาให
หวิ กป็ อน รอนกพ็ ดั หยาดละไม ออนกไ็ ลดวยรกั จนหลบั ตา
ตาคนู ั้นอาทรออนโยนนกั ใหความรักมีแตใหและหวงหา
ใหอภยั ใหทงั้ หมดตลอดมา มีแตกรุณาชั่วกาลนาน
ณ กาลเวลา: อดุล จนั ทรศักดิ์ หนา 86
29. ขอใดไมใชความหมายของคําวา “อาทร”
ก. ความเอื้อเฟอ ข. ความเอาใจใส
ค. ความหวงใย ง. ความเมตตา
30. ขอใดกลาวสอดคลองกบั บทรอยกรอง ณ กาลเวลามากท่ีสดุ
ก. แมคอื ผูสรางลูก ข. แมคอื ผูเลยี้ งดูลกู
ค. แมคอื พระในบานของลูก ง. แมคือผูใหความรกั
เฉลยแบบทดสอบการเรยี นรู
ข้อ คำตอบ ขอ้ คำตอบ
1 ก 16 ค
2 ง 17 ก
3 ง 18 ก
4 ค 19 ข
5 ง 20 ก
6 ก 21 ข
7 ข 22 ค
8 ง 23 ข
9 ค 24 ก
10 ง 25 ค
11 ง 26 ค
12 ง 27 ก
13 ก 28 ง
14 ค 29 ง
15 ก 30 ง
ผลลพั ธ์ที่เกดิ ขึ้นกบั ผ้เู รยี น
ผลการเปรยี บเทยี บทักษะการอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี ๖ กอ่ นและหลัง
การจดั การเรยี นรูด้วยเทคนิค KWLH – Plus
คะแนนเตม็ คะแนนเฉลย่ี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(X) (S.D.)
ก่อนเรยี น ๓๐ ๑๑.๕๗ ๑.๗๑
หลังเรียน ๓๐ ๒๒.๘๖ ๓.๐๒
จากตารางพบว่า คะแนนทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ หลัง
การจัดการเรียนรู้ดว้ ยเทคนิค KWLH-Plus สูงกว่าก่อนจัดการเรียนรู้ ซงึ่ สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ท่ีตั้งไว้ โดย
ทักษะการอา่ นอยา่ งมีวิจารณญาณของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๖ หลงั การจัดการเรียนรูด้ ้วยเทคนิค KWLH-
Plus มีคา่ เฉลี่ย (X = ๒๒.๘๖ , S.D. = ๓.๐๒) แตก่ อ่ นจดั การเรยี นรู้ด้วยเทคนิค KWLH-Plus มีค่าเฉล่ยี (X =
๑๑.๕๗ , S.D. = ๑.๗๑ )
ภาพกจิ กรรมการเรยี นการสอน