The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลสิ่งสนับสนุนปี 64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Library SDU Trang, 2022-05-17 03:56:47

รายงานผลสิ่งสนับสนุนปี 64

รายงานผลสิ่งสนับสนุนปี 64

รายงานผล

ความพึงพอใจในการรับบริการห้องสมุด อุปกรณ์
การศึกษา สภาพแวดล้อมและสถานที่ที่เอื้อต่อการ

เรียนรู้ประจำปีการศึกษา 2564

ปีการศึกษา | 2564 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา ตรัง

ห น้ า | 1

สารบญั

หน้า
ความพร้อมทางด้านกายภาพ .......................................................................................................................... 2
สิ่งอานวยความสะดวกและสง่ิ สนบั สนนุ ทางการศึกษา..................................................................................... 3
รายงานผลการประเมนิ ความพงึ พอใจในการรบั บริการหอ้ งสมดุ อุปกรณ์การศกึ ษา สภาพแวดล้อมและ
สถานทท่ี ่ีเออื้ ต่อการเรียนรู้ ประจาปีการศึกษา 2564 มหาวทิ ยาลยั สวนดุสิต ศนู ยก์ ารศึกษา ตรัง............. 22

ห น้ า | 2

การดาเนินงานสนบั สนนุ ความพร้อมทางกายภาพดา้ นหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี
สารสนเทศ รวมถงึ การใช้งานฐานขอ้ มลู ออนไลน์ หอ้ งสมดุ และแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ โดยมี รายละเอียด ดังน้ี

1. ความพร้อมทางดา้ นกายภาพ

ความพรอ้ มดา้ นกายภาพ

หน่วยงาน หอ้ งสมุด หอ้ งปฏิบตั กิ าร จุด จุด WIFI Smart Classroom
ศนู ย์การศึกษา ตรงั คอมพวิ เตอร์ WIFI Café classroom
1
Library
1 39 1 1 5

หอ้ งสมุด

ห้องคอมพิวเตอร์
หอ้ งเรยี น

ห น้ า | 3

2. สิง่ อานวยความสะดวกและสิง่ สนับสนุนทางการศึกษา
ห้องสมุด มีหนังสือทใี่ หบ้ ริการในมหาวิทยาลยั จานวน 194,559 เลม่ หนังสือที่ศูนย์

การศึกษานอกท่ตี ั้ง ตรงั จานวน 14,989 เล่ม

2.1 หนงั สอื

ตารางแสดงจานวนทรพั ยากรสารสนเทศแยกตามสถานท่ีต้งั (ข้อมลู ณ วนั ที่ 31 มกราคม 2563)

หน่วยงาน จานวน (เลม่ )
ศนู ยก์ ารศึกษา ตรงั 14,989

ตารางแสดงจานวนทรัพยากรสารสนเทศ แยกรายหลกั สูตร (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 31 มกราคม 2563)

สาขาวิชา หนงั สือเฉพาะสาขา หนงั สือ รวม จานวน สัดสว่ น

เทคโนโลยกี ารประกอบ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ทั่วไป นกั ศึกษา
อาหารและการบรกิ าร
การท่องเที่ยว 1,023 130 6,113 7,266 71 102.33
คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ
รัฐประศาสนศาสตร์ 334 45 4,550 4,929 8 616.13

971 22 715 1,708 - -

626 1 459 1,086 - -

ระเบยี บการยืม-คืน หนงั สอื

 อาจารย/์ เจ้าหน้าที่ อาจารย์ประจาและบุคลากร ของมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต มีสมาชกิ ภาพตลอด
ระยะเวลาท่ีเปน็ บุคลากรของมหาวิทยาลยั โดยใช้บัตรประจาตวั ที่ทางมหาวิทยาลยั ออกใหใ้ นการใช้
บริการตา่ งๆ ของห้องสมดุ

 นักศึกษา นักศึกษาใหม่ที่ยังไม่ได้รับบัตรประจาตัวนักศึกษาจากงานทะเบยี นการศึกษา ใหน้ าบตั รที่
ออกโดยหนว่ ยงานของรัฐ ซึง่ ตอ้ งมีรปู ถา่ ยของเจ้าของบัตร และตอ้ งไม่หมดอายุ มาตดิ ต่อท่ีเคาน์เตอร์
บริการยมื -คืนทรพั ยากรสารสนเทศ และสาหรับนักศึกษาทีเ่ คยเป็นสมาชกิ อยแู่ ล้ว เมื่อเปิดภาค
การศึกษาใหม่ต้องนาบัตรประจาตวั นักศึกษามาแสดงต่อเจ้าหนา้ ทีเ่ พ่ือตรวจสอบข้อมลู การลงทะเบยี น
เรยี นก่อนจงึ จะใชบ้ ริการได้

ห น้ า | 4

ทรัพยากรสารสนเทศ นกั ศกึ ษาภาคปกติ อาจารย์ / เจา้ หนา้ ที่ คา่ ปรบั ต่อวนั ตอ่ เล่ม
เลม่ วัน เล่ม วัน 5 บาท
หนงั สือทว่ั ไป 5 10 15 30 5 บาท
นวนิยาย/เรอื่ งสนั้ 5 10 15 30 5 บาท
หนังสือสารอง 35 35 5 บาท
สอื่ มัลตมิ เี ดยี (ซดี ี-รอม) 35 35 5 บาท
วารสาร 75 75 5 บาท
หนังสอื พิมพ์ 75 75 10 บาท
ผลงานวิชาการ 35 5 10 10 บาท
วิจยั 35 5 10 10 บาท
ดษุ ฎนี ิพนธ์ 35 5 10 10 บาท
วิทยานพิ นธ์ 35 5 10 10 บาท
ภาคนิพนธ์ 35 5 10

หมายเหตุ :

 คนื เกินกาหนด อัตราค่าปรบั เลม่ ละ 5/10 บาทตอ่ วัน ตามประเภทสือ่
 หนังสือเล่มเดมิ สามารถยมื ต่อไดไ้ มเ่ กิน 1 คร้งั
 กรณีทส่ี ามารถมีสิทธิไดม้ ากกว่า 1 สถานภาพ ให้ใชส้ ิทธิเพียงสถานภาพเดียว
 กรณหี นงั สอื ชารดุ สูญหาย ต้องซื้อใหมม่ าใช้คืน หรือใช้เงนิ เป็นจานวน 1 เท่า (ไมร่ ่วมค่าปรบั )
 กรณวี ันกาหนดสง่ ตรงกับวันปิดทาการ ในวนั เปิดทาการวนั แรกไมต่ ้องเสียค่าปรบั จะคิดค่าปรบั เม่ือนา

สง่ คนื ในวนั ถดั ไป

2.2 แหลง่ ข้อมูลของมหาวทิ ยาลัย

ช่อื ฐานข้อมูล รายละเอยี ดฐานข้อมลู ออนไลน์

ฐานขอ้ มลู งานวิจัย มสด.
สามารถสบื คน้ และเรียกดูบทความวารสารฉบับ (Full-Text) รูปแบบ PDF
และ HTML ได้ขอ้ มลู ตัง้ แต่ปี 1997-ปัจจบุ นั ไมจ่ ากัดสทิ ธจิ านวนผู้เข้าใช้
การจดั การผลลัพธ์ โดย ส่ังพมิ พ์ อีเมล์ บนั ทึกในรปู แบบไฟล์อิเลก็ ทรอนกิ ส์
จดั เก็บในโปรแกรมจัดการบรรณานุกรมได้โดยตรงเชน่ EndNote, Procite
จดั เก็บใน EndNote Web การใชง้ านทั้งภายในและภายนอกเครอื ข่าย

ระบบสืบค้นห้องสมดุ
http://sdu-opac.dusit.ac.th/

ห น้ า | 5

ช่ือฐานข้อมูล รายละเอยี ดฐานข้อมลู ออนไลน์

ระบบสบื ค้นเอกสารประกอบการเรียน
http://www.arit.dusit.ac.th/documents/

SDU MOOC
https://mooc.dusit.ac.th/

วารสารวิชาการ บัณฑติ วิทยาลยั
วารสารวชิ าการบัณฑิตวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ มหาวิทยาลัยสวนดสุ ติ มี
วัตถุประสงค์เพื่อการเผยแพร่งานทางวชิ าการในประเภทบทความวจิ ัย
บทความวชิ าการ บทความปรทิ ัศน์ และบทความวจิ ารณห์ นงั สือ เพอื่ เปน็
การแลกเปล่ยี นความรคู้ ดิ ดา้ นมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ (ครศุ าสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ นติ ิศาสตร์ อาชญาวิทยา บรหิ ารธรุ กิจ และ
สาขาอนื่ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง)

English Discoveries
โปรแกรมภาษาองั กฤษมัลติมีเดีย ชุด English Discoveries Online เป็น
โปรแกรมส่งเสรมิ การพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษในด้านการฟงั พดู อา่ น
เขียน ไวยากรณ์และคาศพั ท์ เนน้ การใชภ้ าษาอังกฤษจากสถานการณ์จรงิ
ในชีวติ ประจาวัน โดยมีเนื้อหาของบทเรยี นท้ังหมดสอดคล้องตามกรอบ
มาตรฐาน Common European Framework of Reference for
Languages (CEFR) ต้ังแตร่ ะดับ A1–C1

SDU Discovery Service
เป็นฐานขอ้ มลู และบริการสบื คน้ เพอื่ การยืมคนื ขอ้ มูลครอบคลุมสห
สาขาวิชา เชน่ ศึกษาศาสตร์ ครศุ าสตร์ ศิลปศาสตร์ นเิ ทศศาสตร์
วทิ ยาการจัดการ โดยใหข้ อ้ มูลเอกสารฉบับเต็มของบทความวารสาร (Full
text) ไมน่ ้อยกว่า 1,800 ชือ่ เรื่อง โดยมี วารสารฉบับเต็มและบทความ
ฉบบั เตม็ จากสานักพิมพ์ตา่ งๆ อาทิ Wiley (John Wiley & Sons, Inc. /
Wiley-Blackwell), Taylor & Francis, Sage Publication เป็นต้น

UCTAL
สหบรรณานกุ รมหอ้ งสมดุ สถาบันอดุ มศึกษาไทย มเี ปา้ หมายในการพฒั นา
ฐานขอ้ มลู สหบรรณานกุ รม เพื่อช่วยสนับสนุนการดาเนนิ งานด้านการ
จัดการระเบียนบรรณานุกรม การควบคมุ ระเบียนรายการหลักฐาน และ
การใชร้ ายการร่วมกนั อนั จะช่วยรองรับการใช้ทรพั ยากรร่วมกัน ลดความ
ซา้ ซอ้ นในการจดั ทารายการบรรณานุกรม และใชป้ ระโยชน์ในการยมื
ระหว่างห้องสมดุ ของสถาบนั อดุ มศึกษาไทย รวมทัง้ อานวยความสะดวกต่อ

ห น้ า | 6

ชือ่ ฐานข้อมูล รายละเอยี ดฐานข้อมลู ออนไลน์

ผูใ้ ช้บรกิ าร ท้ังนกั ศึกษา อาจารย์และนักวิชาการในการคน้ หาหนังสือที่
ตอ้ งการโดยทีไ่ มต่ อ้ งเข้าเว็บไซตข์ องแต่ละห้องสมดุ

2.3 ฐานขอ้ มูลออนไลน์

มหาวิทยาลัยสวนดุสิตได้จัดเตรียมฐานข้อมูลออนไลน์ที่มีความหลากหลายเพ่ือเสริมช่อง ทางการ
เข้าถึงข้อมูล ตามโครงการพัฒนาเครือข่ายห้องสมุดมหาวิทยาลัยไทย (ThaiLIS) เป็นการ เช่ือมโยงเครือข่าย
ห้องสมุดของมหาวิทยาลัยในกากับของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากร
รว่ มกันอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ใหบ้ รกิ ารสบื คน้ กับนักศึกษา อาจารย์ บุคลากร และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยที่ได้
เขา้ ร่วมเป็นสมาชิกเครอื ขา่ ย จานวน 14 ฐาน ดงั น้ี

ชอื่ ฐานข้อมูล รายละเอยี ดฐานขอ้ มลู ออนไลน์

ACM Digital Library
ACM Digital Library เป็นฐานขอ้ มลู วารสาร / จดหมายข่าว และเอกสารใน
การประชมุ วชิ าการ/ มีสารานุกรม/คาศพั ท์ ดา้ นคอมพวิ เตอร์ วีดโิ อ จัดทาโดย
ACM (Association for Computing Machinery) ทางด้านคอมพิวเตอรแ์ ละ
เทคโนโลยี เอกสารประกอบด้วย/รายการบรรณานกุ รม สาระสังเขป article
reviews และบทความฉบับเตม็ ให้ข้อมูลย้อนหลงั ตัง้ แตป่ ี 1985-ปจั จบุ นั การ
แสดงผลข้อมูล ในรูปแบบ PDF และ HTML การจัดการผลลัพธท์ าไดโ้ ดย ส่งั
พิมพ์ บันทกึ ในรูปไฟลอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ จัดเกบ็ ในโปรแกรมจัดการบรรณานุกรม
เช่น EndNote, RefWorks เป็นตน้ ถา่ ยโอนไปจดั เกบ็ ใน EndNote Web

ACS Publications
ACS : American Chemical Society วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (เปดิ อา่ นได้) มี
จานวนวารสารท่ีบอกรับ ประมาณ 41 ชอื่ เร่ือง ครอบคลมุ สาขาวชิ าเคมี และ
สาขาวชิ าที่เก่ียวข้อง โดยสานักพมิ พ์ The American Chemical Society
บทความวาร ( Full -Text) รูปแบบ PDF และ HTML เฉพาะวารสารท่ี
บอกรับตวั เลม่ เทา่ นน้ั ให้ข้อมูล 1996- ปจั จบุ ัน ไม่จากัดสทิ ธิจ์ านวนผเู้ ขา้ ใช้
การจดั การผลลัพธ์ โดย สัง่ พิมพ์ อเี มล์ บนั ทกึ ในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนกิ ส์
จัดเกบ็ ในโปรแกรมจัดการบรรณานุกรมได้โดยตรงเชน่ EndNote, Procite
จัดเก็บใน EndNote Web

ERIC
ฐานขอ้ มลู ERIC - Educational Resources Information Center เป็น
ฐานขอ้ มูลด้านการศึกษา รวบรวมข้อมูลจากท้ังหนงั สือ วารสาร รายงานการ
ประชุม งานวิจัย วทิ ยานิพนธ์ ฯลฯ ให้บรรณานุกรมและสาระสังเขปเท่านนั้

ช่ือฐานข้อมูล ห น้ า | 7

รายละเอียดฐานขอ้ มลู ออนไลน์

IEEE Xplore Digital Library
IEEE/IET Electronic Library (IEL) วารสาร เอกสารการประชมุ วิชาการ
(proceeding) และ Conferenc จากสานกั พิมพ์ IEEE และ IET ใหข้ อ้ มลู
1988 - ปจั จบุ ัน ครอบคลมุ สาขาวชิ า วศิ วกรรมไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์
คอมพิวเตอร์ วศิ วกรรมโยธา อตุ สาหการ ฯลฯ มี Directory online เป็น
เครอ่ื งมือช่วยค้น มี Full Text ให้บรกิ ารในรูปแบบ PDF มี Multimedia
เอกสารประเภท Proceeding เชน่ Presentation ในรูปแบบไฟล์
PowerPoint การจัดการผลลัพธ์ทาไดโ้ ดย สัง่ พิมพ์ อีเมล์ บันทึกในรปู ไฟล์
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ จัดเกบ็ ในโปรแกรมจัดการบรรณานุกรมเช่น EndNote,
RefWork จดั เกบ็ ใน EndNote Web การเข้าใชง้ านคร้ังละ 5 คน การใช้งาน
ภายนอกเครือขา่ ย (ใชร้ ะบบ VPN ของมหาวิทยาลัยฯ)
SpringerLink e-Journal
SpringerLink – e-Journal เปน็ ฐานข้อมูล หนังสอื /วารสาร วารสาร
อิเล็กทรอนกิ ส์เอกสารฉบับเต็ม ประมาณ 1,130 ชือ่ และหนงั สือ
อิเล็กทรอนกิ สป์ ี 2002-2004 เปน็ สหสาขาวชิ า ครอบคลมุ สาขาวชิ า
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิทยาศาสตร์สุขภาพ วิศวกรรมศาสตร์ การแพทย์
บรรณารกั ษ์ฯ กฎหมายและสาขาอืน่ ๆ สามารถสืบค้นและเรยี กดบู ทความ
วารสารฉบับ (Full-Text) รปู แบบ PDF และ HTML ได้ข้อมลู ตัง้ แตป่ ี 1997-
ปัจจบุ นั ไม่จากดั สิทธจิ านวนผู้เข้าใช้ การจดั การผลลัพธ์ โดย สงั่ พมิ พ์ อเี มล์
บันทึกในรูปแบบไฟล์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ จดั เกบ็ ในโปรแกรมจดั การบรรณานกุ รม
ไดโ้ ดยตรงเชน่ EndNote, Procite จดั เกบ็ ใน EndNote Web การใชง้ านทงั้
ภายในและภายนอกเครือขา่ ย
Science Direct
ฐานข้อมลู ScienceDirect เปน็ ฐานขอ้ มลู บรรณานุกรมและเอกสารฉบับเตม็
(Full-text) จาก วารสารของสานกั พิมพ์ในเครือ Elsevier ประกอบดว้ ย
หนงั สือและวารสารดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์การแพทย์
สามารถดูข้อมลู ย้อนหลงั ตั้งแตป่ คี . ศ.1995 – ปัจจุบัน
Thai Jounals Online (ThaiJO)
เปน็ ระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย เป็นแหล่ง
รวมวารสารวชิ าการที่ผลิตในประเทศไทยทุกสาขาวชิ า ทั้งสาขาวิทยาศาสตร/์
เทคโนโลยี และมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ThaiJO ได้รบั การสนบั สนนุ
จาก สานักงานกองทุนสนับสนุนการวจิ ัย (สกว.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระ
จอมเกล้าธนบรุ ี (มจธ.) มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ (มธ.) ศนู ย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนกิ ส์และคอมพิวเตอรแ์ หง่ ชาติ (NECTEC) และ ศูนยด์ ัชนีการอ้างอิง
วารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre : TCI)

ช่ือฐานข้อมูล ห น้ า | 8

รายละเอียดฐานขอ้ มลู ออนไลน์

Thai-Jounal Citation Index Centre (TCI)
ศูนย์ดชั นีการอา้ งอิงวารสารไทย ให้บรกิ ารสืบคน้ ผลงานวจิ ัยและผลงาน
วชิ าการ การอา้ งองิ บทความทตี่ ีพิมพใ์ นวารสาร วชิ าการไทย การคานวณและ
รายงานค่า Journal Impact Factor ของวารสารวชิ าการไทยที่มีอย่ใู น
ฐานขอ้ มูล TCI (TCI impact factors) ให้ความรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกับ
journal impact factors, h-index และคุณภาพผลงานวิจยั ในระดับสากล
Academic Search Ultimate
ฐานข้อมูลสหสาขาวิชาระดับโลกที่มีขนาดใหญ่และดีทส่ี ดุ รวบรวมวารสารทาง
วิชาการ นิตยสาร สิง่ พมิ พ์ และวีดโี อ ในทุกสาขาวชิ าการศึกษา อาทิเช่น
วศิ วกรรมศาสตร์ ดาราศาสตร์ มานษุ ยว์ ทิ ยา ชีวเวชศาสตร์ สขุ ภาพ กฎหมาย
คณติ ศาสตร์ เภสชั วทิ ยา ศกึ ษาศาสตร์ สตรีศาสตร์ สัตวศาสตร์ และสาขาอนื่ ๆ
อีกมากมาย ฐานขอ้ มลู น้ีเป็นเวอร์ชัน่ อัพเกรดของ Academic Search
Complete ซงึ่ ประกอบไปดว้ ยวารสารฉบบั เตม็ ทไี่ ม่อยู่ในการเขา้ ถงึ แบบเปดิ
(non-open access journals)มากกวา่ 5 พนั ชอื่ เรื่อง
Applied Science & Technology Source Ultimate
แหล่งขอ้ มูลฉบับเต็มชนั้ นา สาหรบั การศกึ ษาด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยี
และ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ พัฒนาขึน้ เพื่อสนบั สนุนความสาเร็จใหแ้ ก่นักศึกษา
และ นกั วจิ ยั ในสาขาต่างๆท่เี กย่ี วข้อง ครอบคลุมสาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์
เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตรค์ อมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์
Applied Science & Technology Source Ultimate ครอบคลมุ เนื้อหา
ต้งั แตป่ ี 1909 จนถึงปจั จุบัน มีการเก็บรวบรวมข้อมูลความร้คู วาม ความท้า
ทายทางวศิ วกรรมแบบดงั้ เดมิ และงานวิจยั และเปน็ ทรัพยากรเพือ่ งานวิจัยที่
สง่ ผลกระทบทางธุรกจิ และสงั คมของเทคโนโลยีใหม่

Art & Architecture Complete
ฐานข้อมลู การวิจัยทางสถาปัตยกรรมศาสตร์ และ ศลิ ปะทม่ี ีประสทิ ธภิ าพสูง
นาเสนอวารสาร นติ ยสาร และ หนงั สือดา้ นศิลปะฉบับเตม็ รวมถึงการทาดชั นี
และ บทคัดย่อโดยละเอยี ด เพอ่ื ให้ศิลปิน นกั วชิ าการดา้ นศลิ ปะ และ นัก
ออกแบบไดใ้ ช้งาน ครอบคลมุ งานสถาปตั ยกรรม การออกแบบสถาปตั ยกรรม
ตลอดจนงานศิลปะต่างๆ โดยฐานข้อมูลนปี้ ระกอบด้วยวารสารฉบบั เตม็ ท่ีไม่
อยู่ในการเขา้ ถึงแบบเปดิ (non-open access journals)มากกว่า 200
รายการ
Food Science Source
ฐานข้อมูลฉบับเตม็ ออกแบบมาเพ่ือรองรับความต้องการงานวิจัยดา้ น
อตุ สาหกรรมอาหาร ประกอบด้วยวารสาร เอกสาร นิตยสาร และ สงิ่ พมิ พ์
ทางการค้าฉบับเต็มหลายรอ้ ยฉบับ ในทน่ี ี้รวมถงึ รายงานในอตุ สาหกรรม
อาหารมากมาย สาขาวชิ าต่างๆทค่ี รอบคลมุ ไดแ้ ก่ การแปรรูปอาหาร ความ

ห น้ า | 9

ชอ่ื ฐานข้อมูล รายละเอยี ดฐานขอ้ มลู ออนไลน์

ปลอดภัยในอาหาร การบรกิ าร การขนสง่ และ นวตั กรรมต่างๆ โดยฐานข้อมลู
น้ีประกอบด้วยวารสารฉบบั เต็มท่ไี ม่อย่ใู นการเข้าถึงแบบเปิด(non-open
access journals)มากกวา่ 700 ช่ือเร่อื ง

Legal Source
ฐานข้อมูลฉบับเต็ม ที่ให้ความครอบคลุมวารสารกฎหมายวิชาการท่ไี ด้รบั การ
ยอมรับมากท่ีสุด Legal Source เป็นฐานขอ้ มูลท่เี ชื่อถือได้ในดา้ นการศึกษา
แนวความคดิ และ แนวโนม้ ของโลกกฎหมายในปัจจุบนั เป็นแหล่งขอ้ มูลที่
ยอดเยีย่ มสาหรับทนายความ ผูส้ อน นกั ธุรกจิ ผู้ที่ศึกษา และผ้อู ื่นๆ ที่
เกยี่ วขอ้ งกับด้านกฎหมาย โดยฐานขอ้ มูลนี้ประกอบด้วยวารสารฉบับเตม็ ท่ีไม่
อยใู่ นการเขา้ ถึงแบบเปิด (non-open access journals)มากกวา่ 500 ช่ือ
เร่ือง

2.4 ฐานข้อมลู หนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์

ชื่อฐานข้อมูล รายละเอียดฐานข้อมูลออนไลน์

IG Publishing e-Books Library
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) (ภาษาองั กฤษ) บน Platform iGLibrary
(iG Publishing) หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จดั ซื้อในนามภาคเี ครอื ข่ายความ
ร่วมมือ สานักวิทยบริการฯกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภฏั ได้ใช้หนงั สือร่วมกนั
ประกอบดว้ ยหนงั สอื ทุกสาขาวิชา ได้แก่ วทิ ยาศาสตร์ฯ วิศวกรรมศาสตร์
แพทยศาสตร์ พยาบาล ศึกษาศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บรกิ าร
ธุรกจิ ฯลฯ

SpringerLink e-Book
SpringerLink – e-Books เปน็ ฐานขอ้ มลู หนงั สืออิเล็กทรอนิกสป์ ี 2002-
2004 เป็นสหสาขาวชิ า ครอบคลมุ สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี
วทิ ยาศาสตรส์ ุขภาพ วศิ วกรรมศาสตร์ การแพทย์ บรรณารักษ์ฯ กฎหมายและ
สาขาอ่ืนๆ สามารถสบื ค้นและเรียกดบู ทความวารสารฉบับ (Full-Text)
รูปแบบ PDF และ HTML ได้ขอ้ มูลต้งั แต่ปี 1997-ปัจจุบนั ไมจ่ ากัดสิทธิ
จานวนผเู้ ข้าใช้ การจดั การผลลพั ธ์ โดย สั่งพิมพ์ อเี มล์ บนั ทึกในรปู แบบไฟล์
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ จัดเก็บในโปรแกรมจดั การบรรณานุกรมได้โดยตรงเช่น
EndNote, Procite จดั เกบ็ ใน EndNote Web การใช้งานทั้งภายในและ
ภายนอกเครือข่าย

EBSCO eBooks
คอลเลคช่ัน ebook ทีค่ รอบคลุมสหสาขาวชิ าจากสานักพิมพม์ หาวทิ ยาลัยกว่า
90 แหง่ จากท่วั โลก อาทเิ ชน่ Cambridge University Press, Harvard
University Press, Oxford University Press, Stanford University Press,

ห น้ า | 10

ชื่อฐานข้อมูล รายละเอียดฐานข้อมูลออนไลน์

Yale University Press และอีกมากมาย คอลเลคช่นั นปี้ ระกอบดว้ ยหนังสือ
ebook จากหลากหลายสาขาวิชากว่า 37,000 ช่อื เร่อื ง

eBook มหาวิทยาลัยสวนดสุ ิต
หนงั สืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Book) (ภาษาไทย) ประกอบดว้ ย งาน
วิทยานิพนธ์ ดษุ ฏนี ิพนธ์ งานวจิ ยั หนังสอื หายาก หนังสือ
ประกอบการเรยี นการสอนของมหาวิทยาลัยฯที่ผลติ ขึน้ เองและ
หนังสืออา่ นประกอบท่วั ไป ใหข้ อ้ มูลเอกสารฉบบั เตม็ ( Full Text)

2.5 ฐานข้อมูลหนังสือพมิ พ์

ชอื่ ฐานข้อมูล รายละเอยี ดฐานข้อมูลออนไลน์

iQNews Clip
iQNewsClip สรปุ ข่าวออนไลน์ จากหนงั สอื พิมพภ์ ายในประเทศฉบบั
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ กวา่ 30 ฉบับ ปี 2560 ไดว้ ารสารเพมิ่ เติม 3 ฉบบั
ไดแ้ ก่ การเงินธนาคาร มันน่ี แอนด์ เวลธ์ และ อคี อนนวิ ส์ เลอื กดูได้ทัง้ ภาพสี
และขาว-ดา จดั เปน็ หมวดหมู่ พรอ้ มฟงั ก์ชั่น ในการสบื ค้นข้อความฉบับเตม็
(Full Text Search) คน้ หาเฉพาะช้นิ ข่าว ท่ตี อ้ งการได้อยา่ งง่าย สะดวก และ
รวดเร็ว ใหข้ ้อมูลปัจจบุ นั (การใชง้ านเข้าได้พร้อมกัน คร้งั ละ 5 คนเทา่ นนั้ )

2.6 ฐานข้อมูลวารสารวิจัย

ช่อื ฐานข้อมูล รายละเอยี ดฐานข้อมูลออนไลน์

Journal of Food Health and Bioenvironmental Science
วารสารวจิ ยั มสด สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ก่อตงั้ ขึ้นเมื่อปี 2550 จนถงึ ปี 2560
เปน็ ระยะเวลา 10 ปี ต่อมาในปี 2561 ไดเ้ ปล่ียนช่ือวารสาร คือ Journal of Food
Health and Bioenvironmental Science กาหนดรับตีพมิ พ์เผยแพร่เฉพาะบทความ
ภาษาอังกฤษในรูปแบบของนิพนธ์ต้นฉบับ (Original Article) นิพนธ์ปริทศั น์ (Review
Article) และบทวจิ ารณ์หนังสอื (Book review) ในกลมุ่ สาขาอาหาร วทิ ยาศาสตร์
การแพทย์และสุขภาพ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ เกษตรศาสตร์ วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
และสาขาอน่ื ๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง จัดพิมพอ์ อกเผยแพร่ปีละ 3 ฉบบั (ฉบบั แรกประจาเดือน
มกราคมถงึ เดือนเมษายน ฉบับที่สองประจาเดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม และฉบับ
ท่ีสามประจาเดือนกนั ยายนถึงเดอื นธนั วาคม) ดาเนินการเผยแพร่ท้ังในรูปแบบของ
วารสารฉบบั พิมพ์ (ISSN: 2629-9992) และวารสารออนไลน์ (ISSN: 2630-0311) ได้รับ
การประเมินคณุ ภาพวารสารใหอ้ ยใู่ นวารสารวชิ าการกลมุ่ 1 ของศูนย์ดัชนกี ารอ้างอิง
วารสารไทย (Thailand-Journal Citation Index, TCI) และได้รับการประเมินคุณภาพ
ให้อยู่ในฐาน ASEAN Citation Index (ACI)

ห น้ า | 11

ช่ือฐานข้อมูล รายละเอียดฐานข้อมลู ออนไลน์

Journal of Multidisciplinary in Social Sciences
วารสารวจิ ยั มสด สาขามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ กอ่ ต้งั ขึ้นเมื่อปี 2547 จนถึงปี
2561 เป็นระยะเวลา 14 ปี ต่อมาในปี 2562 ได้เปลี่ยนช่ือวารสาร คอื Journal of
Multidisciplinary in Social Sciences กาหนดรับตีพิมพเ์ ผยแพร่เฉพาะบทความ
ภาษาอังกฤษในรูปแบบของบทความรบั เชญิ (invited Article) นิพนธ์ตน้ ฉบับ (Original
Article) นพิ นธ์ปรทิ ศั น์ (Review Article) และบทวิจารณ์หนงั สือ (Book review) รับ
บทความประเภทการใช้องค์ความรู้หลายศาสตร์หรอื สาขาวิชามาผสมผสานทเ่ี กี่ยวข้อง
กบั มนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตรห์ รือสาขาอ่นื ๆท่ีเกี่ยวขอ้ ง จัดพมิ พ์ออกเผยแพร่ปีละ 3
ฉบับ (ฉบบั แรกประจาเดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ฉบับทส่ี องประจาเดอื นพฤษภาคม
ถงึ เดอื นสงิ หาคม และฉบับทสี่ ามประจาเดือนกนั ยายนถงึ เดือนธันวาคม) ดาเนนิ การ
เผยแพร่ท้งั ในรูปแบบของวารสารฉบับพิมพ์ (ISSN: 2672-9806) และวารสารออนไลน์
(ISSN: 2673-0235) ได้รบั การประเมินคุณภาพวารสารให้อย่ใู นวารสารวิชาการกลุม่ 1
ของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thailand-Journal Citation Index, TCI) และ
ไดร้ ับการประเมินคณุ ภาพให้อยใู่ นฐาน ASEAN Citation Index (ACI)

ASEAN Journal of Education
วารสาร Asean Journal of Education ก่อตัง้ ขนึ้ เมื่อปี 2558 จนถึงปี 2562 เป็น
ระยะเวลา 4 ปี กาหนดรบั ตพี ิมพเ์ ผยแพรเ่ ฉพาะบทความภาษาองั กฤษในรปู แบบของ
บทความรบั เชญิ (invited Article) และนพิ นธ์ตน้ ฉบบั (Original Article) ในกลุ่มสาขา
การศกึ ษา และสาขาอนื่ ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง จัดพมิ พอ์ อกเผยแพรป่ ีละ 2 ฉบับ (ฉบบั แรก
ประจาเดอื นมกราคมถึงเดือนมถิ นุ ายน และฉบบั ทส่ี องประจาเดือนกรกฎาคมถึงเดือน
ธนั วาคม) ดาเนนิ การเผยแพร่ทัง้ ในรูปแบบของวารสารฉบบั พมิ พ์ (ISSN: 2673-0766)
และวารสารออนไลน์ (ISSN: 2465-437X) ไดร้ บั การประเมินคุณภาพวารสารใหอ้ ยใู่ น
วารสารวชิ าการกลุม่ 2 ของศูนยด์ ัชนีการอ้างองิ วารสารไทย (Thailand-Journal
Citation Index, TCI)

ห น้ า | 12

2.7 ฐานขอ้ มูลวทิ ยานพิ นธ์

ช่ือฐานข้อมูล รายละเอียดฐานข้อมลู ออนไลน์

EBSCO Open Dissertations
เปน็ ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ กวา่ 500,000 รายการ จาก 25 มหาวทิ ยาลัยชัน้
นาของโลก สามารถสืบค้น ฐานขอ้ มูลนี้ไดจ้ าก EDS platform เพียงกรอง
ข้อมูล content provider เป็น OpenDissertations

TDC
TDC เป็นฐานข้อมูล วทิ ยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ งานวิจยั บทความวารสาร และ
หนงั สือหายาก (ฉบบั ภาษาไทย - ภาษาอังกฤษ) ในรปู แบบเตม็ ฉบบั (Full -
Text) เป็นเครือขา่ ยความร่วมมอื ระหว่างห้องสมดุ มหาวทิ ยาลยั ของรัฐ /
เอกชน/ สถาบันฯ ใชง้ านภายนอกเครือข่าย (สมัครสมาชิกลงทะเบียน)

2.8 เครื่องมอื สาหรับงานวิจัย

ช่อื ฐานข้อมูล รายละเอยี ดฐานข้อมลู ออนไลน์

Google Scholar
การคน้ หางานเขียนทางวชิ าการโดยสามารถ ค้นหาในสาขาวชิ าและ
แหลง่ ข้อมูลตา่ งๆ มากมายได้จากจดุ เดยี วท้งั บทความ, peer-reviewed,
วทิ ยานพิ นธ์, หนงั สอื , บทคดั ย่อ และบทความจากสานกั พิมพ์

EndNote
โปรแกรมทใ่ี ชส้ าหรับการจดั การทางบรรณานุกรม เชน่ การสบื คน้ การจัดเก็บ
การจดั การรปู แบบการลงรายการทางบรรณานุกรม หรือรายการอา้ งองิ ทผี่ ู้
ใชไ้ ดไ้ ปสืบค้นมาจาก แหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ เชน่ จากฐานข้อมูลออนไลน์ หรอื จาก
ฐานขอ้ มูลของห้องสมุด ฯลฯ โปรแกรม EndNote สามารถทีจ่ ะทาการ
Import รายการอา้ งองิ เหล่าน้ันมาไว้ฐานข้อมูลของ EndNote ได้โดยตรง เพ่ือ
นามาจัดการในสว่ นของรายการบรรณานุกรม หรือรายการอา้ งอิงในตัวเลม่
วทิ ยานิพนธ์ หรืองานวจิ ยั

Turnitin
ฐานขอ้ มูลออนไลน์ ทใ่ี ชเ้ ป็นเครือ่ งมือในการตรวจสอบการคดั ลอกผลงานทาง
วชิ าการ ในรปู แบบของสง่ิ พิมพ์ออนไลน์ โดยจัดอยู่ในกลุ่มของ Anti-
Plagiarism Software มหาวทิ ยาลัยสวนดสุ ติ ได้บอกรบั เพ่ือให้บริการแก่
อาจารย์ นักศึกษา นักวิจยั และ บุคลากรภายในมหาวิทยาลยั โดย Turnitin
แบ่งการใหบ้ ริการเปน็ 3 รปู แบบ ได้แก่ OriginalityCheck, GradeMark และ
PeerMark พร้อมทงั้ ชี้แหลง่ ข้อมูลทป่ี รากฏซา้ เปน็ แถบสี และแสดงระดับ
เปอร์เซน็ ต์การเทยี บซ้า (Similarity index)

ห น้ า | 13

ชื่อฐานข้อมูล รายละเอยี ดฐานข้อมูลออนไลน์

อักขราวิสุทธ์ิ
ระบบตรวจสอบงานเขียนเพื่อคน้ หาข้อความที่อาจจะเปน็ การลอกเลียนผลงาน
ผู้อน่ื ด้วยฐานขอ้ มลู วทิ ยานิพนธ์ สารนิพนธ์ วารสารทางวชิ าการ และรายงาน
วิจยั ของจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ฐานขอ้ มูลวทิ ยานิพนธจ์ ากมหาวิทยาลยั ที่
ร่วมลงนามความร่วมมือฯ ฐานข้อมูล TDC ของสานักงานคณะกรรมการการ
อดุ มศึกษา รวมไปถึงบทความภาษาไทยจากเวบ็ ไซตว์ ิกิพเี ดีย มหาวิทยาลัย
สวนดสุ ติ และ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ไดบ้ ันทึกข้อตกลงความร่วมมือทาง
วิชาการ (MOU) เกยี่ วกับโปรแกรมอกั ขราวสิ ุทธิ์ (โปรแกรมสาหรบั การ
ตรวจสอบการลักลอกงานวิจยั และงานวรรณกรรม) ดังนัน้ คณาจารย์ นกั วิจยั
บุคลากร และนักศึกษา ของ มสด. สามารถใช้งานได้ผา่ นทาง
http://plag.grad.chula.ac.th/ แตจ่ ะสามารถใช้งานไดเ้ ฉพาะ e-mail ของ
มสด. ท่ลี งท้ายดว้ ย @dusit.ac.th เท่านั้น เช่น [email protected]

2.9 ฐานขอ้ มูลอนื่ ๆ

ชื่อฐานข้อมูล รายละเอียดฐานข้อมูลออนไลน์

Microsoft Academic
Microsoft Academic เปน็ เครอ่ื งมือสืบคน้ ผลงานวจิ ยั ผลงานวิชาการท่ี
เรยี กวา่ Microsoft Academic Search สามารถแสดงข้อมูลของนกั วิจยั
นกั วชิ าการหลากหลายมิติ ผลงานต่างๆ สามารถส่งออกในฟอร์แมต BibTeX,
RIS หรอื RefWorks จุดเดน่ ที่นา่ สนใจมากๆ ก็คือการแสดงความสัมพันธ์
ระหวา่ งผแู้ ต่งรว่ ม รวมทั้งการอ้างอิงในลักษณะ Visualization

ท่มี า : https://arit.dusit.ac.th/2019/databases.html

ห น้ า | 14

แหลง่ เรยี นรู้ กบั สื่อออนไลน์

ห น้ า | 15

เครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ มหาวิทยาลยั สวนดสุ ิต

ระบบเครือข่ายมหาวิทยาลัยสวนดุสิต คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท่ีให้บริการระบบ เครือข่าย
ให้กับ นักศึกษา บุคลากร และบุคคลภายนอก โดยมีวัตถุประสงค์หลักในการให้บริการด้าน เทคโนโลยี
สารสนเทศท้ังหมดของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต และเชื่อมต่อกับระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อ ให้บริการด้านการ
บริหารการศึกษา การสืบค้นข้อมูล การใช้งานระบบอินเทอร์เน็ต เผยแพร่ข้อมูล สารสนเทศของมหาวิทยาลัย
สวนดุสิต และเป็นเครื่องมือสนับสนุนด้านการบริหารจัดการ การจัดการ เรียนการสอน โดยระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศทั้งหมด จะเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หลักเป็นโครงสร้างพื้นฐานของระบบ
สารสนเทศ รองรับการเชื่อมต่อใช้งานเป็นจานวนมาก ระบบ เครือข่ายของมหาวิทยาลัยฯ นั้นมีการออกแบบ
ระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานข้อกาหนดต่างๆ ตาม มาตรฐานของหน่วยงานท่ีดูแลโดยตรง และมีการ
ควบคุมดูแลระบบทั้งหมดเปน็ อยา่ งดี ใหม้ ี เสถยี รภาพ มคี วามมน่ั คง และปลอดภัย

ระบบเครอื ขา่ ยหลกั ท้งั หมดเชื่อมโยงดว้ ยสายสญั ญาณแบบ Fiber Optic โดยมีจดุ ศนู ยก์ ลาง
ระบบอยู่ท่ีห้องแม่ข่ายหลักอาคาร 11 ชั้น 2 เชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์สลับสัญญาณความเร็วสูง (Core Switch)
รองรับการเชื่อมต่อที่ความเร็วสูงสุดได้มากกว่า 10 Gbps. เชื่อมต่อระบบเครือข่ายภายใน ห้องแม่ข่ายหลัก
ระบบอินเทอร์เน็ต เช่ือมโยงไปยังอุปกรณ์กระจายสัญญาณ Distribute Switch และ Edge Switch ที่ติดตั้ง
อยู่ท่ัวทุกอาคารภายในมหาวิทยาลัย และผ่านวงจรสื่อสารความเร็วสูงสาหรับ เชื่อมต่อไปยังวิทยาเขต และ
ศนู ย์การศกึ ษา

ห น้ า | 16

เครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ ระหวา่ งศนู ยก์ ารศกึ ษา
200 Mbps.

CAT Internet 200 Mbps. CA1TGInbtpesr.net
300/100 Mbps UGnbiptnse1.

300 Mbps. ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์ 500 Mbps.
อาคารบณั ทติ วิทยาลัย 100 Mbps.
200 Mbps.

200 Mbps.

ห น้ า | 17

เครือขา่ ยไรส้ าย
มีการออกแบบติดตั้งอุปกรณ์เครือข่ายไร้สายโดยมุ่งเน้นในจุดให้บริการหลัก และห้องเรียน เพื่อ

สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ Active Learning ตามแผนการให้บริการดิจิทัลของ
มหาวทิ ยาลัย โดยติดต้ังอุปกรณ์ควบคุมและอุปกรณ์กระจายสัญญาณ Access Point ย่ีห้อ Cisco กระจายอยู่
ท่ัวมหาวิทยาลัยฯ และศูนย์การศึกษานอกที่ตั้งทั้งหมด มากกว่า 700 เครื่อง เช่ือมต่อเข้าสู่ ระบบเครือข่าย
หลักของมหาวิทยาลัยฯ เพ่ือรองรับการเช่ือมต่อใช้งานจากเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ พกพา หรืออุปกรณ์
Mobile อ่ืนๆ ที่สามารถใช้งานระบบ WIFI ได้ สามารถเช่ือมต่อเข้าใช้งานโดยใช้ User Name และ
Password ท่ีทางมหาวิทยาลัยฯ กาหนดให้กับนักศึกษาและบุคลากร ด้วย เทคโนโลยี WIFI ตามมาตรฐาน
802.11 b/g/n/a/ac และ สามารถใช้ระบบเครือข่ายไร้สายของ AIS WIFI และ True WIFI ได้ทุกพื้นที่ภายใน
มหาวิทยาลัย

บรกิ าร e-mail
มหาวิทยาลัยไดใ้ ชบ้ รกิ ารระบบเมล์ของกลมุ่ ไมโครซอฟทภ์ ายใตช้ ือ่ บรกิ าร Office365

สามารถเข้าใชบ้ รกิ ารไดท้ ี่ www.sdumail.dusit.ac.th หรอื ช่องทางตรงที่
1. นักศึกษา ท่ี www.outlook.com/mail.dusit.ac.th

2. บุคลากร ท่ี www.outlook.com/dusit.ac.th

ห น้ า | 18

บริการ Microsoft Office 365
บริการของ Microsoft office 365 สาหรับภาคการศึกษา คือบริการ software ผ่านบริการ

Cloud Computing ของ Microsoft บรกิ ารทม่ี ีรายละเอียด ดงั น้ี

บริการ คาอธบิ าย
Outlook คือ บริการ email สาหรบั องค์กร พรอ้ มเชื่อมต่อปฏทิ ินนัด หมาย
ร่วมกันได้

OneDrive คือ พื้นที่เกบ็ ข้อมูลบนระบบคลาวดซ์ ึ่งสามารถ จัดเก็บ แชร์ และ
เชอ่ื มต่อไฟลก์ ารทางานของเราได้ สามารถปรบั ปรุงและ แชร์ไฟล์จาก
อุปกรณ์ใดก็ได้ OneDrive เปน็ พืน้ ที่เก็บข้อมูลส่วน
บคุ คลแบบออนไลน์ท่ีไมเ่ สียค่าใชจ้ า่ ย
เปน็ ชุดออฟฟิศครบสมบูรณ์ แบบ online ประกอบด้วย WORD®,
EXCEL®, POWERPOINT®, ทส่ี ามารถใช้งานได้เสมือนติดตง้ั การใช้
งานบนเครื่อง PC
สมุดบันทึกดิจิทัล OneNote คอื สมดุ จดบนั ทึกย่อ ทเี่ ดยี วสาหรับ การเก็บ
บนั ทกึ ยอ่ ของคุณ สามารถคน้ ควา้ แผน ตดั แปะ๊ ข้อมลู ท้ังหมด นน่ั คอื ทกุ สิ่ง
ทุกอย่างท่ีคุณจาเปน็ ต้องจาไวใ้ นสมดุ บนั ทึก
ดจิ ิทลั
SharePoint คือพื้นที่จดั เกบ็ เอกสารร่วมกนั ระดับองค์กร สามารถ ใชพ้ น้ื ที่
ได้อยา่ งปลอดภยั เพ่อื เกบ็ เอกสาร จัดระเบียบ แชร์ และ เข้าถึงข้อมลู จาก
อปุ กรณ์ใดๆ กต็ าม การเข้าถึงออนไลน์/ออฟไลน์ ท่ี
จดั เก็บคลาวด์ 1 TB บรกิ ารออนไลน์ สนบั สนนุ ตลอด 24 ช่ัวโมง
Microsoft Teams คอื ฮับในการทางานร่วมกนั ของทีมใน Office
365 ที่รวมบคุ คล เน้อื หา และเคร่ืองมือท่ที ีมของคุณต้องใช้เพ่อื มี
ส่วนร่วมและมปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ .
Class OneNote สมดุ บันทกึ สาหรับชน้ั เรยี นของ OneNote มพี ืน้ ที่ ทางาน
ส่วนบคุ คลสาหรบั นักเรยี นทุกคน ในการจดั เกบ็ การจัดการ เน้ือหาสาหรบั
เอกสารประกอบคาบรรยาย และพืน้ ท่ที างานรว่ มกนั
สาหรบั บทเรยี นและกจิ กรรมเชิงสรา้ งสรรค์
Sway คือ เครื่องมือในการสร้าง web site อย่างง่าย (ไม่จาเป็นตอ้ ง เขยี น
code) ผใู้ ช้นาเอกสาร ไฟล์ เน้ือหาตา่ งๆ รวมถงึ embed link มาวางลงใน
หนา้ ของ SWAY จากน้นั ตัวโปรแกรมจะทาการ จดั การแปลงให้อยใู่ น
ลักษณะเวบ็ ไซต์โดยอัตโนมตั ิ ทาใหส้ ามารถ ป ร ะ ย ุ ก ต ์ ส ร ้ า ง เ ป ็ น
web site น ำ เ ส น อ ผ ล ง า น
หรือ gallery หรือ portfolio ได้

ห น้ า | 19

บริการ คาอธบิ าย
Microsoft Forms คอื การสรา้ งแบบสอบถาม แบบทดสอบ และ แบบ
สารวจ และดูผลลัพธ์ได้อยา่ งง่ายดาย

ปฏิทนิ ใน Outlook Web App ชว่ ยให้สามารถสร้างและตดิ ตาม การนดั
หมายและการประชมุ ได้ สามารถสรา้ งหลายๆ ปฏิทนิ ลงิ ก์ไป ยังปฏิทินของ
บุคคลอน่ื และแชร์ปฏทิ นิ ของคุณกับบุคคลอนื่ ๆ ใน
องค์กรได้
Yummer คอื เป็น Social media สาหรับองค์กร เหมาะใช้งานใน ลักษณะ
การตดิ ต่อสื่อสารที่มาพร้อมกับฟีเจอรใ์ นดา้ นความปลอดภัย ของข้อมลู การ
เขา้ ถงึ การตรวจสอบ ไมม่ ีเกม หรอื โฆษณาต่างๆ เขา้
มารบกวน

บรกิ ารอนิ เทอรเ์ นต็ ผา่ นระบบ VPN
บริการ VPN คือ บริการเครือขา่ ยเสมอื นเพ่ือเช่อื มต่อไปยังเครือข่ายเฉพาะ (ภายใน มหาวิทยาลยั )

ผ่านทางเครือขา่ ยสาธารณะเพื่อเขา้ มาใช้ทรยั ากร หรอื ระบบสารสนเทศ ภายใน มหาวทิ ยาลัย
VPN หรือ Virtual Private Network หมายถึง เครือข่ายเสมือนส่วนตัว การใช้เครือข่าย สาธารณะ ไม่ว่าจะ
เป็น ADSL (CS-Loxinfo, TOT, True, 3BB) รวมถึงเครือข่ายอินเทอร์เน็ตบน โทรศัพท์มือถือ (DTAC, AIS,
True Move) ผู้ให้บรกิ ารเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหล่าน้ี ทางานโดยใช้ โครงสร้างเครือข่ายอินเทอร์เน็สาธารณะ
การใช้งาน VPN เม่ือทาการเช่ือมต่อระบบ VPN ระบบจะ ทาให้เครือข่ายสาธารณะน้ัน ๆ ทาตัวเป็นเครือข่าย
อินเทอร์เนต็ ขององค์กร ทาตัวเสมอื นเป็นเครือข่าย อินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัยสวนดุสิต ทั้งนี้เพื่อประโยชน์
ในการใช้ระบบสารสนเทศที่สงวนให้ได้ เฉพาะเครือข่ายขององค์กร อาทิเช่น ระบบสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์
ทใี่ หส้ ทิ ธ์ิการใช้งานเฉพาะกลุม่ สมาชกิ องค์กรทางการศึกษา

บริการ VPN เป็นบริการ สาหรับอาจารย์ นักศึกษาและ บุคลากรของมหาวิทยาลัยสวน ดุสิต ที่
ต้องการใชบ้ ริการสบื คน้ ข้อมูลหอ้ งสมุดอิเล็กทรอนิกส์ และระบบอ่ืน ๆ ที่จาเป็นต้องใช้ หมายเลข IP Address
ของมหาวิทยาลัย โดยใช้ Username และ Password เดียวกันกับ ระบบ ICT ของมหาวิทยาลัยฯ ท้ังนี้การใช้
งานจาเป็นต้องมีการติดต้ังระบบ VPN ที่เคร่ืองคอมพิวเตอร์/ มือ ถือ/ Tablet ก่อน โดยมหาวิทยาลัย ได้
จัดทาคู่มือไวใ้ นเวบ็ ไซต์ http://arit.dusit.ac.th

ระบบบรหิ ารจดั การเรยี นรู้ (iTunes U)
โปรแกรมที่ให้เราสามารถเข้าไปเรียนวิชาความรู้ต่างๆ จากมหาวิทยาลัยช้ันนาและจาก โรงเรียน

สถานศึกษาต่างๆ ทั่วโลก มารวมกัน โดยนาเสนอในรูปแบบของหนังสือ เสียง หรือวีดีโอ รวมถึงการบ้าน
Assignment ตา่ งๆ มากกว่า 500,000 รายการจากหลากหลายรายวิชา ให้เราได้ ศึกษาหาความรู้ได้ทุกท่ี ทุก
เวลาผ่านเครื่อง iPad, iPhone, iPod, MacBook และอื่นๆ โดยมหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ติ ได้สร้าง iTunes U ของ
มหาวิทยาลยั เพอ่ื ใชร้ วบรวมสือ่ การเรียน การสอนรายวิชาต่างๆ ในรูปแบบของ Courses เพื่อให้นักศึกษาและ
ผู้สนใจได้เข้ามาศึกษา เรียนรู้ เนื้อหารายวิชานั้นๆ และรูปแบบ Collections เก็บบทเรียนและส่ือการเรียนรู้
ตา่ งๆ ที่เก่ยี วข้องหรือ อยู่ในหมวดหมู่เดียวกนั สาหรับการเรียนรูผ้ ่าน iPad ดว้ ยตนเองตามอัธยาศยั

ห น้ า | 20

ระบบ WBSC
ระบบ WBSC : Work-Based Blended Learning and Technological Scaffolding เป็น ระบบ

การศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education) โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซ่ึงสามารถ ทาแฟ้มสะสม
ผลงานได้ ระบบ WBSC Portfolio เป็นระบบท่ีให้นักศึกษาจัดเก็บ Portfolio ในแต่ละ ภาคเรียน เพื่ตรว
จสอบการทากจิ กรรม และจัดเก็บผลงาน สามารถเขา้ ใช้บริการได้ที่ (http://wbsc.dusit.ac.th)

ห น้ า | 21

ห น้ า | 22

รายงานผลการประเมนิ
ความพงึ พอใจในการรบั บรกิ ารห้องสมุด อุปกรณก์ ารศึกษา
สภาพแวดล้อมและสถานท่ีที่เออื้ ตอ่ การเรียนรู้ ประจาปีการศกึ ษา 2564

มหาวิทยาลัยสวนดุสติ ศนู ยก์ ารศึกษานอกทตี่ ้งั ตรัง
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตอนท่ี 1 : ขอ้ มูลทัว่ ไป
ตารางที่ 1 : ตารางเพศ

เพศ จานวน ร้อยละ

ชาย 17 26.98
หญิง 46 73.02

จาการศึกษาระดับความพึงพอใจในการรับบริการห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา สภาพแวดล้อม
และสถานที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ประจาปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา ตรัง
จานวน 63 คน ด้านข้อมูลท่ัวไป ตารางเพศ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง จานวน 46
คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 73.02 และเป็นเพศชาย จานวน 17 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 26.98 แสดงดงั แผนภูมิ

27%

ชาย
73% หญิง

ตารางที่ 2 : ตารางสถานะของผใู้ ช้บริการ จานวน รอ้ ยละ

สาขาวิชา 15 23.81
บุคลากรสายวิชาการ 12 19.05
บคุ ลากรสายสนบั สนุน 36 57.14
นกั ศกึ ษา

จาการศึกษาระดับความพึงพอใจในการรับบริการห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา สภาพแวดล้อม
และสถานท่ีท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ประจาปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา ตรัง
จานวน 63 คน ด้านข้อมูลทั่วไป ตารางสถานะของผู้ใช้บริการ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น

ห น้ า | 23

นักศึกษา มีจานวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 รองลงมา คือ บุคลากรสายวิชาการ มีจานวน 15 คน
คิดเป็นร้อยละ 23.81 และอันดับสาม คือ บุคลากรสายสนับสนุน มีจานวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 23.81
คดิ เปน็ ร้อยละ 19.05 แสดงดังแผนภมู ิ

24%

บคุ ลากรสายวิชาการ
57% 19% บคุ ลากรสายสนับสนุน

นักศกึ ษา

ตารางท่ี 3 : ตารางสาขาวชิ า

สาขาวิชา จานวน ร้อยละ
56 88.89
เทคโนโลยีการประกอบอาหารและ
การบรกิ าร 7 11.11
การท่องเท่ียว

จาการศึกษาระดับความพึงพอใจในการรับบริการห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา สภาพแวดล้อม
และสถานที่ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ประจาปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา ตรัง
จานวน 63 คน ด้านข้อมูลทั่วไป ตารางสาขาวิชา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น นักศึกษาสาขา
วิชาเทคโนโลยีการประกอบอาหารแลการบริการ จานวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 88.89 และเป็นนักศึกษา
สาขาการทอ่ งเทยี่ ว จานวน 7 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11.11 แสดงดังแผนภมู ิ

11% เทคโนโลยีการประกอบอาหาร
89% และการบริการ

การทอ่ งเทีย่ ว

ห น้ า | 24

ตารางที่ 4 : ตารางชนั้ ปี

ชน้ั ปี จานวน รอ้ ยละ

ช้นั ปีที่ 1 9 25.00
ช้ันปีที่ 2 10 27.78

ชน้ั ปที ่ี 3 13 36.11
ชนั้ ปที ี่ 4 4 11.11

จาการศึกษาระดับความพึงพอใจในการรับบริการห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา สภาพแวดล้อม
และสถานที่ท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ประจาปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา ตรัง
จานวน 63 คน ด้านข้อมูลทั่วไป ตารางชั้นปี พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 3
จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 36.11 รองลงมา คือ ชั้นปีท่ี 2 จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 27.78 และ
อนั ดับสาม คอื ช้ันปที ่ี 1 จานวน 9 คน คดิ เป็นร้อยละ 25.00 และน้อยที่สุด คือ นักศึกษาช้ันปีท่ี 4 มีจานวน
4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.11 แสดงดังแผนภมู ิ

11% 25% ช้ันปีท่ี 1
36% 28% ชนั้ ปที ี่ 2
ชัน้ ปที ี่ 3
ชั้นปีที่ 4

ตารางท่ี 5 : ชว่ งเวลาในการเข้าใช้บริการห้องสมุดบ่อยทีส่ ดุ

ช่วงเวลาในการเข้าใชบ้ ริการ จานวน ร้อยละ

เวลา 08.30 – 12.00 น. 10 15.87
เวลา 12.00 – 13.00 น. 18 28.57
เวลา 13.00 – 16.30 น. 35 55.56

จาการศึกษาระดับความพึงพอใจในการรับบริการห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา สภาพแวดล้อม
และสถานที่ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ประจาปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา ตรัง
จานวน 63 คน ดา้ นขอ้ มลู ทวั่ ไป ตารางช่วงเวลาในการเข้าใช้บริการห้องสมุด พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน
ใหญ่เข้าใช้บริการห้องสมุดในช่วงเวลา 13.00 – 16.30 น. จานวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 55.56 รองลงมา

ห น้ า | 25

คือ ช่วงเวลา 12.00 – 13.00 น. จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 และอันดับสาม คือ ช่วงเวลา 08.30 -
12.00 น. จานวน 10 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 15.87 แสดงดงั แผนภมู ิ

16%

เวลา 08.30 – 12.00 น.
55% 29% เวลา 12.00 – 13.00 น.

เวลา 13.00 – 16.30 น.

ตารางที่ 6 : ความถ่ีในการใช้บริการหอ้ งสมดุ จานวน ร้อยละ

ความถใ่ี นการใชบ้ ริการ 1 1.59
ทกุ วนั 9 14.29
1-2 ครั้ง/สปั ดาห์ 5 7.94
3-4 ครัง้ /สัปดาห์ 10 15.87
เดอื นละ 1-2 คร้ัง 38 60.32
ไม่แน่นอน

จาการศึกษาระดับความพึงพอใจในการรับบริการห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา สภาพแวดล้อม
และสถานท่ีที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ประจาปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา ตรัง
จานวน 63 คน ดา้ นข้อมูลทั่วไป ตารางความถ่ีในการใช้บริการหอ้ งสมดุ ห้องสมุด พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนใหญ่เข้าใช้บริการห้องสมุดมีความถ่ีท่ีไม่แน่นอน จานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 60.32 รองลงมา คือ
เดือนละ 1-2 คร้ัง จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 15.87 อันดับสาม คือ 1-2 ครั้ง/สัปดาห์ มีจานวน 9 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.29 อนั ดบั ส่ี คือ 3-4 คร้ัง/สัปดาห์ มีจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 7.94 และน้อยที่สุด คือ
ทุกวนั มจี านวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.59 แสดงดังแผนภมู ิ

ห น้ า | 26

2%
14% 8%

ทุกวนั
1-2 ครง้ั /สัปดาห์
60% 16% 3-4 คร้ัง/สปั ดาห์
เดือนละ 1-2 ครงั้
ไม่แนน่ อน

ตอนที่ 2 : ระดับความพึงพอใจในการใชบ้ รกิ าร

แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจเปน็ ลักษณะเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณคา่ 5 ระดบั (Rating Scale)

คะแนน 5 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจ มากท่สี ุด
คะแนน 4 คะแนน หมายถึง มีความพึงพอใจ มาก
คะแนน 3 คะแนน หมายถึง มคี วามพึงพอใจ ปานกลาง
คะแนน 2 คะแนน หมายถงึ มคี วามพึงพอใจ นอ้ ย
คะแนน 1 คะแนน หมายถึง มคี วามพึงพอใจ น้อยท่ีสุด

โดยใช้เกณฑค์ ่าเฉลย่ี ในการแปลความผลคา่ คะแนน ดงั นี้ มากทสี่ ุด
คะแนนเฉลี่ย 4.21-5.00 คอื ความพงึ พอใจ มาก
คะแนนเฉลี่ย 3.41-4.20 คือ ความพึงพอใจ ปานกลาง
คะแนนเฉลี่ย 2.01-3.40 คือ ความพึงพอใจ น้อย
คะแนนเฉล่ีย 1.81-2.00 คือ ความพึงพอใจ นอ้ ยทส่ี ุด
คะแนนเฉลี่ย 1.00-1.80 คอื ความพงึ พอใจ

ห น้ า | 27

ตารางท่ี 5 : ตารางระดับความพอใจในการใช้บรกิ าร

ประเดน็ คาถาม ค่าเฉลี่ย S.D. ร้อยละ แปลผล

ดา้ นท่ี 1 : ห้องสมดุ 4.26 0.75 85.17 มากที่สดุ

1. สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งสมดุ เชน่ แสงสวา่ ง, 4.44 0.64 88.89 มากที่สดุ

โตะ๊ -เก้าอ้ี

2. การจัดเรยี งหนังสือบนช้นั วาง สามารถค้นหาได้ง่าย 4.40 0.71 87.94 มากทส่ี ุด

3. ทรพั ยากรสารสนเทศมีจานวนเพียงพอต่อความ 4.25 0.78 85.08 มากทส่ี ุด

ต้องการ

4. ทรัพยากรสารสนเทศมคี วามทันสมัย 4.02 1.02 80.32 มาก

5. ทรัพยากรสารสนเทศมีเน้ือหาครอบคลุมทกุ 4.11 0.83 82.22 มาก

สาขาวชิ า

6. ฐานข้อมูลทางวชิ าการของมหาวทิ ยาลัย 4.32 0.64 86.35 มากทส่ี ดุ

7. ความถ่ีของการใหบ้ ริการข้อมลู ขา่ วสารผา่ น 4.27 0.63 85.40 มากที่สดุ

ช่องทางออนไลน์

ด้านที่ 2 : ดา้ นการบริการของเจา้ หน้าที่ 4.62 0.59 92.38 มากทส่ี ดุ

1. ให้บริการดว้ ยอธั ยาศยั ไมต่ รี มีมนุษยส์ มั พนั ธ์ทด่ี ี 4.62 0.73 92.38 มากทส่ี ุด

2. มีความรู้ความสามารถในการให้คาแนะนา และ 4.59 0.50 91.75 มากทส่ี ุด

ชว่ ยเหลอื

3. ความสุภาพ อ่อนน้อม มีความเป็นมิตร 4.65 0.57 93.02 มากทส่ี ดุ
4. มีความกระตือรือรน้ และเต็มใจใหบ้ รกิ าร 4.60 0.58 92.06 มากที่สุด
5. มีบคุ ลิกภาพ กริ ยิ ามารยาท และการสื่อสารที่ 4.63 0.58 92.70 มากที่สุด
เหมาะสม
ด้านที่ 3 ด้านส่งิ สนบั สนนุ อื่นๆ ทเ่ี อือ้ ต่อเรียนรู้ 4.31 0.70 86.19 มากทสี่ ุด
1. ห้องเรียน 4.35 0.60 86.98 มากที่สดุ
2. ห้องคอมพิวเตอร์/ระบบอินเทอรเ์ นต็ ไร้สาย (wifi) 4.27 0.65 85.40 มากที่สุด
3. ระบบการเรยี นการสอนออนไลน์ 4.27 0.75 85.40 มากท่ีสุด
4. หอ้ งประชุม เช่น ห้องประชุมดุสิตขจร หอประชุม 4.48 0.76 89.52 มากที่สุด
เฟ่ืองฟ้า
5. โรงอาหาร 4.38 0.71 87.62 มากทส่ี ดุ
6. ลานกิจกรรม 4.11 0.74 82.22 มาก

จาการศึกษาระดับความพึงพอใจในการรับบริการห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา สภาพแวดล้อม
และสถานที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ประจาปีการศึกษา 2564 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา ตรัง
จานวน 63 คน ตารางระดับความพอใจในการใชบ้ ริการ ผลปรากฏว่า

ห น้ า | 28

ด้านท่ี 1 : ห้องสมุด ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (̅ = 4.26 , S.D. = 0.75) คิดเป็น
รอ้ ยละ 85.17 เม่ือจาแนกเป็นรายขอ้ พบวา่ อันดบั ท่หี น่งึ คือ สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งสมดุ เช่น แสงสว่าง,
ที่น่ังอ่าน ( ̅ = 4.44 , S.D. = 0.64) คิดเป็นร้อยละ 88.89 อยู่ในระดับมากที่สุด อันดับที่สอง คือ การ
จัดเรียงหนงั สือบนช้ันวาง สามารถค้นหาได้ง่าย ( ̅ = 4.40 , S.D. = 0.71) คิดเป็นร้อยละ 87.94 อยู่ในระดับ
มากที่สุด อันดับท่ีสาม คือ ฐานข้อมูลทางวิชาการของมหาวิทยาลัย ( ̅ = 4.32 , S.D. = 0.64) คิดเป็น
ร้อยละ 86.35 อยู่ในระดับมากที่สุด อันดับที่สี่ คือ ความถี่ของการให้บริการข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทาง
ออนไลน์ ( ̅ = 4.27 , S.D. = 0.63) คิดเป็นร้อยละ 85.40 อยู่ในระดับมากท่ีสุด อันดับท่ีห้า คือ ทรัพยากร
สารสนเทศมีจานวนเพียงพอต่อความต้องการ ( ̅ = 4.25 , S.D. = 0.78) คิดเป็นร้อยละ 85.08 อยู่ในระดับ
มากท่ีสุด อันดับที่หก คือ ทรัพยากรสารสนเทศมีเนื้อหาครอบคลุมทุกสาขาวิชา ( ̅ = 4.11 , S.D. = 0.83)
คิดเปน็ รอ้ ยละ 82.22 อยใู่ นระดับมาก และอนั ดับเจ็ด คือ ทรัพยากรสารสนเทศมีความทันสมัย ( ̅ = 4.02 ,
S.D. = 1.02) คดิ เป็นร้อยละ 80.32 อยู่ในระดบั มาก

ด้านที่ 2 : ด้านการบริการของเจ้าหน้าที่ ภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด (̅ = 4.62 , S.D. =
0.59) คิดเป็นร้อยละ 92.38 เม่ือจาแนกเป็นรายข้อ พบว่า อันดับที่หนึ่ง คือ เจ้าหน้าที่มีความสุภาพ อ่อน
น้อม มีความเป็นมิตร ( ̅ = 4.65 , S.D. = 0.57) คิดเป็นร้อยละ 93.02 อยู่ในระดับมากท่ีสุด อันดับที่สอง
คือ เจ้าหนา้ ทมี่ ีบุคลิกภาพ กิริยามารยาท และการส่ือสารท่ีเหมาะสม ( ̅ = 4.63 , S.D. = 0.58) คิดเป็นร้อย
ละ 92.70 อยู่ในระดับมากที่สุด อันดับทีสาม คือ เจ้าหน้าที่ ให้บริการด้วยอัธยาศัยไม่ตรี มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
( ̅ = 4.62 , S.D. = 0.73) คิดเป็นร้อยละ 92.38 อยู่ในระดับมากท่ีสุด อันดับท่ีส่ี คือ เจ้าหน้าที่มีความ
กระตือรือร้นและเต็มใจให้บริการ ( ̅ = 4.60 , S.D. = 0.58) คิดเป็นร้อยละ 92.06 อยู่ในระดับมากท่ีสุด
และอันดับห้า คือ เจ้าหน้าท่ีมีความรู้ความสามารถในการให้คาแนะนา และช่วยเหลือ ( ̅ = 4.59 , S.D. =
0.50) คดิ เปน็ รอ้ ยละ 91.75 อยูใ่ นระดบั มากท่ีสุด

ด้านท่ี 3 : ด้านสิ่งสนับสนุนอื่นๆ ท่ีเอ้ือต่อเรียนรู้ (̅ = 4.31 , S.D. = 0.70) คิดเป็น
ร้อยละ 86.19 เมื่อจาแนกเป็นรายข้อ พบว่า อันดับที่หน่ึง คือ ห้องประชุม ได้แก่ ห้องประชุมดุสิตขจร
หอประชุมเฟื่องฟ้า ( ̅ = 4.48 , S.D. = 0.76) คิดเป็นร้อยละ 89.52 อยู่ในระดับมากที่สุด อันดับที่สอง คือ
โรงอาหาร ( ̅ = 4.38 , S.D. = 0.71) คิดเป็นร้อยละ 87.62 อยู่ในระดับมากที่สุด อันดับสาม คือ ห้องเรียน
( ̅ = 4.35 , S.D. = 0.60) คิดเป็นร้อยละ 86.98 อยู่ในระดับมากที่สุด อันดับสี่มีค่าเท่ากัน คือ ห้อง
คอมพิวเตอร์/ระบบอินเทอร์เน็ตไร้สาย (wifi) ( ̅ = 4.27 , S.D. = 0.65) และระบบการเรียนการสอน
ออนไลน์ ( ̅ = 4.27 , S.D. = 0.75) คิดเป็นร้อยละ 85.40 อยู่ในระดับมากที่สุด และอันดับห้า คือ ลาน
กิจกรรม ( ̅ = 4.11 , S.D. = 0.74) คิดเปน็ ร้อยละ 82.22 อยใู่ นระดับมาก

ห น้ า | 29

ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ

3.1 ปญั หาทพี่ บบ่อยในการใชบ้ ริการหอ้ งสมดุ มากท่สี ุด
1. ไฟโซนด้านหลงั ของห้องสมดุ มืดไปหน่อย
2. สญั ญาณอนิ เทอร์เนต็ ไม่ค่อยดี
3. มคี นจบั กลุ่มคุยกนั บอ่ ยๆ
4. เสียงรบกวนจากคนอ่ืนทีเ่ ข้ามาใชห้ ้องสมุด
5. แอร์เย็นไมค่ อ่ ยเย็น
6. หนังสืออาจไม่ค่อยทนั สมัย
7. โนต๊ บุ๊คที่มบี ริการใหย้ มื สว่ นใหญ่ใชง้ านไม่ได้
8. หนงั สอื ไมห่ ลากหลาย
9. หนังสอื หาคอ่ นขา้ งยาก
10. มหี นงั สอื ใหม่ คอ่ นขา้ งน้อย
11. หนงั สือใหม่ๆ น้อย
12. หนังสือเกา่ ไป อยากให้อัพเดทหนังสอื ที่ออกมาใหม่ๆ นติ ยสาร วารสารน้อยไป

3.2 ข้อเสนอแนะอื่นๆ
1. บริการดเี ย่ียม
2. ควรเปล่ียนโน๊ตบคุ๊ ให้พร้อมใช้งานอย่เู สมอ
3. อยากให้มีลานกจิ กรรมกวา้ งกวา่ น้ี
4. ควรเพม่ิ หนังสอื ใหม่ ๆ ทมี่ ีเนื้อหาทนั สมัย
5. ควรสร้างหลังคาสาหรับจอดรถนงั่ ศึกษาบรเิ วณลานหน้าหอพกั

ปีการศึกษา | 2564 มหาวิทยาลัยสวนดุสิต ศูนย์การศึกษา ตรัง


Click to View FlipBook Version