The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเนื้อและกระบือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by สุชาดา อํา่ปลอด, 2019-06-06 02:16:23

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเนื้อและกระบือ

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเนื้อและกระบือ

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบือ 146

หนว่ ยที่ 7
โรคและการสขุ าภบิ าลโคเนอื้ และกระบอื

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ 147

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเนื้อและกระบือ

หวั ข้อเรื่อง

1.ความหมายของโรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ
2.เช้ือสาเหตุของโรค อาการ การรักษาในโคเน้ือและกระบอื
3.ลกั ษณะอาการโรคที่สาคญั ในโคเน้ือและกระบือ

สาระสาคญั

1.โรคสตั ว์ (disease) หมายถงึ การที่ร่างกายหรืออวยั วะของร่างกายมีภาวะการเปลย่ี นแปลงไป
ทาใหก้ ารทางานผดิ ปกติ โดยร่างกายสามารถรู้สึกความผดิ ปกติได้ และมกั แสดงอาการผดิ ปกติใหเ้ ห็น
ความผดิ ปกติที่แสดงออกใหเ้ ห็น เรียกว่า อาการ (Symptom) สัตวจ์ ะดารงชีพอยา่ งไม่ปกติ พิการ หรือ
ตายได้ ส่วนการสุขาภิบาล (sanitation) หมายถึง การจดั การใด ๆ เกี่ยวกบั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ อ้ืออานวย
และเหมาะสมกบั ความตอ้ งการโดยธรรมชาติของสตั วแ์ ต่ละชนิด ท้งั น้ีเพอ่ื ใหส้ ตั ว์ มีสุขภาพแข็งแรง มี
การเจริญเติบโตดีและใหผ้ ลผลิตสูง

2.การเกิดโรคในสัตวเ์ กิดจากสาเหตุหลายประการ โดยสาเหตุของการเกิดโรคในสตั วแ์ บ่ง
ออกเป็ นโรคที่เกิดจากการติดเช้ือโรค ( infections disease ) ไดแ้ ก่ โรคที่เกิดจากเช้ือจุลินทรียต์ ่าง ๆ
เช่น แบคทีเรีย ไวรัส รา และปรสิต และที่เกิดจากปัจจยั อ่ืนที่ไม่ใช่การติดเช้ือโรค (non – infections
disease) เป็ นโรคที่เกิดจากสาเหตุอื่นนอกจากเช้ือโรค เช่นความผิดปกติของพนั ธุกรรม การขาด
สารอาหาร การกินสารพษิ หรือสาเหตุจากความเครียด

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

1.เพื่อใหส้ ามารถบอกความหมายของโรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ
2.เพอื่ ใหบ้ อกเช้ือสาเหตุของโรค อาการ การรกั ษาในโคเน้ือและกระบือ
3.เพื่อใหอ้ ธิบายลกั ษณะอาการโรคที่สาคญั ในโคเน้ือและกระบือ
1.โรคและการสุขาภบิ าลโคเนือ้ และกระบือ
การเล้ียงโคเน้ือและกระบือ สุขภาพเป็ นสิ่งสาคญั หากร่างกายสมบูรณ์ แข็งแรง โคเน้ือและ
กระบือ มีการเจริญเติบโตที่เป็นปกติ ผเู้ ล้ียงตอ้ งรู้จกั วิธีการป้องกนั ที่จะไม่ใหส้ ตั วเ์ กิดโรคหรือสามารถ
ป้องกนั และรักษาโรคสตั วเ์ บ้ืองตน้

1.1 ความหมายของโรคและการสุขาภบิ าลโคเนื้อและกระบือ
1.1.1 โรคสตั ว์ ( Animal disease ) หมายถึง การเปลย่ี นแปลงของร่างกายทาง

อวยั วะหรือกายวิภาค ( Anatomical change ) หรือการเปลยี่ นแปลงทางสรีรวิทยา ( Physiological

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 148

change )ไปจากเดิมจนไม่สามารปฏิบตั ิหน้าท่ี ( Function ) ไดต้ ามปกติเป้นผลให้เกิดอตั รายต่อสัตว์
และสตั วแ์ สดงอาการผดิ ปกติใหเ้ ห็น ( จิตติมา,2553 )

1.1.2 โรคสัตว์ ( Disease) หมายถึง การที่ร่างกายหรืออวยั วะของร่างกายมี
ภาวะการเปลีย่ นแปลงไปทาใหก้ ารทางานผิดปกติ โดยร่างกายสามารถรู้สึกความผดิ ปกติได้ และมกั
แสดงอาการผดิ ปกติใหเ้ ห็น ความผดิ ปกติที่แสดงออกใหเ้ ห็น เรียกวา่ อาการ (Symptom) สตั วจ์ ะดารง
ชีพอยา่ งไม่ปกติ พกิ าร หรือตายได้

1.1.3 การสุขาภิบาล ( Sanitation ) หมายถึง การจดั การใดๆท่ีเก่ียวกบั สภาพ
แวดลอ้ มและตวั โค เพ่ือทาใหโ้ คอยสู่ บาย สุขภาพดี ซ่ึงส่งผลใหม้ กี ารเจริญเติบโตดตี ามไปดว้ ย ไดแ้ ก่
การเลือกแบบ ขนาดและความสะดวกของโรงเรือน อาหารและการใหอ้ าหาร การถา่ ยเทอากาศ และ
พาหะนาโรคต่าง ๆ ( สมชาย,2557 )

1.2 การแพร่กระจายของโรค
การแพร่กระจายของโรคจากตวั หน่ึงไปยงั อีกตวั หน่ึงหรือจากฟาร์มหน่ึงสุ่อีกฟาร์ม

หน่ึงมกี ารแพร่กระจาย ดงั น้ี
1.2.1 การติดต่อโดยตรงระหว่างสัตวด์ ว้ ยกนั ( Direct contact ) เป็ นการติดต่อจาก

สตั วป์ ่ วยสู่สตั วป์ กติหรือจากสตั วท์ ่ีซ้ือมาใหม่ในฝงู ทวั่ ไปติดต่อทางปากโดยการกิน หายใจเอาเช้ือโรค
ติดต่อทางผวิ หนงั หรือติดต่อทางการผสมพนั ธุ์ ความรุนแรงของโรคข้ึนอยกู่ บั ปริมาณเช้ือที่ไดร้ ับ

1.2.2 การติดต่อทางออ้ ม ( Indirect contact ) เป็ นการติดต่อทางออ้ มผ่านเคร่ืองมือ
อปุ กรณ์ รถยนต์ หรือแมลงพาหะ

1.3 สาเหตขุ องการเกดิ โรคในสัตว์
การเกดิ โรคในสตั วเ์ กิดจากสาเหตุหลายประการ โดยสาเหตุของการเกิดโรคในสตั ว์

แบ่งไดด้ งั น้ี
1.3.1 โรคที่เกิดจากการติดเช้ือโรค ( Infections disease ) ไดแ้ ก่ โรคท่ีเกิดจาก

เช้ือจุลนิ ทรียต์ ่าง ๆ เช่น แบคทีเรีย ไวรัส รา และปรสิต
1.3.2 โรคท่ีเกดิ จากปัจจยั อืน่ ท่ีไม่ใช่การติดเช้ือโรค ( Non – infections disease ) เป็น

โรคที่เกิดจากสาเหตุอน่ื นอกจากเช้ือโรค เช่นความผดิ ปกติของพนั ธุกรรม การขาดสารอาหาร การกิน
สารพิษหรือสาเหตุจากความเครียด ( ปราโมทย,์ 2555 )

1.4 สาเหตุโน้มนาเกยี่ วกบั ตวั สัตว์ท่ีทาให้เกดิ โรค
ตวั สตั วอ์ าจเป็นสาเหตุโนม้ นาท่ีทาใหเ้ กิด ไดแ้ ก่

1.4.1 ชนิดของสตั ว์ (Genus) ความไวต่อการติดโรคของสตั วแ์ ต่ลชนิดไมเ่ ท่ากนั เช่น

ริเดอร์เปสตเ์ ป้นโรคตดิ ต่อเฉียบพลนั ในโคเน้ืและกระบือ

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 149

1.4.2 พนั ธุส์ ตั ว์ ( Breed ) โคสายพนั ธุอ์ นิ เดียจะทนโรคและพยาธิในเขตร้อนดีกว่าโค
สายพนั ธุย์ โุ รป

1.4.3 อายสุ ตั ว์ ( Age ) ลูกสตั วค์ ลอดใหมม่ ีความไวต่อการเกิดโรคมากกว่าสตั วอ์ ายุ
มากหรือสตั วโ์ ตเตม็ วยั เช่นโรคพยาธิไสเ้ ดือน มกั พบในลกู สตั วม์ ากกวา่ สตั วโ์ ต

1.4.4 เพศ ( Sex ) สตั วเ์ พศเมยี มีโอกาสเกิดโรคทางระบบสืบพนั ธุง์ ่ายกวา่ เพศผู้หรือ
1.4.5 สีของผวิ หนงั ( Color of skin ) หมายถึงเฉพาะรงควตั ถุเมลานิน ( Melanin
pigment ) ถา้ สตั วม์ ีผวิ เผอื ก ( Albino ) ซ่ึงเป็นภาวะท่ีไมม่ กี ารสร้างรงควตั ถเุ มลานิน หรือมกี ารสร้าง
นอ้ ย ทาใหผ้ วิ หนงั จะเกิดภาวะแพแ้ สง ( Photodynamic effect ) โดยเฉพาะรังสีอลั ตร้าไวโอเลต็ เกิด
ผวิ หนงั อกั เสบเป็นผน่ื พพุ อง ( Eczema) ไดง้ ่ายกว่าสตั วท์ ่ีมผี วิ หนงั สีเขม้

1.4 การตรวจโรคสัตว์เบื้องต้นท่ีบ่งชี้ว่าสัตว์ป่ วย
สตั วท์ ่ีป่ วยจะแสดงอาการ ( Symptom ) ต่างๆ ออกมาใหเ้ ห็นซ่ึงอาจจะแสดงออกทาง

ระบบหายใจ ระบบยอ่ ยอาหาร ระบบขบั ถ่าย ระบบประสาท และความผดิ ปกติทางผวิ หนงั แต่ส่วน
ใหญ่จะมอี าการเบ้ืองตน้ คลา้ ยคลงึ กนั คือ มไี ข้ ซึม เบื่ออาหาร แต่ลกั ษณะปลกี ยอ่ ยของอาการท่ี
แสดงออกเมอื่ สตั วเ์ ป็นโรคแต่ละชนิดน้นั จะแตกต่างกนั ออกไป ซ่ึงลกั ษณะท่ีบ่งช้ีวา่ สตั วป์ ่ วย แบ่งออก
ไดด้ งั น้ี

1.4.1 อาการผดิ ปกติเกี่ยวขอ้ งกบั ระบบการหายใจ มีดงั ต่อไปน้ี
1.4.1.1 การหายใจขดั หรือหายใจไม่เตม็ ท่ี อาจเน่ืองจากต่อมน้าลายอกั เสบ

บวม แผลจากเยอ่ื ปอด เยอ่ื ปอดถกู ทาลายหรือการคง่ั ของเลือดในปอด
1.4.1.2 การหายใจท่ีหนา้ อก กลา้ มเน้ือทอ้ งจะอยเู่ ฉย เช่นโรค ทอ้ งอืด
1.4.1.3 การหายใจที่ทอ้ ง สงั เกตุเห็นกลา้ มเน้ือทอ้ งพองออกและยบุ เขา้
1.4.1.4 การหายใจมเี สียงดงั คลา้ ยกรนหรือหวดี เวลาหายใจเขา้
1.4.1.5 การไอเนื่องจากระคายเคืองกล่องเสียงและหลอดลม
1.4.1.6 มีน้ามกู ไหลออกทางช่องจมูกมลี กั ษณะใสหรือขน้ บางคร้ังมีเลือดปน
1.4.1.7 เยอื่ เมือกในจมูกอกั เสบ

1.4.2 อาการผดิ ปกติเก่ียวขอ้ งกบั ระบบยอ่ ยอาหาร มดี งั ต่อไปน้ี
1.4.2.1 เบ่ืออาหาร ไมย่ อมกินหญา้ และอาหารขน้
1.4.2.2 การกนิ ส่ิงแปลกปลอมอื่นท่ีไม่ใช่อาหารสตั ว์ เช่น ดิน มลู ตะปู และ

ขนของตวั เอง
1.4.2.3 การกินอาหารมากกว่าปกติ เป็นกบั สตั วท์ ่ีมีพยาธิอาศยั ในร่างกาย
1.4.2.4 มนี ้าลายไหลยดื หรือไหลตามริมฝีปาก เนื่องจากปากและล้ินอกั เสบ
1.4.2.5 ปากเหมน็ เกิดจากแผลอกั เสบในปากมีหนอง ฟันผุ ล้นิ เป็นแผลปาก

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 150

1.4.2.6 ปากแหง้ พบในสตั วท์ ี่มีไขส้ ูงเนื่องจากทอ้ งร่วง ลาไสอ้ กั เสบ
1.4.2.7 ปวดทอ้ ง สตั วเ์ กลือกตวั บนพ้นื หรือนอนด้นิ เป็นคร้ังคราว
1.4.2.8 ทอ้ งร่วงมลู มีสีเหลอื ง หรือเขียว
1.4.2.9 ทอ้ งผกู เน่ืองจากระบบยอ่ ยอาหารทางานผดิ ปกติ
1.4.2.10 อาเจียน เน่ืองจากระคายเคืองเยอ่ื เมอื กกระเพาะอาหาร
1.4.3 อาการผดิ ปกติเก่ียวขอ้ งกบั ระบบขบั ถ่าย มีดงั ต่อไปน้ี
1.4.3.1 ปัสสาวะของสตั วม์ ีสีข่นุ และมสี ีเหลอื งเขม้ เน่ืองจากมสี ารอลั บูมิน
1.4.3.2 ปัสสาวะกระปริบกระปรอย เน่ืองจากหลอดเลือดอยท่ีไตตีบ
1.4.3.3 ปัสสาวะไม่ออก เน่ืองจากเป็นน่ิวท่ีท่อไต
1.4.3.4 ปัสสาวะไหลไม่หยดุ เนื่องจากกลา้ มเน้ือหูรูดผดิ ปกติ
1.4.3.5 ปัสสาวะออกมาก อาจเน่ืองจากวณั โรค
1.4.4 อาการผดิ ปกติเก่ียวขอ้ งกบั ระบบประสาท มดี งั ต่อไปน้ี
1.4.4.1 อาการกระวนกระวาย ต่ืนเตน้ ตวั สนั่ บา้ คลงั่ ทาร้ายผเู้ ล้ยี ง
1.4.4.2 อาการเดินเป็นวงกลม เดินวนหรือเดินถอยหลงั และเดินคอเอยี ง
1.4.4.3 อาการชกั กระตุก นยั ตต์ าพองโต น้าลายไหลเป็นฟอง ปากสน่ั
1.4.4.4 อาการเป็นอมั พาตท้งั ตวั นอนนิ่งตลอดเวลา
1.4.4.5 อาการขาแข็งท่ือ กลา้ มเน้ือขาหลงั เกร็ง
1.4.5 อาการผดิ ปกติทางผวิ หนงั ของสตั ว์ มดี งั ต่อไปน้ี
1.4.5.1 ผวิ หนงั หยาบแหง้ ขนลุกชนั เวลามไี ขส้ ูง
1.4.5.2 ขนร่วงและขาดรุ่งริ่ง ผวิ หนงั เป็นสะเกด็ ตุ่มหนองและผน่ื แดง
1.4.5.3 เหง่ือออกท่วมตวั อณุ หภูมริ ่างกายต่ากวา่ ปกติ
1.4.5.4 มไี ขส้ ูง อุณหภูมขิ องร่างกายผดิ ไปจากปกติ
1. 4.5.5 น้าเหลอื งคง่ั ที่ปลายเทา้ และโคนขา พบในสตั วเ์ ป็นโรคเซอร่า
1. 4.5.6 อาการบวมทว่ั ไปตามหนา้ อก ดา้ นในของทอ้ ง หนงั หุม้ ปลายอวยั วะ
สืบพนั ธุเ์ พศผู้ หวั นมสตั วเ์ พศเมยี เหนียง และช่องทอ้ ง ( จิตติมา,2553 )

1.5 การป้องกนั และการสุขาภิบาลสัตว์
การจดั การสภาพแวดลอ้ มใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการสตั วแ์ ต่ละชนิด พนั ธุ์ เพศ

และอายุ เพอ่ื ให้สตั วไ์ ดด้ ารงชีวติ ไดอ้ ยา่ งสุขสบาย มีการเจริญเติบโตเป็นปกติ ใหผ้ ลผลติ สูง และ
ป้องกนั การเกิดโรคในสตั ว์ ควรมกี ารจดั การ ดงั น้ี

1.5.1 การจดั การดา้ นโรงเรือน
โรงเรือนเป็นท่ีอยอู่ าศยั ของสตั วห์ ากสภาพโรงเรือนท่ีไมเ่ หมาะสมจะทาให้

เกิดความเครียด สุขภาพออ่ นแอ เจริญเติบโตชา้ และผลผลิตลดลง ดงั น้นั ผเู้ ล้ยี งสตั ว์ จาเป็นที่จะตอ้ ง

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 151

จดั การโรงเรือนใหเ้ หมาะสมกบั ชนิดของสตั ว์ การเลือกแบบของโรงเรือน ตอ้ งเหมาะสมกบั ชนิด พนั ธุ์
เพศ และอายขุ องสตั ว์

1.5.2 การจดั การดา้ นอาหารและน้าสาหรับสตั ว์
อาหารและน้าเป็นอีกปัจจยั ท่ีมคี วามสาคญั สตั วต์ อ้ งกนิ อาหารที่มคี ุณภาพดี

สะอาดและปลอดภยั น้าดื่มสาหรับสตั วต์ อ้ งสะอาด ไม่มีสิ่งเจือปน ไมเ่ คม็ หรือกร่อย และตอ้ งมใี หส้ ตั ว์
ด่ืมกินอยา่ งเพยี งพอตลอดเวลา

1.5.3 การกาจดั ของเสียในฟาร์ม
ของเสียจากการเล้ยี งสตั ว์ เช่น น้าลา้ งมลู สตั ว์ น้าเสียที่เกิดจากการทาความ

สะอาด หรือน้าเสียท่ีเกิดจากปฏิบตั ิงานในฟาร์ม ควรมกี ารกาจดั ของเสียในฟาร์ม อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
1.5.4 ระบบจดั เก็บประวตั ิและการบนั ทึกขอ้ มูลสตั ว์
การบนั ทกึ ขอ้ มลู ของสตั วเ์ พือ่ ความสะดวกในการคดั เลือกและปรับปรุงพนั ธุ์

สตั ว์ ช่วยในการวินิจฉยั โรคและป้องกนั โรคอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและถกู ตอ้ ง
1.5.5 ระบบการป้องกนั โรค

การเล้ยี งสตั วค์ วรมีระบบการป้องกนั โรคท่ีดีมีระบบป้องกนั สตั วท์ ี่เป็นพาหะ มีบ่อน้ายาฆา่ เช้ือ
โรคมีการตรวจสุขภาพสตั วแ์ ละระบบการทาวคั ซีน มกี ารจดั การฟาร์มตามมาตรฐาน ( สมชาย ,2557 )

2.โรคทส่ี าคญั ในโคเนื้อและกระบือ
โรคท่ีสาคญั ในโคเน้ือและกระบือมสี าเหตุมาจากหลายปัจจยั การจาแนกสามารถแบ่งออกเป็น

ดงั น้ี

2.1 โรคของโคเนือ้ และกระบือทเี่ กดิ จากการจดั การ

การจดั การเป็นส่ิงสาคญั ในการควบคุมป้องกนั โรค โดยโรคท่ีมสี าเหตุจาก
การจดั การไดแ้ ก่

2.1.1 โรคทอ้ งอืด ( Bloat )
เป็นความผดิ ปกตขิ องระบบยอ่ ยอาหารในกระเพาะส่วนหนา้ เกิดจากโดยแก๊สท่ีเกดิ
จากขบวนการยอ่ ย ถูกขบั ออกชา้ หรือไม่ถกู ขบั ออก ปริมาณแกส๊ สะสมอยใู่ นกระเพาะเป็นจานวนมาก
ทาใหก้ ระเพาะหมกั โป่ งขยายใหญ่

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 152

ภาพท่ี 7.1 โคมีลกั ษณะอาการทอ้ งอดื
ท่ีมา:http://www.thaicattle.org/images/disease2/Bloat.jpg
สาเหตุ

1. กินอาหารขน้ ในปริมาณมากแต่ไดร้ ับอาหารหยาบนอ้ ย ทาใหเ้ กิดความ
เป็นกรด ( Ruminal Acidosis ) อาหารไม่ถกู ยอ่ ยจึงเกิดแกส๊ สะสมเป็นจานวนมากในกระเพาะหมกั

2. มวี ตั ถุแปลกปลอมท่ีแขง็ เช่น ผลมะม่วง อุดตนั หลอดอาหาร ( Esophagus )
ทาใหแ้ ก๊สที่เกิดจากการหมกั ในกระเพาะไม่สามารถเรอออกทางปากตามปกติได้

3.ไดร้ ับสารเคมบี างอยา่ งในปริมาณมากเกินไป เช่น ถา้ แม่โคไดร้ ับป๋ ุยยเู รียที่
ใชใ้ นขบวนการหมกั ฟางในปริมาณมากเกินไป

4.กินพชื อาหารสตั วท์ ่ีมีไนเตรทหรือไซยาไนดเ์ ขา้ ไปในปริมาณมาก ทาให้
โคตายเนื่องจากภาวะเลอื ดไมน่ าออ๊ กซิเจน (Tissue Anoxia) โดยโคจะแสดงอาการทอ้ งอดื และตาย
อยา่ งรวดเร็ว ไดแ้ ก่ ใบมนั สาปะหลงั ส่วนสารไนเตรทมีในตน้ ไมยราพไร้หนาม

5.กินสิ่งแปลกปลอม เช่น เศษลวด ตะปู หรือลวด
6.กินหญา้ ออ่ นที่ยอ่ ยง่ายและมนี ้าสะสมเขา้ ไปมากเกินไป ทาใหเ้ กิดแก๊สสะสมใน
กระเพาะเป็นปริมาณมากอยา่ งฉบั พลนั
อาการ กระเพาะอาหารจะโป่ งขยายใหญ่ บริเวณสวาบดา้ นซา้ ย ( Left flank ) โคเน้ือ
และกระบือแสดงอาการ กระวนกระวาย น้าลายไหลยดื หายใจหอบ หวั ใจเตน้ เร็วดว้ ยความปวด ต่อมา
โคจะหายใจขดั เนื่องจากกระเพาะส่วนทข่ี ยายไปกดทบั กระบงั ลมทาใหโ้ คหายใจไม่สะดวก และตาย
เน่ืองจากระบบการหายใจลม้ เหลว
การรกั ษา ใหส้ ารตา้ นการเกดิ ฟอง เช่น น้ามนั พืช พาราฟิ นเหลว

2.1.2 โรคสายสะดืออกั เสบ ( Navel -ill )

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ 153

เกิดจากการติดเช้ือโรคเขา้ ไปทางสายสะดือในลูกหลงั คลอดใหมๆ่ ทาใหเ้ กิดโลหิต
เป็ นพษิ

อาการของโรค ลูกสัตว์มกั แสดงอาการให้เห็นหลงั คลอด 3-5 วนั โดยระยะแรก
สะดือจะบวมอกั เสบ ร้อน และลกู โคเน้ือและกระบือจะแสดงอาการเจ็บ ระยะน้ีบางตวั อาจยงั สามารถ
กินนมแต่บางตวั มไี ขส้ ูง ซึม และไม่ค่อยกินนม ต่อมามหี นองในถุงสะดือ คลาดูจะเป็นท่อแขง็ ไมเ่ ห่ียว
ลีบตามธรรมชาติ บางตวั ท่ีเป็ นสะดืออกั เสบเร้ือรังจะมีการแพร่ของเช้ือโรคสะดือไปตามเส้นเลือด
ไปสู่ขอ้ ท้งั 4 ทาใหข้ อ้ ขาบวม อกั เสบ และเจบ็

การรกั ษา ทาความสะอาดแผลโดยใชว้ ธิ ีบีบหรือขดู เอาหนองออกมา โดยใชช้ อ้ น
เลก็ ๆ แลว้ ใชป้ ากคีบพนั สาลีชุบน้ายาไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ เชด็ ในโพรงหนอง และใชส้ าลชี ุบ
ทิงเจอร์ไอโอดีนยดั ไวใ้ นรูสะดือ โรยปากแผลดว้ ยยากนั หนอนแมลงวนั ทาแผลทุกวนั วนั ละ 1 คร้ัง

2.1.3 โรคทอ้ งร่วง ( Scours )
พบในลุกสตั วท์ ่ีอายไุ ม่เกิน 35 วนั เป็นโรคท่ีพบบ่อยท่ีสุด
สาเหตุของโรค เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย กลุ่ม Escherichia Coli ( E.coli ) และ
Salmonella spp.หรือเช้ือไวรัส Coronavirus ,Rotavirus ทาใหท้ อ้ งเสียไดม้ ากในลกู โคเน้ือและกระบือ
อายนุ อ้ ยกว่า 2 สปั ดาห์ ส่วนที่อายมุ ากกว่า 2 สปั ดาห์ ทอ้ งเสียมกั เกิดจากเช้ือแบคทีเรียมากกว่า โดยลูก
สตั วไ์ ดร้ ับเช้ือจากการกิน หรือเกิดจากสภาพร่างกายที่ทรุดโทรมลง ทาใหเ้ ช้ือโรคที่ปกติมีอยใู่ นลาไส้
เกิดทวคี วามรุนแรงข้ึน
อาการของโรค ลูกโคเน้ือและกระบือจะมอี าการถ่ายเหลวเป็นน้าพ่งุ อ่อนเพลีย
แสดงอาการขาดน้าคือ อาจมีไข้ และไม่กินนมอาจตายได้
การป้องกนั และรักษา แกไ้ ขสภาพขาดน้าดว้ ยการใหน้ ้าเกลอื เฉพาะสาหรับโรค
ทอ้ งเสียโดยการกนิ หรือการใหท้ างเสน้ เลอื ด ( ควรงดน้านมที่กินแต่ใหก้ ินน้าเกลอื จนอาการจะดีข้ึน )
ถา้ ทอ้ งเสียธรรมดามกั จะหายไดเ้ อง แต่ควรมกี ารสุขาภิบาลที่ดี

2.2 โรคของโคเนื้อและกระบือทเี่ กยี่ วกบั โภชนาการ

โรคของโคเน้ือและกระบือท่ีเกย่ี วกบั โภชนาการที่สาคญั ไดแ้ ก่
2.2.1 โรคคโี ตซีส ( Ketosis )
เป็นโรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารพลงั งานในระยะหลงั คลอด พบในระยะไม่เกิน
60 วนั หลงั คลอด ( โดยมากจะพบในระยะ 10-30 วนั หลงั คลอด ) ร่างกายจะดึงไขมนั ที่สะสมไวม้ า
เปล่ียนเป็ นพลงั งาน สารพิษที่เกิดจากขบวนการดงั กล่าวคือคีโตน ( Ketone )จะเขา้ สู่กระแสเลือด ทา
ใหส้ ตั วแ์ สดงอาการป่ วยมกั พบในแมโ่ คท่ีใหน้ ้านมมากหรือในแม่โคอว้ น
อาการ โคป่ วยจะแสดงอาการได้ 2 ลกั ษณะ คือ
1. แบบมีอาการทางประสาท ( Nervous form ) สตั วป์ ่ วยจะแสดงอาการซึม
หรือดุร้าย เค้ียวฟนั โดยไมม่ อี าหารในปาก

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบือ 154

2. แบบท่ีมีอาการทางระบบยอ่ ยอาหาร ( Digestive form ) โคจะแสดงอาการ
ซึม เบื่ออาหาร ทอ้ งอืด น้าหนักลดลงอย่างรวดเร็วปริมาณ น้านมท่ีรีดได้ลดลง ส่งผลต่อเนื่องทาให้
ระยะการเป็นสดั คร้ังแรกหลงั คลอดยาวกว่าปกติ ( มากกว่า 60 วนั ) บางคร้ังอาจจะทาใหเ้ กิดปัญหาทาง
ระบบสืบพนั ธุต์ ่างๆ ตามมา เช่น ไม่เป็นสดั มถี ุงน้าที่รังไข่ มดลกู อกั เสบ

การรกั ษา ใหส้ ารท่ีเป็นแหล่งพลงั งาน เช่น กลูโค๊ส 50 เปอร์เซ็นต์ เขา้ ทางเสน้ เลอื ด
ดาปริมาณ 500-800 มิลลิกรัม หรือกรอกกลีเซอรีนเขา้ ทางปากเน่ืองจากกลเี ซอรีนจะถกู เปลยี่ นเป็น
น้าตาลกลโู คส๊
ในกระเพาะอาหารของโค พร้อมท้งั ฉีดสารสเตอร์รอยดเ์ ขา้ กลา้ มเน้ือควบคู่ไปดว้ ยจะทาใหโ้ คหายป่ วย
เร็วข้ึน เช่น เบตา้ เมทธาโซน ( Betamethazone ) 10-30 มิลลกิ รัมหรือ เพรดนิโซโลน ( Prednisolone )
50-200 มิลลกิ รัม

การป้องกนั
1.เพมิ่ ปริมาณโพรพิโอเนตในอาหาร เนื่องจากโพรพิโอเนตช่วยเปลย่ี นอะซิ

เตทเป็นพลงั งาน ยงั ช่วยเพิ่มประมาณน้าตาลกลูโคส๊ ในเลอื ด เพิม่ การผลิตฮอร์โมนอนิ ซูลิน ลดการ
สลายไขมนั

2.ไมค่ วรใหแ้ มโ่ คอว้ นเกินไปเพราะอาหารท่ีเกินตอ้ งการจะไปสะสมใน
ร่างกายในรูปไขมนั ทาใหแ้ มโ่ คอว้ นและมแี นวโนม้ จะเกดิ โรคน้ีไดง้ ่ายในระยะหลงั คลอด

3. ควรตรวจสอบสารเคโตนในน้าปัสสาวะโคระยะหลงั คลอด โดยเฉพาะใน
กรณีท่ีโคเบื่ออาหารปละปริมาณน้านมลดลงกระทนั หนั

2.2.2 การเป็นพษิ จากยเู รีย ( Urea toxidity )

ยเู รียเป็นแหล่งโปรตีนที่สลายตวั เป็นแอมโมเนีย ซ่ึงจุลินทรียใ์ นกระเพาะจะ
เปลี่ยนแอมโมเนียเป็นโปรตีนท่ีจาเป็น แต่การใหย้ เู รียปริมาณมาก ๆ จุลนิ ทรียใ์ นกระเพาะอาหารโค จะ
ไม่สามารถเปล่ียนแอมโมเนียเป็ นโปรตีนไดท้ นั จึงเกิดแอมโมเนียคา้ งในกระเพาะอาหารเป็นจานวน
มาก และแอมโมเนียเหล่าน้ี จะถูกดูดซึมเขา้ กระแสเลือด เกิดอาการเป็นพิษข้ึน

อาการ โคจะมอี าการต่ืนเตน้ ตกใจง่าย ขาสนั่ เดนิ ไม่สมั พนั ธก์ นั ชกั กระตุก จากน้นั
จะลม้ ลงนอน หายในลาบาก ชกั เกร็งเป็นพกั ๆ ตวั สนั่ ปากสน่ั ขบฟัน น้าลายฟูมปาก แตะทอ้ ง ทอ้ งอดื
และตายในเวลาต่อมาถา้ ไมไ่ ดร้ ับการแกไ้ ข

การป้องกนั อาหารขน้ ที่ใชย้ เู รียไมค่ วรเกิน 30 กรัมต่อน้าหนกั โค 100 กิโลกรัมหรือ 1
เปอร์เซน็ ตข์ องปริมาณวตั ถุแหง้ ท่ีกิน และควรระวงั ไมใ่ หย้ เู รียจบั เป็นกอ้ นในอาหาร

การรักษา ทาไดโ้ ดยใชน้ ้าสม้ สายชู 5 เปอร์เซน็ ตผ์ สมน้าเยน็ ใหเ้ จือจางและกรอกปาก
จะช่วยป้องกนั การดูดซึมแอมโมเนียเขา้ สู่ร่างกาย

2.2.3 โรคไขน้ ้านม ( Milk fever )

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ 155

โรคไขน้ ้านม มกั เกิดหลงั คลอดลูกใหม่ ๆ 1-10 วนั หลงั คลอด และเกิดในแม่โคอายุ 5-10 ปี
สาเหตุ เกิดจากระดับแคลเซียมในเลือดลดลงต่ากว่าปกติ ระดบั แคลเซียมในเลือด

ควรมี 10 มิลลิกรัมต่อเลือด 100 ซีซี เกิดจากหลายสาเหตุ คือ
1.แม่โคเสี ยแคลเซี ยมเพื่อไปใช้สร้างนมน้ าเห ลืองมากเกินกว่าการดูดซึ ม

แคลเซียมกลบั สู่ร่างกายทางลาไส้
2.แมโ่ คหลงั คลอดลูก มีการดูดซึมแคลเซียมกลบั สู่ร่างกายทางลาไสล้ ดลง
3.มีการนาแคลเซียมจากกระดูกมาใชแ้ ต่ยงั ไมเ่ พียงพอที่จะรักษาระดบั

แคลเซียมในเลอื ด
4.ต่อมพาราไทรอยดไ์ มท่ างานตามปกติ
5.ในระยะ 1 เดือนสุดทา้ ยก่อนคลอดใหอ้ าหารที่มแี คลเซียมสูงฟอสฟอรัสต่า

ส่งผลใหอ้ าหารที่มีแคลเซียมสูงจะไปกดต่อมพาราไทรอยด์ทาใหท้ างานชา้ ลง ดงั น้ันเม่ือโคคลอดลูก
ปริมาณแคลเซียมจึงไมเ่ พียงพอ

อาการ อาการของโรคน้ี แบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ
ระยะท่ี 1 สัตวจ์ ะมีอาการตื่นเตน้ ไวต่อการกระตุน้ มาก กลา้ มเน้ือสั่น ไม่

อยากเคลือ่ นไหว ไมก่ ินอาหาร หวั สนั่ ลิ้นจุกปาก เค้ียวฟัน ขาหลงั แขง็
ระยะท่ี 2 สตั วจ์ ะลม้ ลงนอนบนหน้าอก ความรู้สึกชา้ คอบิดหันหัวไปทาง

สวาป ยนื ไม่ได้ ปากแหง้ ผวิ หนงั ปลายหู ปลายเทา้ เยน็ มา่ นตาขยาย อุณหภูมิของร่างกายต่ากวา่ ปกติ
ระยะท่ี 3 สตั วป์ ่ วยจะนอนตะแคง ขาอ่อนไม่สามารถลกุ ข้ึนยนื ได้ หวั ใจเตน้

เร็ว อณุ หภูมิต่า มกั มอี าการทอ้ งอืดแทรก สตั วจ์ ะค่อย ๆ หมดความรู้สึก และตาย
การป้องกนั ทาไดโ้ ดยก่อนคลอด ควรใหโ้ คไดถ้ กู แสงอาทิตยย์ ามเชา้ เนื่องจากโคจะ

สามารถสร้างวิตามนิ ดีที่ผวิ หนงั จากแสงแดด และวติ ามินดี จะชว่ ยในการดูดซึมแคลเซียม และควรลด
แร่ธาตุโซเดียมและโปตสั เซียมลง แต่เพม่ิ แมกนีเซียมและคลอไรดใ์ นอาหาร

การรักษา รักษาไดโ้ ดยใหแ้ คลเซียมโบโรกลูโคเนตเขา้ ทางเสน้ เลอื ดดาในขนาด 400-
800 มิลลกิ รัม โดยใหช้ า้ ๆ ถา้ พบว่าเกิดการชอ็ คเน่ืองจากใหแ้ คลเซียมเร็วแกไ้ ขโดยใหแ้ มกนีเซียม
ซลั เฟต 10 เปอร์เซน็ ต์ ปริมาณ 300 มิลลกิ รัม เขา้ ทางเสน้ เลอื ดดา

2.2.3 โรคช่องคลอด(มดลกู )ทะลกั
เป็นภาวะท่ีมดลกู โผล่ออกมาภายนอกร่างกาย โดยมากจะพบในระยะหลงั คลอดแม่สตั วจ์ ะเบ่ง
ดนั ส่วนของปากมดลกู และโพรงปากมดลูก ( vagina ) บางส่วนหรือท้งั หมดออกมาทางปากช่องคลอด

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบือ 156

ภาพที 7.2 ลกั ษณะมดลกู ทะลกั ในโคเน้ือ
ที่มา:http://www.thaicattle.org/images/mod1.jpg
สาเหตุ

1.มกั พบในแม่สตั วท์ ี่มอี ายมุ ากและใหล้ ูกมาหลายตวั แลว้ ทาใหก้ ลา้ มเน้ือ
บริเวณปากช่องคลอดหยอ่ นหรือไม่แขง็ แรง

2. แมส่ ตั วผ์ อมหรือขาดการออกกาลงั กายในระยะก่อนคลอด
3. เกิดจากการขาดแร่ธาตุบางชนิด เช่น แคลเซี่ยม
4. เกิดจากความผดิ ปกติภายในระบบทางเดินอาหาร ทาใหเ้ กิดอาการปวดเบ่ง
เช่น กระเพาะลาไสอ้ กั เสบจากการติดพยาธิ หรือรกคา้ ง
การป้องกนั
1. เสริมแร่ธาตุกอ้ นหรือชนิดผงใหเ้ ลียกินเป็นประจา
2. ใหย้ าถ่ายพยาธิภายใน
3. ถา้ แม่สตั วม์ อี ายมุ ากและเคยเป็นมดลกู ทะลกั มาก่อน ควรคดั ออกจากฝงู
การรักษา ให้ลดขนาดมดลูกที่บวมน้าใหเ้ ลก็ ลงโดยใชน้ ้าตาลทรายทาบริเวณมดลูก
จากน้นั ใชย้ าชาเฉพาะที่ ( xylocain ) 2 เปอร์เซน็ ต์ ฉีดเขา้ บริเวณช่องไขสนั หลงั ส่วนลา่ ง ใชม้ อื กาแน่น
ดนั ส่วนของมดลูกท่ีไหลออกมาใหค้ ืนกลบั เขา้ ไปในช่องทอ้ งแลว้ สอดยาปฏิชีวนะชนิดเมด็ เขา้ มดลูก
จากน้นั จึงเยบ็ ปากช่องคลอดไว้ ้้ชวั่ คราวดว้ ยไหมละลายขนาดใหญ่ โดยทวั่ ไปภายใน 1 สปั ดาห์จะ
ตดั ไหมท่ีเยบ็ ไวอ้ อกไดอ้ ย่างไรก็ดีควรหาสาเหตุและทาการแกไ้ ขสาเหตุ เช่น กรณีเป็ นโรคพยาธิ
ภายในควร ทาการถ่ายพยาธิ

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบือ 157

ภาพที 7.3 การเยบ็ ปากช่องคลอดรกั ษามดลกู ทะลกั
ท่ีมา:อษุ า ( 2557 )

2.3 โรคของโคเนือ้ และกระบือทเี่ กดิ จากเชื้อแบคทเี รีย

โรคของโคเน้ือและกระบือที่เกิดจากเช้ือแบคทีเรียท่ีสาคญั ไดแ้ ก่
2.3.1 โรคเลพ็ โตสไปโรซิส ( Leptospirosis )
โรคน้ีเป็ นโรคติดคน มีชื่อเรียกหลายช่ือเช่น red water หรือ jaundice, infectious red
water of calves พบมากในกระบือเพราะกระบือชอบแช่ในน้าหรือโคลน ซ่ึงอาจมีเช้ือโรค เกิดข้ึนกบั
กระบือทุกขนาดอายุ และจะติดต่อง่ายในลูกกระบือและจะมีอาการป่ วยรุนแรงมากกว่ากระบือที่โต
เต็มที่ โรคน้ีจะติดต่อกนั โดยทางการสมั ผสั ผา่ นผวิ หนงั
สาเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรียชื่อ Leptospira grippotyphosa หรือ L. pomana
อาการ สัตว์ป่ วยจะซึม เบื่ออาหาร หายใจลาบาก มีอาการไข้สูง เบื่ออาหาร
ปัสสาวะมีสีแดงของเลือด โลหิตจาง เยือ่ เมือกซีดและมีสีเหลืองซ่ึงเป็ นอาการของดีซ่าน เต้านม
อกั เสบ สตั วท์ อ้ งอาจแทง้ ได้
การป้องกนั การป้องกนั ก่อนเกิดโรคระบาด มีดงั น้ี
1.แยกสตั วป์ ่ วยออกจากฝงู
2.กาจดั พาหะของโรค เช่น หนู นก
3.จดั การสุขาภิบาลท่ีดี
การรักษา การรักษาสตั วท์ ่ีป่ วยดว้ ยยาปฏิชีวนะ เช่น ฉีดสเตร็ปโตมยั ซินเขา้ กลา้ มเน้ือ
หรือใตผ้ ิวหนงั ดว้ ยขนาด 10 มิลลิกรัมต่อน้าหนักตวั 1 กิโลกรัม หรือฉีดเทอร์รามยั ซินหรือออริโอมยั
ซินเขา้ กลา้ มเน้ือดว้ ยขนาด 6 มลิ ลิกรัม ต่อน้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม นาน 3 วนั สาหรับลูกกระบือใช้
ฉีดสเตร็ปโตมยั ซิน 500 มลิ ลิกรัม นาน 4 วนั

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 158

2.3.2 โรคไขข้ า ( Black leg )
เป็ นโรคติดต่อชนิดเฉียบพลนั ของโคเน้ือกระบือ ลกั ษณะเฉพาะของโรคคือ การ
อกั เสบบริเวณกลา้ มเน้ือเฉพาะบริเวณโคนขาหลงั จะบวมมีแก๊สอยภู่ ายใน กดจะมีเสียงดงั กรอบแกรบ
สาเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรียช่ือ Clostridium chauvei เช้ือสามารถสร้างสปอร์อย่ใู น
ดินไดห้ ลายปี และเจริญในท่ีท่ีไม่มอี ากาศ
การติดต่อ เช้ือเขา้ สู่ร่างกายทางการกินหรือทางบาดแผล
อาการ สตั วจ์ ะเดินขากะเผลก อณุ หภูมิสูงเดินขากะเผลก มอี าการบวมท่ีกลา้ มเน้ือ
ไหล่ สะโพก โคนขาหลงั อก หลงั หรือคอ สตั วแ์ สดงอาการเจบ็ ปวด บริเวณที่บวมกดจะมเี สียงดงั
กรอบแกรบ หนงั แหง้ มีสีดา ผา่ ดูจะพบของเหลวเป็นฟองสีดา กลิ่นเหมน็ คาว ต่อมน้าเหลอื งบริเวณ
ใกลเ้ คียงบวม สตั วไ์ มก่ ินอาหาร นอน กลา้ มเน้ือสนั่ หายใจลาบาก ชีพจรเตน้ เร็ว อุณหภูมติ ่ากว่า
ปกติ แสดงอาการเสียดทอ้ ง ตายภายใน 12- 48 ชว่ั โมง
การรกั ษาและควบคุมป้องกนั โรค

1.แยกสัตว์ป่ วยออกจากฝูงและทาการรักษาเมื่อแสดงอาการเริ่มแรกด้วย
ยาเพนนิซิลลนิ ติดต่อกนั 3 วนั

2.สตั วท์ ี่ตายตอ้ งเผาและฝังใหล้ ึกๆและโรยกน้ หลมุ ดว้ ยปูนขาว
3.การป้องกนั โรค โรคไขข้ ามวี คั ซีนป้องกนั โดยฉีดใหโ้ ค เน้ือและกระบือ
ตวั ละ 5 ซีซี.
2.3.3 โรคพาราทูเบอร์คโู ลซีส ( Paratuberculosis )

โรคพาราทูเบอร์คูโลซีส หรือวณั โรคเทียม พบไดใ้ นโค กระบือ แพะ แก
สาเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรียช่ือ Mycobacterium paratuberculosis
การติดต่อ ติดต่อกนั ไดโ้ ดยการกินอาหารท่ีมีเช้ือน้ีปนเป้ื อนอยู่ เช้ือจะอยใู่ นลาไสข้ อง
สตั วป์ ่ วยและถูกขบั ออกมากบั อจุ จาระ
อาการและวกิ าร โคเน้ือและกระบือแรกคลอดถึง 6 เดือน ติดเช้ือโรคไดง้ ่ายแตจ่ ะไม่
แสดงอาการ มกั แสดงอาการหลงั จากอายุ 3 ปี โดย จะมีอาการทอ้ งร่วงเร้ือรัง อุจจาระเหลวใสเป็นเน้ือ
เดียว ไมม่ กี ลิ่นผดิ ปกติ ไมม่ เี ลอื ดหรือมกู ปน ผอมแหง้ บริเวณขากรรไกร หรือใตค้ างมกั บวมน้า ไมม่ ี
ไข้ กนิ อาหารไดต้ ามปกติ แต่จะผอมลงเรื่อย ๆ ในที่สุดจะไม่มแี รง ลม้ ลงนอน และตายในที่สุด ผา่ ซาก
พบวา่ ลาไสเ้ ลก็ ถึงลาไสใ้ หญ่มกี ารอกั เสบ ผนงั ลาไสห้ นากว่าปกติ 3-4 เท่า การตรวจวนิ ิจฉยั ทาไดโ้ ดย
การนาอุจจาระหรือซีรัมของโคท่ีมอี าการทอ้ งร่วง ไปตรวจในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ
การป้องกนั และการรกั ษา

1.ควรมกี ารสุขาภิบาลที่ดี
2.คดั สตั วป์ ่ วยออกจากฝงู ( สมพงษ,์ 2553 )

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบือ 159

2.3.4 โรคไวบริโอซิส ( Vibriosis )
โรคน้ีติดต่อกระบือเพศผแู้ ละเพศเมยี ดว้ ยการผสมพนั ธุ์ การใชก้ ระบือพ่อพนั ธุ์คุมฝูง
หรือการผสมเทียมจะแพร่เช้ือโรคไปกบั สตั วท์ ุกตวั ท่ีทาการผสมพนั ธุ์
สาเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรียช่ือ Vibrio fetus
อาการ เม่ือแม่กระบือไดร้ ับเช้ือโรคจะแสดงอาการช่องคลอดอกั เสบ มีน้าเมอื กไหล
จากช่องคลอดและมีอาการอกั เสบอ่อนๆ ท่ีปากมดลกู มดลูก และท่อไข่ บางคร้ังอาจมีหนองออกมา
กระบือผสมไม่ติด หรือเม่อื ผสมติดจะเกิดการแทง้ ตอนกลางของการต้งั ทอ้ งหรือคลอดก่อนกาหนด
หรือลูกท่ีคลอดออกมาไม่แข็งแรงหรือตาย พ่อกระบือที่เป็ นโรคจะไม่มอี าการ แต่เมื่อทาการตรวจท่ี
เปลือกหุม้ ปลายอวยั วะสืบพนั ธุ์ ( prepuce ) อวยั วะสืบพนั ธุแ์ ละในน้ากามจะพบเช้ือ Vibrio fetus
การป้องกนั ใชพ้ ่อกระบือที่ไมเ่ ป็นโรคคุมฝงู หรือผสมเทียม
การรักษา รักษาแม่กระบือที่มอี าการ โดยฉีดยาสเตร็ปโตมยั ซินซลั เฟต 1 กรัม และ
ยาเพนนิซิลนิ 300,000 หน่วยในน้า 60 ลกู บาศกเ์ ซนติเมตรเขา้ มดลูกวนั ละ2-3 คร้ัง หรือใชย้ าสเตร็ป
โตมยั ซินเหน็บช่องคลอด ( ประสบ,2527 )

2.3.5 โรคมะเร็งกรามชา้ ง ( Actinomycosis )
โรคน้ีพบบ่อยในโคเป็ นการติดเช้ือของกระดูกโดยเฉพาะกระดุกกรามบนและกราม
ล่าง ทาใหก้ ระดูกบางส่วนบางลง
สาเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรียช่ือ Actinomyces bovis
อาการ พบอาการบวมที่กระดูกกรามและขยายใหญ่ภายใน 2-3 สัปดาห์ ต่อมามี
หนองไหลออกมาเล็กน้อย ผิวหนงั แตกเป็ นช่องเปิ ด เค้ียวอาหารลาบาก สุขภาพทรุดโทรมเช้ืออาจ
ลกุ ลามไปหลอดอาหารทาใหท้ อ้ งอืดเร้ือรัง
การป้องกนั ระวงั อยา่ ใหม้ ขี องแหลมคมปะปนในอาหาร
การรักษา รักษาตามอาการและคดั ทิ้งสตั วป์ ่ วยออกจากฝงู ( สมพงษ,์ 2553 )

2.3.6 โรคเฮโมเรยกิ เซพติซีเมีย ( Haemorrhagic septicaemia )
เป็นโรคระบาดร้ายแรงของโคเน้ือและกระบือจดั เป็ นโรคระบาดตามพระราชบญั ญตั ิ
โรคระบาดสตั ว์ พ.ศ. 2499 บางคร้ังเรียกวา่ โรคคอบวม
สาเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย ช่ือ Pasteurella multocida ( P. septica )
การแพร่โรค ติดต่อโดยการกิน การหายใจ การสมั ผสั เอาเช้ือโรคปนเป้ื อนเขา้ ไปใน
ร่างกาย การเกิดโรคมกั ทาใหส้ ตั วต์ ายได้
อาการ ระยะฟักโรค 1-2 วนั ไขส้ ูง ปอดบวม น้าลายมาก เบ่ืออาหาร อ่อนเพลีย
ซึม หายใจลาบาก เดินตวั แข็ง ลงนอน บางตวั อาจถ่ายอุจจาระเป็ นเลือด มกั เป็ นอย่างเฉี ยบพลนั
ร้ายแรงอตั ราการตายจะสูง อาจเกิดอาการบวมน้า ( edema ) ท่ีคอและอก

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 160

ภาพที่ 7.4 หวั ใจมจี ุดเลอื ดออก
ท่ีมา:http//www.pirun.ku.ac.th/~b4814046/haemo.htm
การป้องกนั ระวงั สุขภาพสัตว์ อยา่ ให้สัตวไ์ ดร้ ับการกระทบกระเทือนจากสภาพ
ส่ิงแวดลอ้ มท่ีไมด่ ี เช่น ขงั สตั วอ์ ยแู่ น่นเกินไป สตั วข์ าดน้าและอาหารเป็นเวลานาน และฉีดวคั ซีนให้
สตั วท์ ่ีมีอายุ 4 เดือนและฉีดประจาทุกปี
การรักษา โดยใช ยาปฏิชีวนะ เช่น ยาเพนนิซิลิน สเตรปโตมยั ซิน เตตราซยั คลนิ

2.3.7 โรคเทา้ เปื่ อย ( Foot-rot )
เป็นโรคระบาดในสตั วม์ ีกีบ เช่นโค กระบือ แพะ แกะ แต่พบในกระบือนอ้ ยมาก
สาเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรียหลายชนิดท่ีอยใู่ นดิน เช่น Sphaerophorus (Fusiformis)
necrophorus เป็ นสาเหตุเริ่มตน้ ต่อมา Corynebacterium pyogenes และเช้ือโรคอื่น ๆ ท่ีเขา้ แทรก
ทาใหเ้ กิดหนอง โรคเทา้ เป่ื อยจะเป็นกบั สตั วท์ ่ีถกู ขงั หรือยใู่ นพ้นื คอกที่เปี ยกแฉะตลอดเวลา

ภาพท่ี 7.5 แสดงอาการมแี ผลที่บริเวณกีบ
ที่มา:http://www.thaicattle.org/knowlege/know41.php

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 161

อาการ อาการเริ่มแรกจะเห็นบริเวณผวิ หนงั เหนือกีบมีลกั ษณะบวมแดง และต่อมา
จะเดินเขยกเน่ืองจากเทา้ เจ็บ ถา้ ไม่รีบรักษาเช้ือโรคจะลุกลามและทาใหม้ ีหนองไหลออกมาจากแผล
ในระยะน้ีจะมีกลนิ่ เหมน็ มาก มีไขส้ ูง น้าหนกั ลดลง กีบอาจจะหลุด สตั วจ์ ะตายถา้ ไม่รักษาใหด้ ี

การป้องกนั
1.ทาการแยกสตั วท์ ี่ป่ วยออกจากฝงู
2.ทาความสะอาดและปฏิบตั ิทางดา้ นสุขาภิบาลอยา่ งเคร่งครัด
3.จุ่มกีบดว้ ยน้าท่ีมีจุนสี 5 เปอร์เซน็ ต์ หรือฟอร์มาลนี 2 เปอร์เซน็ ต์

การรักษา แยกสตั วไ์ วใ้ นที่สะอาดและแหง้ ควรจะทาการตรวจตามกีบและขอ้ เทา้
เพ่ือเอาดิน หิน กรวดหรือปูนออกจากเทา้ สตั ว์ ทาความสะอาดแผลและฉีดยายาปฏิชีวนะ

2.3.8 โรควณั โรค ( Tuberculosis )
เป็นโรคที่ติดต่อเร้ือรัง สามารถติดต่อระหวา่ งคนกบั สตั วไ์ ด้ เช้ือโรคน้ีมีความทนทานสามารถ
อยใู่ นซากสตั วไ์ ดห้ ลายสปั ดาห์ และสามารถอยใู่ นน้านมไดป้ ระมาณ 10 วนั

สาเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรี ย ช่ือ Mycobacterium tuberculosis พบได้ในโคเน้ือ
กระบือและสตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนมทุกชนิด

การติดต่อ เกิดจากการสมั ผสั กนั ของสตั วป์ ่ วย การผสมพนั ธุ์ การกินอาหารหรือน้าที่มี
เช้ือ การหายใจรดกนั ซ่ึงมกั พบจากการเล้ียงท่ีแออดั

อาการ ลกั ษณะเฉพาะของวณั โรค คือ เกิดฝี วณั โรคตามอวยั วะต่าง ๆ ลกั ษณะของฝี
จะแห้งเป็ นมนั เหลืองคลา้ ยเนยแข็งซ่ึงภายในมีลกั ษณะคลา้ ยเม็ดกรวดแทรกอยู่ เช้ือจะทนทานต่อ
ส่ิงแวดลอ้ ม โดยจะถูกทาลายไดด้ ว้ ยแสงอาทิตยใ์ นเวลา 2 วนั อยใู่ นอุจจาระโคไดป้ ระมาณ 5 เดือน อยู่
ในซากสัตวท์ ่ีเน่าเปื่ อยได้ 157 วนั เช้ือน้ีสามารถถูกทาลายโดยการพาสเจอร์ไรท์ หรือตม้ ในน้าเดือด
นาน 5-10 นาที ทาลายเช้ือตามพ้ืนคอกดว้ ยน้ายาฆ่าเช้ือ ไดแ้ ก่ ฟี นอล( Phenol ) 2-3 เปอร์เซน็ ต์

การวนิ ิจฉยั
1. การทดสอบทางผวิ หนงั โดยการฉีดสารทูเบอร์คูลนิ ( Tuberculin test ) เขา้

ช้นั ผวิ หนงั ที่บริเวณใตโ้ คนหาง หรือแผงคอ อา่ นผลโดยการวดั ความหนาของช้นั ผวิ หนงั หลงั ฉีด 72
ชวั่ โมงถา้ หนงั ตรงบริเวณท่ีฉีดเกิดการบวมแดงและความหนาของหนงั เพมิ่ ข้ึนจากเดิมมากกว่า 4
มิลลเิ มตรแสดงว่าเป็นโรค

2. การตรวจในหอ้ งปฏบิ ตั ิการ เชน่ การแยกหาเช้ือแบคทีเรีย การตรวจทาง
จุลพยาธิวทิ ยา การยอ้ มสี และการตรวจทางซีรั่มวิทยา การตรวจดีเอน็ เอ และอาร์เอน็ เอ

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบอื 162

ภาพท่ี 7.6 ปอดสตั วป์ ่ วยเป็นวณั โรค
ที่มา:http://www. images.publicradio.org/.../20080130_lungs_2.jpg
การป้องกนั และการรักษา ไม่นิยมทาการรกั ษา เน่ืองจากรักษาใหห้ ายขาดไดย้ าก ถา้

พบว่าสตั วเ์ ป็นโรคน้ีใหท้ าลาย การป้องกนั ทาไดโ้ ดยการตรวจโรคน้ีทุกปี โดยตรวจไดใ้ นโคต้งั แต่อายุ
3 เดือน ถา้ พบวา่ เป็นโรคใหท้ าลาย ( ทศั นียแ์ ละคณะ,2539 )

2.3.9 โรคแทง้ ติดต่อ (Brucellosis)
เป็นโรคติดต่อเร้ือรังท่ีสาคญั ของสตั วเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยนม เช่น โคเน้ือ กระบือ สุกร แพะ มา้ สุนัข
เป็ นตน้ และติดต่อสู่คนได้ ลกั ษณะที่ควรสงั เกตของโรคน้ี คือ สตั วจ์ ะแทง้ ลูกในช่วงทา้ ยของการต้งั
ทอ้ ง และอตั ราการผสมติดในฝงู จะต่า

สาเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรียชื่อ Brucella abortus
การติดต่อ เช้ือโรคผา่ นเขา้ ทางเยอ่ื เมอื กของระบบยอ่ ยอาหารหรือระบบหายใจหรือ
เยอ่ื บุตาและพบเช้ือโรคท่ีอวยั วะของสตั วท์ ่ีแทง้ ลกู น้าเมือกจากช่องคลอด นมน้าเหลือง ( Colostrums )
น้านมและอุจจาระสตั วท์ ี่เป็นโรค เช้ือโรคจะมชี วี ิตอยไู่ ดน้ านหลายสปั ดาห์ในที่ร่มและ
อาการ แม่โคเน้ือและกระบือจะแทง้ ก่อนกาหนดคลอดประมาณ 3 เดือน ถา้ ไม่แทง้
และคลอดลกู ออกมามีลกั ษณะปกติแต่จะออ่ นแอและรกมกั จะคา้ งหลงั คลอด แม่สตั วจ์ ะมีอาการมดลกู
อกั เสบ ผสมติดยากใหน้ ้านมลดลง สาหรับพ่อพนั ธุท์ ี่เป็ นโรคจะมีอาการลูกอณั ฑะบวม และบวมตาม
ขอ้ ต่าง ๆ

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ 163

(ก) (ข)
ภาพท่ี 7.7 อาการบวมตามขอ้ (ก) อาการลกู อณั ฑะบวม (ข)
ที่มา:http://www.fao.org/docrep/003/t0756e/T0756E71.jpg (ก)
ที่มา:http://www.teara.govt.nz/files/p17437mu.jpg (ข)

(ก) (ข)
ภาพที่ 7.8 ลกู สตั วต์ ายจากโรคแทง้ ติดต่อ (ก) ลูกสตั วค์ ลอดก่อนกาหนด (ข)
ท่ีมา:http://www.dld.go.th/niah/AnimalDisease/AnimalDis.htm (ก)
ที่มา:http://www.kashvet.org/.../2006/09/fetus_six.jpg (ข)

การส่งตวั อยา่ งตรวจ ให้ส่งซีรัมของเลือด ถา้ สัตวแ์ ทง้ และลูกสัตวแ์ ทง้ ตวั ไม่โตนกั
ก็ควรแช่เยน็ ส่งหรือจะใชไ้ ปเปต ( Pipette ) ดูดของเหลวของลูกสตั วแ์ ทง้ ท่ีปอด ตบั ส่ิงท่ีขบั ออกจาก
มดลกู หรือช่องคลอด เยอ่ื เมอื กลูกสตั วแ์ ทง้ รก ตลอดจนน้านม แช่เยน็ เพื่อส่งตรวจ

การป้องกนั การป้องกนั การแพร่ของโรคน้ีกระทาไดโ้ ดย
1.ทาการตรวจเลอื ดในฝงู เป็นประจาทุกปี
2.แยกแมโ่ คเน้ือกระบือที่พบเช้ือออกจากฝงู และเมือ่ เกิดแทง้ ลูกควรคดั ทิ้ง
3.ควบคุมความสะอาดในบริเวณคอกและใชย้ าฆ่าเช้ือที่เหมาะสม
4.เม่ือแม่สตั วจ์ ะคลอดลูกควรแยกเขา้ คอกคลอดต่างหาก
5.ควบคุมอาหารและน้าปราศจากโรค
6.ฉีดวคั ซีน Brucella abortus “strain 19” แก่ลูกสตั วอ์ ายุ 3 ถึง 12 เดือน

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 164

7.การนาสตั วใ์ หมเ่ ขา้ มาในฝงู ตอ้ งไดร้ ับการตรวจว่าปราศจากโรคแทง้ ติดต่อ

การรักษา ปัจจุบนั ยงั ไม่มยี ารักษาที่ใหผ้ ล ดงั น้นั จึงควรใชว้ ิธีป้องกนั โดยการทาการ
ทดสอบโรคเป็นประจา และเม่ือพบโคเน้ือกระบือมีผลบวกก็ควรแยกจากฝูงและถา้ แม่โคเน้ือกระบือ
แทง้ ลกู เพราะโรคน้ีควรคดั ท้ิง

2.3.10 โรคแอนแทรกซ์ ( Anthrax )

โรคแอนแทรกซห์ รือโรคกาลี เป็นโรคติดต่อในสตั วเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยนมทุกชนิด
สาเหตุ เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย ช่ือ Bacillus anthracis เช้ือสามารถสร้างสปอร์ท่ีทนน้า

เดือดไดน้ านถึง 15 นาที หรือทนอณุ หภูมิ 120 องศาเซลเซียสไดน้ าน 1ชวั่ โมง หรือสปอร์อยตู่ ามพ้ืนดิน
นานถึง 15-20 ปี

อาการ สัตว์ที่ป่ วยมีไข้สูง ซึม กลา้ มเน้ือส่ัน หายใจหอบถ่ี หัวใจเตน้ เร็ว มีอาการ
ทอ้ งผกู สลบั ทอ้ งร่วงแบบมีเลือดปน สตั วป์ ่ วยมกั จะตายอยา่ งรวดเร็ว เมือ่ ตายจะพบเลือดสีดาคล้าไหล
ออกจากทวารต่าง ๆ เช่น จมูก ปาก ทวารหนกั และเลือดมกั ไม่แข็งตวั ซากจะข้ึนอืดอยา่ ง พบว่ามีจุด
เลือดออกและมกี ารบวมน้าในทุกส่วนของร่างกาย พบของเหลวสีน้าเลือดภายในช่องอกและช่องทอ้ ง
ลาไสอ้ กั เสบมา้ มมขี นาดใหญ่และเป่ื อยยยุ่ มเี ลือดออกใตผ้ วิ หนงั ต่อมน้าเหลอื งบวม มีจุดเลอื ดออก

ภาพท่ี 7.9 โคท่ีตายจากโรคแอนแทรกซเ์ ลอื ดไมแ่ ข็งตวั
ที่มา:http://www.coloradodisasterhelp.colostate.e...rax.html
การป้องกนั ซากสตั วป์ ่ วยตายควรทาการฝังลึกไม่ต่ากวา่ 2 เมตรจากพ้นื ดิน โรยปูน
ขาวรองพ้ืนและโรยปูนขาวบนตวั สตั วก์ ่อนกลบดิน หรือโดยการเผาทาลาย เพื่อป้องกนั ไม่ใหเ้ ช้ือน้ี
แพร่ระบาดไปสู่สตั วต์ วั อ่ืน บริเวณท่ีสตั วต์ ายควรราดยาฆ่าเช้ือ เช่น ฟอร์มาลนิ หรือโซเดียมไฮดร็อก
ไซด์ 5-10 เปอร์เซ็นต์ ฉีดวคั ซีนให้กบั โคกระบือทุกตวั ต้งั แต่หยา่ นมในรัศมี 10 กิโลเมตรจากจุดเกิด
โรคโดยฉีดทุก ๆ 6 เดือนติดต่อกนั เป็นเวลา 5 ปี

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ 165

การรักษา ใช้ยาปฏิชีวนะ เช่น เพนนิ ซิลลิน ( Penicillin )สเตรปโตมัยซิ น (
Streptomycin ) หรือ ออ๊ กซ่ีเตตร้าซยั คลิน ( Oxytetracycline)

2.4 โรคของโคเนื้อและกระบือทเี่ กดิ จากเชื้อไวรัส
โรคของโคเน้ือและกระบือท่ีเกดิ จากเช้ือไวรัสท่ีสาคญั ไดแ้ ก่
2.4.1 โรคปากและเทา้ เปื่ อย ( Foot and mouth disease )

เป็นโรคติดต่อในสตั วก์ ีบคู่ท้งั สตั วเ์ ล้ยี งและสตั วป์ ่ า และพบการระบาดกบั กระบือทว่ั
โลก บางประเทศกระบือแพก้ วา่ โค กระบือปลกั ในประเทศไทยแพโ้ รคน้ีมากกว่าโค แต่แผลท่ีปากเลก็
และร้ายแรงนอ้ ยกวา่ แผลท่ีเทา้ และเช้ือไวรัสชนิด O ทาใหก้ ระบือเป็นโรคมากที่สุด

ภาพท่ี 7.10 แสดงอาการมแี ผลท่ีปาก
ท่ีมา:http//www.daff.gov.au/.../0015/147111/cattle2.jpg
สาเหตุ เกิดจากเช้ือไวรัสช่ือ Hostis pecoris Type A, C, O และ Asia I และเป็ น
มาก Type O จะทาให้เกิดโรคเร็วท่ีสุด และ Type A และ Asia I จะทาให้เกิดโรคช้าและเป็ นโรค
นอ้ ยกว่าตามลาดบั
อาการ โรคน้ีมีระยะฟักตัว 2-7 วนั สัตว์จะมีแผลท่ีปากและเท้า พบตุ่มซ่ึงมีน้ าสี
เหลืองเกิดข้ึนภายในปาก ล้ิน หลงั ล้ิน กระพุง้ แกม้ ขอ้ เทา้ หวั นมและเตา้ นม จะมีไขส้ ูงประมาณ 3-6
วนั หลงั จากน้นั ตุ่มจะแตกออกเป็นแผล มีน้าลายไหลฟมู ปากและที่กีบและขอ้ เทา้ จะเป็นแผล เตา้ นม
แข็งเป็นกอ้ น น้าหนกั ตวั จะลดลงและมีการแทง้ เกิดข้ึน
การป้องกนั ใชว้ ิธีทาลายสตั วป์ ่ วยและฉีดวคั ซีน การรักษามกั รักษาตามอาการที่ปาก
และเท้าด้วยเกลือ หรือเกลือผสมถ่านหิน หรื อถ่านจากกการเผามูลกระบือหรือโค หรือใช้น้าตม้
เปลอื กไมท้ ี่มีรสฝาด เช่น เปลือกไมแ้ ดง เปลอื กแค เปลือกไมป้ ระดู่ นามาแช่เทา้ และป้ายล้ิน
การรักษา การใชย้ าปฏิชีวนะและยาซลั โฟนามดี

2.4.2 โรคไอบีอาร์ (Infectious Bovine Rhinotracheitis : IBR )
โรคไอบีอาร์ ( IBR ) เป็นโรคท่ีเกิดไดก้ บั โคเน้ือและกระบือทุกเพศทุกวยั

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบอื 166

สาเหตุ เกิดจากเช้ือไวรัสชื่อ bovine herpes virus type 1 ( BHV-1 )
การติดต่อ ติดต่อไดโ้ ดยการสมั ผสั กบั สตั วท์ ี่ป่ วย โดยการหายใจเอาน้ามูกนาลายท่ีมี
เช้ือโรคน้ีเขา้ ไป หรือติดต่อไดจ้ ากการผสมพนั ธุ์ โดยการผสมพนั ธุก์ บั สตั วท์ ี่เป็นโรคน้ี ซ่ึงพ่อโคท่ีป่ วย
เป็นโรคไอบีอาร์ ( IBR ) สามารถพบเช้ือไวรัสในน้าเช้ือที่หลงั่ ออกมา

(ก) (ข)
ภาพที่ 7.11 ลกั ษณะการติดเช้ือโรคIBR ที่ระบบหายใจ (ก) การติดเช้ือบริเวณหลอดลม (ข)
ท่ีมา:http://www.biochecklabs.com/userfile/media/140small.jpg (ก)
ท่ีมา:http://www.fao.org/docrep/003/t0756e/T0756E56.jpg (ข)

อาการ สตั วแ์ สดงอาการไม่รุนแรงและหายไดเ้ องถา้ ไมม่ ีโรคแทรกซอ้ น ถา้ ไดร้ ับเช้ือ
ในขณะต้งั ทอ้ งจะแทง้ หรือสตั วท์ ่ีไมต่ ้งั ทอ้ งจะผสมไม่ติด ในสตั วอ์ ายนุ อ้ ยมกั แสดงอาการรุนแรงถงึ
ตายได้ สตั วท์ ี่เคยไดร้ ับเช้ือ จะมไี วรัสแฝงอยู่ และสามารถปลอ่ ยเช้ือใหต้ วั อน่ื

การป้องกนั และการรักษา เนื่องจากโรคน้ี เกดิ จากเช้ือไวรสั จึงไม่มยี ารักษาโดยตรง
ทาไดเ้ พียงใหย้ าปฏชิ ีวนะเช่น ออ๊ กซี่เตตร้าซยั คลิน ( Oxytetracycline ) ฉีดเพ่อื ป้องกนั โรคแทรกซอ้ น
การป้องกนั ทาไดโ้ ดยการฉีดวคั ซีน

ภาพที่ 7.12 วคั ซีน IBR
ท่ีมา:อษุ า ( 2557 )

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบอื 167

3.พยาธทิ สี่ าคญั ในโคเนื้อและกระบือ
พยาธิท่ีทาอนั ตรายแก่โคเน้ือและกระบือ จาแนกชนิดพยาธิได้ 3 กลมุ่ ใหญ่ๆ ดงั น้ี
3.1 พยาธใิ นทางเดนิ อาหาร
เป็นกลุ่มที่ทาอนั ตรายใหล้ กู โคเน้ือและกระบือ เป็นอยา่ งมากไดแ้ ก่ พยาธิตวั กลม

พยาธิไสเ้ ดือน พยาธิเสน้ ดา้ ย พยาธิตวั กลมในกระเพาะสาไส้ ( พยาธิปากขอ,ไสเ้ ดือนแดง )
3.1.1 พยาธิตวั กลม ( Nematode )
พบทวั่ ไปในร่างกายสตั ว์ เช่น ปอด ลาไสใ้ หญ่ ลาไสเ้ ลก็ ขนาดแตกต่างกนั

ตามชนิดของพยาธิอาหารท่ีพยาธิกินแตกต่างกนั ตามตาแหน่งที่อาศยั เช่น พยาธิในปอดจะกนิ ของเหลว
ในปอดและมกั มกี ารไชทะลุปอด ทาใหเ้ กิดอาการปอดอกั เสบ พยาธิในกระเพาะจะดูดกนิ เลือด พยาธิ
ในลาไสก้ ินส่ิงต่างในลาไสร้ วมท้งั อาหารท่ียอ่ ยแลว้

ภาพท่ี 7.13 พยาธิตวั กลม
ท่ีมา:http:// www.rakbankerd.com/agriculture/o...blanimal
การติดต่อ ติดต่อโดยไชผา่ นผิวหนงั ผา่ นทางสายรกไปสู่ลูก ผ่านทางนมน้าเหลือง
และน้านม ทว่ั ไปมกั เกิดจากการกินตวั อ่อนของพยาธิท่ีติดมากบั หญา้ และอาหาร การจดั ทุ่งหญา้ เล้ียง
สตั วไ์ ม่ดีพอ เช่น ไมม่ ีการปรับปรุงทุ่งหญา้ และหมุนเวยี นการใชแ้ ปลงหญา้ ท่ีดีพอจะเป็นเหตุให้โคติด
พยาธิไดง้ ่าย
อาการ ซูบผอม ท้องผูกหรือทอ้ งเสียเร้ือรัง ผิวหนังอกั เสบ หยาบกร้านขนหยอง
โลหิตจาง เยอ่ื เมือกตาซีดขาว มีข้ีตาเกราะกรัง ถา้ เป็ นพยาธิที่ปอดมีอาการไอ หอบ ทอ้ งป่ อง บวมน้า
บริเวณใตค้ าง
การป้องกนั และควบคุม

1.สตั วต์ อ้ งไดร้ ับการเล้ยี งดูอยา่ งดี มแี ร่ธาตุ
2.สตั วต์ อ้ งไดร้ ับการถา่ ยพยาธิอยา่ งนอ้ ยปี ละ 2 คร้ัง

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 168

3.อยา่ เล้ียงใหแ้ น่นและแออดั มากเกินไปในแปลงหญา้
4.สตั วอ์ ายนุ อ้ ยมีโอกาสติดพยาธิง่ายตอ้ งแยกเล้ียงหลงั ในแปลงหญา้ ที่สะอาด
5.ไม่ควรปล่อยใหส้ ตั วล์ งกินน้าที่ขงั ในแปลงหญา้
6.สตั วท์ ่ีขงั คอก รางน้า รางอาหารตอ้ งสูงป้องกนั การเป้ื อนจากอจุ จาระสตั ว์
( ทศั นียแ์ ละคณะ,2539 )

3.1.2 พยาธิใบไม้ ( Trematode )

พยาธิในกล่มุ Trematode พบหลายชนิดในประเทศไทย เช่น พยาธิใบไมใ้ น
ปอด พยาธิใบไมใ้ นกระเพาะ พยาธิใบไมใ้ นเลอื ดและพยาธิใบไมใ้ นตบั ก่อความเสียหายในสตั วเ์ ล้ยี ง
ลูกดว้ ยนมโดยเฉพาะสตั วก์ ีบคู่โดยเฉพาะใบไมใ้ นตบั พบมากในประเทศไทย คือ Fasciola gigantica
กบั fasciola heptica ซ่ึงเป็นพยาธิขนาดใหญ่พบในท่อในน้าดี และลาไส้

วงจรชีวิต พยาธิใบไมใ้ นตบั ของโค มีวงชีวิต คือ มีเมื่อพยาธิโตเต็มวยั จะผสมพนั ธุ์
(พยาธิตวั แก่ เพศผแู้ ละเพศเมยี อยใู่ นตวั เดียวกนั ) และออกไข่ในท่อน้าดี ไข่จะไหลไปตามท่อน้าดี ไปสู่
ลาไสเ้ ลก็ ลาไสใ้ หญ่ และถูกถา่ ยปนกบั อุจจาระออกไปนอกร่างกาย

เม่ือไข่อยนู่ อกร่างกายโค โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ใกลห้ นองน้า ไข่จะฟักเป็นตวั อ่อน ( Miracidium )
ตวั อ่อนจะถูกกินโดยหอยฝาเดียวในตระกูลลิมเนีย( Lymnia ) เม่ือตวั อ่อนอย่ใู นทางเดินอาหารของ
หอย จะมีการเจริญเติบโต โดยแบ่งตวั และสุดท้ายจะเป็ นตวั อ่อนที่เรียกว่าเซอร์คาเรีย ( Cercaria )

จานวนมาก
จากน้นั เซอร์คาเรีย ( Cercaria ) จะออกจากหอยและไปเกาะตามใบไมใ้ บหญา้ ริมน้าพร้อมท้งั

พฒั นาตวั เองเป็นเมตา้ เซอร์คาเรีย ( Metacercaria ) ซ่ึงมถี งุ หุม้ เมื่อโคกินใบไมห้ รือหญา้ ที่มี เมตา้ เซอร์
คาเรีย ( Metacercaria )เกาะอยู่ เมตา้ เซอร์คาเรีย ( Metacercaria ) จะไปอยใู่ นลาไสเ้ ลก็ ของโค จากน้นั
เมตา้ เซอร์คาเรีย ( Metacercaria ) จะออกจากถุงหุ้ม ไชผ่านลาไส้เล็ก ไปสู่ช่องทอ้ ง และเข้าสู่ตับ
ในขณะท่ีตวั อ่อนไชผา่ นตบั จะทาลายเน้ือตบั ไปดว้ ย โดยการกินเน้ือเยื่อตบั และปล่อยสารพิษออกมา
ขดั ขวางการสร้างและทาลายเม็ดเลือดแดงของตบั ทาให้สตั วม์ ีปัญหาโลหิตจาง ซ่ึงสุดทา้ ยตวั ออ่ นจะ
ไปถึงท่อน้าดีและอาศยั ในท่อนาดี เจริญเป็ นตวั เต็มวยั เม่ือเจริญจนเป็ นตวั เต็มวยั ก็จะผสมพนั ธุ์ และ
ออกไข่ ไข่ก็จะออกมากบั อุจจาระวนเป็นวงจร

อาการ ขณะท่ีพยาธิยงั เป็นตวั อ่อนในลาไสใ้ หญ่จะไชทะลหุ ลอดลาไสม้ าเกาะท่ีตบั
อาจทาใหเ้ กิดจุดเลอื ดออกเป็นทางตามผนงั ลาไส้ แต่อนั ตรายท่ีร้ายมากทีข่ ณะท่ีตวั ออ่ นเคล่อื นยา้ ยไปที่
ตบั จะไชทะลผุ า่ นผนงั ตบั และไชชอนไปในเน้ือตบั และทาลายเซลลต์ บั เป็นส่วนมาก และเมื่อพยาธิโต
ข้ึนและมจี านวนมากข้ึน การทาลายของพยาธิกบั เซลลข์ องตบั กม็ ีมากข้ึน อาจทาใหผ้ นงั ตบั แตกมีเลอื ด
ไหลในช่องทอ้ งหรือไหลออกทางท่อน้าดีลงในลาไสแ้ ละทาให้ สตั วต์ ายได้

สาหรับพยาธิตวั แก่ที่อยใู่ นถงุ และท่อน้าดี จะทาความอกั เสบและระคายเคืองต่อเยอ่ื บุภายใน
ของผนงั ท่อน้าดีมาก เน่ืองจากผวิ ของลาตวั พยาธิมีหนามหรือระยางค์ ทาใหเ้ กิดท่อน้าดีอกั เสบเร้ือรัง

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบอื 169

และการอกั เสบลกุ ลามถงึ เซลของตบั ทาใหต้ บั อกั เสบและเกิดแข็งตวั ข้ึน เน่ืองจากเซลถกู ทาลายมาก

ข้ึน และในที่สุดทาใหเ้ กิดโรคดีซ่านแบบท่อน้าดีอุดตนั และมเี ซลภายในถุงน้าดีหลุด เป็นฉนวนชกั นา
ใหเ้ กิดนิ่วในถงุ น้าดี และนอกจากพยาธิท่ีโตเต็มวยั จะดูดกินเซลลข์ องตบั และถุงน้าดีแลว้ พวกสารที่
ผลิตออกมาต่าง ๆ ของพยาธิเองยงั ใหเ้ กิดสารพิษ

ภาพที่ 7.14 พยาธิใบไมใ้ นตบั โค
ท่ีมา:http://www.businesschat.reocities.com/HotSp...asit.htm
การป้องกนั และควบคุมโรค

1.แปลงหญา้ ตอ้ งใหแ้ หง้ สะอาดปราศจากหลุมหรือบ่อน้า เพอ่ื ป้องกนั การ
เจริญเติบโตของ miracidium โดยที่สตั วป์ ่ วยจะไปถา่ ยอจุ จาระลงในพ้ืนท่ี ๆ มีน้าดงั กล่าว

2.กาจดั พวกพาหะตวั กลาง คือ หอย
3.แยกสตั วป์ ่ วยออกแลว้ ทาการถ่ายพยาธิโดยยา Ranide หรือ Trodax ตาม
คาแนะนาการใชจ้ ากสตั วแพทย์
3.1.3 พยาธิตวั แบน ( Cestodes )
พยาธิตวั แบนที่มกั สร้างปัญหาให้โคเน้ือ กระบือไดแ้ ก่ พยาธิตวั ตืด พยาธิ
ตวั ตืดมีลกั ษณะลาตวั เป็ นเส้นแบนคลา้ ยเสน้ ขา้ วซอย มีความยาวหลายเมตร ลาตวั เป็ นปลอ้ งๆ ส่วน
ปลอ้ งทา้ ยสุด ภายในปลอ้ งมีไข่พยาธิ อยมู่ ากมาย เมื่อสตั วก์ ินไข่พยาธิเขา้ ไปแลว้ ไข่จะโตเป็นระยะตวั
ออ่ นเรียก เมด็ สาคู โดยมากพบอยใู่ นกลา้ มเน้ือของสตั ว์ มขี นาดมองเห็นไดด้ ว้ ยตาเปลา่
วงจรชีวติ เมื่อพยาธิโตเตม็ ท่ีจะผสมพนั ธุแ์ ละวางไข่ ไข่ปะปนออกมากบั มูลจะถกู
ตวั กลางเช่น เห็บ ไร กินเขา้ ไปไข่เจริญเป็นตวั อ่อนและพฒั นาเป็นถุง ( Cyst ) เม่อื สตั วก์ ินตวั กลางก็
ไดร้ ับถุง ( Cyst )เขา้ ไปในลาไส้ ตวั อ่อนจะออกจากถงุ ( Cyst ) เจริญเป็นตวั เตม็ วยั ในลาไส้

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบือ 170

อาการ สัตว์ท่ีได้รับพยาธิมีอาการคลา้ ยการติดพยาธิท่ัวไป คือ ผอม ท้องผูกหรือ
ทอ้ งเสียเร้ือรัง ผิวหนังอกั เสบ หยาบกร้านขนหยอง โลหิตจาง เย่ือเมือกตาซีดขาว มีข้ีตาเกราะกรัง มี
อาการรุนแรงในลกู สตั ว์

การป้องกนั และควบคุมโรค
1.จดั การดา้ นการสุขาภิบาลโดยเฉพาะการกาจดั มูล
2.กาจดั พวกพาหะตวั กลาง คือ เห็บ ไร

การรักษา แยกสตั วป์ ่ วยออกแลว้ ทาการถา่ ยพยาธิโดยยา Ranide หรือ Trodax ตาม
คาแนะนาการใชจ้ ากสตั วแพทย์ ( สญั ชยั และจิตติมา,2553 )

ภาพท่ี 7.15 พยาธิตวั ตืดในกระเพาะรูเมนโค
ที่มา: อุษา ( 2557 )

3.2 พยาธใิ นเลือด
พยาธิในเลือดของโคท่ีสาคญั ในเมืองไทย เกิดจากปรสิตทม่ี ีขนาดเลก็ พวกสตั วเ์ ซลล์

เดียว มองไม่เห็นดว้ ยตาเปล่า พบไดท้ ว่ั ไปทกุ ภาคในเมืองไทย และมีพาหะนาโรคเป็นพวกแมลง หรือ
เห็บ ตวั อยา่ งโรคที่เกิดจากพยาธิในเลือด

3.2.1 โรคไขเ้ ห็บ ( Babesiosis )
เป็นโรคที่สาคญั ในโคเน้ือและกระบือท่ีสร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจ

สาเหตุ เกิดจากเช้ือโปรโตซวั ช่ือ Basesia spp. พบอยใู่ นเมด็ เลือดแดงของโคท่ีเป็น
โรคเช้ือท่ีสาคญั ในประเทศไทยมี 2 ชนิด คือ Babesia bigemina และ Babesia bovis

การติดต่อ เช้ือน้ีติดต่อโดยมีเห็บชื่อ Boophilus microplus ซ่ึงเป็นเห็บโคชนิดที่สาคญั
ท่ีสุดของประเทศไทยเป็นตวั นาโรค โดยเห็บท่ีมเี ช้ือไปดูดเลือดแลว้ ปล่อยเช้ือเขา้ สู่ตวั สตั ว์

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 171

อาการ เม่ือสตั วไ์ ดร้ ับเช้ือเขา้ ไปจะมไี ขส้ ูง ไมก่ ินอาหาร กระเพาะหมกั ไมท่ างาน
หายใจหอบเร็ว หวั ใจเตน้ แรง รายที่เป็นเฉียบพลนั มกั จะตายภายใน 2-3 วนั หลงั แสดงอาการ ถา้ ไม่
ตายเมด็ เลือดแดงจะถกู ทาลายมากถึง 75 เปอร์เซน็ ต์ ทาใหเ้ กิดโลหิตจาง เยอื่ เมือกท่ีปากและตาซีด
หายใจหอบ น้าปัสสาวะมีสีเขม้ มากข้ึนจนบางคร้ังเกือบดาและมีดีซ่าน ในสตั วท์ ่ีทอ้ งอาจแทง้ ได้ อตั รา
การตายจะสูงในอากาศร้อน และมีอตั ราการตายต่าในสภาพอากาศเยน็

ภาพท่ี 7.16 สตั วป์ ่ วยมฉี ่ีเป็นสีแดง
ท่ีมา:http://www.rakbankerd.com/kaset/Animal/754_1.jpg
การควบคุมและป้องกนั

1. ควบคุมเห็บ โดยใชย้ ากาจดั เห็บพน่ บนตวั สตั วแ์ ละบริเวณคอก
2. ใชย้ าบางชนิด เช่น อิมิโซล ( Imizol ) ในขนาด 2 มลิ ลิกรัมต่อน้าหนกั ตวั 1
กิโลกรัม จะมีผลป้องกนั โรคไดน้ าน 3-12 สปั ดาห์
3. ทาวคั ซีนใหแ้ ก่ลูกโคอายนุ อ้ ยกว่า 1 ปี โดยใชว้ คั ซีนที่พฒั นามาจากเช้ือที่
พบจากแหลง่ ท่ีจะใชท้ าวคั ซีน (ยงั ไม่มกี ารใชว้ คั ซีนในประเทศไทย)
การรักษา ยาท่ีใหผ้ ลดีในการรักษา ไดแ้ ก่
1. เบราบิล ( Diminazine aceturate หรือ Berenil ) ขนาดท่ีให้ 3.5 มลิ ลกิ รัม
ต่อน้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม ฉีดเขา้ กลา้ มเน้ือ
2.อมิ ิโซล ( Imidocarb dipropionate หรือ Imizoll )
ขนาดของยาท่ีใช้ 1.2 มลิ ลิกรัมต่อน้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม (ขนาด 1 ซีซี.ต่อน้า หนกั สตั ว์ 100 กิโลกรัม
ฉีดเขา้ ใตผ้ วิ หนงั การใหย้ าน้ีตอ้ งระมดั ระวงั ถา้ ใชเ้ กินขนาด สตั วจ์ ะมอี าการกลา้ มเน้ือสน่ั น้าลายไหล
ทอ้ งอืด โคที่ใชย้ าน้ีไมค่ วรส่งเขา้ โรงงานฆ่าสตั วภ์ ายใน 28 วนั
3. อะคาปริน ( Auinuronium sulyate หรือ Acaprinl )
ขนาดยาที่ใช้ 1 มลิ ลลิ ิตรติอน้าหนกั ตวั สตั ว์ 1 กิโลกรัม ฉีดเขา้ ใตผ้ วิ หนงั เท่าน้นั ยาน้ีอาจทาใหเ้ กิด
อาการแพไ้ ด้ โคจะแสดงอาการ น้าลายไหล เหงื่อออก ทอ้ งเสีย ออ่ นเพลยี

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบอื 172

3.2.2 โรคอะนาพลาสโมซีส ( Anaplasmosis )
เป็นโรคท่ีสาคญั ท่ีในโคเน้ือและกระบือตายมากท่ีสุดโรคหน่ึง

สาเหตุ เกิดจากเช้ือริกเกด็ เซีย ช่ือ Anaplasma marginale และ Anaplasma Centrale
เช้ือที่พบจะเป็นจุดขนาดเลก็ อยทู่ ีข่ อบหรือกลางเมด็ เลือดแดง โรคน้ีมเี ห็บและแมลงดูดเลือดหลายชนิด
เป็นพาหะโดยเฉพาะเหลือบ ( Tabanus spp. ) การถ่ายทอดเช้ือเป็นแบบโดยตรง คือเช้ือออกจากเห็บ
หรือแมลงแลว้ เขา้ สู่ตวั สตั ว์

อาการ สตั ว์ จะมีไขส้ ูง เยอื่ เมือกซีด เบ่ืออาหาร หายใจหอบ น้านมลด สตั วท์ อ้ งอาจ
แทง้ ลูกได้ บางรายมอี าการดีซ่านร่วมดว้ ย น้าปัสสาวะมสี ีเหลอื งคลา้ ยสีฟางขา้ ว สตั วป์ ่ วยท่ีมอี ายมุ าก
จะตายภายใน 1-4 วนั ถา้ เป็นชนิดรุนแรงในสตั วอ์ ายนุ อ้ ยอาจป่ วยเป็นระยะเวลานาน สตั วต์ ายจะพบ
วกิ ารสาคญั คือ ซากมลี กั ษณะซีดมาก ผอมและขาดน้าในถุงน้าดีจะมนี ้าดีอยเู่ ตม็ และน้าดีอาจกระจาย
ไปทาใหเ้ กิดสีเหลืองท่ีไขมนั และอวยั วะ ภายในช่องทอ้ ง มา้ มขยายใหญ่ หวั ใจมจี ุดเลือดออก ต่อม
น้าเหลอื งบริเวณตบั จะมีสีน้าตาล บวมและนิ่ม

การป้องกนั สามารถปฏิบตั ิ ดงั น้ี
1.กาจดั เห็บและแมลงดูดเลอื ด
2.ควบคุมการเคลือ่ นยา้ ยโรค
3.ใหว้ คั ซีนที่เป็นเช้ือ Anaplasma central ซ่ึงไม่ทาใหเ้ ป็นโรครุนแรงในสตั ว์

อายนุ อ้ ย แต่จะใหค้ วามคุม้ โรคต่อเช้ือ Anaplasma marginale
การรักษา ยาที่ใชไ้ ดผ้ ล คือ
1. เตทตราซยั คลนิ ( Tetracycline ) ฉีดเขา้ หลอดเลือด ขนาดที่ให้ 10

มิลลิกรัมต่อน้าหนกั ตวั 1 กิโลกรัม
2. อมิ โิ ซล ( Imizole ) ขนาดที่ให้ 1-2 มลิ ลิกรัมต่อน้าหนกั ตวั สตั ว์ 1 กิโลกรัม

3.2.3 โรคทริพพาโนโซโมซิส ( Trypanosomiasis )
สาเหตุ เกิดจากเช้ือโปรโตซวั ชื่อ Trypanosoma evansi เช้ือน้ีจะพบอยนู่ อกเมด็ เลือด
แดง มแี มลงน้ีไปเกาะและดูดเลือดโค ก็จะปล่อยเช้ือเขา้ สู่กระแสโลหิต
อาการ สตั วไ์ ม่ค่อยแสดงอาการใหเ้ ห็นเด่นชดั นอกจากซีดและผอม รายที่เป็ นรุนแรง
จะมีไข้ ตาอกั เสบหรือขุ่น ขาแขง็ หลงั แขง็ คอบิด โลหิตจาง อาจตายอย่างเฉียบพลนั สตั วท์ อ้ งจะแทง้
ลกู ในช่วงต้งั แต่ 4 เดือนข้ึนไป หรืออาจคลอดก่อนกาหนด น้าหนกั ลูกแรกคลอดต่า รกคา้ งในสตั วร์ ีด
นมน้านมลด ส่วนสตั วท์ อ้ งว่างจะไม่แสดงอาการเป็ นสัดและอาจมีอาการทางประสาท เช่น เดิน ตื่น
ตระหนก กระโดด ดุร้าย ซึม เป็นอมั พาต
การป้องกนั

1.กาจดั แมลงพาหะนาโรค

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ 173

2.ฉีดยาซาโมริน ( Samorin ) เพ่อื ป้องกนั ก่อนถงึ ฤดูฝนและเมอื่ หมดฤดูฝน
ในขนาด 0.5-1.0 มิลลิกรัมต่อน้าหนกั ตวั สตั ว์ 1 กิโลกรัม สามารถป้องกนั โรคไดน้ าน 3-4 เดือน

การรักษา ยาที่ใชร้ ักษาแลว้ ไดผ้ ลดี คือ เบรานิล ( Bereni l) ใชข้ นาด 3 มลิ ลกิ รัมต่อ
น้าหนกั ตวั สตั ว์ 1 กิโลกรัม ฉีดเขา้ กลา้ มเน้ือ

3.2.4 โรคไทเลริโอซิส ( Theileriosis )
สาเหตุ เกิดจากเช้ือโปรโตซวั ชื่อ Theileria spp. สาหรับเช้ือท่ีพบในประเทศ

ไทยยงั ไม่รู้แน่ชดั ว่าเป็นชนิดใด แต่ที่พบในเมด็ เลือดแดงมขี นาดเลก็ มาก และมีหลายรูปร่างแตกต่าง
กนั ไป เช่น กลม รูปไข่ รูปคอมม่า หรือรูปเรียวยาว

การติดต่อ เห็บเป็นพาหะนาโรค แต่ยงั ไม่พบว่าเป็นเห็บชนิดใดในประเทศ
ไทยที่สามารถเป็นตวั นาโรคน้ีได้

อาการ สตั วม์ กั ไมแ่ สดงอาการป่ วยเด่นชดั (Subclinical) ในสตั วท์ ่ีเป็นโรค
ชนิดเฉียบพลนั ส่วนมากจะมอี าการโลหิตจาง อ่อนเพลยี น้านมลด ไขส้ ูงและน้าหนกั ลด

ภาพที่ 7.17 ปอดโคท่ีมีการตดิ เช้ือ Theileriosis
ที่มา:http://www.cfsph.iastate.edu/.../THE/THE_003.jpg
การป้องกนั

1.กาจดั แมลงพาหะนาโรค
การรกั ษา ยงั ไม่มยี าท่ีใชร้ ักษาไดผ้ ลดี อาจใชย้ ากลมุ่ เตตทราไซคลิน ( Tetracycline )
รักษาเชน่ เดียวกบั การรักษาโรคอะนาพลาสโมซิส ( วีรพล ,2551 )

3.3 พยาธภิ ายนอก
พยาธิภายนอกท่ีเป็นอนั ตรายในโคเน้ือและกระบือ ไดแ้ ก่ เห็บ เหา ไร ข้ีเร้ือน แมลง

ดูดเลือดชนิดต่างๆ และแมลงหนอนไช ( Myiasis )

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบอื 174

3.3.1 เห็บ
เห็บเป็นปัจจยั หน่ึงท่ีสร้างความเสียหายต่อการเล้ยี งสตั ว์ สร้างความราคาญ

ทาใหส้ ตั วซ์ ูบผอมแลว้ ยงั เป็นตวั นาโรคท่ีสาคญั หลายชนิด เช่นโรคไขเ้ ห็บ โรคอะนาพลาสโมซิส

เห็บท่ีเป็นอนั ตรายในสตั ว์ มี 2 ชนิด คือ
1. เห็บที่ตอ้ งการสตั วอ์ าศยั เพียง 1 ชนิด พบมากในประเทศไทย จากตวั ออ่ น

ข้ึนจากยอดหญา้ มาอาศยั อยบู่ นตวั สตั วแ์ ลว้ จะเจริญเติบโต ผสมพนั ธุแ์ ละตกลงไปออกไข่ในพ้นื ดิน
2.เห็บชนิดที่ตอ้ งการสตั วือาศยั มากกว่า 1 ตวั ในการเจริญเตบิ โต หมายถงึ เม่ือ

ตวั อ่อนไต่จากยอดหญา้ ข้ึนสู่ตวั สตั วแ์ ลว้ จะหากนิ บนตวั สตั วจ์ ากน้นั จะลงมาลอกคราบท่ีพน้ื ดิน และ
ข้ึนไปหากินบนตวั สตั วอ์ กี จนกระทงั่ อยใู่ นวยั เจริญพนั ธุห์ ลายคร้ัง จึงผสมพนั ธุแ์ ลว้ ลงมาวางไข่ ใน
ประเทศไทยพบเห็บชนิดน้ีนอ้ ยมาก

ภาพท่ี 7.18 การวางไข่ของเห็บ
ที่มา:http://www.mgel.msstate.edu/images/page/cattle_tick.jpg
วงจรชีวติ เห็บโคมีการเจริญจากตวั อ่อน เป็นตวั กลางวยั และตวั เตม็ วยั เห็บโคตวั เมยี
ท่ีดูดเลือดจนตวั เปล่งโตเต็มที่ แลว้ จึงจะปลอ่ ยตวั ลงพ้นื คลานไปหาที่ออก ไข่เห็บตวั เมียจะเริ่มออกไข่
ภายใน 2-3 วนั หลงั จากหล่นลงพ้นื และจะออกไข่หมดภายใน 1 สปั ดาห์ (5-7 วนั หรืออาจจะถงึ 10
วนั ) เห็บตวั เมยี หน่ึงตวั จะออกไข่เฉลีย่ 1,800 ฟอง ออกไข่หมดก็ตาย เมื่อครบ 3 สปั ดาห์(21-22 วนั ) ไข่
จึงจะฟักเป็นเห็บตวั อ่อน มขี า 6 ขา เห็บตวั ออ่ นจะไต่ข้ึนทส่ี ูงไปอยบู่ นยอดหญา้ เพือ่ รอเกาะติดขาโคท่ี
เดินผา่ นมาเห็บตวั อ่อนสามารถมชี ีวติ อยไู่ ดน้ าน 2-3 เดือน หรือถึง 6 เดือน ถา้ ในแปลงหญา้ น้นั มี
ความช้ืนสูง เม่อื เห็บตวั อ่อนข้ึนบนตวั โค เห็บตวั อ่อนจะดดู กินเลือดโค 1 สปั ดาห์ (5-7 วนั ) แลว้ ลอก
คราบเป็นเห็บตวั วยั รุ่น (กลางวยั ) มขี า 8 ขา ดูดเลือดโค อกี 1 สปั ดาห์ จึงลอกคราบ เป็นเห็บตวั เตม็ วยั
และดูดกินเลือดโคต่ออกี ประมาณ 1 สปั ดาห์ เห็บตวั เมียจึงจะโตเตม็ ท่ีตวั เปล่ง พร้อมท่ีจะหลน่ ไปหาที่

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 175

วางไข่รวมเวลาที่เห็บดูดกนิ เลอื ดอยบู่ นตวั โคประมาณ 3-4 สปั ดาหเ์ ห็บที่ไต่ข้ึนโคใหมน่ ้นั จะเป็นเห็บ
ตวั อ่อนเท่าน้นั รวมระยะเวลาวงจรชีวติ ของเห็บ อยา่ งนอ้ ย 8 สปั ดาห์

ความสาคญั ของเห็บโค
1.เห็บโคตวั หน่ึงอาจดูดเลือดไดถ้ ึง 0.5 มิลลิลิตร
2.เป็นตวั นาโรค เห็บโคสามารถนาโรคไดห้ ลายชนิด
3.รอยแผลท่ีเกิดจากเห็บกดั ทาความเสียหายแก่หนงั โคทาใหข้ ายไม่ไดร้ าคา
4.รอยแผลจากเห็บดูดเลือดอาจเกิดแผลท่ีมหี นอนแมลงวนั มาเจาะไชได้

ภาพท่ี 7.19 การเกาะดดู เลือดของเห็บบนตวั โค
ท่ีมา:http://www.vetmed.ucdavis.edu/.../Image2.jpg
การควบคุมเห็บโค

1.การควบคุมเห็บในทุ่ง โดยการปล่อยทุ่งหญา้ ท้ิงไวน้ านๆ หรือไถกลบ ไม่
ควรใชส้ ารเคมี หรือยาฆ่าเห็บพ่นในทุ่งหญา้

2. การควบคุมเห็บบนตวั โค โดยการใชย้ าฆา่ เห็บชนิดต่างๆ เช่น
2.1 ยาพวกออแกนโนฟอสฟอรัส เช่น ดาซุนทอล นีโอซิด เนกูวอน
2.2 ยาพวกไพรีทรอยด์ เช่น คูเพก็ ซ์ ซอลแพค 10 ดบั บลวิ พี ไบ

ทรอด์ เอช 10 ดบั บลิวพี บูทอ๊ กซ์
2.3 ยาพวกอะมิดนี เช่น อะมที ราช
2.4 ยาฉีด เช่น ไอโวเมค็

3.3.2 แมลงวนั คอก ( Stomoxys )
แมลงวนั คอกสตั วช์ อบอยตู่ ามกองมูลสตั วห์ รือคอกสตั ว์ ประเทศไทยมกี ารสารวจพบ

แมลงวนั คอกสตั ว์ 5 ชนิด ไดแ้ ก่ Stomoxys calcitrans , Stomoxys sitiens , Stomoxys pulla , Stomoxys

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ 176

indicus และ Stomoxys urema ชนิดที่พบมากไดแ้ ก่ Stomoxys calcitrans แมลงวนั ชนิดน้ีมีปี กแขง็ แรง
สามารถบินไดไ้ กล จึงมีการแพร่กระจายอยา่ งรวดเร็วและกวา้ งขวาง เป็นศตั รูของโคเน้ือและกระบือ

ลกั ษณะโดยทว่ั ไป
ลกั ษณะของ แมลงวนั คอกสตั วม์ ขี นาดใกลเ้ คียงกบั แมลงวนั บา้ น มลี าตวั สี

เทาอมน้าตาล มีเสน้ สีดาพาดตามยาวบนส่วนอก ส่วนทอ้ งมีลายลกั ษณะเหมอื นตาหมากรุก มจี ุดสี
เขม้ 3 จุด บนทอ้ งปลอ้ งที่ 2 และ 3 ปากแบบเจาะดูด แมลงวนั Stomoxys calcitrans มรี ูปร่างคลา้ ยกบั
แมลงวนั บา้ นมาก บางคร้ังชาวบา้ นเรียกวา่ “Biting house fly” ส่วนที่แตกต่างจากแมลงวนั บา้ น
คือ ส่วนปากเป็นปากแบบเจาะดูด และยน่ื ตรงไปขา้ งหนา้ รูปร่างยาวเรียวเลก็ กว่าแมลงวนั บา้ น
เลก็ นอ้ ย

ภาพที่ 7.20 แมลงวนั คอก
ท่ีมา:http://www.ces.ncsu.edu/.../graphics/stomoxys.jpg
วงจรชีวติ

แมลงวนั คอกสตั วเ์ พศเมียวางไข่ในบริเวณท่ีช้ืนแฉะ บริเวณเศษพืชหรือเศษ
ฟางต่าง ๆ โดยวางไข่ประมาณ 25-50 ใบต่อคร้ัง ตวั ออ่ นออกจากไข่ภายในเวลา 3 วนั และกินอาหาร
จากเศษฟางที่เน่าเป่ื อย จากน้นั เขา้ ระยะดกั แดใ้ นเศษฟางหรือหญา้ แหง้ ภายใน 2-3 สปั ดาห์ และออก
จากดกั แดภ้ ายใน 7 วนั ตวั เตม็ วยั มีอายยุ าวประมาณ 2 เดือน หรือมากกว่าและมคี วามสามารถในการ
บินที่ไกล

หน่วยท่ี 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ 177

ภาพท่ี 7.21 การเกาะดดู เลอื ดของแมลงวนั คอก
ท่ีมา:http://www.parasitosdelganado.net/.../StomCalCattle.jpg
3.3.3 เหา ( Lices )
เหาเป็ นแมลงชนิดหน่ึงมีขนาดเล็กประมาณ 1-5 มิลลิเมตร ส่วนหัวย่ืนออกไป
ขา้ งหนา้ มหี นวดส้นั ๆ 1 คู่ ส่วนอกไม่มรี อยแยกของปลอ้ ง มีขา 3 คู่ ขามี หนามตรงขา้ มกบั เลบ็ ช่วยใน
การยดึ ขน ปากเป็นชนิดดูดกิน อาศยั อยตู่ ามบริเวณที่มขี น จดั อยใู่ น order Phthiraptera พวก Anoplura
หรือ Sucking Lice เหาโคมีหลายชนิด พบไดง้ ่ายในบริเวณท่ีขนยาว เช่น ท่ีพู่หาง มกั พบในลูกสัตว์
หรือสตั วท์ ่ีมีสุขภาพไม่ดี
อาการ โคท่ีมเี หามากจะแสดงอาการคนั อยา่ งเห็นไดช้ ดั เหาจะดูดเลือดโค ทาใหโ้ ค
ซูบผอม โตชา้ แคระแกรน กระวนกระวาย น้าหนกั ลดถา้ เป็นมากจะทาใหโ้ ลหิตจาง

ภาพที่ 7.22 การเกาะของเหาบนขนโค
ท่ีมา: อษุ า ( 2557 )

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภิบาลโคเน้ือและกระบือ 178

ป้องกนั ใชย้ ากาจดั เหา เช่น โลติ๊น, ลนิ เดน
รักษา

1.ยา Negasunt ( รักษาแผล )
2.รากโลต๊ิน 400 gm ทุบแช่น้า 4 ลิตรท้ิงไวค้ า้ งคืน พน่ ตวั เหา ( ระวงั เขา้ ตา
และจมูกโค ) ทา 2 คร้ัง โดยใหห้ ่างกนั ประมาณ 2 สปั ดาห์
3.Ivermectin 200 มลิ ลิกรัม ฉีดใตผ้ วิ หนงั
4.กามะถนั ผง 1 ส่วนต่อน้ามนั พืช 9 ส่วน ทาบริเวณท่ีเป็นวนั ละ 1-2 คร้ัง
หลงั จากทาความสะอาด
3.3.4 ไร ( Mange )
ไรเป็นสตั วข์ นาดเลก็ ไม่ทาใหอ้ นั ตรายใหส้ ตั วต์ ายแต่สร้างความราคาญเน่ืองจาก
อาการคนั บริเวณท่ีไรอาศยั โดยเฉพาะรูขุมขน ผวิ หนงั เกิดแผลถลอก ไรแบ่งออกเป็น 2 ชนิด
3.3.4.1 ไรข้ีเร้ือนขมุ ขน ( Demodectic mange )
เกิดจากไรชนิดดีโมเดกซ์ ( Demodex bovis ) พบไดบ้ ่อยในโคประเทศไทย
อาการ มกั พบเป็นแบบเฉพาะท่ี ลกั ษณะคลา้ ยเช้ือราคือ มีขนหกั หรือขนร่วงหลุดเป็น
วงๆ ขนาดเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางประมาณ 2-5 เซนติเมตร เมอ่ื ดูใกลๆ้ จะเห็นเป็นรอยนูนสูงข้ึนมาคลา้ ยเป็น
ตุ่มเลก็ ๆ ถา้ บีบหรือขดู บริเวณที่เป็นรอยนูนน้ีจะพบของเหลวคลา้ ยหนองขน้ สีขาว เม่อื นาไปตรวจดู
ดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์จะพบไรข้ีเร้ือนขมุ ขนเป็นจานวนมาก โรคข้ีเร้ือนขุมขนชนิดเป็นท้งั ร่างกายพบได้
นอ้ ยในประเทศไทย ลกั ษณะที่พบจะเป็นการอกั เสบที่ผวิ หนงั มีหนองและเลือดปนอยทู่ ว่ั ไป ซ่ึงเกิดจาก
การติดเช้ือแบคทีเรียร่วมดว้ ยและเช้ืออาจแพร่ไปยงั สตั วต์ วั อ่นื ได้

ภาพที่ 7.23 ลกั ษณะโคเป็นโรคเร้ือนขุมขน
ที่มา:http://www.icb.usp.br/~marcelcp/Sarcoptes.htm
การรกั ษา ไรข้ีเร้ือนแบบเฉพาะท่ีไม่ตอ้ งรักษาเพราะโรคมกั ไม่แพร่กระจาย แต่ถา้ เป็น
แบบทวั่ ตวั ควรจาหน่ายออกเพราะรักษายากมาก ยกเวน้ ในรายท่ีเป็นไมม่ ากอาจใชย้ าทาเฉพาะที่ เช่น

หน่วยที่ 7 โรคและการสุขาภบิ าลโคเน้ือและกระบอื 179

ยาพวกออแกนโนฟอสฟอรัสหรือยาอะมทิ ราช
3.3.4.2 ไรข้ีเร้ือน ชนิดโคริออนติก ( Chorioptic mange ) เกิดจากไรชนิดโคริออบเทส

( Chorioptes spp. )
อาการ
ในโคจะพบรอยโรคท่ีบริเวณโคนหาง รอบกน้ หลงั และเตา้ นม โดยอาจจะ

เกิดตุ่มพอง ( Papule ) หรือรังแค ( Scab ) หรือรอยโรคท่ีเป็นลกั ษณะของการระคายเคือง หนงั บริเวณ
น้นั จะหยาบ ยน่ สกปรก ขนร่วง มกั พบไดบ้ ่อยที่บริเวณโคนหางและรอบกน้

การตรวจวนิ ิจฉยั
ทาไดโ้ ดยการขดู ผวิ หนงั บริเวณท่ีเป็นโรคผสมกบั พาราฟินบนสไลดน์ าไป

ตรวจดูดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ จะพบตวั ไรระยะต่างๆ
การรักษา
เนื่องจากไรชนิดน้ีจะไม่ฝังตวั ลงในผวิ หนงั การรักษาจึงทาไดไ้ ม่ยากนกั

การใชย้ าท่ีเป็นยาฆ่าเห็บและไร ( Acaricide ) ทุกชนิดในขนาดท่ีแนะนาสามารถใชไ้ ดแ้ ต่ตอ้ งพจิ ารณา
ถึงความเหมาะสม ประหยดั ปลอดภยั และพิษตกคา้ ง ( สถาบนั สุขภาพสตั วแ์ ห่งชาติ,2557 )

สรุป
1.โรคสตั ว์ (disease) หมายถึง การที่ร่างกายหรืออวยั วะของร่างกายมีภาวะการเปลยี่ นแปลงไป

ทาใหก้ ารทางานผดิ ปกติ โดยร่างกายสามารถรู้สึกความผดิ ปกติได้ และมกั แสดงอาการผดิ ปกติใหเ้ ห็น
ความผดิ ปกติที่แสดงออกใหเ้ ห็น เรียกว่า อาการ (Symptom) สัตวจ์ ะดารงชีพอยา่ งไม่ปกติ พกิ าร หรือ
ตายได้ ส่วนการสุขาภิบาล (sanitation) หมายถึง การจดั การใด ๆ เกี่ยวกบั สภาพแวดลอ้ มใหเ้ อ้อื อานวย
และเหมาะสมกบั ความตอ้ งการโดยธรรมชาติของสัตวแ์ ต่ละชนิด ท้งั น้ีเพอ่ื ใหส้ ตั ว์ มีสุขภาพแขง็ แรง มี
การเจริญเติบโตดีและใหผ้ ลผลิตสูง

2.การเกิดโรคในสัตวเ์ กิดจากสาเหตุหลายประการ โดยสาเหตุของการเกิดโรคในสตั วแ์ บ่ง
ออกเป็ นโรคที่เกิดจากการติดเช้ือโรค ( infections disease ) ไดแ้ ก่ โรคท่ีเกิดจากเช้ือจุลินทรียต์ ่าง ๆ
เช่น แบคทีเรีย ไวรัส รา และปรสิต และที่เกิดจากปัจจยั อื่นท่ีไม่ใช่การติดเช้ือโรค (non – infections
disease) เป็ นโรคที่เกิดจากสาเหตุอื่นนอกจากเช้ือโรค เช่นความผิดปกติของพนั ธุกรรม การขาด
สารอาหาร การกินสารพิษหรือสาเหตุจากความเครียด


Click to View FlipBook Version