วธิ รี ะบบ (System Approach)
นางสาวอนงคภ์ ัทร์ คงทวี
รหสั นักศกึ ษา 620113189055
รายวชิ า วิธีระบบทางเทคโนโลยกี ารศกึ ษา
รหสั รายวชิ า 1032104
สาขาวิชาเทคโนโลยีและคอมพวิ เตอรเ์ พ่ือการศกึ ษา
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏบุรรี ัมย์
ก
คำนำ
รายงานเล่มนีเ้ ป็นสว่ นหนึง่ ของวชิ า วิธรี ะบบทางเทคโนโลยีการศึกษา จดั ทำข้ึน
เพื่อศกึ ษาศึกษาหาความรูใ้ นหวั ข้อ วิธรี ะบบ, การวิเคราะห์ระบบ, ลกั ษณะของระบบท่ีด,ี
ระบบเปดิ และระบบปิด, และวธิ รี ะบบทน่ี ำมาใช้ในการสอน โดยเน้ือหาภายในเลม่ ไดเ้ รยี บเรียงอยา่ ง
ครอบคลุม
ผู้จดั ทำคาดหวังเปน็ อย่างยง่ิ ว่าการจัดทำรายงานฉบับน้ีจะเป็นประโยชนต์ อ่ ผูท้ ีส่ นใจรา
ยวชิ า วธิ ีระบบทางเทคโนโลยีการศกึ ษาเปน็ อยา่ งดี
นางสาวอนงค์ภทั ร์ คงทวี
ผู้จัดทำ
สารบัญ ข
คำนำ หน้า
สารบญั ก
วิธรี ะบบ ข
องค์ประกอบของวิธรี ะบบ 1
ลกั ษณะของวิธรี ะบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 2
ลักษณะของระบบทีด่ ี 2
ระบบเปดิ และระบบปิด 4
วธิ ีระบบทีน่ ำมาใชใ้ นการเรียนการสอน 5
บรรณานุกรม 5
9
1
วธิ รี ะบบ (System Approach)
วิธีระบบ (System approach) คอื ลำดบั ขัน้ ตอนทีม่ ีความสมั พันธก์ ันอย่างต่อเน่ือง
โดยในทกุ ขั้นตอนสามารถประเมนิ ตรวจสอบไดเ้ พื่อแกไ้ ขปรับปรุงให้สามารถดำเนินกิจกรรมนัน้ ๆ
ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ วิธรี ะบบนั้นจะมโี ครงสรา้ งใหญ่และโครงสร้างย่อยทีม่ ีความเก่ยี วเน่ืองกัน
องคป์ ระกอบของวธิ ีระบบ
1. ขอ้ มลู ท่ปี ้อนเข้า (input) ส่ิงต่าง ๆ ท่ีจำเป็นต้องใช้ในกระบวนการหรอื โครงการต่าง
ๆ เชน่ ในระบบการเรยี นการสอนในช้ันเรยี น อาจได้แก่ ครู นักเรยี น ช้ันเรยี น หลักสตู ร ตารางสอน
วธิ ีการสอน เปน็ ต้น ถา้ ในเร่ืองระบบหายใจ อาจได้แก่ จมูก ปอด กระบังลม อากาศ เป็นตน้
2. กระบวนการ (Process) การนำเอาสิง่ ทปี่ ้อนเข้าไป มาจดั กระทำให้เกิดผลบรรลุ
ตามวัตถุประสงคท์ ่ตี ้องการ เชน่ การสอนของครู หรือการให้นกั เรยี นทำกจิ กรรม เป็นต้น
3. ผลผลติ หรือการประเมนิ (output) ผลทไี่ ดจ้ ากการกระทำในขั้นที่สอง ได้แก่
ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียน หรือผลงานของนักเรียน เป็นต้น
2
ลักษณะของวธิ รี ะบบ
1. เปน็ การทำงานรว่ มกนั เปน็ คณะของบคุ คลทเี่ กี่ยวข้องในระบบน้ัน ๆ
2. เป็นการแก้ปัญหาโดยการใช้วิธีการทางวทิ ยาศาสตร์
3. เป็นการใช้ทรัพยากรทมี่ ีอยู่อยา่ งเหมาะสม
4. เปน็ การแกป้ ญั หาใหญ่ โดยแบ่งออกเปน็ ปัญหาย่อย ๆ เพื่อสะดวกในการแกป้ ญั หา
อนั จะเป็นผลให้แก้ปญั หาใหญ่ได้สำเร็จ
5. มุ่งใชก้ ารทดลองให้เหน็ จริง
6. เลือกแก้ปัญหาท่ีพอจะแก้ไขไดแ้ ละเป็นปัญหาเรง่ ด่วนก่อน
การวิเคราะหร์ ะบบ (System Analysis)
การกระทำหลังจากผลท่ีได้ออกมาแล้วเปน็ การปรับปรงุ ระบบการทำงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพขึ้น
ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากการประเมินผลและมามาใช้แก้ไขข้อบกพร่องในสว่ นต่าง ๆ หรอื การดูข้อมูลยอ้ นกลับ
( Feedback ) ดงั นัน้ การนำข้อมลู ย้อนกลับมาใช้ในการวิเคราะหร์ ะบบ จึงเปน็ สว่ นสำคญั ของวิธีระบบ
( System Approach) ซงึ่ จะขาดองคป์ ระกอบนไ้ี ม่ได้ มิฉะน้ันจะไม่ก่อใหเ้ กิดการแก้ปญั หาได้ตรง
เปา้ หมายและการปรับปรงุ ทม่ี ีประสทิ ธิภาพ
ข้อมลู ป้อนกลบั (Feedback) การวิเคราะหแ์ ละพิจารณาไตร่ตรองผลการดำเนินงาน
ว่ามขี อ้ ผิดพลาดประการใด ต้องปรับปรงุ ส่งิ ใดบา้ ง เพ่ือพิจารณาปรับปรงุ ระบบใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพยิ่งขนึ้
3
ขนั้ ตอนของการวิเคราะหร์ ะบบ
ดร.เลห์แมน (Lehmam) ได้กล่าวถงึ ข้ันตอนของวธิ รี ะบบไว้ดังนี้
1. ปัญหา (Identify Problem) คือ การศึกษาวิเคราะห์ปัญหาทีแ่ ท้จรงิ ในการปฏบิ ตั ิ
ว่าคืออะไร หาความแตกตา่ งระหวา่ งสง่ิ ทีค่ วรจะเปน็ กบั สง่ิ ท่ีมอี ยู่ แลว้ มาจดั ลำดับและกำหนดระดับ
ความสำคัญของปัญหา
2.จดุ มุ่งหมาย (Objectives) การระบจุ ดุ มุ่งหมายจะตอ้ งชัดเจน สามารถวัดได้
และสอดคลอ้ งกบั ปญั หา
3. ศกึ ษาข้อจำกดั ต่าง ๆ (Constraints) เป็นการศกึ ษาและทำรายการข้อจำกัด
เกี่ยวกบั ทรัพยากร (Resources) ที่มอี ยู่
4. ทางเลือก (Alternatives) คอื การสร้างทางเลือกสำหรบั ใชใ้ นการแก้ปญั หา
5. การพิจารณาทางเลือกทีเ่ หมาะสม (Selection) เปน็ การประเมนิ หาทางเลอื กทจ่ี ะ
สง่ ผลตอ่ จุดม่งุ หมายทีต่ อ้ งการมากท่สี ุด และด้วยทนุ ทนี่ ้อยท่ีสดุ
6. การทดลองปฏบิ ัติ (Implementation) เปน็ การนำเอาทางเลอื กทไี่ ด้ไปทดลองเพ่ือ
ดูวา่ สามารถนำไปปฏบิ ตั ไิ ดห้ รือไม่
7. การประเมินผล (Evaluation) เปน็ การประเมินผลการทดลองเพ่ือพจิ ารณาดวู ่า
ไดผ้ ลตามวัตถุประสงค์ทีว่ างไว้หรอื ไม่
8. การปรบั ปรุงแก้ไข (Modification) คือการนำข้อบกพร่องทพ่ี บจากการประเมินผล
มาปรับปรงุ แก้ไขจนเปน็ ทีพ่ อใจ แลว้ จึงนำไปใชก้ ับการแก้ปัญหาในระบบ
ขนั้ ตอนของการวิเคราะหร์ ะบบ ( System Analysis ) ประกอบด้วย 8 ข้นั ตอน ดงั น้ี
ขน้ั ที่ 1 ข้นั ตั้งปัญหาหรือกำหนดปัญหา ในขนั้ น้ีต้องศึกษาใหถ้ อ่ งแทเ้ สียก่อนว่าอะไร
คือปัญหาท่คี วรแก้ไข
ขน้ั ที่ 2 ขั้นกำหนดเป้าหมายหรอื วตั ถปุ ระสงค์เพื่อการแก้ไขปญั หานัน้ ๆ วา่ จะใหไ้ ด้ผล
ในทางใดมปี ริมาณและคณุ ภาพเพยี งใดซ่ึงการกำหนดวตั ถปุ ระสงค์นคี้ วรคำนงึ ถึงความสามารถในการ
ปฏิบัตแิ ละออกมาในรปู การกระทำ
ขัน้ ท่ี 3 ข้ันสร้างเคร่อื งมือวดั ผล การสรา้ งเคร่ืองมือน้ีจะสร้างหลงั จากกำหนด
วัตถปุ ระสงค์แล้วและตอ้ งสร้างกอ่ นการทดลองเพือ่ จะได้ใช้เครอ่ื งมือนี้วัดผลได้ตรงตามเวลาและเปน็
ไปทุกระยะ
4
ขั้นท่ี 4 คน้ หาและเลอื กวธิ กี ารตา่ งๆ ท่จี ะใชด้ ำเนินการไปสู่เปา้ หมายทีว่ างไว้
ควรมองด้วยใจกวา้ งขวางและเปน็ ธรรม หลาย ๆ แง่ หลาย ๆ มุม พิจารณาข้อดขี ้อเสีย
ตลอดจนข้อจำกัดต่าง ๆ
ขน้ั ที่ 5 เลอื กเอาวิธที ด่ี ีทสี่ ดุ จากขัน้ ท่ี 4 เพ่อื นำไปทดลองในขนั้ ตอ่ ไป
ขั้นที่ 6 ขั้นการทำเอง เม่ือเลอื กวิธกี ารใดแลว้ ก็ลงมือปฏบิ ัติตามวิธีการนนั้ การทดลองนี้
ควรกระทำกบั กลุ่มเลก็ ๆ ก่อนถ้าได้ผลดจี งึ ค่อยขยายการปฏบิ ตั งิ านให้กวา้ งขวางออกไป
จะได้ไมเ่ สยี แรงงาน เวลาและเงินทองมากเกินไป
ข้ันที่ 7 ขน้ั การวัดผลและประเมนิ ผล เมอื่ ทำการทดลองแล้วกน็ ำเอาเครอ่ื งมือวดั ผลท่ี
สรา้ งไว้ในขั้นท่ี 3 มาวัดผลเพื่อนำผลไปประเมนิ ดูวา่ ปฏิบัติงานสำเรจ็ ตามเป้าหมายเพยี งใด
ยงั มีสิ่งใดขาดตกบกพร่อง จะได้นำไปปรบั ปรุงแก้ไข
ข้ันที่ 8 ข้นั การปรับปรุงและขยายการปฏบิ ัติงาน จากการวัดผลและประเมนิ ผลใน
ข้ันท่ี 7 กจ็ ะทำใหเ้ ราทราบว่า การดำเนินงานตามวิธีการทีแ่ ลว้ มานัน้ ได้ผลตามวัตถุประสงค์หรือไม่
เพียงใด จะได้นำมาแกไ้ ข ปรบั ปรงุ จนกว่าจะไดผ้ ลดีจึงจะขยายการปฏิบตั ิหรือยึดถือเป็นแบบอย่าง
ต่อไป
ลักษณะของระบบท่ดี ี
ระบบทีด่ ีสามารถปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ (efficiency) และมีความยั่งยนื
(sustainable) ตอ้ งมลี กั ษณะ 4 ประการคือ
1. มปี ฏสิ มั พนั ธ์กับสงิ่ แวดล้อม (interact with environment) ระบบทุก ๆ
ระบบจะมปี ฏิสมั พนั ธ์กับสงิ่ รอบ ๆ ตัวที่้ เรยี กว่า "สง่ิ แวดลอ้ ม" ซง่ึ ทำใหร้ ะบบดังกล่าวกลายเปน็
ระบบเปดิ (Open system) คือ ระบบจะรบั ปจั จยั นำเข้า (input) จากสง่ิ แวดลอ้ ม เช่น พลังงาน
อาหาร ข้อมูล แล้วเปลีย่ นแปลงปจั จัยนำเข้าน้ีให้กลายเป็นผลผลิต (output) แล้วจงึ ส่งกลับไป
ให้สิ่งแวดล้อมอีกทหี นึ่ง
2. มีจุดหมายหรอื เป้าประสงค์ (purpose) คือ ระบบจะต้องมจี ดุ มุง่ หมายท่ชี ดั เจน
แนน่ อนสำหรับตวั ของมนั เอง เช่น ระบบการดำเนนิ ชวี ิตของมนษุ ย์ ก็มจี ุดมุง่ หมายอยา่ งชดั เจนวา่
"เพ่อื รักษาสภาพการมีชีวิตไวใ้ ห้ได้ให้ดีทสี่ ดุ "
3. มีการรกั ษาสภาพตนเอง (self-regulation) ทำได้โดยการแลกเปลย่ี น input และ
output กันระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบหรือระบบยอ่ ย เชน่ ระบบย่อยอาหารของรา่ งกาย
มนุษยซ์ ่งึ ประกอบด้วยองค์ประกอบยอ่ ย หรือระบบย่อยตา่ ง ๆ เช่น ปาก นำ้ ย่อย น้ำดี หลอดอาหาร
กระเพาะอาหาร ฯลฯ
5
4. มกี ารแก้ไขตนเอง (self-correction ) เพือ่ การรักษาสภาพของตนเอง เช่น
การปฏสิ มั พันธร์ ะหวา่ งร่างกายกับอากาศหนาว (สภาพแวดล้อม) อาจจะทำให้เกดิ อาการหวดั ขึ้นได้
ในสถานการณน์ ถี้ า้ ระบบรา่ งกายไม่สามารถทจี่ ะรักษาสภาพตวั เองได้อย่างดี รา่ งกายก็จะตอ้ งผลิต
ภูมคิ ุม้ กันออกมาต้านหวัดเพ่ือที่จะต่อสู้กบั อาการหวดั นั้น
ระบบเปิดและระบบปิด
ระบบเปิด ( Open System ) คือ ระบบทีร่ บั ปัจจยั นำเขา้ จากสง่ิ แวดล้อม
และขณะเดียวกนั ก็สง่ ผลผลติ กลับไปให้ส่งิ แวดล้อมอกี ครั้งหน่งึ ตวั อยา่ งระบบเปิดท่วั ๆ ไป เชน่
ระบบสงั คม ระบบการศกึ ษา ระบบหายใจ ฯลฯ
ระบบปดิ ( Close System ) คอื ระบบทม่ี ิได้รบั ปจั จัยนำเข้าจากสิ่งแวดลอ้ ม
หรอื รับปัจจยั นำเขา้ จากสง่ิ แวดล้อมนอ้ ยมาก แต่ขณะเดยี วกนั ระบบปดิ จะผลิดเอาท์พุทใหก้ บั
สิง่ แวดลอ้ มดว้ ย เช่น ระบบของถา่ นไฟฉาย ระบบแบตเตอรีต่ ่าง ๆ ตวั ถา่ นไฟฉายหรือแบตเตอร่ี
น้ันถูกสร้างขน้ึ มาให้มีไฟฟา้ สะสมอยู่ในตวั ภายในก็มีระบบยอ่ ยอีกหลายระบบ ที่ทำงานสมั พันธ์
กันอยา่ งดี สามารถให้พลังงานไฟฟ้าออกมาได้โดยที่ไม่ได้รับปัจจัยภายนอกเข้ามาเลย
ระบบปิดจะมีอายุสนั้ กว่าระบบเปิด เนอ่ื งจากระบบปดิ น้นั ทำหน้าท่ีเพียงแตเ่ ปน็ "ผ้ใู ห้" เท่านัน้
วิธีระบบทนี่ ำมาใชใ้ นการสอน ประกอบด้วยขัน้ ตอนดังตอ่ ไปน้ี
1. การประเมินความจำเป็น
2. การเลือกทางแก้ปญั หา
3. การต้งั จดุ มุ่งหมายทางการสอน
4. การวิเคราะหง์ านและเนื้อหาที่จำเปน็ ตอ่ ผลสมั ฤทธิต์ ามจุดมุ่งหมาย
5. การเลอื กยุทธศาสตรก์ ารสอน
6. การลำดบั ขัน้ ตอนของการสอน
7. การเลอื กสื่อ
8. การจัดหรือกำหนดแหลง่ ทรัพยากรท่จี ำเปน็
9. การทดสอบ และ/หรอื ประเมินค่าประสิทธิภาพของแหลง่ ทรัพยากรเหล่าน้ัน
10. การปรบั ปรุงแกไ้ ขแหลง่ ทรัพยากรจนกว่าจะเกิดประสิทธภิ าพ
6
11. การเดินตามวฏั จกั รของกระบวนการท้ังหมดซ้ำอีก
ระบบการเรยี นการสอน
ระบบการเรียนการสอน คือ การจดั องคป์ ระกอบของการเรยี นการสอนใหม้ ี
ความสัมพันธ์กันเพ่ือสะดวกต่อการนำไปสจู่ ดุ หมายปลายทางของการเรียนการสอนท่ีได้กำหนดไว้
องคป์ ระกอบของระบบการเรยี นการสอน
ระบบการเรยี นการสอนประกอบดว้ ยสว่ นย่อย ๆ ตา่ ง ๆ ซึง่ มีความเก่ียวพันกนั และกัน
ส่วนที่สำคัญคือ กระบวนการเรียนการสอน ผู้สอนและผ้เู รยี น
ยเู นสโก ( UNESCO ) ไดเ้ สนอรปู แบบขององค์ประกอบของระบบการเรียนการสอนไว้
โดยมีองค์ประกอบ 6 สว่ น คือ
1. องค์ประกอบของการสอนจะประกอบดว้ ย ผูส้ อน ผเู้ รยี น ส่ือ การเรยี นการสอน
วธิ สี อนซึ่งทำงานประสานสมั พนั ธ์กนั อันจะเป็นพาหะหรือแนวทางผสมกลมกลืนกับเนื้อหาวชิ า
2. กิจกรรมการเรียนการสอน จะตอ้ งมสี ือ่ การเรยี นการสอนและแหลง่ ท่ีมาของส่อื
การเรียนการสอนเหลา่ นั้น
3. ผสู้ อนต้องหาแนวทาง แนะนำชว่ ยเหลอื ผู้เรียนใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ท่ีดีทีส่ ุด
4. การเสรมิ กำลังใจ การจูงใจแก่ผู้เรยี น นับวา่ มีอิทธพิ ลต่อการท่จี ะเสริมสรา้ ง
ความสนใจใหก้ ารเรียนการสอนมคี ณุ ภาพ
5. การประเมินผล ผลทอ่ี อกมาอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพโดยการประเมินท้ังระบบ
เพ่อื ดวู ่าผลที่ได้นนั้ เป็นอยา่ งไรเปน็ การนำข้อมลู ข้อเทจ็ จรงิ มาเปรียบเทียบกับประสทิ ธผิ ลของระบบ
เพื่อการแกไ้ ขปรบั ปรุงต่อไป
6. ผลท่ีไดร้ บั ท้ังประเมนิ เพื่อประเมินผลในการปรับปรุงและเปรยี บเทยี บกับการลงทนุ
ในทางการศึกษาวา่ เปน็ อย่างไร นอกจากนี้ บญุ ชม ศรสี ะอาด ได้กล่าวถงึ องค์ประกอบของระบบ
การเรียนการสอน ไดแ้ ก่ ตวั ปอ้ น กระบวนการ และผลติ ดังภาพ
7
ตวั ปอ้ น ( Input ) หรือ ปัจจยั นำเข้าระบบ คอื สว่ นประกอบต่างๆ
ทนี่ ำเขา้ สู่ระบบได้แก่ ผูส้ อน ผู้สอน ผูเ้ รียน หลกั สูตร สิง่ อำนวยความสะดวก
ผูส้ อน หรือครู เปน็ องคป์ ระกอบสำคญั ท่จี ะทำใหก้ ารเรียนการสอนบรรลผุ ลตาม
วัตถุประสงค์ ซึ่งขึน้ อยู่กบั คุณลักษณะหลายประการได้แก่คุณลกั ษณะดา้ นพุทธิพิสยั เชน่ ความรู้
ความสามารถ ความรู้จำแนกเปน็ ความรใู้ นเนื้อหาสาระทสี่ อน ความรู้ในเทคนิคการสอนต่าง
ความตั้งใจในการสอน ฯลฯ
ผู้เรยี น ผู้เรยี นเปน็ องคป์ ระกอบที่สำคญั ที่สดุ ในระบบการเรียนการสอน
ซ่งึ จะบรรลผุ ลสำเร็จไดย้ อ่ มขึ้นอยกู่ บั คณุ ลกั ษณะของผู้เรียนหลายประการ เช่น ความถนัด
ความรูพ้ น้ื ฐานเดิม ความพร้อมความสนใจและความพากเพียรในการเรยี น ทกั ษะในการเรียนรู้ ฯลฯ
หลักสตู ร หลกั สูตรเปน็ องค์ประกอบหลกั ทีจะทำใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้
หลักสูตรประกอบดว้ ยองค์ประกอบพ้ืนฐาน 4 ประการคอื
- วตั ถุประสงคก์ ารเรียนรู้
- เนอ้ื หาสาระทเ่ี รียน
- กิจกรรมการเรียนการสอน (รวมวิธีสอนและสื่อการเรียนการสอน)
- การประเมินผล
8
สงิ่ อำนวยความสะดวก อาจเรียกอีกอย่างวา่ "สิ่งแวดลอ้ มการเรยี น" เช่น
ห้องเรียน สถานทเี่ รยี น ซึ่งประกอบดว้ ยโต๊ะ เกา้ อี้ แสดงสว่าง ฯลฯ
กระบวนการ ( Process ) ในระบบการเรยี นการสอนก็คือ การดำเนนิ การสอน
ซ่งึ เป็นการนำเอาตัวป้อนเปน็ วัตถดุ ิบในระบบมาดำเนนิ การเพื่อให้เกดิ ผลผลติ ตามท่ีตอ้ งการ
ในการดำเนนิ การสอนอาจมีกิจกรรมตา่ งๆ หลายกิจกรรม ไดแ้ ก่ การตรวจสอบและเสรมิ พ้ืนฐาน
การสร้างความพรอ้ มในการเรยี น การใชเ้ ทคนิคการสอนต่าง ๆและอาจใชก้ จิ กรรมเสรมิ การตรวจสอบ
และเสรมิ พน้ื ฐาน เป็นกิจกรรมท่ที ำให้ผู้สอนรจู้ ักผ้เู รยี นและได้ขอ้ สนเทศท่นี ำมาใช้ชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น
ท่ียงั ขาดพ้นื ฐานทจ่ี ำเป็นกอ่ นเรยี น ให้ไดม้ ีพน้ื ฐานทีพ่ ร้อมที่จะเรยี นโดยไมม่ ีปัญหาใด ๆ
การสร้างความพร้อมในการเรียน เมือ่ เรมิ่ ชั่วโมงเรยี น โดยท่ัวไปแลว้
จะมีผเู้ รียนที่ยงั ไม่พรอ้ มทจ่ี ะเรยี น เช่น พดู คุยกนั คิดถงึ เรื่องอื่น ๆ ฯลฯ ถ้าผู้สอนเร่ิมบรรยายไปเรือ่ ยๆ
อาจไมไ่ ดผ้ ลตามที่ต้องการโดยเฉพาะในช่วงตน้ ชั่วโมงนัน้ จงึ ควรดึงความสนใจของผู้เรียนใหเ้ ขา้ สู่
การเรยี นโดยเร็ว ซงึ่ ทำได้หลายวิธี เช่น ใช้คำถามใชส้ ื่อโสตทัศนูปกรณ์ช่วยเรา้ ความสนใจ
หรือยกเรื่องทเี่ ก่ยี วข้องมาเลา่ ให้นักเรียนฟัง ในการสรา้ งความพร้อมไมค่ วรใชเ้ วลามากเกินไป
นา่ จะใชเ้ วลาไมเ่ กิน 5 นาที และทำทุกครงั้ ที่สอน เมื่อพบว่าผเู้ รียนยังไมพ่ ร้อม
การใชเ้ ทคนิคการสอนต่างๆ ควรทำการสอนโดยใช้เทคนิค วิธกี าร และกิจกรรมต่าง ๆ
หลาย ๆ วธิ ี การใชก้ จิ กรรมเสรมิ วิธีสอนแต่ละวิธีหรือรปู แบบการสอนแตล่ ะรูปแบบจะมีกิจกรรม
แตกตา่ งกันไป ผสู้ อนควรพิจารณากิจกรรมต่าง ๆ ท่จี ะเสริมกบั วธิ ีสอน เช่น การใหท้ ำแบบฝกึ หัด
การใหก้ ารเสรมิ แรง การใช้คำถามชนิดตา่ ง ๆ การทบทวนสรุป เปน็ ตน้
ผลผลิต ( Output ) ผลผลติ คือ ผลทเ่ี กิดขน้ึ ในระบบซึ่งเปน็ เป้าหมายปลายทาง
ของระบบ สำหรับระบบการเรยี นการสอนผลผลิตที่ตอ้ งการกค็ ือการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม
ของผเู้ รียนไปในทางท่ีพงึ ประสงค์ เปน็ การพฒั นาทีด่ ใี นด้าน
- พทุ ธิพสิ ยั ( Cognitive )
- จติ พิสัย ( Affective ) และ
- ทกั ษะพสิ ัย ( Psychomotor )
การตดิ ตามผล ประเมินผล และปรบั ปรุง เพ่ือใหก้ ารเรยี นการสอนบรรลุผล
อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ผสู้ อนจะต้องพจิ ารณาองคป์ ระกอบต่าง ๆ ทงั้ หมดในระบบ
โดยพจิ ารณาผลผลติ ว่าไดผ้ ลเป็นไปดังท่ีมงุ่ หวังไว้หรอื ไม่มจี ุดบกพร่องในสว่ นใดท่จี ะต้องแก้ไข
ปรบั ปรงุ บ้าง
9
บรรณานกุ รม
ระบบการเรยี นการสอน. (2560). [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก :
http://supakineet.blogspot.com/2017/05/system-approach.html.
(วันท่ีค้นข้อมลู : 20 มกราคม 2564).
วธิ รี ะบบ. [ออนไลน์]. เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://senarak.tripod.com/system.htm.
(วนั ทคี่ น้ ข้อมูล : 20 มกราคม 2564).
วธิ ีระบบ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.st.ac.th/av/inno_system.htm.
(วนั ทค่ี น้ ข้อมูล : 20 มกราคม 2564).
10