The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ypppink3, 2024-01-31 04:42:25

รายงานประจำปี 2566-1

รายงานประจำปี 2566

WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 86 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2.2.2 กรณีที่สหกรณ์ได้รับกำรสนับสนุนเงินทุนภำยใต้โครงกำรเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้ำงภำคเกษตร (ASPL) และสำมำรถบริจำคเงินได้ตำมบันทึกข้อตกลง ให้มีสิทธิกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ไปลงทุนเพิ่มเติมใน ปัจจัยพื้นฐำน โดยไม่ต้องสมทบกำรลงทุน และคิดดอกเบี้ยในอัตรำร้อยละ 1 ต่อปี 3. ระยะเวลาให้กู้ยืม 3.1 เพื่อเป็นทุนหมุนเวียนในกำรด ำเนินธุรกิจ ระยะเวลำให้กู้ไม่เกิน 1 ปี หรือ 1 ฤดูกำลผลิต 3.2 เพื่อลงทุนในทรัพย์สิน ระยะเวลำให้กู้ไม่เกิน 15 ปี 3.3 กรณีระยะเวลำให้กู้ยืมนอกเหนือจำกข้อ 1 และข้อ 2 ให้พิจำรณำเป็นรำยๆ ไป 4. อัตราดอกเบี้ย และค่าปรับเงินกู้ กำรก ำหนดอัตรำดอกเบี้ย และค่ำปรับเงินกู้ยืม ตำมระเบียบกรมส่งเสริมสหกรณ์ว่ำด้วยกำรบริหำร เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ (กพส.) พ.ศ. 2557 ข้อ 17 1) ให้คิดดอกเบี้ยในอัตรำร้อยละ 1 ถึงร้อยละ 10 ต่อปี ตำมหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมกำร บริหำร กพส.ก ำหนด (ประกำศคณะกรรมกำรบริหำร กพส.เรื่อง เกณฑ์กำรจัดชั้นลูกหนี้ กำรเรียกเก็บอัตรำ ดอกเบี้ยเงินกู้ และกำรก ำหนดวงเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ ประกำศ ณ วันที่ 30 กรกฎำคม 2562) 2) กรณีที่สหกรณ์หรือสมำชิกสหกรณ์ประสบสำธำรณภัย คณะกรรมกำรบริหำร กพส. อำจให้ กู้โดยไม่คิดดอกเบี้ยภำยในระยะเวลำเท่ำใดก็ได้ 3) กำรคิดดอกเบี้ยให้เริ่มนับตั้งแต่วันถัดจำกวันที่สหกรณ์รับเงินกู้ยืม ถึงวันที่สหกรณ์ได้ส่ง ช ำระหนี้ให้แก่ผู้ให้กู้ 4) กำรคิดค่ำปรับในอัตรำร้อยละ 6 ต่อปี ส ำหรับต้นเงินที่ค้ำงช ำระนับแต่วันถัดจำกวันที่ถึง ก ำหนดช ำระจนถึงวันที่ได้รับช ำระหนี้ครบถ้วน เว้นแต่จะได้รับกำรผ่อนผัน/ขยำยเวลำช ำระหนี้ หรือปรับปรุง โครงสร้ำงหนี้ 5. หลักประกันเงินกู้ หลักประกันเงินกู้ ตำมระเบียบกรมส่งเสริมสหกรณ์ ว่ำด้วยกำรบริหำรเงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ (กพส.) พ.ศ. 2557 ข้อ 18 สหกรณ์ต้องให้คณะกรรมกำรด ำเนินกำรของสหกรณ์ทั้งคณะ รวมทั้งผู้จัดกำรหรือผู้ที่ได้รับมอบหมำย ให้ปฏิบัติหน้ำที่ผู้จัดกำรสหกรณ์ (ถ้ำมี) เป็นผู้ค ้ำประกันในฐำนะส่วนตัว ในกรณีที่มีกำรเปลี่ยนแปลง คณะกรรมกำรด ำเนินกำรของสหกรณ์ ต้องจัดให้คณะกรรมกำรด ำเนินกำรชุดใหม่ค ้ำประกันเพิ่มเติม และอำจ จัดให้มีหลักประกันเงินกู้อย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง หรือหลำยอย่ำง ดังนี้ ด้วยก็ได้ 1) จ ำนองอสังหำริมทรัพย์ หรือสังหำริมทรัพย์ของสหกรณ์ และ/หรือบุคคลอื่น 2) จ ำน ำสังหำริมทรัพย์ หรือตรำสำรหนี้ของสหกรณ์ และ/หรือบุคคลอื่น 3) บุคคลอื่น กำรพิจำรณำหลักประกันเงินกู้ ให้เป็นอ ำนำจของผู้มีอ ำนำจอนุมัติให้กู้เงิน ตำมระเบียบกรมส่งเสริม สหกรณ์ ว่ำด้วยกำรบริหำรเงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ (กพส.) พ.ศ. 2557 ข้อ 19 เว้นแต่กำรกู้เงินเพื่อลงทุนใน ทรัพย์ ต้องจ ำนองทรัพย์สินนั้นเป็นหลักประกันด้วย


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 87 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 1) เงินกู้ กพส. ทุกสัญญำต้องจัดให้คณะกรรมกำรด ำเนินกำรของสหกรณ์ทั้งคณะ รวมทั้งผู้จัดกำร สหกรณ์ หรือผู้ที่ได้มอบหมำยให้ปฏิบัติหน้ำที่ผู้จัดกำรสหกรณ์ (ถ้ำมี) เป็นผู้ค ้ำประกันในฐำนะส่วนตัว 2) กรณีที่สหกรณ์มีกำรเปลี่ยนแปลงคณะกรรมกำรด ำเนินกำรของสหกรณ์ และสหกรณ์ยังมีหนี้ เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ ให้สหกรณ์จังหวัดแจ้งสหกรณ์ เรียกให้คณะกรรมกำรด ำเนินกำรชุดใหม่ค ้ำประกัน เงินกู้เพิ่มเติมให้แล้วเสร็จภำยใน 30 วัน นับแต่วันที่มีกำรเปลี่ยนแปลง โดยคณะกรรมกำรชุดเก่ำยังไม่พ้นภำระ กำรค ้ำประกันแต่อย่ำงใด 6. ตัวชี้วัดความส าเร็จของการด าเนินงานโครงการ 6.1 จ ำนวนสหกรณ์ที่ขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ส่งช ำระหนี้ได้ตำมก ำหนด ร้อยละ 100 6.2 จ ำนวนสมำชิกสหกรณ์ที่เข้ำร่วมโครงกำรมีรำยได้เพิ่มขึ้น ไม่ต ่ำกว่ำร้อยละ 75 7. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ จังหวัดอ่ำงทอง ได้รับกำรจัดสรรโครงกำรปกติจ ำนวน 9 ล้ำนบำท โครงกำรพิเศษจ ำนวน 16.27 ล้ำน บำท รวมทั้งสิ้น 25.27 ล้ำนบำท ให้กับสหกรณ์จ ำนวน 5 แห่ง พร้อมทั้งได้ติดตำมเร่งรัดหนี้สินเงินกองทุน พัฒนำสหกรณ์ที่ถึงก ำหนดช ำระ 6 สหกรณ์ เป็นเงิน 28.88 ล้ำนบำท 8. ผลการด าเนินการ 8.1 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์รับค ำขอกู้เงิน พร้อมเอกสำรประกอบค ำขอกู้เงิน ให้เจ้ำหน้ำที่จัดท ำทะเบียน คุมเรื่องที่ขอกู้ และบันทึกวันที่รับค ำขอกู้ไว้เป็นหลักฐำน พร้อมทั้งด ำเนินกำรตรวจสอบควำมถูกต้องครบถ้วน ของเอกสำรโดยทันที 8.2 เมื่อส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดรับเรื่องจำกกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ให้เจ้ำหน้ำที่จัดท ำทะเบียนคุมเรื่อง ที่ขอกู้ และบันทึกวันที่รับค ำขอกู้ไว้เป็นหลักฐำน และด ำเนินกำรวิเครำะห์ควำมจ ำเป็น ควำมเป็นไปได้ของ แผนงำน/โครงกำร ควำมเหมำะสมของจ ำนวนเงินกู้ที่สหกรณ์จ ำเป็นต้องใช้ ให้เป็นไปตำมหลักเกณฑ์และแนว ทำงกำรวิเครำะห์ค ำขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ พร้อมทั้ง ให้ควำมเห็นประกอบกำรเสนอค ำขอกู้เงินของ สหกรณ์ เสนอสหกรณ์จังหวัดลงนำมน ำเสนอคณะอนุกรรมกำรพิจำรณำเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ และเสนอ ผู้มีอ ำนำจอนุมัติเป็นล ำดับถัดไป 9. ผลส าเร็จ จากการด าเนินงาน/โครงการ และผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ เชิงปริมาณ สหกรณ์ที่มีควำมประสงค์ขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ จ ำนวน 7 แห่ง ได้รับกำรพิจำรณำอนุมัติเงินกู้ กองทุนพัฒนำสหกรณ์ จ ำนวน 19,250,000 บำท (สิบเก้ำล้ำนสองแสนห้ำหมื่นบำทถ้วน) และสหกรณ์ได้น ำเงิน ไปใช้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์แห่งกำรขอกู้ตำมสัญญำเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ โดยมีรำยละเอียดดังนี้ 1) คณะอนุกรรมกำรพิจำรณำเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ ระดับจังหวัด (อ่ำงทอง) ครั้งที่ 1/2566 เมื่อวันที่ 20 ธันวำคม 2565 ที่ประชุมอนุมัติให้สหกรณ์กู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ จ ำนวน 2 สหกรณ์ จ ำนวน 2 สัญญำ เป็นเงิน 2,750,000.00 บำท (สองล้ำนเจ็ดแสนห้ำหมื่นบำทถ้วน) ประกอบด้วย


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 88 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 1.1 สหกรณ์กำรเกษตรแสวงหำ จ ำกัด ขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์โครงกำรสนับสนุนเงินกู้ แก่สหกรณ์ที่ประสบสำธำรณภัยและอื่นๆ จ ำนวน 750,000.00 บำท (เจ็ดแสนห้ำหมื่นบำทถ้วน) วัตถุประสงค์ เพื่อให้สมำชิกกู้เป็นทุนหมุนเวียนในกำรประกอบอำชีพหลังประสบอุทกภัย 1.2 สหกรณ์กำรเกษตรป่ำโมก จ ำกัด ขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์โครงกำรสนับสนุนเงินกู้ แก่สหกรณ์ที่ประสบสำธำรณภัยและอื่นๆ จ ำนวน 2,000,000.00 บำท (สองล้ำนบำทถ้วน) วัตถุประสงค์ เพื่อให้สมำชิกกู้เพื่อฟื้นฟูอำชีพหลังเกิดอุทกภัย 2) คณะอนุกรรมกำรพิจำรณำเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ ระดับจังหวัด (อ่ำงทอง) ครั้งที่ 2/2566 เมื่อวันที่ 16 มิถุนำยน 2566 ที่ประชุมอนุมัติให้สหกรณ์กู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ จ ำนวน 2 สหกรณ์ จ ำนวน 4 สัญญำ เป็นเงิน 9,900,000.00 บำท (เก้ำล้ำนเก้ำแสนบำทถ้วน) ประกอบด้วย 2.1 สหกรณ์กำรเกษตรโพธิ์ทอง จ ำกัด ขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ จ ำนวน 2 สัญญำ เป็นเงิน 8,000,000.00 บำท (แปดล้ำนบำทถ้วน) ดังนี้ - โครงกำรปกติ จ ำนวน 5,000,000.00 บำท (ห้ำล้ำนบำทถ้วน) วัตถุประสงค์ เพื่อจัดหำสินค้ำ มำจ ำหน่ำย (ปุ๋ย) - โครงกำรสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนให้แก่สหกรณ์ ตำมโครงกำรเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้ำง ภำคเกษตร (ASPL) จ ำนวน 3,000,000.00 บำท (สำมล้ำนบำทถ้วน) วัตถุประสงค์ เพื่อจัดหำสินค้ำมำจ ำหน่ำย (เมล็ดพันธุ์ข้ำวเปลือก) 2.2 สหกรณ์ผู้เพำะเลี้ยงสัตว์น ้ำอ่ำงทอง จ ำกัด ขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ จ ำนวน 2 สัญญำ เป็นเงิน 1,900,000.00 บำท (หนึ่งล้ำนเก้ำแสนบำทถ้วน) ดังนี้ - โครงกำรปกติ จ ำนวน 1,000,000.00 บำท (หนึ่งล้ำนบำทถ้วน) วัตถุประสงค์ ให้สมำชิกกู้ยืม เป็นทุนหมุนเวียนในกำรประกอบอำชีพด้ำนประมงและอำชีพเสริมในด้ำนเกษตรกรรม - โครงกำรสนับสนุนเงินทุนเพื่อเพิ่มพัฒนำศักยภำพด ำเนินธุรกิจสหกรณ์ จ ำนวน 900,000.00 บำท (เก้ำแสนบำทถ้วน) วัตถุประสงค์ ให้สมำชิกกู้ยืมเป็นทุนหมุนเวียนดอกเบี้ยต ่ำในกำรประกอบอำชีพด้ำนประมง 3) คณะอนุกรรมกำรพิจำรณำเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ ระดับจังหวัด (อ่ำงทอง) ครั้งที่ 3/2566 เมื่อวันที่ 18 สิงหำคม 2566 ที่ประชุมอนุมัติให้สหกรณ์กู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ จ ำนวน 2 สหกรณ์ จ ำนวน 4 สัญญำ เป็นเงิน 6,600,000.00 บำท (หกล้ำนหกแสนบำทถ้วน) ประกอบด้วย 3.1 สหกรณ์ประมงและกำรแปรรูปอ่ำงทอง จ ำกัด ขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ จ ำนวน 2 สัญญำ เป็นเงิน 2,000,000.00 บำท (สองล้ำนบำทถ้วน) ดังนี้ - โครงกำรปกติ จ ำนวน 1,000,000.00 บำท (หนึ่งล้ำนบำทถ้วน) วัตถุประสงค์ เพื่อจัด หำสินค้ำมำจ ำหน่ำย (อำหำรปลำ) - โครงกำรปกติ จ ำนวน 1,000,000.00 บำท (หนึ่งล้ำนบำทถ้วน) วัตถุประสงค์เพื่อให้สมำชิก กู้ยืมซื้ออำหำรปลำและวัสดุทำงกำรประมง 3.2 สหกรณ์กำรเกษตรแสวงหำ จ ำกัด ขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ จ ำนวน 2 สัญญำ เป็นเงิน 4,600,000.00 บำท (สี่ล้ำนหกแสนบำทถ้วน) ดังนี้


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 89 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง - โครงกำรสนับสนุนเงินทุนเพื่อกำรพัฒนำอำชีพ ปีที่ 4 จ ำนวน 1,800,000.00 บำท (หนึ่งล้ำน แปดแสนบำทถ้วน) วัตถุประสงค์ ให้สมำชิกกู้ในกำรประกอบอำชีพเสริม - โครงกำรสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนให้แก่สหกรณ์ตำมโครงกำรเงินกู้เพื่อปรับโครงสร้ำง ภำคเกษตร (ASPL) จ ำนวน 2,800,000.00 บำท (สองล้ำนแปดแสนบำทถ้วน) เชิงคุณภาพ สหกรณ์มีควำมเข้ำใจระบบกำรบริหำรเงินทุนของกองทุนพัฒนำสหกรณ์ ที่มีระเบียบปฏิบัติและ ขั้นตอนกำรด ำเนินงำนที่ชัดเจน มีกำรประเมินชั้นคุณภำพลูกหนี้ทุกปี ท ำให้สหกรณ์พยำยำมปรับปรุง และพัฒนำตนเองเพื่ออยู่ในชั้น A ซึ่งมีอัตรำดอกเบี้ยเงินกู้ต ่ำกว่ำชั้นอื่น โดยกำรกู้ยืมและส่งช ำระเป็นไปตำม เงื่อนไขของสัญญำเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ และสหกรณ์ได้น ำเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ไปใช้เป็นไปตำม วัตถุประสงค์ สมำชิกสหกรณ์ได้น ำเงินที่ได้ไปใช้เกิดประโยชน์สูงสุด ประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ 1) สหกรณ์มีโอกำสเข้ำถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต ่ำ เพื่อช่วยเหลือสมำชิกสหกรณ์ 2) สมำชิกสหกรณ์ได้รับกำรช่วยเหลือให้มีเงินทุนหมุนเวียนในกำรประกอบอำชีพ พัฒนำอำชีพ ฟื้นฟู อำชีพ และลดต้นทุนกำรผลิตจำกกำรได้รับเงินกู้ดอกเบี้ยต ่ำ 3) สมำชิกสหกรณ์มีรำยได้เพิ่มขึ้นจำกกำรประกอบอำชีพ 10. แหล่งงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ แหล่งงบประมาณ: เงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ หน่วย : บาท ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ งบด าเนินงาน 25,270,000 19,250,000 76.18 11. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน จังหวัดอ่ำงทองมักประสบกับภัยพิบัติทำงธรรมชำติ เช่น อุทกภัย กำรแพร่ระบำดของโรคและแมลง ระบำด บำงครั้งฝนทิ้งช่วง ส่งผลให้ผลผลิตทำงกำรเกษตรของสมำชิกเสียหำย รำยได้ไม่เพียงพอต่อกำรช ำระหนี้ หรือต่อกำรด ำรงชีพ ข้อเสนอแนะ 1) สหกรณ์ที่ขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ต้องท ำควำมเข้ำใจกับสมำชิกในกำรน ำเงินกู้ไปใช้ให้เกิด ประโยชน์สูงสุดเป็นไปตำมเงื่อนไขและวัตถุประสงค์ของเงินกู้ และมีกำรบริหำรจัดกำรหนี้อย่ำงเป็นระบบของ สมำชิกในกำรที่จะสำมำรถช ำระหนี้ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ 2) เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมสหกรณ์ควรเข้ำประชุมและลงพื้นที่ติดตำมงำน ควบคู่ไปกับกลุ่มงำนวิชำกำรที่ รับผิดชอบโดยตรงจะท ำให้เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมสหกรณ์เข้ำใจในโครงกำรและสำมำรถตอบข้อสงสัยให้กับสหกรณ์ได้ ตลอดจนติดตำมหนี้ได้ตำมก ำหนดระยะเวลำ


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 90 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ประชุมคณะอนุกรรมกำรพิจำรณำเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ ระดับจังหวัดอ่ำงทอง ครั้งที่ 1 วัน อังคำรที่ 20 ธันวำคม 2565 เวลำ 10.00 น.


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 91 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ประชุมคณะอนุกรรมกำรพิจำรณำเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ ระดับจังหวัดอ่ำงทอง ครั้งที่ 2 วันศุกร์ที่ 16 มิถุนำยน 2566 เวลำ 10.00 น.


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 92 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ประชุมคณะอนุกรรมกำรพิจำรณำเงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ ระดับจังหวัดอ่ำงทอง ครั้งที่ 3 วันศุกร์ที่ 18 สิงหำคม 2566 เวลำ 10.00 น.


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 93 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ◼ โครงการ ประชุมเชิงปฏิบัติการ “แนวทางการให้บริการของกองทุนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการเงินกองทุนพัฒนาสหกรณ์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566” 1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อสร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรเงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ให้กับ สหกรณ์ที่กู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ ทั้งสหกรณ์ที่กู้เงินรำยเดิม และสหกรณ์ที่กู้เงินรำยใหม่ 1.2 เพื่อสร้ำงควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์กำรให้เงินกู้ กพส. กำรจัดท ำแผนธุรกิจสหกรณ์ กำรจัดท ำแผนงำนหรือโครงกำรประกอบค ำขอกู้เงิน กพส. กำรจัดท ำเอกสำรประกอบกำรขอกู้เงิน กพส. ตำมวัตถุประสงค์ของกำรขอกู้เงินของสหกรณ์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหำและอุปสรรคต่ำงๆ ในกำรด ำเนินงำน ของสหกรณ์ 1.3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพในกำรบริหำรจัดกำรเงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ 2. ตัวชี้วัด ร้อยละจ ำนวนผู้เข้ำร่วมประชุมโครงกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร “แนวทำงกำรให้บริกำรของกองทุน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรเงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566” ไม่น้อยกว่ำร้อยละ 80 3. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ ผู้เข้ำร่วมประชุม จ ำนวน 23 คน ประกอบด้วย 1) ประธำนสหกรณ์ กรรมกำรสหกรณ์ ผู้จัดกำรสหกรณ์ เจ้ำหน้ำที่สหกรณ์ 2) ข้ำรำชกำร พนักงำนรำชกำร ที่ปฏิบัติงำนเกี่ยวข้องกับกองทุนพัฒนำสหกรณ์ 3) ระยะเวลำด ำเนินโครงกำร ให้แล้วเสร็จภำยในเดือนกุมภำพันธ์ พ.ศ. 2566 จ ำนวน 1 วัน 4) สถำนที่จัดประชุม ณ ห้องประชุมชั้น 3 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดอ่ำงทอง ต ำบลย่ำนซื่อ อ ำเภอเมืองอ่ำงทอง จังหวัดอ่ำงทอง 4. ผลการด าเนินการ 4.1 คัดเลือกสหกรณ์เป้ำหมำย โดยคัดเลือกจำกสหกรณ์ที่เป็นลูกหนี้เงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์ และสหกรณ์ใหม่ที่จะมำใช้บริกำรกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ โดยให้สหกรณ์จัดส่งผู้แทนตำมกลุ่มเป้ำหมำย เข้ำร่วมประชุม 4.2 จัดประชุมเชิงปฏิบัติกำร ให้ควำมรู้ในรูปแบบ บรรยำย ในหัวข้อดังต่อไปนี้ 1) แนวทำงกำรบริหำรจัดกำรเงิน กพส. จ ำนวน 1 ชั่วโมง 2) หลักเกณฑ์กำรให้เงินกู้ กพส. และกำรจัดท ำเอกสำรประกอบ กำรขอกู้เงิน กพส. จ ำนวน 2 ชั่วโมง 3) กำรจัดท ำแผนธุรกิจสหกรณ์ แผนงำนหรือโครงกำร ประกอบกำรขอกู้เงิน กพส. จ ำนวน 2 ชั่วโมง 4) กำรจัดท ำงบกระแสเงินสดในกำรด ำเนินธุรกิจ (Cash Flow) จ ำนวน 1 ชั่วโมง


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 94 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 5. ผลส าเร็จจากการด าเนินงาน/โครงการ และผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ เชิงปริมาณ ร้อยละจ ำนวนผู้เข้ำร่วมประชุมโครงกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร “แนวทำงกำรให้บริกำรของ กองทุน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรเงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ ประจ ำปี งบประมำณ พ.ศ. 2566” ไม่น้อยกว่ำร้อยละ 80 เชิงคุณภาพ บุคลำกรของสหกรณ์มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรเงิน กพส. ประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ 1) ผู้เข้ำร่วมประชุมได้รับควำมรู้ ควำมเข้ำใจ เกี่ยวกับแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรเงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ 2) ผู้เข้ำร่วมประชุมเข้ำใจหลักเกณฑ์กำรให้เงินกู้กองทุนพัฒนำสหกรณ์มำกขึ้น 3) ผู้เข้ำร่วมประชุมสำมำรถจัดท ำแผนธุรกิจสหกรณ์ กำรจัดท ำแผนงำน/โครงกำรประกอบค ำขอกู้ เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ กำรจัดท ำเอกสำรประกอบกำรขอกู้เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ 4) เพื่อเพิ่มโอกำสให้สหกรณ์เข้ำถึงแหล่งเงินทุนเพิ่มมำกขึ้น 6. แหล่งงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ เบิกจ่ำยงบประมำณจำกเงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ ลักษณะอุดหนุนจ่ำยขำดจำกดอกผลกองทุนพัฒนำ สหกรณ์ จ ำนวน 12,110.- บำท (หนึ่งหมื่นสองพันหนึ่งร้อยสิบบำทถ้วน) เพื่อเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรประชุมเชิง ปฏิบัติกำร “แนวทำงกำรให้บริกำรของกองทุน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำร เงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ.2566” 7. ปัญหา/อุปสรรค ในการด าเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ ปัญหา/อุปสรรค และแนวทางการแก้ไขปัญหา กรณีสหกรณ์พบปัญหำ อุปสรรค หรือมีควำมสงสัยเกี่ยวกับข้อมูลรำยละเอียดเชิงลึก สหกรณ์จะได้รับ กำรช่วยเหลือและสนับสนุนจำกส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดอ่ำงทอง คอยเป็นพี่เลี้ยงแนะน ำให้ควำมชัดเจน ในแต่ละโครงกำร ข้อเสนอแนะ 1) ขอให้กองทุนพัฒนำสหกรณ์คงอยู่ เป็นที่พึ่งในด้ำนเงินทุนของสหกรณ์ต่อไป โดยเฉพำะสหกรณ์ ขนำดกลำงและขนำดเล็ก เพื่อน ำเงินทุนนี้ไปเป็นเงินทุนหมุนเวียนให้แก่สมำชิกและเกษตรกร ในกำรประกอบอำชีพ สร้ำงรำยได้ เพื่อควำมเป็นอยู่ที่ดีขึ้น 2) กำรประชุม/อบรม ควรจัดให้มีเป็นประจ ำอย่ำงน้อยปีละ 1 ครั้ง โดยเฉพำะควรให้กำรฝึกปฏิบัติ เพื่อสร้ำงองค์ควำมรู้ ควำมเข้ำใจกระตุ้นกำรเรียนรู้ร่วมกันเพื่อให้ไปในทิศทำงเดียวกัน


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 95 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 5) กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ◼ โครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้าถึงแหล่งเงินทุนในการผลิตและการตลาด 1. วัตถุประสงค์ 1.1 เพื่อสนับสนุนเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรเฉพำะที่มีคุณสมบัติตำมที่โครงกำรฯ ก ำหนดเพื่อให้มี เงินกู้ยืมใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนในแต่ละปี 1.2 เพื่อส่งเสริมเกษตรกรให้สำมำรถจัดหำปัจจัยกำรผลิตทำงกำรเกษตรที่มีคุณภำพ และรำคำ ยุติธรรม ตรงตำมควำมประสงค์ของเกษตรกรเอง เพื่อเป็นกำรลดต้นทุนกำรผลิตของเกษตรกร รวมทั้งสร้ำง รำยได้เพิ่มจำกกำรรวบรวมผลผลิตเพื่อจ ำหน่ำย หรือแปรรูปผลผลิตร่วมกัน 1.3 สร้ำงโอกำสเข้ำถึงแหล่งเงินทุนให้กับเกษตรกร เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหำและสร้ำงควำมยั่งยืนในกำร เพิ่มทุนภำยใน เพื่อให้กำรบริหำรจัดกำรกลุ่มเกษตรกรมีศักยภำพและควำมเข้มแข็งต่อไป โครงกำรประชุมเชิงปฏิบัติกำร “แนวทำงกำรให้บริกำรของกองทุนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภำพกำรบริหำรจัดกำรเงินกองทุนพัฒนำสหกรณ์ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2566”


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 96 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2. เป้าหมาย/พื้นที่ด าเนินการ กลุ่มเกษตรกรในจังหวัดอ่ำงทอง ที่มีคุณสมบัติตำมหลักเกณฑ์และมีควำมประสงค์เข้ำร่วมโครงกำร ขอรับกำรสนับสนุนเงินทุนเพื่อเป็นเงินกู้ยืมให้กับกลุ่มเกษตรกรที่ได้มำตรฐำน ใช้เงินกู้หมุนเวียนแต่ละรอบ กำรผลิตตำมชนิดกำรผลิตของพืช สัตว์ และประมง จ ำนวน 18 แห่ง เป็นจ ำนวนเงิน 8,383,000.- บำท 3. ผลการด าเนินการ 3.1 ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดได้รับวงเงินจัดสรร 3.2 ส ำรวจควำมต้องกำรใช้เงินทุนหมุนเวียน (เงินกู้) ของกลุ่มเกษตรกรที่ผ่ำนหลักเกณฑ์ 3.3 คณะกรรมกำรกลำงกลุ่มเกษตรกรระดับจังหวัด พิจำรณำก ำหนดเป้ำหมำย โดยเรียงล ำดับ ควำมส ำคัญตำมกำรพิจำรณำให้วงเงินกู้ยืม 3.4 กลุ่มเกษตรกร จัดท ำเอกสำรขอกู้ แผนงำน/โครงกำร ส ำเนำรำยงำนกำรประชุมฯ (มติขอกู้) งบทดลอง ณ วันสิ้นเดือนก่อนเสนอขอกู้ งบกำรเงินปีล่ำสุด และ 2 ปีย้อนหลัง และรำยละเอียดทรัพย์สิน จ ำนอง (ถ้ำมี) และเสนอ ณ ที่ท ำกำรส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัด 3.5 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ รับค ำขอกู้เงิน ตรวจสอบเอกสำร ตรวจสอบควำมเหมำะสมกำรกู้เงิน วิเครำะห์และให้ควำมเห็น 3.6 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนำกำรบริหำรกำรจัดกำรสหกรณ์ วิเครำะห์ค ำขอกู้ น ำเสนอข้อมูลต่อ คณะกรรมกำรพิจำรณำเงินกู้ กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โครงกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้ำถึงแหล่งเงินทุนในกำรผลิตและกำรตลำด ระดับจังหวัด 3.7 จัดประชุมคณะกรรมกำรพิจำรณำเงินกู้ กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โครงกำรสร้ำงควำมเข้มแข็ง ให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้ำถึงแหล่งเงินทุนในกำรผลิตและกำรตลำด ระดับจังหวัด เพื่อพิจำรณำค ำขอกู้เงิน รำยงำนผลกำรประชุมเสนอผู้มีอ ำนำจอนุมัติ 3.8 เมื่อผู้มีอ ำนำจได้รับทรำบผลกำรพิจำรณำเงินกู้แล้ว ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัด แจ้งผลกำรพิจำรณำ ให้กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ทรำบ เพื่อแจ้งกลุ่มเกษตรกร ผู้กู้มำจัดท ำสัญญำกู้ยืมเงิน หนังสือค ้ำประกัน และจัดท ำ หลักประกันอื่นๆ ตำมเงื่อนไขกำรกู้ยืมให้เสร็จก่อน จำกนั้นส่งสัญญำกู้ยืมเงิน และหนังสือค ้ำประกันให้ ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัด 3.9 กลุ่มเกษตรกรที่ได้รับกำรพิจำรณำ จัดท ำเอกสำรขอเบิก ซึ่งประกอบด้วย หนังสือขอเบิกเงิน หนังสือสัญญำกู้ยืมเงิน และหนังสือค ้ำประกัน เงินกู้ (ต้นฉบับ/คู่ฉบับ 1 ชุด พร้อมติดอำกรแสตมป์) ส ำเนำ รำยงำนกำรประชุมฯ (มติขอเบิก)/แต่งตั้งผู้แทนกลุ่มเกษตรกร เพื่อลงนำมในหนังสือสัญญำเงินกู้ฯ ส ำเนำบัญชี เงินฝำก ธ.ก.ส. (ที่เปิดไว้เฉพำะโครงกำร) และเอกสำรประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องเสนอต่อส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัด 3.10 กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์รับค ำขอเบิก ตรวจสอบเอกสำร และให้เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมสหกรณ์ลงนำม ในค ำรับรองของเจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมสหกรณ์ 3.11 กลุ่มส่งเสริมและพัฒนำกำรบริหำรกำรจัดกำรสหกรณ์ ตรวจสอบสัญญำกู้ยืมเงิน และหนังสือ ค ้ำประกันของกลุ่มเกษตรกร เมื่อถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์แล้ว จึงเสนอเรื่องกำรขอเบิกเงินกองทุนสงเครำะห์


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 97 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เกษตรกร โครงกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งฯ ต่อผู้มีอ ำนำจอนุมัติแล้วจึงด ำเนินกำรโอนเงินเข้ำบัญชีของ กลุ่มเกษตรกร ตำมเลขที่บัญชีธนำคำรที่เปิดไว้เฉพำะโครงกำร 3.12 เมื่อกลุ่มเกษตรกรได้รับเงินกู้กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร โครงกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งฯ แล้ว ให้จัดส่งหลักฐำนในกำรรับเงินให้กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ของส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัด ดังนี้ ส ำเนำ Statement ส ำเนำบัญชีเงินฝำกธนำคำร (ที่แสดงยอดเงินกู้ที่ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดได้โอนเงินเข้ำบัญชีเรียบร้อยแล้ว) ใบเสร็จรับเงินของกลุ่มเกษตรกร ให้กรรมกำรผู้มีอ ำนำจลงนำมแทน อย่ำงน้อย 2 คน และระบุชื่อต ำแหน่ง บุคคลดังกล่ำว และให้ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ หรือเจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมสหกรณ์ที่ได้รับมอบหมำย รับรองลำยมือชื่อด้ำนหลังใบเสร็จรับเงินต้นฉบับ 3.13 เมื่อกลุ่มเกษตรกรได้รับเงินกู้แล้ว ต้องน ำเงินไปใช้ตำมวัตถุประสงค์ที่ระบุไว้ในสัญญำ เมื่อ ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ สหกรณ์จังหวัด หรือเจ้ำหน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำย รวมทั้งผู้แทนกลุ่มเกษตรกร ที่ได้รับมอบหมำย ตรวจสอบแล้วพบว่ำ กลุ่มเกษตรกรน ำเงินกู้ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ จะถือว่ำกลุ่มเกษตรกร ผิดสัญญำ ฉะนั้น จะถูกบอกเลิกสัญญำและถูกเรียกเงินคืนทันที 3.14 กำรส่งช ำระหนี้ของกลุ่มเกษตรกร เมื่อสัญญำกู้ยืมเงินใกล้จะครบก ำหนด กลุ่มเกษตรกรควรจะ รีบส่งช ำระหนี้ โดยให้โอนเงินเข้ำบัญชีเงินฝำกธนำคำรของส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัด ที่ ธ.ก.ส เงินกองทุน สงเครำะห์เกษตรกร โครงกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งฯ พร้อมทั้งส่งส ำเนำหลักฐำนกำรโอนเงินให้กลุ่มส่งเสริม สหกรณ์ ทรำบทันที เพื่อให้ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัด ด ำเนินกำรตำมแนวทำงปฏิบัติด้ำนกำรบัญชีกำรเงิน ต่อไป 4. ผลส าเร็จจากการด าเนินงาน/โครงการ และผลสัมฤทธิ์หรือประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ เชิงปริมาณ ตัวชี้วัด/กิจกรรม หน่วยนับ แผน ผล ร้อยละ กลุ่มเกษตรกรได้รับเงินทุนหมุนเวียน แห่ง 17 17 100 ติดตำมกลุ่มเกษตรกรที่ใช้เงินกู้กองทุนสงเครำะห์ฯ ที่ได้รับขยำยเวลำช ำระหนี้ ให้เป็นไปตำมวัตถุประสงค์ แห่ง 1 1 100 เชิงคุณภาพ 1) เกษตรกรสมำชิกมีเงินทุนหมุนเวียนในกำรประกอบอำชีพ และช่วยลดต้นทุนกำรผลิต แบ่งเบำภำระ ค่ำใช้จ่ำยของเกษตรกร 2) กลุ่มเกษตรกร มีควำมสำมำรถในกำรบริหำรจัดกำรกลุ่มเกษตรกรเพื่อตอบสนองควำมต้องกำร ของสมำชิก มีทุนภำยในเพิ่มขึ้น สร้ำงควำมเข้มแข็งมั่นคงให้กับกลุ่มเกษตรกร ประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายได้รับ 1) กลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนในกำรพัฒนำศักยภำพในกำรด ำเนินธุรกิจได้อย่ำงกว้ำงขวำง สำมำรถจัดหำ วัสดุอุปกรณ์กำรผลิต ทั้งพืชและสัตว์มำบริกำรสมำชิกได้ทั่วถึง สอดคล้องกับควำมต้องกำรของสมำชิก 2) สมำชิกกลุ่มเกษตรกรมีเงินทุนเพียงพอในกำรประกอบอำชีพกำรเกษตร สำมำรถลดต้นทุนกำรผลิต และรำยได้เพิ่มขึ้นเพียงพอแก่กำรด ำรงชีพ


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 98 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 3) กลุ่มเกษตรกรสำมำรถขยำยตลำดจ ำหน่ำยผลิตผลได้เพิ่มขึ้น เนื่องจำกได้รับกำรสนับสนุนเงินทุน ปลอดดอกเบี้ย ท ำให้ต้นทุนกำรผลิตต ่ำกว่ำภำคเอกชนมีเงินทุนในกำรประกอบอำชีพกำรเกษตร 4) กลุ่มเกษตรกรได้รับกำรส่งเสริมให้ด ำเนินธุรกิจครบวงจรไม่ต ่ำกว่ำ 2 ธุรกิจต่อกลุ่ม ได้แก่ ธุรกิจให้ เงินกู้ และธุรกิจจัดหำสินค้ำมำจ ำหน่ำย เนื่องจำกโครงกำรมีวัตถุประสงค์ช่วยเหลือเกษตรกรครอบคลุมหลำยด้ำน 5. แหล่งงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับจัดสรร และผลการใช้จ่ายงบประมาณ แหล่งงบประมาณ เงินนอกงบประมำณ เงินทุนหมุนเวียนและเงินค่ำบริหำรจัดกำร โครงกำรสร้ำง ควำมเข้มแข็งให้กับกลุ่มเกษตรกร เพื่อเข้ำถึงแหล่งเงินทุนในกำรผลิตและกำรตลำด หน่วย : บาท ประเภทงบรายจ่าย งบประมาณที่ได้รับ ผลเบิกจ่าย ร้อยละ เงินค่าบริหารจัดการ 17,890.- 9,570.- 53.49 เงินทุนหมุนเวียน 8,383,000.- 8,315,000.- 99.19 6. ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน และแนวทางการแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะ ปัญหา/อุปสรรคในการด าเนินงาน กลุ่มเกษตรกรบำงแห่งได้รับเงินทุนหมุนเวียนไม่ตรงรอบกำรผลิต และกลุ่มเกษตรกรบำงแห่งในพื้นที่ ประสบปัญหำอุทกภัย ส่งผลกระทบต่อพืชผลกำรเกษตร ผลผลิตเสียหำย รอบระยะเวลำกำรผลิตล่ำช้ำ ส่งผล ต่อกำรช ำระหนี้กองทุนสงเครำะห์เกษตรกร ข้อเสนอแนะ 1) เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมสหกรณ์ควรปฏิบัติหน้ำที่ควบคู่กับกลุ่มส่งเสริมและพัฒนำกำรบริหำรกำรจัดกำร สหกรณ์ เพื่อเข้ำใจวัตถุประสงค์ที่แท้จริงของโครงกำร เพื่อที่จะสำมำรถแนะน ำกำรใช้เงินกู้ยืมได้อย่ำงถูกต้อง ตำมวัตถุประสงค์ตลอดจนติดตำมหนี้ให้สำมำรถส่งตำมก ำหนดระยะเวลำ 2) ติดตำมกำรใช้เงินกู้กองทุนสงเครำะห์เกษตรกรที่ขอกู้เงินและที่ได้รับกำรขยำยเวลำช ำระหนี้ให้ เป็นไปตำมวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันปัญหำกำรน ำเงินกู้ไปใช้ผิดวัตถุประสงค์และไม่สำมำรถส่งช ำระหนี้เงินกู้ได้ 3) ติดตำมกำรส่งช ำระหนี้ของกลุ่มเกษตรกรที่ขอกู้เงินและขอขยำยระยะเวลำช ำระหนี้ ให้เป็นไปตำม ก ำหนดเพื่อให้กลุ่มเกษตรกรมีโอกำสในกำรเข้ำถึงแหล่งเงินทุน ดอกเบี้ยต ่ำในโครงกำรต่อไป ซึ่งจะเป็น กำรช่วยเหลือสมำชิก และสร้ำงควำมเข้มแข็งให้แก่กลุ่มเกษตรกรต่อไป


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 99 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการกลางกลุ่มเกษตรกร ระดับจังหวัด เพื่อดำเนินการคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 ประชุมคณะกรรมการพิจารณาเงินกู้กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 /2566 วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2566


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 100 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ติดตามการใช้เงินกู้ของกลุ่มเกษตรกรที่ได้รับเงินกู้และขยายเวลา กองทุสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสร้างความเข้มแข็งฯ ปีที่ 8 (จำนวน 18 แห่ง)


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 101 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง กิจกรรม ส่วนที่ 3 ประชาสัมพันธ์


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 102 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 1) “GI fresh 2 you อัตลักษณ์ ปลอดภัย มั่นใจสินค้าเกษตร” ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 วันที่ 29 มิ ถุนายน 2566 นายกฤตพจน์ ไชโย สหกรณ์ จังหวัดอ่ างทอง มอบหมายให้ นายสันติจันทร์สถานนท์ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ พร้อมด้วย นางสาวภาวิดา จ าปาทอง นักวิชาการสหกรณ์ปฏิบัติการ และนางสาวปัณณภัสร์ ตันประดับสิงห์ นักวิชาการมาตรฐานสินค้า เข้าร่วมงาน แสดงและจ าหน่ายสินค้าเกษตรปลอดภัยและสินค้าเกษตรอัตลักษณ์ “GI fresh 2 you อัตลักษณ์ ปลอดภัย มั่นใจสินค้าเกษตร” ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหว่างวันที่ 29 มิถุนายน - 3 กรกฎาคม 2566 โดยมีนายวิศิษฐ์ศรีสุวรรณ์อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นประธานในพิธีเปิดงานแสดงและจ าหน่ายสินค้า ปลอดภัยฯ จังหวัดอ่างทอง มีสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ลุ่มแม่น ้าน้อย จ ากัด น าไข่ไก่ คุณภาพดีผ่านการรับรอง มาตรฐาน gap gmp และมาตรฐาน Q เข้าร่วมแสดงและจ าหน่ายสินค้า ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลปิ่นเกล้า ชั้น G ถนนบรมราชชนนี แขวงอรุณอมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 3.1 กิจกรรมของหน่วยงาน


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 103 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2) เจรจาขายปลากับ บริษัท NPP food service CO., LTD วันพฤหัสบดีที่22 มิถุนายน 2566 เวลา 10.00 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง โดยนายกฤตพจน์ ไชโย สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง พร้อมด้วย นายสันติ จันทร์สถานนท์ ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ สหกรณ์ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง พาผู้แทนสหกรณ์ผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น ้าอ่างทอง จ ากัด เจรจาขายปลากับ บริษัท NPP food service CO., LTD. เพื่อหาข้อสรุปในการจ าหน่ายปลา โดยบริษัทจะรับซื้อปลายี่สก ปลานิล และปลาสวาย เพื่อให้สมาชิกมีช่องทางการจ าหน่ายเพิ่มขึ้น และหาแนวทางแก้ไขปัญหาราคาปลาตกต ่า ณ บริษัท NPP food service CO., LTD. อ าเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร 3) การจัดท าแผนกลยุทธ์สู่แผนปฏิบัติการ อย่างมีประสิทธิภาพ วันที่ 17 - 18 มิถุนายน 2566 เวลา 09.00 น. นายกฤตพจน์ ไชโย สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มอบหมายให้ นางสาวโชติกา อ่อนศรี ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์ พร้อมคณะท างาน ร่วมจัดท าแผนกลยุทธ์ของสหกรณ์การเกษตรไชโย จ ากัด ซึ่งได้มีการก าหนดกลยุทธ์พร้อม กับจัดท าแผนงานโครงการภายใต้กลยุทธ์ที่ก าหนดเพื่อบรรลุวิสัยทัศน์และสอดคล้องกับแผนพัฒนาการสหกรณ์ ฉบับที่ 5 ของกรมส่งเสริมสหกรณ์ พร้อมทั้งสรุปผลการจัดประชุมตามโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ “การ จัดท าแผนกลยุทธ์สู่แผนปฏิบัติการ อย่างมีประสิทธิภาพ” เป้าหมายประกอบด้วย คณะกรรมการ ผู้น ากลุ่ม และเจ้าหน้าที่สหกรณ์ รวมทั้งสิ้น 42 รายณ ห้องประชุมสหกรณ์การเกษตรไชโย จ ากัด อ าเภอไชโย จังหวัด อ่างทอง


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 104 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 4) “7 มิถุนายน 2566 วันสหกรณ์นักเรียน ปี 2566” วันพุธที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง จัดงาน“7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจ าปี 2566" ณ โรงเรียนวัดท่าชุมนุม หมู่ที่ 4 ต าบลโพธิ์ม่วงพันธ์ อ าเภอสามโก้ จังหวัด อ่างทอง โดย นายรังสรรค์ ตันเจริญ ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง มอบหมายให้ นายศักดิ์ดา บรรดาศักดิ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง เป็นประธานเปิดงาน “7 มิถุนายน วันสหกรณ์นักเรียน ประจ าปี 2566" เพื่อเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีที่ทรง มีพระราชด าริในการส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนวิชาการสหกรณ์ในโรงเรียน และปลูกฝังหลักการและวิธีการ สหกรณ์ไปสู่เยาวชนผ่านกิจกรรมสหกรณ์นักเรียน และเพื่อส่งเสริมการพัฒนาการจัดการเรียนรู้สหกรณ์ ในโรงเรียน โดยมี นายกฤตพจน์ ไชโย สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง พร้อมด้วย ข้าราชการและพนักงานราชการ ในสังกัด และ หัวหน้าส่วนราชการจังหวัดอ่างทอง ผู้แทนสหกรณ์ในจังหวัดอ่างทอง จ านวน 150 คน ร่วมให้ การต้อนรับภายในงานมีกิจกรรม ฐานการเรียนรู้ด้านการสหกรณ์ในโรงเรียนโดยส านักงานสหกรณ์จังหวัด อ่างทอง ฐานโรคพืชและแมลงศัตรูพืช โดย ส านักงานเกษตรจังหวัดอ่างทองฐานด้านบัญชีรับ-จ่ายในครัวเรือน โดย ส านักงานตรวจบัญชีสหกรณ์อ่างทอง ฐานการเลี้ยงปลาสวยงาม โดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยง สัตว์น ้าจืดอ่างทอง ฐานดิน และความหลากหลายของดิน โดย สถานีพัฒนาที่ดินอ่างทอง และมีกิจกรรมตอบ ค าถามชิงรางวัลจากการเข้าฐานเรียนรู้ 5 ฐาน


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 105 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 5) โครงการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพด้านการประชาสัมพันธ์ของสหกรณ์ วันพฤหัสบดี ที่ 17 สิงหาคม 2566 เวลา 16.00 น. นายกฤตพจน์ ไชโย สหกรณ์จังหวัด อ่างทอง มอบหมายให้ ทีมประชาสัมพันธ์ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง เข้าร่วมแนะน าการจัดท าช่องทาง การประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารและสื่อต่างๆ ของสหกรณ์การเกษตรไชโย จ ากัด ตามโครงการพัฒนาและ เพิ่มประสิทธิภาพด้านการประชาสัมพันธ์ของสหกรณ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้สหกรณ์มีความมั่นคงทางธุรกิจ ด้วยเทคโนโลยี ภายใต้กลยุทธ์ที่ 2 ด้านการส่งเสริมขับเคลื่อนองค์กรและการด าเนินธุรกิจด้วยเทคโนโลยี และข้อมูลสารสนเทศ โดยมีฝ่ายจัดการเข้าร่วม ณ ที่ท าการสหกรณ์การเกษตรไชโย จ ากัด อ าเภอไชโย จังหวัด อ่างทอง 1) วันสหกรณ์แห่งชาติ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2566 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง น าโดย นายกฤตพจน์ ไชโย สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ข้าราชการและพนักงานราชการในสังกัด พร้อมด้วย ผู้แทนสหกรณ์ในจังหวัดอ่างทอง เข้าร่วมพิธีวางพานพุ่มดอกไม้สดเพื่อสักการะพระบิดาแห่งการสหกรณ์ไทย เนื่องในวันสหกรณ์แห่งชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อร าลึกถึงพระกรุณาธิคุณของพระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ “พระบิดาแห่ง การสหกรณ์ไทย” และเพื่อเป็นการส่งเสริมความสัมพันธ์ในขบวนการสหกรณ์ให้เกิดความร่วมมือกันท างาน เพื่อประโยชน์แก่ขบวนการสหกรณ์ แสดงถึงการรวมพลังสามัคคี ความพร้อมเพรียงกันในขบวนการสหกรณ์ ณ ห้องประชุม ชั้น 3 สหกรณ์การเกษตรวิเศษชัยชาญ จ ากัด อ าเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง 3.2 กิจกรรมที่หน่วยงานด าเนินการร่วมกับสถาบันเกษตรกรในพื้นที่


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 106 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2) “CPD Family Rally Trip #4 สร้างอนาคต รอยยิ้ม และเสียงหัวเราะ” วันเสาร์ที่ 15 กรกฎาคม 2566 เวลา 11.30 น. ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง น าโดย นายกฤตพจน์ ไชโย สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง พร้อมด้วย บุคลากรในสังกัด และสหกรณ์ในจังหวัดอ่างทอง ร่วมให้การต้อนรับ นายวิศิษฐ์ ศรีสุวรรณ์ อธิบดีกรมส่งเสริมสหกรณ์ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ และผู้เข้าร่วมการแข่งขันแรลลี่การกุศลกรมส่งเสริมสหกรณ์ “CPD Family Rally Trip #4 สร้างอนาคต รอยยิ้ม และเสียงหัวเราะ” มอบทุนการศึกษา อุปกรณ์กีฬา อุปกรณ์การเรียน นมยูเอชที น ้าดื่ม รวมมูลค่า 78,071 บาท และข้าวหอมมะลิ 2,525 กิโลกรัม ให้แก่ โรงเรียนวัดเจ้าบุญเกิด อ าเภอไชโย จังหวัด อ่างทอง รวมทั้งได้จัดกิจกรรมเลี้ยงอาหารกลางวันเด็กนักเรียนอีกด้วย 1) พิธีท าบุญตักบาตรถวายพระราชกุศลเนื่องในวันพ่อแห่งชาติ และวันชาติ วันจันทร์ที่ 5 ธันวาคม 2565 เวลา 06.30 น. สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง พร้อมด้วยข้าราชการ และพนักงานราชการ ในสังกัด เข้าร่วมกิจกรรมเนื่องในวันคล้ายวันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระ บรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนนาถบพิตร วันชาติ และวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2565 โดยมีนายรังสรรค์ ตันเจริญ ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง เป็นประธานพิธี ประกอบด้วยพิธีท าบุญตักบาตรถวาย พระราชกุศล พิธีวางพานพุ่มดอกไม้และพิธีถวายบังคม ณ สนามหน้าศาลากลางจังหวัดอ่างทอง อ าเภอเมือง อ่างทอง จังหวัดอ่างทอง และกิจกรรมจิตอาสา ณ วัดวิเศษชัยชาญ ต าบลไผ่จ าศีล อ าเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัด อ่างทอง 3.3กิจกรรมที่หน่วยงานด าเนินการร่วมกับหน่วยงานภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นที่


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 107 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 2) วันถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อเริ่มฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง น าโดย นายขจรยศ วัลไพจิตร และข้าราชการ พนักงาน ราชการในสังกัดกลุ่มจัดตั้งและส่งงเสริมสหกรณ์ พร้อมด้วย หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข้าร่วมงาน “วันถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อเริ่มฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ระหว่างวันที่ 27 ธันวาคม 2566 ถึงวันที่ 30 มกราคม 2567 “เพื่อเข้าร่วมให้ความรู้ ด้านการสหกรณ์ และสนับสนุนสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ องค์ความรู้ด้านการสหกรณ์ ให้กับเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดอ่างทอง 3) ไถ่กลบแทนเผา บรรเทามลพิษ พิชิตหมอกควัน” วันอังคาร ที่ 24 - 31 มกราคม 2566 เวลา 09.00 น. นายขจรยศ วัลไพจิตร นักวิชาการ สหกรณ์ช านาญการ ร่วมกับ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เข้าร่วมงาน “ไถ่กลบแทนเผา


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 108 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง บรรเทามลพิษ พิชิตหมอกควัน” ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เพื่อช่วยในการปรับปรุงบ ารุงดินและลด ปัญหาภาวะโลกร้อน ส่งเสริมให้เกษตรกรลด ละ เลิก การเผาเศษวัสดุทางการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรสามารถ ใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืน ณ บ้านทุ่งตาเงิน ม.11 ต าบลร ามะสัก อ าเภอโพธิ์ทอง จังหวัด อ่างทอง 4) โครงการเดิน-วิ่งเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันศุกร์ที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 06.30 น. นายกฤตพนจ์ ไชโย สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง นางธนภร ชูพินิจ ผู้อ านวยการกลุ่มตรวจการสหกรณ์ นางสาวโชติกา อ่อนศรี ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารจัดการสหกรณ์ และนายกิตติศักดิ์ ภูวิโรจน์ ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 พร้อมด้วย หัวหน้าส่วนราชการ นายอ าเภอ ผู้บริหารองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นและพสกนิกรจังหวัดอ่างทอง เข้าร่วม โครงการเดิน-วิ่งเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวันฉัตรมงคล 4 พฤษภาคม 2566 เพื่อเป็นการส านึกในพระมหากรุณาธิคุณและสืบสานพระราชกรณียกิจด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว โดยมีนายรังสรรค์ ตันเจริญ ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทองเป็นประธาน ในพิธีเปิด ณ อุทยาน สวรรค์อ่างทองหนองเจ็ดเส้น ตัวบลหัวไผ่ อ าเภอเมืองอ่างทอง และต าบลสายทอง อ าเภอป่าโมก จังหวัด อ่างทอง


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 109 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 5) ครอบครัวหิ้วตะกร้า ศรัทธาอิ่มบุญ อุดหนุนชุมชน วันศุกร์ที่ 19 พฤษภาคม 2566 เวลา 06.30 น. นายกฤตพจน์ ไชโย สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มอบหมายให้ข้าราชการและพนักงานราชการ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 2 เข้าร่วมโครงการวันพระสุขใจ " ครอบครัวหิ้วตะกร้า ศรัทธาอิ่มบุญ อุดหนุนชุมชน " เพื่อส่งเสริมให้พุทธศาสนิกชน ได้เข้าวัดท าบุญ ตักบาตร อาห ารคาวหวาน รักษ าศีล น้อมน าหลักธรรมท างพ ระพุทธศ าสน าม าป ระยุกต์ใช้ในชีวิต โดยมี นายรังสรรค์ตันเจริญ ผู้ว่าราชการจังหวัดอ่างทอง เป็นประธานในพิธีท าบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารแด่ พระภิกษุสงฆ์ฟังพระธรรมเทศนา ณ ศาลาการเปรียญวัดสระเกษ อ าเภอไชโย จังหวัดอ่างทอง


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 110 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง 6) เราท าความดี ด้วยหัวใจ วันศุกร์ที่ 28 กรกฎาคม 2566 เวลา 10.00 น. นายกฤตพจน์ ไชโย สหกรณ์จังหวัดอ่างทอง มอบหมายให้ นายสันติ จันทร์สถานนท์ ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์ พร้อมด้วย บุคลากร ในสังกัด เข้าร่วมกิจกรรมจิตอาสาบ าเพ็ญสาธารณประโยชน์ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2566 โดยมีนายรังสรรค์ ตันเจริญ ผู้ว่าราชการจังหวัด อ่างทอง เป็นประธานพิธี โดยน้อมน าแนวทางจิตอาสาพระราชทานตามโครงการจิตอาสา "เราท าความดี ด้วยหัวใจ" มาจัดกิจกรรมจิตอาสาบ าเพ็ญสาธารณประโยชน์ ปรับภูมิทัศน์ และท าความสะอาด ณ บริเวณ วัดสุธาดล ต าบลบ้านอิฐ อ าเภอเมืองอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง เพื่อเป็นการสร้างจิตส านึกในการดูแลรักษาความ สะอาดศาสนาสถาน และท านุบ ารุงพระพุทธศาสนา เพื่อถวายพระพรชัยมงคลและสืบสานพระราชปณิธาน อันแน่วแน่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีพระราชปรารถนาให้พสกนิกรชาวไทยมีวิถีการด าเนินชีวิต ที่มีความสุขอย่างยั่งยืนสืบไป


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 111 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง รายงาน ส่วนที่ 4 ทางการเงิน


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 112 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ส่วนราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2566 สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินทดรองราชการ 5,000.00 เงินฝากคลัง 85,619.07 เงินฝากธนาคาร-ในงบประมาณ 64,242.00 ลูกหนี้เงินยืม 3,625.00 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 158,486.07 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อาคาร (สุทธิ) (1) 1,125,602.67 ครุภัณฑ์ (สุทธิ) (2) 1,095,286.45 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 2,220,889.12 รวมสินทรัพย์ 2,379,375.19 หนี้สิน หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า-บุคคลภายนอก 64,800.00 สาธารณูปโภคค้างจ่าย 8,643.82 เงินรับฝากอื่น 85,619.07 รวมหนี้สินหมุนเวียน 159,062.89 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินทดรองราชการรับจากคลัง - ด าเนินงาน 5,000.00 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 5,000.00 รวมหนี้สิน 164,062.89 ทุน ทุนของหน่วยงาน 1,567,150.00 รายได้ สูง/(ต ่า) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม 1,499,872.67 รายได้ สูง/(ต ่า) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ (851,710.37) รวมส่วนทุน 2,215,312.30 รวมหนี้สินและทุน 2,379,375.19 4.1 งบแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 30 กันยายน 2566


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 113 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ส่วนราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน ส าหรับปีสิ้นสุดวันที่30 กันยายน 2566 รายได้จากการด าเนินงาน รายได้เหลือจ่าย 2,029.50 รายได้จากงบบุคลากร 3,947,160.00 รายได้จากงบด าเนินงาน 2,363,333.90 รายได้จากงบอุดหนุน 1,519,224.10 รายได้จากงบกลาง 187,704.00 รายได้สรก.รับเงินนอก 52,440.00 รายได้ปรับเงินฝากคลัง 79,093.99 รวมรายได้จากการด าเนินงาน 8,150,985.49 ค่าใช้จ่ายจากการด าเนินงาน ค่าใช้จ่ายงบบุคลากร (3) 3,947,160.00 ค่าใช้จ่ายงบด าเนินงาน (4) 2,434,792.72 ค่าใช้จ่ายงบกลาง 107,604.00 ค่าใช้จ่ายงบอุดหนุนทั่วไป (5) 1,516,515.58 ค่าใช้จ่ายงบรายจ่ายอื่น 138,540.91 ค่าใช้จ่ายอื่น 858,082.65 รวมค่าใช้จ่ายจากการด าเนินงาน 9,002,695.86 รายได้สูง/(ต ่า)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ -851,710.37 4.2 งบแสดงผลการด าเนินงานทางการเงิน ส าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2566


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 114 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง หมายเหตุที่ 1 นโยบายการบัญชีที่ส าคัญ 1.1 หลักการบัญชี เป็นไปตามหลักการและนโยบายบัญชีส าหรับหน่วยงานภาครัฐตามที่กระทรวงการคลังก าหนด และระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ ( New GFMIS ) , ระบบบัญชีแยกประเภท ตามเกณฑ์คงค้าง 1.2 ขอบเขตของข้อมูลในรายงาน รายงานที่ปรากฏในรายงาน รวมถึงสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นของรัฐบาลใน ภาพรวม แต่ให้หน่วยงานเป็นผู้รับผิดชอบในการดูแลรักษาและบริหารจัดการ ให้แก่รัฐบาลภายใต้อ านาจ หน้าที่ ตามกฎหมาย รวมถึงสินทรัพย์ หนี้สิน รายได้ และค่าใช้จ่าย ซึ่งเป็นของหน่วยงานที่ใช้เพื่อประโยชน์ใน การด าเนินงานของหน่วยงานเอง ไม่ว่ารายการดังกล่าวจะเป็นรายการที่เกิดจากเงินงบประมาณหรือเงินนอก งบประมาณ ซึ่งเป็นรายการที่เกิดขึ้นของส านักงาน 1.3 การรับรู้รายได้ 1) รายได้จากเงินงบประมาณรับรู้เมื่อได้รับอนุมัติ 2) รายได้เงินนอกงบประมาณรับรู้เมื่อเกิดรายได้ 3) รายได้แผ่นดินรับรู้ เมื่อได้รับเงิน 1.4 ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจ าหน่าย ค านวณจากราคาทุนของครุภัณฑ์ อาคารและสิ่งปลูกสร้าง โดยวิธีเส้นตรงตามอายุการใช้งาน โดยประมาณอายุการใช้งานของสินทรัพย์ ดังนี้ 1) อาคารและสิ่งปลูกสร้าง 15 ปี 2) ครุภัณฑ์ต่างๆ 2 - 15 ปี หมายเหตุที่ 2 อาคาร (สุทธิ) อาคารพักอาศัย 813,800.00 ค่าเสื่อมสะสม-อาคารพักอาศัย -247,623.36 อาคารส านักงาน 6,471,200.00 ค่าเสื่อมสะสม - อาคารส านักงาน -6,293,921.40 อาคารเพื่อประโยชน์อื่น 1,288,213.00 ส่วนราชการ ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส าหรับปี สิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2566 4.3 หมายเหตุประกอบงบการเงิน ส าหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2566


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 115 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ค่าเสื่อมสะสม - อาคารเพื่อประโยชน์อื่น -1,288,209.00 สิ่งปลูกสร้าง 1,010,849.00 ค่าเสื่อมสะสม - สิ่งปลูกสร้าง -628,705.57 รวม 1,125,602.67 หมายเหตุที่3 ครุภัณฑ์ (สุทธิ) ครุภัณฑ์ส านักงาน 542,479.00 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์ส านักงาน -443,329.43 ครุภัณฑ์ยานพาหนะ 4,690,400.00 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์ยานพาหนะ -3,898,291.89 ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ 240,159.21 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์ไฟฟ้าและวิทยุ -236,747.97 ครุภัณฑ์โฆษณา 408,500.00 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์โฆษณา -398,554.23 ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 982,399.83 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ -847,023.24 ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว 14,600.00 ค่าเสื่อมสะสม - ครุภัณฑ์งานบ้านงานครัว -14,598.00 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 96,000.00 ค่าเสื่อมสะสม - โปรแกรมคอมพิวเตอร์ -40,706.83 รวม 1,095,286.45 หมายเหตุที่ 4 ค่าใช้จ่ายงบบุคลากร ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 3,923,160.00 เงินค่าครองชีพ 24000.00 รวม 3,947,160.00 หมายเหตุที่ 5 ค่าใช้จ่ายงบกลาง เงินช่วยการศึกษาบุตร 68,690.00 ค่ารักษาพยาบาลคนไข้นอก-ร.พ.รัฐ 22,164.00 ค่ารักษาพยาบาลคนไข้ใน-ร.พ.เอกชน 14,000.00 ค่ารักษาพยาบาลคนไข้บ านาญนอก-ร.พ.รัฐ 2,750.00 รวม 107,604.00


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 116 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง หมายเหตุที่ 6 ค่าใช้จ่ายงบด าเนินงาน เงินช่วยเหลือ-ตาย 80,100.00 เงินสมทบประกันสังคม 112,470.00 ค่าเช่าบ้าน 526,900.00 เงินสมทบกองทุนเงินทดแทน 1,415.00 ค่าใช้จ่ายฝึกอบรม-ภายนอก 53,360.00 เบี้ยเลี้ยง 119,720.00 ค่าที่พัก 11,960.00 ค่าใช้จ่ายเดินทางภายในประเทศ 31,374.00 ค่าวัสดุ 106,514.25 ค่าซ่อมแซมและบ ารุงฯ 59,784.44 ค่าเชื้อเพลิง 181,282.60 ค่าจ้างเหมาบริการบุคคล-ภายนอก 838,872.50 ค่าไฟฟ้า 117,500.77 ค่าประปาและน ้าบาดาล 29,468.55 ค่าโทรศัพท์ 57,537.13 ค่าสื่อสารและโทรคมนาคม 23,010.00 ค่าไปรษณีย์และขนส่ง 18,290.00 ค่าเบี้ยประกันภัย 625.95 ค่าใช้จ่ายในการประชุม 60,695.00 ค่าใช้สอยอื่น 3,912.53 รวม 2,434,792.72 หมายเหตุที่ 7 ค่าใช้จ่ายงบรายจ่ายอื่น เบิกเกินส่งคืน 4,977.42 โอนเงินให้ สรก. 79,093.99 โอนรายได้แผ่นดินให้บก. 2,029.50 ปรับเงินฝากคลัง 52,440.00 รวม 138,540.91


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 117 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง หมายเหตุที่ 8 ค่าใช้จ่ายอื่น ค่าเสื่อมราคา-อาคาร 54,253.33 ค่าเสื่อมราคา-อาคารส านักงาน 347,944.70 ค่าเสื่อมราคา-สิ่งปลูกสร้าง 69,023.43 ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์ส านักงาน 60,008.67 ค่าเสื่อมราคาครุภัณฑ์ยานพาหนะ 221,162.01 ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์ไฟฟ้า 2,140.52 ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์โฆษณา 22,391.66 ค่าเสื่อมราคา-ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ 61,957.56 ตัดจ าหน่าย-software 19,200.77 รวม 858,082.65 บทวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านงบประมาณของส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย พ.ศ.2566 ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองได้รับการจัดสรร งบประมาณรายจ่ายประจ าปี จ านวน 7,824,850.58 บาท โดยจ าแนกเป็นงบบุคลากร 3,947,160 บาท งบด าเนินงาน 2,361,175 บาท และงบเงินอุดหนุน 1,516,515.58 บาท ตารางงบประมาณรายจ่ายส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 – พ.ศ. 2565 หน่วย : บาท งบประมาณ รายจ่าย งบประมาณ เพิ่ม/ลด ปี 2565 สัดส่วน ปี2566 สัดส่วน บาท (ร้อยละ) งบบุคคลากร 3,786,371.00 47.90 3,947,160.00 50.44 160,789.00 4.27 งบด าเนินงาน 2,243,792.95 28.38 2,361,175.00 30.18 117,382.05 5.23 งบลงทุน 438,400.00 5.54 -438,400.00 -5.54 งบเงินอุดหนุน 1,437,124.74 18.18 1,516,515.58 19.38 79,390.84 5.52 รวมทั้งสิ้น 7,905,688.69 100.00 7,824,850.58 100.00 357,561.89 -4.52 หากพิจารณาแล้วงบประมาณที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทองได้รับในแต่ละปีจะถูกจัดสรรให้กลุ่มงานต่างๆ ตามแผนงาน/โครงการเพื่อด าเนินการตามภารกิจ ซึ่งงบประมาณที่ได้รับจัดสรรรวมถึงการเบิกจ่ายงบประมาณ เป็นตัวชี้วัดหนึ่งที่สะท้อนประสิทธิภาพของการด าเนินงานและการบริหารจัดการภายในหน่วยงาน จากการ วิเคราะห์งบประมาณประจ าปี พ.ศ. 2566 และ พ.ศ. 2565 พบว่า งบประมาณที่ส านักงานสหกรณ์จังหวัด อ่างทองได้รับจัดสรร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ได้รับจัดสรรลดลงร้อยละ 4.52 เนื่องจากไม่ได้รับสรรจัด งบประมาณในส่วนของงบลงทุน


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 118 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ส่วนที่ 5 บรรณานุกรม


WE ARE HOPE เรา คือ ความหวังของเกษตรกร 119 รายงานประจำปี(Annual Report) 2566 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง บรรณานุกรม กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์. (2566) กราฟแสดงผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร (รายงานประจําปี 2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์. (2566) จํานวนสหกรณ์และจํานวนสมาชิกสหกรณ์. (รายงานประจําปี2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์. (2566) ผลการจัดระดับชั้นกลุ่มเกษตรกร.จําแนกตามประเภท (รายงานประจําปี 2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์. (2566) ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ จําแนกตามประเภท. (รายงานประจําปี 2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์. (2566) ผลการจัดระดับชั้นสหกรณ์ เปรียบเทียบ 3 ปี. (รายงานประจําปี 2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์. (2566) สถานะกลุ่มเกษตรกร. (รายงานประจําปี2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์. (2566) สถานะสหกรณ์. (รายงานประจําปี2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์. (2566) ผลการดําเนินงานของกลุ่มเกษตรกร. (รายงานประจําปี 2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์. (2566) ผลการดําเนินงานของสหกรณ์. (รายงานประจําปี 2566,สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์. (2566) กลุ่มอาชีพแยกตามประเภทผลิตภัณฑ์. (รายงานประจําปี 2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์. (2566) จํานวนกลุ่มเกษตรกรและจํานวนสมาชิกกลุ่มเกษตรกร. (รายงานประจําปี 2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์. (2566) ปริมาณธุรกิจกลุ่มเกษตรกร. (รายงานประจําปี 2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจสหกรณ์. (2566) ปริมาณธุรกิจของสหกรณ์. (รายงานประจําปี 2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) ฝ่ายบริหารทั่วไป. (2566) ข้อมูลทางการเงินสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง. (รายงานประจําปี2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง) ฝ่ายบริหารทั่วไป. (2566) สรุปผลการปฎิบัติงาน และผลเบิกจ่ายงบประมาณ ตามแผนปฏิบัติงาน. (รายงานประจําปี 2566, สํานักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง)


Click to View FlipBook Version