The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รัตนโกสินทร์ตอนต้น ร.1-ร.3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natthapon.mr, 2021-11-18 02:56:41

รัตนโกสินทร์ตอนต้น ร.1-ร.3

รัตนโกสินทร์ตอนต้น ร.1-ร.3

อาณาจวิชักาปรระไวัตทิศายสตสร์ ปมระัยถมรศตัึกษนาปโีที่ก๖ สินทร์

ครูผ้สู อน นายณัฐพล มะลิทอง
โรงเรยี นพญาไท

วตั ถปุ ระสงค์

1. อธิบายพฒั นาการของไทยสมยั รัตนโกสินทรไ์ ด้
2. อธิบายปัจจัยท่ีส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและ

การปกครองไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์ได้
3. ยกตวั อยา่ งบุคคลสาคญั สมัยรตั นโกสินทรไ์ ด้
4. อธิบายภมู ปิ ัญญาไทยสมยั รัตนโกสนิ ทร์ได้

การเก็บคะแนน

1. ใบงาน 10 คะแนน

2. ชิ้นงาน 10 คะแนน

3. การสอบ ร.1 - ร.6 10 คะแนน

4. การสอบ ร.7 ถงึ ปจั จุบนั 10 คะแนน

เรยี นรู้อดตี ... เพื่อวนั น้แี ละอนาคต

เกรด็ ความรู้ อาณาจักรของไทยในอดีตถงึ ปจั จบุ นั

สุโขทยั อยธุ ยา ธนบรุ ี รตั นโกสนิ ทร์

กอ่ ตง้ั ราว ก่อตง้ั ราว กอ่ ตัง้ ราว ก่อตงั้ ราว
พ.ศ.1792 พ.ศ.1893 พ.ศ.2310 พ.ศ.2325

พอ่ ขนุ สมเดจ็ พระ พระเจ้าตากสิน พระบาทสมเด็จ
ศรีอนิ ทราทิตย์ รามาธิบดที ี่ 1 มหาราช พระพทุ ธยอดฟ้า
จฬุ าโลกมหาราช

เหตุการณจ์ ลาจลในกรงุ ธนบุรี (กบฏพระยาสรรค์)

พระยาสรรค์ก่อกบฏบกุ ยดึ กรงุ ธนบุรี
พระเจ้าตากสินถกู จบั ตวั บงั คับให้ไปบวช
พระยาสรรค์ผสู้ าเร็จราชการ

สมเดจ็ เจา้ พระยามหากษตั รยิ ์ศึก ปราบกบฏพระยาสรรค์

ขนุ นางเชญิ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริยศ์ กึ ขึ้นเปน็ ร.1



การสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์

การตง้ั ราชธานใี หม่
พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช รชั กาลท่ี 1
รวบรวมกาลังพลเพื่อยา้ ยราชธานี (ลอกแบบจากอยุธยา)

กรงุ ธนบรุ ี กรุงรตั นโกสนิ ทร์

การสถาปนากรุงรตั นโกสินทร์

เหตุผลการยา้ ยราชธานจี ากธนบุรี สู่ รัตนโกสินทร์
- สภาพเมอื งธนบุรไี ม่เหมาะสม (เมอื งอกแตก)
- การขยายเมอื งรองรบั ความเจริญทาได้ยาก
- ฝั่งตะวันออกของแม่น้าเจา้ พระยา มพี นื้ ท่ีว่าง สะดวกและ

เหมาะสมต่อการสรา้ งเมอื งใหม่

เหตุผลการย้ายราชธานี

เมือง ขยายเมอื ง
อกแตก ลาบาก

ฝงั่ ตวอ.
มีพน้ื ทีว่ ่าง

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช

6 เมษายน 2325

สถาปนาราชธานี
“กรงุ เทพมหานคร
บวรรัตนโกสินทร”์

อัญเชิญพระแก้วมรกตมาจากประเทศลาว “พระพุทธมหามณรี ัตนปฏมิ ากร”



กรงุ เทพมหานคร (Bangkok City)

เมอื งหลวง (Capital)
จดุ ศนู ย์รวมของประเทศไทย เช่น การเมอื ง เศรษฐกิจ สงั คม ฯลฯ

คาขวัญ
กรงุ เทพดุจเทพสร้าง เมืองศนู ย์กลางการปกครอง
วดั วงั งามเรอื งรอง เมืองหลวงของประเทศไทย

สรปุ การเรียนครง้ั ท่ี 1 - การสถาปนารตั นโกสนิ ทร์

1 กบฏพระยาสรรค์ และการเปล่ยี นแปลงภายในธนบุรี
2 สมเดจ็ เจ้าพระยามหากษัตรยิ ศ์ กึ ปราบดาภิเษกขึ้นเปน็ ร.1

3 ร.1 ยา้ ยราชธานีจากธนบุรี มายัง รัตนโกสนิ ทร์ด้วยปัจจัยต่างๆ

ราชวงศ์จกั รี
กษตั รยิ แ์ ห่งกรงุ รัตนโกสินทร์

การแบง่ ช่วงสมยั ของกรงุ รัตนโกสนิ ทร์

แบ่งออกเป็น 3 ชว่ ง ได้แก่

◦ สมัยรตั นโกสนิ ทรต์ อนต้น ร.1-3 (สร้าง + ฟื้นฟ)ู

◦ สมัยปฏริ ปู บา้ นเมอื งให้ทันสมยั ร.4-6 (พฒั นา)

◦ สมัยประชาธิปไตย ร.7-10 (ศวิ ิไลซ์)

พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร์

ยึดการปกครองคลา้ ยกับอยธุ ยา

สงคราม 9 ทัพ

กษัตริย์ ดุจสมมตุ เิ ทพ ใชห้ ลักทศพิธราชธรรมปกครอง

กากราปรกปคกครอรองงสสมมยั รตัตนนโโกกสสนิ นิทรท์ตรอต์ นอตน้ ต้น

1 การปกครองสว่ นกลาง

2 การปกครองหวั เมอื ง
3 การปกครองประเทศราช

สมบูรณาญาสทิ ธริ าชย์ คอื พระมหากษัตริย์มีอานาจสงู สุด

ปกครองส่วนกลาง อัครมหาเสนาบดี

สมุหกลาโหม = ทหาร / ดแู ลฝา่ ยใต้
สมุหนายก = พลเรือน / ดแู ลฝา่ ยเหนือ

ปกครองส่วนกลาง

จตุสดมภ์ (ประตทู งั้ 4)
กรมเวียง (นครบาล - เจา้ พระยายมราช)

ดูแลพระนคร (ตารวจ)
กรมวงั (ธรรมาธกิ าณ์ - เจา้ พระยาธรรมาธิกาณ์)

ดแู ลในพระราชวัง / ตดั สินคดี

กรมคลัง (โกษาธบิ ดี – เจา้ พระยาโกษาธิบด)ี ดูแลพร
ราชทรพั ย์ เกบ็ ภาษีคา้ ขาย

กรมท่าซา้ ย พระยาโชฎึกราชเศรษฐี
กรมทา่ ขวา พระยาจุฬาราชมนตรี
กรมนา (เกษตราธกิ าร - เจ้าพระยาพลเทพ) ดูแล
นาหลวง เกบ็ ภาษขี า้ ว

กรมทา่ ซ้าย ดูแล กรมทา่ ขวา ดแู ล
ประเทศจนี ประเทศแถบอาหรบั

ปกครองแบบหวั เมอื ง

ปกครองแบบหัวเมอื ง

หัวเมืองชัน้ ใน

ใกล้ราชธานี ส่งเจา้ เมือง/ผูร้ ้งั พระบรมวงศานวุ งศด์ ูแล

หวั เมอื งชั้นนอก

ขุนนาง ไปดแู ล

ประเทศราช

สง่ เครื่องราชบรรณาการ (ต้นไมเ้ งนิ ตน้ ไมท้ อง)มาใหเ้ มอื ง
หลวง แสดงถงึ ไมตรีจิต พรอ้ มช่วยเหลอื เมื่อเกิดสงคราม

การปรบั ปรงุ และแกไ้ ขกฎหมาย ร.1

กฎหมายตราสามดวง รวบรวมกฎหมายคร้งั อดีต ใชจ้ นถงึ ร.5

วิชาประวัติศาสตร์ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖

อาณาจักรไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร์

เรอ่ื ง เศรษฐกจิ สมัยรตั นโกสนิ ทร์ตอนตน้
๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๔

ด้านเศรษฐกจิ

ชว่ งตอนต้น เกษตรแบบยงั ชพี สู่ เศรษฐกิจแบบเงนิ ตรา (ส่งออก)

- ด้านการเกษตร เตรียมเสบยี งอาหารเมื่อเกดิ สงคราม / เปน็ สนิ คา้ ส่งออก

- ออกกฎหมายบกุ เบิกที่ดนิ ทากนิ 1-2 ปแี รก ยกเวน้ ภาษี
พิธกี รรมทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั เกษตรกรรม ขอฝน (แห่นางแมว) / ทาพธิ ีไลน่ ้า

ดา้ นอตุ สาหกรรม

ครวั เรอื น เน้นการพ่งึ พาตนเอง (เครือ่ งใชส้ อยของชาวบา้ น)
ภูมปิ ัญญาถา่ ยทอดจากบรรพบรุ ุษ
เช่น ชมุ ชนบา้ นบาตร

โรงงาน จา้ งแรงงานชาวจีน เชน่ โรงน้าตาล ตม้ กล่ันสรุ า
ผลิตเกลอื ผลติ เพ่ือค้ามากขน้ึ

ชมุ ชนบ้านบาตร

การคา้

รายได้จากตา่ งชาติ (ค้าขายราชสานัก เจ้าพระยาโกษาธบิ ดี)
รายไดจ้ ากการเกบ็ ภาษอี ากร

ทัง้ ภายใน ภาษีอากร 4 ชนดิ
ภายนอก ภาษปี ากเรอื
รายได้จากสินคา้ ผกู ขาด (อาวุธ กระสุนปืน) พระคลงั สินค้า-ขาย
สนิ คา้ ต้องห้าม (งาชา้ ง กฤษณา) ราษฎรตอ้ งขายใหพ้ ระคลงั

สนิ คา้ ผูกขาด

อาวธุ กระสนุ ปืน ความมน่ั คงของ พระคลงั สนิ ค้า
อาณาจกั ทาหน้าท่ี

ค้าขาย เทา่ นนั้

สนิ ค้าต้องหา้ ม

งาช้าง ไม้กฤษณา ของท่ีมีความ ราษฎร (หา)
ต้องการสงู ห้ามขายเสรี

พระคลงั ซือ้ ขายเทา่ นนั้

การค้าขายกบั ตา่ งชาติ *จีน อาหรับ ตะวนั ตก

ภาษี 4 ชนดิ

จังกอบ เก็บจากการชกั ส่วนสนิ ค้า เชน่ ภาษีปากเรือ
อากร เก็บจากผลประโยชนท์ ่รี าษฎร เช่น ต้มกลน่ั สุรา
สว่ ย เงนิ ชว่ ยราชการทีก่ าหนด เชน่ สว่ ยแทนแรงงาน
ฤชา เงนิ ค่าธรรมเนยี ม ค่าปรับ

สนิ คา้ ผกู ขาด

สนิ คา้ ต้องหา้ ม

ร.3 ทาสนธสิ ัญญาเบอรน์ ยี ์ (ชาวองั กฤษ)
Henry Berny หรือ นายฮันแตร บารมี

เรียกเกบ็ ภาษปี ากเรือ (ความกวา้ ง)
*ไทยไดป้ ระโยชน์จากสนธสิ ญั ญาดงั กล่าว
*สนธสิ ัญญาแรกท่ไี ทยทากบั ประเทศตะวันตก

ร.3
เจรญิ ร่งุ เรอื ง
ทางการค้า
(ยคุ ทอง)

รชั กาลท่ี 3 รับอทิ ธิพลจากจีน
วดั ราชโอรสารามวรวิหาร

ด้านสังคม

ใชร้ ะบบศักดินาในการปกครองเพื่อจดั ระเบียบสังคม
กาหนดหน้าที่ สทิ ธิ (เกิดในสมัยอยธุ ยาพระบรมไตรโลกนาถ
ปรับปรุงชว่ ง ร.5 และสิน้ สุดในสมัย ร.7)
แบง่ 2 ชนช้นั ไดแ้ ก่
ชนชั้นผปู้ กครอง และ ชนช้นั ผู้ถูกปกครอง

• พระบรมไตรโลกนาถ ปฏิรูป • ร.7
• กาหนดศกั ดนิ า เพอื่ • เปลีย่ นแปลงการ
• ร.5
จดั ระเบยี บสงั คม • ปรับเปลีย่ นให้ทนั ตอ่ ปกครอง

เกิดขนึ ้ ความเปลย่ี นแปลง สนิ ้ สดุ

ระบบศกั ดนิ า กษตั รยิ ์ กษตั ริย์
ของไทย เปน็ เจา้ ของทกุ อยา่ ง
พระบรมวงศานวุ งศ์
(ระบอบเก่า)
ขนุ นาง

พระสงฆ์
ไพร่
ทาส

"นาย"

ตาแหน่งศักดนิ า "พัน" หรอื "หมื่น"

ถือครองท่ดี ิน "ขนุ "

"หลวง"

สูงสุด 1 หมืน่ ไร่ "พระ"
"พระยา"
ต่าสดุ 200 ไร่ "เจ้าพระยา "

" สมเดจ็ เจา้ พระยา "

ชาติตะวันตกเขา้ สูส่ ยามตามลาดบั
ชาตแิ รก โปรตุเกส เผยแพรศ่ าสนา กองกาลงั รบ

ฮอลันดา ตอ่ เรอื กาป่นั
องั กฤษ รับราชการเดินเรือ
ฝร่งั เศส เผยแพรศ่ าสนา

สรุป เศรษฐกิจ

จากพ่ึงพาตนเอง เป็นเน้นการคา้ ขาย
ความเจริญจากการคา้ ร.3 (ยุคทอง)

สรุป รายได้ของสยาม

จากต่างชาติ (ค้าขายกับราชสานกั )
จากการเกบ็ ภาษอี ากร (4 ชนดิ )

สรุป สนธิสัญญาเบอร์นีย์

ร.3 กับ Henry Berny (สัญญาแรกท่ี
สยามทากับ ประเทศ. ตวต.)

เก็บภาษปี ากเรือ (สยามได้ประโยชน)์

สรุป ด้านสงั คม

ระบบศกั ดินา เพ่อื จดั ระเบยี บสงั คม

เกดิ ในสมัยอยุธยาพระบรมไตรโลกนาถ
ปรบั ปรุงชว่ ง ร.5 และสิ้นสุดในสมยั ร.7

สรุป การเขา้ มาจากตา่ งชาติ

โปรตเุ กส ฮอลนั ดา อังกฤษ ฝรัง่ เศส
เขา้ มาเพือ่ การแลกเปลยี่ นตา่ งๆ

สัปดาห์หนา้ พบกันใหม่
วนั นไ้ี ม่มใี บงาน

*สัปดาห์หนา้ สอบเกบ็ คะแนน
(Google Form)


Click to View FlipBook Version