The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 6 การจัดการโคเนื้อและกระบือระยะต่างๆ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุชาดา อํา่ปลอด, 2019-06-06 02:12:46

หน่วยที่ 6 การจัดการโคเนื้อและกระบือระยะต่างๆ

หน่วยที่ 6 การจัดการโคเนื้อและกระบือระยะต่างๆ

หน่วยท่ี 6 การจดั การเล้ยี งดโู คเน้ือและกระบอื 124

หนว่ ยท่ี 6
การจดั การเลยี้ งดโู คเนอ้ื และกระบอื

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ียงดูโคเน้ือและกระบือ 125

หน่วยที่ 6 การจดั การเลยี้ งดูโคเนื้อและกระบือ

หวั ข้อเรื่อง

1.การจดั การเล้ียงดูโคเน้ือระยะต่างๆ
2.การจดั การเล้ยี งดกู ระบือระยะต่างๆ

สาระสาคญั

1.การเล้ยี งแม่โคใหม้ ีสุขภาพดีเป็นปัจจยั สาคญั ต่อการผสมติดของแม่โค และทาใหแ้ ม่โคให้
ลูกอยา่ งสมา่ เสมอ ความตอ้ งการอาหารของแมโ่ คระยะตา่ งๆ แตกต่างกนั การจดั การเล้ียงดูแม่โค
สามารถจาแนกออกเป็นระยะต่างๆ ตามความตอ้ งการอาหารของโคได้ 3 ระยะ ดงั น้ี ระยะคลอดลกู ถึง
3-4 เดือนหลงั คลอด เป็นระยะผสมพนั ธุจ์ นถึงต้งั ทอ้ งมคี วามตอ้ งการอาหารคณุ ภาพดีมากท่ีสุด ระยะ
ต้งั ทอ้ ง 4 - 6 เดือน และระยะต้งั ทอ้ ง 3 เดือนก่อนคลอด เป็นระยะที่แม่โคทอ้ งแก่จนถงึ คลอดลกู

2.การจดั การเล้ยี งดกู ระบือ เกษตรกรไทยเล้ยี งกระบือเพอื่ ใชแ้ รงงานในการทานา ทาไร่ การ
จดั การเล้ียงดูกระบือสามารถจาแนกออกเป็นระยะต่างๆ เช่น การเล้ียงดกู ระบือใกลค้ ลอด การเล้ียงดู
ลูกกระบือ การเล้ียงดกู ระบืออายุ 6 เดือน การเล้ียงดูกระบืออายุ 6 -12 เดือน การเล้ยี งดูกระบือสาว
การเล้ยี งดูกระบือพอ่ -แมพ่ นั ธุ์

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1.เพอื่ ใหส้ ามารถจดั การเล้ยี งดูโคเน้ือระยะต่างๆ
2.เพอ่ื ใหส้ ามารถจดั การเล้ยี งดูกระบือระยะต่างๆ
การจดั การเลยี้ งดูโคเนื้อและกระบือระยะต่างๆ
การจดั การเล้ียงดูโคเน้ือกระบือในระยะต่างๆ มคี วามสาคญั ต่อการใหผ้ ลผลติ ของฟาร์มโคเน้ือ
และกระบือ ซ่ึงมีความตอ้ งการในการดูแลท่ีแตกต่างกนั ต้งั แต่ แรกคลอด ระยะก่อนหยา่ นม ระยะหลงั
หยา่ นมหรือระยะรุ่น ระยะวยั เจริญพนั ธุห์ รือระยะสาว ระยะอมุ้ ทอ้ ง และระยะพ่อแมพ่ นั ธุ์
1.การจดั การเลยี้ งดูแม่โคเนือ้ ระยะต่างๆ
การเล้ียงแมโ่ คใหม้ ีสุขภาพดีเป็นปัจจยั สาคญั ต่อการผสมติดของแมโ่ คและทาใหแ้ มโ่ คใหล้ กู
อยา่ งสม่าเสมอ ความตอ้ งการอาหารของแมโ่ คระยะต่างๆ แตกต่างกนั การจดั การเล้ยี งดูแมโ่ คสามารถ
จาแนกออกเป็นระยะต่างๆ ตามความตอ้ งการอาหารของโคได้ 3 ระยะ ดงั น้ี
ระยะท่ี 1 จากคลอดลูก ถึง 3-4 เดือนหลงั คลอด ซ่ึงเป็นระยะผสมพนั ธุจ์ นถงึ ต้งั ทอ้ ง
ระยะท่ี 2 ระยะทอ้ ง 4 - 6 เดือน
ระยะที่ 3 ระยะทอ้ ง 3 เดือนก่อนคลอดและระยะแมโ่ คทอ้ งแก่จนถงึ คลอดลูก

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ียงดูโคเน้ือและกระบือ 126

แม่โคระยะที่ 1 เป็นระยะคลอดลูก ถงึ 3-4 เดือนหลงั คลอด จะมีความตอ้ งการอาหารคณุ ภาพดีมากท่ีสุด

รองลงมาไดแ้ ก่ระยะท่ี 3 คือระยะทอ้ ง 3 เดือนก่อนคลอดและระยะแม่โคทอ้ งแกจ่ นถงึ คลอดลกู ( ยอด

ชายและไพโรจน,์ 2548 )

1.1 การจดั การเลยี้ งดูแม่โคระยะแรกคลอดลกู ถึงหย่านม

การจดั การเล้ียงดูแมโ่ คระยะคลอดลกู ถึงหยา่ นมมคี วามสาคญั มากเน่ืองจากเป็นชว่ ง

วกิ ฤติท่ีลกู โคมโี อกาสตายสูง ควรมกี ารจดั การดา้ นต่างๆ ดงั น้ี

1.1.1 การจดั การดา้ นอาหาร

แมโ่ คหลงั คลอดลกู ประมาณ 2-3 สปั ดาหค์ วรมกี ารดูแลอยา่ งดี อาหารหยาบและอาหารขน้

ตอ้ งมคี ุณค่าทางอาหารสูง ท้งั วติ ามินทีจ่ าเป็นต่างๆวติ ามนิ เอ ดี และอี ระยะจากคลอดลูกถึงผสมพนั ธุ์

ควรจดั การใหแ้ ม่โคมนี ้าหนกั เพ่มิ ข้ึนจะทาใหอ้ ตั ราการผสมติดดีและลดระยะห่างของการใหล้ ูกลง

และตอ้ งมีการบารุงความสมบูรณ์พนั ธุใ์ หส้ ามารถผสมพนั ธุไ์ ดห้ ลงั จากคลอด 2-3 เดือน (ศรเทพ

1.1.2 การจดั การดา้ นการผสมพนั ธุ์

เมื่อคลอดแลว้ ปกติแมโ่ คจะกลบั เป็นสดั อกี ภายใน 30 - 50 วนั แต่ควรผสมหลงั 60 วนั หลงั

มดลูกเขา้ อ่ปู กติ พร้อมเป็นสดั รับการผสมพนั ธุ์

1.1.2.1.หลกั วธิ ีการผสมพนั ธุโ์ คเน้ือ

การผสมพนั ธุโ์ คเน้ือมีหลายวธิ ีซ่ึงขอ้ ดี ขอ้ เสียแตกต่างกนั โดยทวั่ ไปท่ีนิยม มอี ยู่ 3 วิธี คือ

1) การผสมแบบปลอ่ ยใหพ้ อ่ พนั ธุค์ ุมฝงู

เป็นการปลอ่ ยพอ่ พนั ธุ์ใหค้ ุมฝงู แมโ่ คและให้มกี ารผสมพนั ธุต์ ามธรรมชาติ การผสมแบบน้ีใช้

ในการจดั การฝูงที่มโี คเป็ นจานวนมากเกิน 200-400 ตวั ซ่ึงมขี อ้ ดีคือ ผเู้ ล้ียงไมต่ อ้ งคอยสงั เกตการเป็ น

สัดของแม่พนั ธุ์ พ่อพนั ธุ์จะทราบและผสมเอง แต่มีข้อเสียคือ ถา้ แม่พนั ธุ์เป็ นสัดหลายตวั ในเวลา

ใกลเ้ คียงกัน จะทาให้พ่อพนั ธุ์มีร่างกายทรุดโทรม วิธีแกไ้ ข โดยขังพ่อพนั ธุ์ไวเ้ ม่ือปล่อยแม่พนั ธุ์

ออกไปเล้ียงในแปลงหญา้ อตั ราส่วนของพอ่ พนั ธุท์ ่ีใชค้ ุมแม่พนั ธุ์ ดงั น้ี

พอ่ พนั ธุอ์ ายุ 2-3 ปี คุมฝงู แม่พนั ธุ์ ประมาณ 20 - 30 ตวั

พอ่ พนั ธุอ์ ายุ 3-4 ปี คุมฝงู แมพ่ นั ธุ์ ประมาณ 30 - 40 ตวั

พ่อพนั ธุอ์ ายุ 5-8 ปี คุมฝงู แม่พนั ธุ์ ประมาณ 40 - 50 ตวั

การผสมแบบน้ีตอ้ งมีการดูแลสุขภาพโคพอ่ พนั ธุเ์ ป็นอยา่ งดีและพอ่ พนั ธุท์ ี่ใชต้ อ้ งมีอายู

มากกว่า 2 ปี และมากสุดตอ้ งไม่เกิน 8-9 ปี อตั ราส่วนของพอ่ พนั ธุท์ ี่ใชค้ ุมแม่พนั ธุข์ ้ึนอยกู่ บั อายุ ความ

สมบูรณ์ของพ่อพนั ธุ์ สมรรถภาพการผสมพนั ธุ์ และคณุ ภาพน้าเช้ือ หลงั จากปลอ่ ยคุมฝงู ประมาณ 3

เดือน ควรแยกพอ่ พนั ธุอ์ อกและทาการตรวจสอบการต้งั ทอ้ งในแมพ่ นั ธุ์

2) การผสมแบบจูงผสมพนั ธุ์

เป็ นการผสมโดยจูงพ่อพนั ธุม์ าผสมกบั แม่พนั ธุห์ รือจูงแม่พนั ธุ์มาผสมกบั พ่อพนั ธุ์ การผสม

โดยวิธีน้ีควรแยกพ่อพนั ธุ์ออกเล้ียงต่างหาก เพราะจะทาให้พ่อพนั ธุ์มีสุขภาพสมบูรณ์ดี และพ่อพนั ธุ์

สามารถผสมกับแม่พันธุ์ได้จานวนมากกว่าการใช้คุมฝูง ทราบสมรรถภาพทางสายเลือดได้ และ

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ียงดูโคเน้ือและกระบอื 127

ตรวจสอบความสมบูรณ์พนั ธุข์ องพ่อแม่พนั ธุไ์ ดด้ ี แต่มีขอ้ เสียคือผเู้ ล้ยี งตอ้ งคอยสงั เกตการเป็นสดั เอง

การจดั การผสมพนั ธุ์พ่อพนั ธุท์ ี่ใชต้ อ้ งอายุเกิน 4 ปี ข้ึนไป สามารถใชผ้ สมไดส้ ปั ดาห์ละ 5 คร้ัง หากมี

การเล้ยี งดูที่ดี ( กญั จนะ ,2527 )

การผสมพนั ธุว์ ิธีน้ีโคพ่อ แมพ่ นั ธุต์ อ้ งปราศจากโรคแทง้ ตดิ ต่อ (หรือโรคบรูเซลโลซีส) โคทุก

ตวั จะตอ้ งไดร้ ับการตรวจโรคและปลอดโรคแทง้ ติดต่อ เพราะหากพ่อพนั ธุเ์ ป็นโรคแลว้ จะแพร่โรคให้

แม่โคทุกตวั ท่ีไดร้ ับการผสมดว้ ย

ภาพที่ 6.1 การเจาะเลือดตรวจแทง้ ติดต่อ
ที่มา :อุษา (2557)

3) การผสมเทียม
เป็นวธิ ีการผสมท่ีนาน้าเช้ือพอ่ พนั ธุม์ าผสมกบั แมพ่ นั ธุท์ ี่เป็นสดั โดยผทู้ ่ีทาการผสมเทียมจะ
สอดหลอดฉีดน้าเช้ือเขา้ ไปในอวยั วะเพศของแม่โคที่เป็นสดั

ภาพที่ 6.2 การผสมเทียมโค
ท่ีมา :อษุ า (2557)

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ยี งดโู คเน้ือและกระบอื 128

1.2 การจดั การเลยี้ งดูแม่โคต้งั ท้องและการกลบั เป็ นสัด

หลงั จากแมโ่ คไดร้ ับการผสมพนั ธุ์ เกษตรกรควรจดบนั ทกึ วนั ที่ผสม หลงั จากผสม

ประมาณ 21 วนั คอยสงั เกตดูว่าแม่โคกลบั เป็นสดั หรือไม่ หากกลบั เป็นสดั แสดงวา่ ผสมไมต่ ดิ ตอ้ ง

ผสมใหม่ หากไม่กลบั เป็นสดั แสดงว่าแมโ่ ตผสมติด แม่โคต้งั ทอ้ งเฉล่ียประมาณ 285 วนั

การตรวจทอ้ งเพื่อดูวา่ แม่โคไดร้ ับการผสมติด สามารถทาไดโ้ ดยการคลาตรวจดูมดลกู และรัง

ไข่ผา่ นทางทวารหนักต้งั แต่แมโ่ คต้งั ทอ้ งได้ 2-3 เดือน ข้ึนไป หรืออาจใชว้ ธิ ีตรวจหาระดบั ฮอร์โมนใน

เลือดหรือในน้านมก็สามารถบอกไวว้ า่ ต้งั ทอ้ งหรือไม่ แต่วธิ ีน้ีตอ้ งอาศยั หอ้ งปฏบิ ตั ิการในการตรวจ จึง

ยงั ไม่เหมาะสมในการนาไปใชก้ บั สภาพการเล้ยี งทวั่ ไป แมโ่ คที่ไม่ทอ้ งควรคดั ออกจากฝงู

ภาพที่ 6.3 การตรวจทอ้ งผา่ นทวารหนกั
ท่ีมา :อษุ า (2557)

1.3 การจดั การเลยี้ งดูแม่โคระยะต้งั ท้อง 4-6 เดือน
เป็นระยะท่ีลูกโคโตเต็มที่เตรียมตวั หยา่ นม หากลูกโคกนิ หญา้ และอาหารไดเ้ ก่งแลว้

แมโ่ คก็ตอ้ งการอาหารเพยี งเพอื่ บารุงร่างกาย ความตอ้ งการอาหารเพอ่ื เล้ยี งลกู ในทอ้ งมีนอ้ ยกวา่ ระยะ
อืน่ ๆสามารถประหยดั ค่าใชจ้ ่ายในการเล้ยี งโดยใหอ้ าหารคุณภาพต่าได้ ถา้ ใหอ้ าหารคุณภาพดีอาจทา
ใหแ้ มโ่ คอว้ นเกินไป แต่ควรระวงั อยา่ ใหแ้ ม่โคผอมมากเกินไป ควรมไี ขมนั สะสมอยบู่ า้ ง

1.4 การจดั การเลยี้ งดูแม่โคระยะ 90 วนั ก่อนคลอด
เป็ นระยะที่สาคัญของแม่โค เพราะเป็ นระยะท่ีลูกในท้องเจริญเติบโตถึง 70-80

เปอร์เซ็นต์ และแม่โคเตรียมตวั ในการสร้างน้านม หากอาหารคุณภาพไม่ดี แม่โคจะสูญเสียน้าหนัก
ส่งผลทาใหก้ ารกลบั เป็ นสดั หลงั คลอดชา้ ลง มผี ลกระทบต่อการให้ลูกปี ละตวั แม่โคมีน้าหนกั เพม่ิ ข้ึน
เพื่อชดเชยน้าหนกั ที่จะสูญเสียจากการคลอด โดยเฉพาะโคสาวทอ้ งแรก
( ยอดชายและไพโรจน์,2548 )

หน่วยท่ี 6 การจดั การเล้ยี งดโู คเน้ือและกระบอื 129

1.5 การจดั การเลยี้ งดูแม่โคระยะคลอดลกู

หลงั จากแม่โคทอ้ งใกลค้ ลอดประมาณ 10 วนั ควรแยกเล้ียงแม่โคและใหก้ ารดูแล

อยา่ งใกลช้ ิด โดยเฉพาะโคสาวทอ้ งซ่ึงไม่มปี ระสบการณค์ ลอดมาก่อนหลงั จากแยกโคทอ้ งออกจากฝงู

ควรใหอ้ ยใู่ นคอกท่ีสะอาด มีฟางหรือหญา้ แหง้ รอง หรือใหอ้ ยใู่ นแปลงหญา้ ที่สะอาดดูแลไดง้ ่าย

ก่อนคลอดแมโ่ คมอี าการกระวนกระวายมนี ้าเมือกเหนียวไหลออกทางช่องคลอด

หลงั จากน้นั 1-2 ชว่ั โมงถุงน้าคร่าโผลอ่ อกมาและแตก ลูกโคจะโผล่ตามมาลกู โคท่คี ลอดปกตจิ ะเอาเทา้

หนา้ โผลห่ ลุดออกมาก่อน ตามดว้ ยจมกู ปาก หวั ซ่ึงอยรู่ ะหวา่ งขาหนา้ 2 ขา ที่โผลอ่ อกมาในท่าพงุ่

หลาว การคลอดท่าอ่นื นอกจากน้ีเป็นการคลอดท่ีผดิ ปกติอาจตอ้ งใหค้ วามช่วยเหลอื ควรใหส้ ตั วแพทย์

เป็นผดู้ าเนินการ

ระยะต้งั แตข่ าหนา้ ออกมาจนถงึ คลอดใชเ้ วลาประมาณ 20-40 นาทีหลงั จากคลอดแมโ่ คจะเลีย

ลูกโคจนตวั แหง้ หลงั จากคลอดรกควรออกตามมาใน 12 ชวั่ โมงถา้ ไมอ่ อกแสดงว่ารกคา้ ง ควรลว้ งเอา

รกออกหลงั จากน้นั ใชย้ าเหน็บช่องคลอดหรือฉีดยาปฏชิ ีวนะเพอ่ื ป้องกนั การอกั เสบ

ภาพท่ี 6.4 การคลอดลูกของแม่โค
ท่ีมา :อุษา (2557)

1.6 การจดั การเลยี้ งดลู กู โคแรกเกดิ ถงึ หย่านม
ลูกโคแรกคลอดควรให้ความช่วยเหลือโดยเช็ดตวั ให้แห้ง ลว้ งน้าเมือกบริเวณปาก

และจมูกออกใหห้ มดกระตุน้ การหายใจและการเคลื่อนไหวของกลา้ มเน้ือ เมือ่ ลูกโคจะร้องแสดงวา่ เร่ิม
หายใจได้ ลกู โคท่ีแข็งแรงจะยนื ไดภ้ ายใน 30 นาทีเมื่อลูกโคยืนได้ ใหใ้ ชด้ า้ ยผกู สายสะดือใหห้ ่างจาก
พ้ืนทอ้ งประมาณ 2-3 น้ิว ใชก้ รรไกรที่สะอาดตดั แลว้ ใชย้ าทิงเจอร์ไอโอดีนชุบสายสะดือ

หลงั คลอดลูกโคควรไดก้ ินน้านมแมใ่ หเ้ ร็วท่ีสุดภายใน 6 ชว่ั โมง เพราะน้านมโคระยะแรกที่
เรียกวา่ นมน้าเหลอื ง จะมคี ุณค่าทางอาหารสูงและมภี ูมคิ ุม้ กนั โรคจากแม่ถ่ายทอดมาสู่ลกู หากลูกโคไม่
สามารถดูดนมกินเองไดค้ วรรีดนมจากแมม่ าป้อนใหล้ ูกกินจนแข็งแรง การจดั การลูกโคหลงั หยา่ นมมี
การปฏิบตั ิ ดงั น้ี (ศรเทพ,2539)

หน่วยท่ี 6 การจดั การเล้ยี งดโู คเน้ือและกระบอื 130

ภาพที่ 6.5 การจดั การตดั สายสะดือ

ที่มา :อษุ า (2557)
1.6.1 การจดั การใหอ้ าหารขน้ เสริมแก่ลกู โคเลก็ (creep feed)

ลูกโคจะเริ่มหดั กนิ หญา้ และอาหารเมอื่ อายปุ ระมาณ 2 - 3 เดือน เน่ืองจากแม่
โคจะใหน้ มไดส้ ูงสุดในระยะน้ี หลงั จากน้นั น้านมลดลงเร่ือยๆ ขณะที่ลกู โคเติบโตทกุ วนั จึงจาเป็นตอ้ ง
กินอาหารอนื่ ทดแทน ลกู โคท่ีกินหญา้ และอาหารไดเ้ ร็วกจ็ ะเติบโตไดเ้ ต็มท่ี อาหารขน้ เสริมควรมี
โปรตีนมากกวา่ 20 เปอร์เซ็นต์ ใหก้ ินตวั ละประมาณ 600 - 800 กรัม จะทาใหล้ กู โคโตเร็ว มนี ้าหนกั
หยา่ นมสูงกวา่ โคที่ไมไ่ ดใ้ หอ้ าหารเสริม

1.6.2 การจดั การหยา่ นมลูกโค
เกษตรกรมกั ปล่อยใหล้ กู โคอยกู่ บั แมจ่ นโตกระทงั่ แมโ่ คคลอดลกู ตวั ใหม่ ซ่ึง

จะมผี ลเสียทาใหแ้ มโ่ คขณะอมุ้ ทอ้ งใกลค้ ลอดมสี ุขภาพไมส่ มบูรณ์ เพราะตอ้ งกินอาหารเพื่อเล้ยี งท้งั ลูก
โคท่ีกาลงั อยใู่ นทอ้ งและลกู โคตวั เดิมอกี ดว้ ย ดงั น้นั จึงควรหยา่ นมลกู โคที่อายปุ ระมาณ 6 เดือนคร่ึง ถงึ
7 เดือน แต่ท้งั น้ีใหค้ านึงถึงสุขภาพของลกู โคและแมโ่ คดว้ ย เมอ่ื หยา่ นมลกู โคที่อายปุ ระมาณ 200 วนั
ควรไดน้ ้าหนกั หยา่ นมเฉล่ีย 180 กิโลกรัม ( ยอดชายและไพโรจน,์ 2548 )

1.6.3 การปฏิบตั ิเล้ยี งดูลกู โคดา้ นอ่นื ๆ ดงั น้ี
1.6.3.1 การทาประวตั ิโดยการทาเคร่ืองหมายประจาตวั ลกู โค

1.6.3.2 ลกู โคอายุ 3 สปั ดาห์ ถา่ ยพยาธิตวั กลม และถ่ายซ้าเม่ืออายุ 6 สปั ดาห์
1.6.3.3 ฉีดวคั ซีนป้องกนั โรค เช่น วคั ซีนโรคแทง้ ติดต่อ (บรูเซลโลซีส) แก่
ลกู โคเพศเมยี อายุ 3 - 8 เดือน เมื่อลูกโคอายุ 4 เดือน ทาการฉีดวคั ซีนโรคปากและเทา้ เปื่ อย
1.6.3.4 การทาลายเขา การมเี ขาของโคอาจทาใหเ้ กิดปัญหาหลายๆ อยา่ ง เช่น
เกิดอนั ตรายต่อผเู้ ล้ยี ง โคขวิดกนั เองและอาจเกิดอบุ ตั ิเหตุ

หน่วยท่ี 6 การจดั การเล้ยี งดโู คเน้ือและกระบอื 131

ภาพท่ี 6.6 การทาเครื่องหมายประจาตวั
ท่ีมา :อษุ า (2553)
วิธีการทาลายเขาโคมวี ิธีการต่างๆ เช่น
1)ใชส้ ารเคมี นิยมใชโ้ ซดาไฟ อาจใชแ้ บบแหง้ ที่มีรูปแบบเหมือนชอลค์ เขียนกระดาน
หรือใชแ้ บบของเหลวขน้ คลา้ ยยาสีฟัน ควรทาเม่ือลูกโคอายไุ มเ่ กิน 10 วนั ตดั ขนบริเวณรอบๆ ป่ ุมเขา
ออก ใชข้ ้ีผ้งึ หรือจารบีทารอบๆ เพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหโ้ ซดาไฟไหลเยมิ้ ไปถูกบริเวณอื่น เกษตรกรมกี ารใช้
เทคโนโลยพี ้นื บา้ นในการสูญเขาโดยการปูนกินหมากผสมสบู่กรดสูญเขาโค

ภาพท่ี 6.7 การใชป้ ูนกินหมากผสมสบู่กรดสูญเขาโค
ที่มา :http//www.nectec.or.th/oncc/province/p...01-2.jpg
2) ใช้ความร้อนทาลาย ทาได้กบั ลูกโคท่ีอายุประมาณ 3 สัปดาห์ จนถึง 3 เดือน ใช้
เหลก็ หรือวสั ดุท่ีประดิษฐเ์ ป็ นรูปทรงกระบอก ตรงปลายบุ๋มโคง้ เขา้ เพ่ือให้ครอบสนิทกบั ป่ ุมเขา จบั ลูก
โค ตดั ขนบริเวณป่ ุมเขา นาเหลก็ จ้ีเขาไปเผาไฟจนร้อนจดั แลว้ นามาจ้ีโดยหมุนวนไปเร่ือยๆ ป่ ุมเขาที่

หน่วยท่ี 6 การจดั การเล้ยี งดูโคเน้ือและกระบอื 132

โผลข่ ้ึนมาเล็กนอ้ ย แต่ไม่กดเช่นเดียวกบั การตีเบอร์ ใชเ้ วลาประมาณ 3 วนิ าทีข้ึนอยกู่ บั ป่ ุมเขา หากเป็ น

เขาท่ีงอกออกมาหนาแลว้ ควรใชม้ ีดคมๆ ปาดออกก่อนแลว้ จึงจ้ีซ้าอกี คร้ังจึงจะทาลายป่ ุมเขาไดผ้ ล

(ก) (ข)
ภาพท่ี 6.8 การใชค้ ีมตดั เขา (ก) การทาลายเขาโคดว้ ยความร้อน (ข)
ที่มา :อุษา ( 2557 )

3) การตดั เขาโค เป็นการทาลายเขาโคท่ีมขี นาดใหญ่ที่มีเขายาวอาจทิ่มตาหรือ
เขาแหลมขวดิ ทาร้ายตวั อนื่ ทาใหเ้ กิดบาดแผลและอาจเป็นอนั ตรายต่อผเู้ ล้ียงการทาลายเขาอาจทาโดย
การเลอ่ื ยเขาท่ีมลี กั ษณะแหลมออก บางส่วน

ภาพที่ 6.9 การทาลายเขาโดยการเลื่อยเขา
ที่มา :อษุ า ( 2557 )
1.6.3.5 การตอนโค

การตอนทาใหโ้ คไมส่ ามารถสร้างฮอร์โมนเพศได้ จะทาเฉพาะโค
เพศผู้ เพราะทาไดง้ ่ายไม่ยงุ่ ยากเช่นการตอนในโคเพศเมยี วธิ ีการตอนสามารถทาไดห้ ลายวิธี เช่น

ก.วิธีการแบบพ้นื บา้ นโดยการทุบข้วั อณั ฑะ
ข.วธิ ีการผา่ หรือตดั ลกู อณั ฑะออก
ค.วิธีการใชเ้ ครื่องมือตอนกาแพงแสน
ง.วธิ ีการใชค้ ีม ท่ีเรียกว่าเบอร์ดิซโซ่ ( Burdizzo ) โดยใชค้ มี หนีบใหท้ ่อนาน้าเช้ือ

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ียงดโู คเน้ือและกระบือ 133

จ.วิธีการใชย้ างรัด ( สมิต,2527 )

ภาพที่ 6.10 การตอนโคโดยใชค้ ีมเบอร์ดิซโซ่ ( Burdizzo )
ที่มา :อุษา ( 2557 )

ภาพที่ 6.11 การตอนโคโดยใชย้ างรัด
ท่ีมา :http//www.hpj.com/FarmRanchManagement/FM9%20NoBull.jpg

1.7 การจดั การเลยี้ งดลู กู โคหลงั หย่านม
ลกู โคเม่อื อายุ 7-8 เดือนข้ึนไปสามารถเล้ียงดูตวั เองไดจ้ ากอาหารขน้ และอาหารหยาบ

จึงควรทาการแยกออกเป็น 2 กลมุ่ คือโคเพศเมยี และเพศผทู้ ่ียงั ไมไ่ ดต้ อนไวต้ ่างหาก เพ่อื ใหโ้ คไดม้ กี าร
เจริญเติบโตอยา่ งเตม็ ท่ีควรใหอ้ าหารขน้ และเสริมแร่ธาตุ โคเพศผบู้ างตวั สามารถใชท้ าพนั ธุไ์ ดค้ วรเก็บ
ไวเ้ พ่ือเล้ียงไวเ้ ป็ นพ่อพนั ธุ์หรือขายทาพนั ธุ์ลูกโคท่ีเก็บไวท้ าพนั ธุค์ วรมีน้าหนักหยา่ นมเท่ากบั หรือ
มากกวา่ น้าหนกั หยา่ นมมาตรฐานของโคพนั ธุน์ ้นั ๆ และควรมนี ้าหนกั หยา่ นมเกินค่าเฉล่ียของฝงู ลูกโค
ท่ีเหลือจากการคดั ไวท้ าพนั ธุอ์ าจเก็บไวเ้ ล้ียงขนุ ขาย ลูกโคชุดน้ีควรสงั เกตใหด้ ี ควรคดั ตวั ที่แคระแกร็น
และลกั ษณะไมด่ ีออกจากฝงู

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ียงดูโคเน้ือและกระบือ 134

1.8 การจดั การเลยี้ งดูโคสาว

โคสาว หมายถึง โคเพศเมียท่ีมีอายุต้งั แต่ 1 ถึง 1½ ปี ( น้าหนกั 240-280 กิโลกรัม )

โคสาวท่ีจะใชเ้ ป็ นแม่พนั ธุ์ควรคดั เลือกโคที่มีพนั ธุประวตั ิจากพ่อแม่ที่ดี คดั เลือกคร้ังแรกเมื่อทาการ

หยา่ นมดูรูปร่างลกั ษณะเป็ นโคเน้ือท่ีดี สภาพร่างกายสมบูรณ์ ไม่อว้ นหรือผอมจนเกินไป สะโพกใหญ่

ไหล่เล็ก คอบางเรียว นิสัยเช่ืองไม่ต่ืนง่าย และควรทาการตรวจโรคแท้งติดต่อและโรคทางระบบ

สืบพนั ธุ์ ( ประสาน,2546 )

1.8.1 การจดั การดา้ นผสมพนั ธุ์

โคสาวไม่ควรให้มีน้าหนักเพ่ิมข้ึนหรือลดลง จึงควรให้อาหารท่ีเหมาะสม

การผสมโดยใชพ้ ่อพนั ธุ์ควรคัดเลือกโคสาวท่ีจะผสมให้เขา้ ฝูงผสมและเล้ียงในแปลงหญ้าหรือเล้ียง

ดว้ ยอาหารคุณภาพดีประมาณ 4 - 6 สปั ดาห์ ก่อนนาพอ่ พนั ธุเ์ ขา้ คุมฝงู พ่อพนั ธุท์ ี่ใชค้ วรมปี ระสิทธิภาพ

การผสมพนั ธุส์ ูง

1.8.2 การจดั การในระยะต้งั ทอ้ ง

การเพ่ิมน้าหนกั ระยะเวลาต้งั ทอ้ งของแม่โคสาวไม่ควรเกิน 0.5 กิโลกรัมต่อ

วนั ยกเวน้ ช่วงทา้ ยของการต้งั ทอ้ งสามารถปล่อยใหเ้ ติบโตไดเ้ ต็มท่ี เพราะถา้ แม่โคสาวมนี ้าหนกั ลดลง

ในช่วงน้ีจะทาให้มีปัญหาในการคลอดยากเนื่องจากการไม่เจริญเติบโตของกระดูกเชิงกราน การ

คดั เลอื กโคสาวท่ีมีกระดูกเชิงกรานใหญ่ สามารถช่วยลดอตั ราการคลอดยากได้ ก่อนคลอด 2 – 3 เดือน

ควรแยกเล้ยี งและคอยดูแลใหด้ ีตลอดระยะการคลอดและผสมพนั ธุ์

1.8.3 การจดั การในระยะการคลอดของแม่โคสาว

โคสาวท่ีคลอดลกู ตวั แรกที่อายุ 2 ปี หากถงุ น้าคร่าแตก 2 ชวั่ โมงยงั ไม่คลอด

ลูกหรือถา้ ลกู โคคลอดเอาขาหลงั ออกหรือคลอดผดิ ท่า ควรใหค้ วามช่วยเหลืออยา่ งเร่งด่วน แต่หากแม่

โคยงั แข็งแรง อาจรออกี ประมาณคร่ึงชวั่ โมง ถา้ ยงั ไม่คลอดจึงควรใหก้ ารช่วยเหลือ

ภาพที่ 6.12 การจดั การช่วยคลอด ( ลูกโคคลอดเอาหลงั ออก )
ท่ีมา:อุษา ( 2557 )

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ียงดูโคเน้ือและกระบอื 135

1.8.4 การจดั การในระยะหลงั คลอด

แม่โคสาวหลงั คลอดลูกส่วนใหญ่จะมปี ัญหาในการกลบั เป็ นสัด จึงควรแยก

ลูกโคที่อายุ 30 - 90 วนั เพื่อลดความเครียดของแม่โค โดยเฉพาะแม่โคท่ีมีปัญหาในการคลอด ลูกโค

แยกออกจากแม่ควรปล่อยใหด้ ูดนมแม่เพียงวนั ละคร้ัง จะทาใหแ้ มโ่ คสาวกลบั เป็ นสดั เร็วข้ึนโดยไม่มี

ผลเสียต่อน้าหนกั หยา่ นมและสุขภาพลกู โค ( ยอดชายและไพโรจน,์ 2548 )

ภาพท่ี 6.13 การจดั การแม่โคหลงั คลอด
ที่มา:อษุ า (2557)

2.การจดั การเลยี้ งดกู ระบือระยะต่างๆ
การเล้ียงกระบือแบบฟาร์มปศุสตั วเ์ ป็ นระบบการเล้ยี งท่ีตอ้ งใชพ้ ้ืนท่ีมากมีการลงทุนข้นั ตน้ สูง

โดยมงุ่ เนน้ การผลิตลุกเพอื่ จาหน่ายหรือการปรับปรุงชยายพนั ธุ์ การจดั การระบบธุรกิจพบนอ้ ยมากใน
ประเทศไทย จะมีเฉพาะหน่วยงานของรัฐบาล เช่นสถานีบารุงพันธุ์สัตว์ของกรมปศุสัตว์หรื อ
สถาบนั การศึกษา จาเป็ นต้องอาศยั การจดั การเล้ียงดูเป็ นอย่างดี ซ่ึงการจัดการเล้ียงดูกระบือของ
เกษตรกรส่วนใหญ่มกั ใชร้ ะบบการเล้ียงดูแบบง่าย ไม่ยงุ่ ยาก ( อนุรัตน์,2539 )

2.1. การจัดการด้านการผสมพันธ์ุ กระบือโตเต็มท่ีมีอายุที่เหมาะสมในการผสมพนั ธุ์ คือ
กระบือเพศผอู้ ายุ 3- 4 ปี กระบือเพศเมียอายุ 2- 3 ปี ข้ึนกบั ความสมบูรณ์ของร่างกาย กระบือพ่อพนั ธุ์
1 ตวั สามารถคุมผงู แม่พนั ธุไ์ ดไ้ มเ่ กิน 25 ตวั การสงั เกตุอาการเป็นสดั ของแมพ่ นั ธุ์ โดยเอาหวั คลอเคลีย
ใตค้ อและทอ้ ง เอาตวั เขา้ ถูกบั กระบือผู้ เดินนาหนา้ เอากน้ ใหใ้ กลก้ บั จมูกกระบือผู้ ชูหาง กระบือเมีย
บางตวั ทาเสียงคารามเบาๆ ปัสสาวะบ่อย ๆ สีของอวยั วะสืบพนั ธุ์ ( Vulva ) ไม่เปลี่ยน เม่ือพบอาการ
เป็นสดั ของกระบือนาน 24 ชวั่ โมงให้ทาการผสมพนั ธุก์ ระบือ กระบือท่ีไดร้ ับการผสม และไมเ่ ป็ นสัด
ถือว่าผสมติดและต้งั ทอ้ ง เพราะถา้ กระบือผสมไม่ติด จะมอี าการสดั ทุก ๆ 28 -46 วนั ( คณธิศ,2555 )

2.1 การจดั การเลยี้ งดูแม่กระบือใกล้คลอด
เมื่อกระบือไดร้ ับการผสมพนั ธ์และต้งั ทอ้ ง กระบือควรไดร้ ับการจดั การเล้ยี งดูท่ีดี ใน

ดา้ นต่างๆ ดงั น้ี

2.1.2 การจดั การด้านอาหาร

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ยี งดูโคเน้ือและกระบือ 136

กระบือระยะต้ังทอ้ งความตอ้ งการโภชนะต่างๆในอาหารเพ่ือเล้ียงลูกในทอ้ ง การ

จดั การอาหารหยาบและอาหารขน้ ดา้ นโปรตีนควรมีคุณภาพดี อาหารท่ีใหม้ ตี อ้ งมลี กั ษณะอ่อนยอ่ ยง่าย

เช่น ราละเอียด ควรเสริมอาหารขน้ วนั ละ 1-2 กิโลกรัม และมแี ร่ธาตุกอ้ นใหเ้ ลียกินอยา่ งอิสระ

2.1.3 การเลยี้ งดกู ระบือท้องด้านอ่ืนๆ

การดูแลกระบือทอ้ งควรมกี ารจดั การ ดงั น้ี

2.1.3.1 ตอ้ งใหก้ ระบือทางานบา้ งเป็นการออกกาลงั กายจะทาใหค้ ลอดง่าย

2.1.3.2 ไม่ควรใหท้ อ้ งผกู เพราะจะส่งผลใหค้ ลอดยาก ควรใหอ้ าหารที่ฟ่ าม

2.1.3.3 ไมค่ วรใหเ้ ดินไกลๆ หรือว่ิงเร็วๆ อาจแทง้ ลูกไดแ้ ละไม่ควรมกี ารขน

ยา้ ยกระบือทอ้ งถา้ ไมจ่ าเป็น

2.1.3.4 ไม่ควรรวมฝงู กบั กระบือแทง้ ลกู

2.1.3.5 กระบือที่รีดนม ควรหยดุ รีดก่อนคลอดประมาณ 8-10 สปั ดาห์

2.1.3.6 เสริมอาหาร เพอื่ สร้างกระดูกและกลา้ มเน้ือของลกู ในทอ้ ง

2.1.3.7 เมือ่ ทอ้ งแก่ใกลค้ ลอด ควรแยกขงั ต่างหาก ( อญั ชลี,2544 )

ภาพที่ 6.14 แมก่ ระบือทอ้ งแก่ใกลค้ ลอด
ที่มา:อษุ า ( 2557 )

2.2 การจดั การเลยี้ งดูแม่กระบือคลอดลกู และหลงั คลอด
แมก่ ระบือใกลค้ ลอดควรแยกออกจากฝงู ไวใ้ นคอกท่ีสะอาด มีหญา้ หรือฟางแหง้ ๆ ปู

รองนอน ควรลา้ งและทาความสะอาดกีบและขาของแมก่ ระบือใหส้ ะอาด ขลิบขนใกลอ้ วยั วะสืบพนั ธุ์
กระบือแมท่ ่ีเคยแทง้ หรือรกคา้ งควรแยกคอกขงั ต่างหาก

2.2.1 ลกั ษณะอาการแมก่ ระบือใกลค้ ลอดลูก มดี งั น้ี
2.2.1.1 โดยปกติก่อนคลอดลกู 2-3 วนั เตา้ นมจะเต็มและขยายใหญ่ข้ึน

น้านมจะไหลเมอ่ื เวลาบีบ หวั นมจะบวม
2.2.1.2 แนวทอ้ งกระบือจะหยอ่ นยาน

หน่วยท่ี 6 การจดั การเล้ยี งดูโคเน้ือและกระบอื 137

2.2.1.3 อวยั วะเพศบวม กลา้ มเน้ือและอวยั วะที่อยใู่ กลโ้ คนหางจะคลายตวั

2.2.1.4 กระบือมอี าการทุรนทุราย แสดงอาการปวดทอ้ งคลอด แมก่ ระบือท่ี

ปกติจะคลอดลกู หลงั จากแสดงอาการเหล่าน้ีภายใน 1-2 ( คณธิศ,2555 )

ภาพที่ 6.15 แม่กระบือและลกู คลอดใหม่
ที่มา:อุษา ( 2557 )
2.2.2 การจดั การดูแลกระบือหลงั คลอด

หลงั จากแมก่ ระบือคลอดลกู ควรมีการจดั การ ดงั น้ี
2.2.2.1 ใชย้ าฆ่าเช้ือราดในคอกและดิน เผาหญา้ หรือฟางแหง้ ท่ีรองใหห้ มด
2.2.2.2 เช็ดทาความสะอาด ตดั สายสะดือ ทาฆา่ เช้ือบริเวณสายสะดือ
2.2.2.3 กระบือจะขบั รกภายใน 4 ชว่ั โมง ถา้ ไม่ออกอาจจะตอ้ งฉีดยาขบั รก

ภาพที่ 6.16 การขบั รกของ แม่กระบือหลงั คลอด
ที่มา:อุษา ( 2557 )

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ียงดโู คเน้ือและกระบอื 138

2.2.2.4 ถา้ ลกู กระบือแสดงอาการแน่นิ่ง ใหช้ ่วยเหลือโดยดึงลน้ิ ออกจากปาก

แลว้ จบั ขายกใหห้ วั หอ้ ยลง

2.2.2.5 เมือ่ ลูกกระบือหายใจไดแ้ ลว้ ควรช่วยใหล้ ูกกระบือกินนมแมท่ ่ีเป็น

นมน้าเหลืองโดยเร็ว ลูกกระบือที่แขง็ แรงจะยนื และกินนมภายใน 1 ชง่ั โมงหลงั คลอด

2.2.2.6 แมก่ ระบือเมื่อคลอดแลว้ ใหก้ ินหญา้ ออ่ น ๆ และพกั ผอ่ น

2.2.2.7 หากแมก่ ระบือมีอาการนมคดั เตา้ ควรรีดนมออกบา้ ง

2.2.2.8 แมก่ ระบือที่ใหน้ มลกู อาจจะมภี าวะขาดธาตุแคลเซียม โดยมอี าการ

นอนหงายหนา้ เอาหวั ทบั ส่วนหลงั ลกั ษณะน้ีเรียกว่า ไขน้ ม แกไ้ ขโดยฉีดแคลเซียมโบโรกลโู คเนต

ใหก้ บั แมก่ ระบือ ( มูลนิธิรักบา้ นเกิด,2553 )

ภาพที่ 6.17 ตดั สายสะดือและใส่ยาฆ่าเช้ือลูกกระบือคลอดใหม่
ท่ีมา:อุษา ( 2557 )

2.3 การจดั การเลยี้ งดูกระบือแรกคลอดถึงอายุ 6 เดือน
การเล้ยี งดูกระบือต้งั แต่เกิดจนถงึ อายุ 6 เดือน เป็ นระยะสาคญั ท่ีสุด ควรใหล้ ูกกระบือ

ไดก้ ินน้านมน้าเหลืองจากแม่ในระยะ 3 วนั แรก เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกนั โรค และให้กินนมแม่จนอายุ
ประมาณ 3-4 สปั ดาห์ หากแม่กระบือมีปริมาณน้านมไม่เพียงควรมกี ารเสริมนมผงใหล้ ูกกระบือ การ
จดั การลกู กระบือหลงั หยา่ นมมีการปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี

2.3.1 ลูกกระบือจะมีการพัฒนาของกระเพาะสมบูรณ์เมื่ออายุ 4 เดือนข้ึนไป ลูก
กระบือสามารถกินอาหารหยาบไดแ้ ลว้ และควรหยา่ นมเมื่ออายุ 7-8 เดือน

2.3.2 ทาเครื่องหมายประจาตวั กระบือ
2.3.3 การจดบนั ทึกพนั ธุประวตั ิ
2.3.4 ตอนลูกกระบือเพศผทู้ ่ีไม่ตอ้ งการเกบ็ ไวท้ าพนั ธุ์ ( คณธิศ,2555 )
2.3.5 ลกู กระบือที่เล้ยี งในทุ่งหญา้ ควรมีน้าท่ีสะอาด มรี ่มไมเ้ พอ่ื บงั ความร้อน

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ยี งดโู คเน้ือและกระบือ 139

ภาพท่ี 6.18 การทาเครื่องหมายลูกกระบือ
ที่มา:อุษา ( 2557 )
2.4 การจดั การเลยี้ งดูกระบืออายุ 6 เดือนถงึ อายุ 10 เดือน
การเล้ียงลกู กระบืออายุ 6-7 เดือนเป็นระยะท่ีลกู กระบือหยา่ นม ควรมกี ารแยกออก
จากแมเ่ พื่อใหแ้ มก่ ระบือเตรียมคลอดลูกตวั ต่อไป การจดั การลูกกระบือระยะน้ีควรมกี ารปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
2.4.1 กรณีเล้ยี งแบบปล่อยแทะแลม็ แปลงหญา้ ควรเสริมอาหารขน้ ที่มีโปรตีน 16- 18
เปอร์เซ็นต์ ปริมาณที่เสริมข้ึนกบั คุณภาพของหญา้ เช่น หญา้ คุณภาพดีเสริมอาหารขน้ วนั ละ 1 - 1 ½
กิโลกรัม หญา้ มคี ุณภาพไมด่ คี วรเสริมอาหารขน้ 2- 4 กิโลกรัม
2.4.2 หากเล้ียงใหก้ ินหญา้ แหง้ เสริมอาหารขน้ 4- 7 กิโลกรัม
2.4.3 ควรมนี ้าและแร่ธาตุใส่ภาชนะหรือแขวนใหก้ ระบือกินตลอดเวลา

ภาพท่ี 6.19 แร่ธาตุสาหรับใหล้ ูกกระบือเลีย
ท่ีมา:อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 6 การจดั การเล้ยี งดูโคเน้ือและกระบือ 140

2.4.4 เมือ่ ลกู กระบืออายุ 6 เดือน ควรแยกออกจากฝงู เพอื่ ป้องกนั มิใหล้ กู กระบือผสม

เมื่ออายยุ งั นอ้ ย ถา้ ปลอ่ ยใหผ้ สมในขณะท่ีกระบือยงั ไมโ่ ตเตม็ ท่ีจะใหล้ กู มีขนาดเลก็ การใหอ้ าหารขน้

ควรเป็นอาหารท่ีมคี ุณภาพดี ( ประสบ,2520 )

ภาพท่ี 6.20 ลูกกระบือหลงั หยา่ นม
ที่มา:อุษา ( 2557 )

2.5 การจดั การเลยี้ งดกู ระบืออายุต้งั แต่ 10 เดือนขนึ้ ไป
ลูกกระบือเม่ืออายุมากกว่า 10 เดือน ระบบยอ่ ยอาหารมีจุลินทรียท์ ี่จะย่อยอาหาร

หยาบเจริญเต็มที่ การจดั การลกู กระบือระยะน้ีควรมีการปฏิบตั ิ ดงั น้ี
2.5.1 ใหก้ ินหญา้ เป็นอาหารหลกั
2.5.2 ควรเสริมอาหารขน้ ท่ีมโี ปรตีน 16- 18 เปอร์เซ็นต์ 1-2 กิโลกรัมต่อตวั ต่อวนั

ถา้ ปลอ่ ยเล้ยี งในแปลงหญา้ ท่ีมคี ุณภาพสูงไมจ่ าเป็นตอ้ งเสริมอาหารขน้
2.5.3 มนี ้าสะอาดและแร่ธาตุใหก้ ินตลอดเวลา
2.5.4 เมอื่ กระบืออายุ 18 เดือนควรมนี ้าหนกั 250-300 กิโลกรัม

2.6 การจดั การเลยี้ งดูกระบือรุ่นหนุ่ม-สาว
การเล้ยี งดูกระบือหนุ่มกระบือสาว เม่ือกระบืออายุได้ 1 ½ ปี ตอ้ งแยกเอาตวั ผตู้ วั เมีย

ไวค้ นละฝงู เพ่อื ป้องกนั การผสมพนั ธุก์ ่อนกาหนด การจดั การกระบือหนุ่มสาว ควรมกี ารปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี
2.6.1 ใหก้ ินหญา้ เป็นอาหารหลกั
2.5.2 ควรเสริมอาหารขน้ ท่ีมโี ปรตีน 10- 12 เปอร์เซ็นต์
2.5.3 มนี ้าสะอาดและแร่ธาตุใหก้ ินตลอดเวลา
2.5.4 ตรวจสอบอตั ราการเจริญเติบโตเทียบกบั เกณฑม์ าตรฐาน
2.5.5 หมน่ั ตรวจสอบการเป็นสดั ( จนิ ตนา,2551 )

หน่วยที่ 6 การจดั การเล้ยี งดโู คเน้ือและกระบือ 141

ภาพที่ 6.21 เสริมอาหารขน้ ใหก้ ระบือ
ที่มา:อษุ า ( 2557 )
2.7 การจดั การกระบือพ่อพนั ธ์ุ
กระบือพ่อพนั ธุจ์ ะตอ้ งมีลกั ษณะดี มกี ารเจริญเติบโตและประสิทธิภาพ การใชอ้ าหาร
ดี มีรูปร่างสมส่วน
2.7.1 เกณฑก์ ารคดั เลอื กกระบือท่ีจะใชเ้ ป็นพ่อพนั ธุ์ มีดงั น้ี

2.7.1.1 คดั เลอื กโดยดูพนั ธุประวตั ิ ( Pedigree )
2.7.1.2 ทาการทดสอบลกู หลาน ( Progeny test ) พอ่ -แมพ่ นั ธุต์ วั ใดใหล้ กู ท่ีมี
ลกั ษณะดีควรคดั ไวท้ าพ่อ-แมพ่ นั ธุ์
2.7.1.3 คดั เลือกโดยการตดั สินจากการประกวด

ภาพที่ 6.22 พ่อพนั ธุก์ ระบือประกวดชนะเลิศงานกระบือและโคเน้ือแห่งชาติ
ท่ีมา:อุษา ( 2552 )

หน่วยท่ี 6 การจดั การเล้ยี งดโู คเน้ือและกระบอื 142

2.7.2 ลกั ษณะพ่อพนั ธุก์ ระบือท่ีดี ควรมีลกั ษณะ ดงั น้ี
2.7.2 1 เกิดจากพ่อแมท่ ่ีมลี กั ษณะดีใหล้ กู ดก
2.7.2 2 กระบือพอ่ พนั ธุค์ วรมีอายรุ ะหว่าง 3-10 ปี หรืออาจใชก้ ระบือหนุ่ม

อายุ 2 ปี คร่ึงข้ึนไปหากมคี วามแข็งแรงและสมบูรณ์
2.7.2 3 มีรูปร่างขนาดใหญ่ ส่วนสูง130 เซนติเมตรข้นึ ไป และมคี วามยาวรอ

บอกเมอื่ วดั ตรงซอกขาหนา้ ไมต่ ่ากว่า 195 เซนติเมตร
2.7.2 4 มคี วามสมบูรณ์พนั ธุส์ ูง ลกั ษณะอวยั วะเพศสมบูรณ์ ไม่ผดิ ปกติ
2.7.2 5 มีลกั ษณะของความเป็นเพศผู้ ข้ึนเปล่ยี ว
2.7.2 6 นิสยั เช่ือง ไมด่ ุร้าย

2.7.3 การจดั การเล้ยี งดูมีหลกั ปฏิบตั ิ ดงั น้ี
2.7.3.1 กระบือพอ่ พนั ธุค์ วรไดอ้ าหารขน้ เสริมวนั ละ 2 กิโลกรัมต่อตวั ต่อวนั
2.7.3.2 ถา้ พ่อพนั ธุเ์ ล้ียงใชง้ านดว้ ยก่อนที่จะใหผ้ สมพนั ธุค์ วรใหพ้ ่อกระบือ

ไดพ้ กั อยา่ งเพยี งพอ
2.7.3.3 ควรจูงไปผกู ล่ามตามแปลงหญา้ เพอื่ พอ่ พนั ธุไ์ ดแ้ ทะเลม็ และเดินออก

กาลงั กาย ลดปัญหาการเจบ็ กีบ
2.7.3.4 ควรมีการอาบน้าเมอื่ อากาศร้อนหรือมีปลกั ใหก้ ระบือนอนแช่
2.7.3.5 หลกี เลี่ยงไมใ่ หพ้ อ่ กระบือผสมพนั ธุก์ บั ลูกสาวหรือแม่กระบือท่ีเป็ น

พี่นอ้ งกนั จึงควรเปลี่ยนพอ่ พนั ธุก์ ระบือทุกๆ 3 หรือ 4 ปี ( อญั ชลี,2553 )

ภาพที่ 6.23 กระบือนอนแช่ปลกั เมอ่ื อากาศร้อน
ที่มา:อษุ า (2554)

หน่วยท่ี 6 การจดั การเล้ียงดูโคเน้ือและกระบอื 143

2.7.4 การจดั การดา้ นการสุขาภิบาล ควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี

2.7.4.1 ฉีดวคั ซีนป้องกนั โรคประจาทุกปี เช่น วคั ซีนป้องกนั โรคปากและเทา้

เป่ื อย วคั ซีนป้องกนั โรคเฮโมรายกิ เซฟติซีเมีย (โรคคอบวม ) และทาการตรวจโรควณั โรคและโรคแทง้

ติดต่อประจาปี ทุกปี ถา้ ตรวจเจอโรคควรทาการคดั ท้ิง

2.7.4.2 ก่อนนากระบือใหม่เขา้ มาในฝงู ตอ้ งทาวคั ซีน ถา่ ยพยาธิและกกั โรค

ประมาณ 2 สปั ดาห์ จึงนาเขา้ ฝงู

2.7.4.3 แยกกระบือป่ วยออกจากฝูง และถา้ มีการป่ วยมากกว่า 2 ตัว ใน

ระยะเวลาใกลเ้ คียงกนั และมอี าการเหมือนกนั ใหส้ งสัยว่าอาจเป็นโรคระบาด ควรแจง้ สตั วแ์ พทยเ์ พื่อ

ตรวจสอบ

สรุป

1.การเล้ยี งแม่โคใหม้ สี ุขภาพดีเป็นปัจจยั สาคญั ต่อการผสมติดของแม่โค และทาใหแ้ ม่โคให้

ลูกอยา่ งสมา่ เสมอ ความตอ้ งการอาหารของแมโ่ คระยะต่างๆ แตกต่างกนั การจดั การเล้ียงดูแมโ่ ค

สามารถจาแนกออกเป็นระยะต่างๆ ตามความตอ้ งการอาหารของโคได้ 3 ระยะ ดงั น้ี

1.1 ระยะคลอดลกู ถึง 3-4 เดือนหลงั คลอด เป็นระยะผสมพนั ธุจ์ นถงึ ต้งั ทอ้ งเป็นระยะ

ที่โคเน้ือมคี วามตอ้ งการอาหารคุณภาพดีมากท่ีสุด

1.2 ระยะต้งั ทอ้ ง 4 - 6 เดือน

1.3 ระยะต้งั ทอ้ ง 3 เดือนก่อนคลอด เป็นระยะที่แม่โคทอ้ งแก่จนถงึ คลอดลูก

2.การจดั การเล้ียงดูกระบือ เกษตรกรไทยเล้ียงกระบือเพื่อใชแ้ รงงานในการทานา ทาไร่ การ

จดั การเล้ียงดูกระบือสามารถจาแนกออกเป็ นระยะต่างๆ เช่น การเล้ียงดูกระบือใกลค้ ลอด การเล้ียงดู

ลูกกระบือ การเล้ียงดูกระบืออายุ 6 เดือน การเล้ียงดูกระบืออายุ 6 -12 เดือน การเล้ียงดูกระบือสาว

การเล้ยี งดูกระบือพอ่ พนั ธุ์ ตอ้ งมีการจดั การใหอ้ าหารหยาบแบบเตม็ ท่ีและเสริมอาหารขน้ ที่คุณภาพดี


Click to View FlipBook Version