The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวทางปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาเพื่อป้องกัน_และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by padrewcenter, 2022-05-02 07:44:43

แนวทางปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาเพื่อป้องกัน_และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

แนวทางปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาเพื่อป้องกัน_และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

แนวทางปฏิบัติสำ� หรบั สถานศึกษา
เพ่อื ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาด
ของโรคโควิด-19 (COVID-19)

เมษายน 2563

แนวทางปฏิบัติส�ำหรับสถานศึกษา
เพ่อื ป้องกนั และควบคมุ การแพร่ระบาด

ของโรคโควิด-19 (COVID-19)

เมษายน 2563

ร่วมกบั
สนบั สนุนการจัดพมิ พ์โดย

อ้างองิ จาก GUIDANCE FOR COVID-19 PREVENTION AND CONTROL IN SCHOOLS (UNICEF, WHO, IFRC) March 2020

ภาพปก
© UNICEF/ Mark Thomas
ภาพประกอบ
จดิ าภา นิธรี ังสี อาสาสมคั รวาดภาพ โครงการ I AM UNICEF

3 แนวทางปฏบิ ตั ิสำ� หรับสถานศึกษา เพ่อื ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 4

สารบัญ 6

กติ ตกิ รรมประกาศ 7
คำ� น�ำ
1. ขอ้ เท็จจริงเก่ียวกบั โรคโควิด-19 8
2. บทนำ�
3. ผู บ้ ริหารสถานศกึ ษา ครู และเจา้ หน้าท่ ี 9

• สาระส�ำคัญและขอ้ ควรปฏิบัต ิ 9
• รายการตรวจสอบ 14

4. ส่ิงท่ีผู ้ปกครอง/ผู ด้ ูแลเดก็ และสมาชิกในชุมชนควรรู้ 15

• สาระสำ� คัญและข้อควรปฏิบตั ิ 15
• รายการตรวจสอบ 18

5. ส่ิงท่ีนกั เรยี น นกั ศึกษาควรรู้ 19

• สขุ ศึกษาที่เหมาะสมสำ� หรบั เด็ก ๆ ในแต่ละช่วงวัย 19
• ระดบั ปฐมวัย 19
• ระดับประถมศกึ ษา 19
• ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 20
• ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย / อาชีวศึกษา 20
• รายการตรวจสอบ 21

ภาคผนวก 22

• ช่องทางการจัดการศึกษาออนไลนส์ �ำหรบั นกั เรยี น นักศกึ ษา 22
• อนิ โฟกราฟกิ เกย่ี วกบั การป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 23
• ส่ือวิดิโอเกีย่ วกับการปอ้ งกนั โควิด-19 27

แนวทางปฏบิ ัตสิ �ำหรับสถานศึกษา เพ่อื ป้องกนั และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 4

กติ ติกรรมประกาศ

เอกสาร Guidance for COVID-19 Prevention and Control in Schools เขยี นโดย Lisa Bender ฝา่ ยการศกึ ษา
องคก์ ารยนู เิ ซฟ สำ� นกั งานใหญ่ นวิ ยอรก์ พรอ้ มดว้ ยการสนบั สนนุ ทางดา้ นวชิ าการจากสมาชกิ ของคณะเลขาธกิ าร โควดิ -19
องคก์ ารยนู เิ ซฟ (Carlos Navarro Colorado, Maya Arii และ Hugo Razuri) ตลอดจนทีมงานยูนิเซฟดา้ นนำ�้ สขุ าภบิ าล
และสุขอนามยั (UNICEF WASH) ด้านการสือ่ สารเพือ่ การพฒั นาพฤติกรรมและสงั คม (C4D) และดา้ นการคุ้มครองเดก็
(Child Protection) รวมทง้ั ขอขอบคุณเป็นพิเศษสำ� หรบั ความรว่ มมอื จาก Maida Paisic (ยนู เิ ซฟ เอเชียตะวนั ออกและ
แปซฟิ ิก – EAPRO) Le Anh Lan (ยูนเิ ซฟ เวยี ดนาม) Tserennadmid Nyamkhuu (ยูนเิ ซฟ มองโกเลยี ) Dr. Maria
D Van Kerkhove (องคก์ ารอนามยั โลก – WHO) และ Gwedolen Eamer (สหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือน
แดงระหว่างประเทศ – IFRC)
ส�ำหรับฉบับประเทศไทย องค์การยูนิเซฟ ขอขอบพระคุณผู้เชี่ยวชาญเหล่าน้ีท่ีมีส่วนช่วยในการทบทวนเนื้อหาในฉบับ
ประเทศไทย

ดร.สายพนั ธ์ุ ศรพี งษ์พันธ์กุ ลุ ศูนย์เฉพาะกิจคุ้มครองและช่วยเหลือนักเรียน ส�ำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พื้นฐาน
นางสาววลั ลา เรือนไชยวงศ์ สำ� นักพัฒนากจิ การนักเรียน สพฐ.
ดร.นนั ทนชุ สุวรรนาวธุ สำ� นกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สพฐ.
นางปภาวรนิ ท์ เรอื งประจวบกุล ส�ำนักบูรณาการกิจการการศกึ ษา สำ� นกั ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
นางสาวปานมนัส โปธา สำ� นกั บรู ณาการกจิ การการศกึ ษา สำ� นกั ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
นางสาวจิราพร โสดากุล สำ� นกั บรู ณาการกิจการการศกึ ษา ส�ำนักปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
นายจิรประวัติ ศรีวัฒนทรพั ย์ ส�ำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำ� นกั ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
นายชยั ธวชั มหาท�ำนโุ ชค นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฎิบัติการ กรมการส่งเสริมการปกครอง
สว่ นทอ้ งถิน่
นางสาวธนั วธ์ ดิ า วงศป์ ระสงค์ สำ� นกั สง่ เสริมการมีสว่ นร่วมนวัตกรรมและทุนการศกึ ษา กองทนุ เพอื่ ความ
เสมอภาคทางการศึกษา
นางสมนึก เลศิ สุโภชวณชิ ย์ กองโรคตดิ ต่อทัว่ ไป กรมควบคุมโรค
นางสาวณฐั ทชิ า หงษส์ ามสิบหก กองโรคติดต่อท่ัวไป กรมควบคุมโรค

5 แนวทางปฏบิ ัติส�ำหรับสถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19)

นางสาวกรรณิการ์ เจรญิ ไทย กองโรคติดตอ่ ท่ัวไป กรมควบคมุ โรค
นางสาวจรยิ า ดาหนองเป็ด กองโรคตดิ ต่อทว่ั ไป กรมควบคุมโรค
คุณนนั ทวนั ไฮดน์ องคก์ ารยูเนสโก กรุงเทพมหานคร (UNESCO)
คุณชฏาพร สขุ สริ ิวรรณ ศนู ย์เสรมิ ความปลอดภัยและปอ้ งกนั การบาดเจ็บในเด็ก คณะแพทยศ์ าสตร์
โรงพยาบาลรามาธิบดี
คณุ สุนษิ ฐดิ า เพชรดว้ ง สำ� นกั งานบรรเทาทกุ ข์ สภากาชาดไทย
นางสาววุฒยา เจรญิ ผล องคก์ าร Save the children
นายธรี าวธุ วรฉัตร มูลนธิ ิศุภนมิ ิตแห่งประเทศไทย
นายธนพล เขียวละมา้ ย องคก์ รแพลนอนิ เตอรเ์ นชั่นแนล ประเทศไทย

คณะทำ� งาน องคก์ ารยูนิเซฟ ประเทศไทย

รังสรรค์ วิบูลอปุ ถมั ภ ์ นักวิชาการศกึ ษา

นภทั ร พศิ าลบุตร เจ้าหนา้ ท่ีสอื่ สารเพื่อการพฒั นา

ศักดิ์สินี เอมะศริ ิ ทปี่ รึกษา

ขอขอบคุณการสนบั สนุนการจดั พิมพจ์ าก รฐั บาลญปี่ นุ่ กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศกึ ษา และส�ำนกั งานกองทุน
สนับสนนุ การสร้างเสรมิ สขุ ภาพ

แนวทางปฏบิ ตั สิ �ำหรับสถานศึกษา เพ่อื ป้องกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 6

คำ� นำ�

จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศจีนตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2562 และแพร่ระบาด
ไปยงั ประเทศตา่ ง ๆ ท่ัวโลก รวมถึงประเทศไทย ตง้ั แต่เดือนมกราคม พ.ศ. 2563 เป็นตน้ มา กินระยะเวลายาวนาน และ
มีแนวโน้มจะรุนแรงและขยายวงกวา้ งขึ้นเร่อื ย ๆ ตง้ั แต่ระดบั จงั หวดั ไปจนถงึ ระดบั ตำ� บล และชุมชนท่ีห่างไกล โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง แนวโน้มที่จะเกิดการแพร่ระบาดในสถานศึกษาต่าง ๆ ซ่ึงมีเด็ก เยาวชน และบุคลากรทางการศึกษา อันเป็น
ทรัพยากรส�ำคญั ของประเทศ
องคก์ ารยนู เิ ซฟ ประเทศไทย รว่ มกบั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สำ� นกั บรู ณาการกจิ การศกึ ษา สำ� นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร,
สำ� นกั พฒั นากจิ กรรมนกั เรยี น และ สำ� นกั งานบรหิ ารการศกึ ษาพเิ ศษ สำ� นกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน, สำ� นกั งาน
สง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและตามอธั ยาศยั , กรมสง่ เสรมิ การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ กระทรวงมหาดไทย, กรมควบคมุ โรค
กระทรวงสาธารณสขุ , กองทนุ เพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.), Save the Children ประเทศไทย, มลู นธิ ศิ ภุ นมิ ติ
แหง่ ประเทศไทย, องคก์ ารแพลน อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย, สภากาชาดไทย, และองค์การยเู นสโก ประเทศไทย
ได้ร่วมกันพัฒนาเอกสาร “แนวทางปฏิบัติส�ำหรับสถานศึกษาเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
(COVID-19)” โดยองิ จาก Guidance for COVID-19 Prevention and Control in Schools ซง่ึ จดั ทำ� โดย องคก์ ารยนู เิ ซฟ
องค์การอนามัยโลก และสหพันธ์สภากาชาดและสภาเสี้ยววงเดือนแดงระหว่างประเทศ (IFRC) เพ่ือเป็นแนวทาง
ระดับสากลในการปฏบิ ตั ิสำ� หรับสถานศกึ ษาเพอ่ื ให้จัดการเรยี นการสอนได้อย่างปลอดภยั
ข้อเสนอแนะในแนวทางปฏิบัติฯ ฉบับนี้ เหมาะส�ำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ครู และเจ้าหน้าท่ี รวมถึงหน่วยงานท้ัง
ภาครฐั และเอกชนท่ีจัดการเรยี นการสอน ไม่ว่าจะเป็น ศูนย์พฒั นาเดก็ เล็ก โรงเรยี น อาชวี ศึกษา วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั
ตลอดจนหน่วยงานการศึกษานอกระบบ เพื่อความเข้าใจตรงกันในการใช้แนวทางปฏิบัติฯ เล่มน้ี ทางคณะผู้จัดท�ำใช้
ค�ำเรียกร่วมกันว่า “สถานศึกษา” และ “เด็ก” หรือ “นักเรียน” อันครอบคลุมถึง เด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา
ในระดับช่วงวัยต่าง ๆ รวมถึงค�ำว่า “เจ้าหน้าท่ี” ซึ่งหมายรวมถึงบุคลากรที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษา ไม่ว่าจะเป็น ครู
เจ้าหน้าทใ่ี นโรงเรยี น แม่บ้าน คนครวั ภารโรง เปน็ ตน้
แน่นอนว่า เพยี งการป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 ในสถานศกึ ษา อาจจะไม่เพียงพอต่อการดูแล
นกั เรียน นักศกึ ษา ให้ปลอดภยั จากโรค ในเลม่ น้ี จึงมีแนวทางปฏิบตั สิ �ำหรับผูป้ กครอง ผดู้ แู ลเด็ก อีกด้วย โดยที่ผู้บรหิ าร
ครู และเจา้ หน้าท่จี ากสถานศึกษาสามารถแนะน�ำ บอกต่อให้กบั ผู้ปกครองและผูด้ แู ลเดก็ เพอื่ นำ� ไปปฏบิ ตั ิตอ่ ได้
ที่ส�ำคัญ สถานศึกษาต้องเป็นก�ำลังส�ำคัญในการส่ือสารแก่เด็กและเยาวชน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการป้องกัน
การแพร่ระบาดของโรค ซึ่งเดก็ และเยาวชน ในฐานะกลุ่มสำ� คัญที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงในชุมชน (change agents)
กจ็ ะสามารถบอกต่อใหก้ ับครอบครัวและชุมชนได้
อน่ึง แตล่ ะสถานศกึ ษา สามารถน�ำแนวทางปฏิบัติฯ ไปปรับใช้ตามบรบิ ทสถานการณท์ เ่ี กิดขึ้น กลุม่ เป้าหมาย ตลอดจน
ความเช่อื ของแตล่ ะศาสนาและวฒั นธรรม เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งและเกิดประโยชน์สูงสุด

7 แนวทางปฏิบัติสำ� หรับสถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19)

1 ข้อเทจ็ จรงิ เก่ียวกบั โรคโควิด-19

โควิด-19 คืออะไร โควิด-19 เป็นไวรัสชนิดใหม่ ผลกระทบของไวรัส
ชนดิ นท้ี ม่ี ตี อ่ เดก็ จงึ ยงั อยรู่ ะหวา่ งการศกึ ษา เราทราบวา่
โควดิ -19 คอื โรคทม่ี สี าเหตจุ ากเชอ้ื ไวรสั โคโรนา่ สายพนั ธใ์ุ หม่ มีความเป็นไปได้ที่คนทุกช่วงวัยสามารถติดเช้ือไวรัส
– ‘CO’ มาจากคำ� วา่ ‘โคโรนา่ ’ (Corona), ‘VI’ มาจาก ชนดิ น้ี แตจ่ นถงึ ปจั จบุ นั กม็ รี ายงานการตดิ เชอ้ื โควดิ -19
‘ไวรสั ’ (Virus), และ ‘D’ มาจาก ‘โรค’ (Disease) โดย ในเดก็ เพยี งไมก่ รี่ าย ทง้ั นมี้ ผี ปู้ ว่ ยเสยี ชวี ติ จากไวรสั ชนดิ
กอ่ นหนา้ นเี้ ราเรยี กโรคดงั กลา่ ววา่ ‘โรคไวรสั โคโรนา่ สาย นนี้ ้อยมาก โดยสว่ นใหญม่ กั เปน็ ผสู้ งู อายทุ ม่ี อี าการปว่ ย
พันธุ์ใหม่ 2019’ หรอื ‘2019-nCoV’ ไวรสั โควิด-19 อืน่ ๆ อยกู่ อ่ นแล้ว
ไวรสั ชนดิ นม้ี คี วามเชอ่ื มโยงกบั ตระกลู ของไวรสั ทเี่ ปน็ ตน้
เหตขุ องโรคทางเดนิ หายใจเฉยี บพลนั รนุ แรง หรอื โรคซารส์ โรคโควดิ -19 มวี ิธีการรกั ษาอยา่ งไร
(Severe Acute Respiratory Syndrome – SARS)
รวมทัง้ โรคหวดั ธรรมดาบางประเภท ปัจจุบันน้ียังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 อย่างไร
กต็ าม อาการตา่ ง ๆ ของโรคกส็ ามารถรกั ษาได้ หากเขา้
อาการของโรคโควดิ -19 เป็นอย่างไร รับการรักษาแต่เน่ิน ๆ ก็ท�ำให้โรคน้ลี ดความรนุ แรงลง
ซึ่งขณะน้ีแนวทางการรักษายังอยู่ในขั้นตอนของ
อาการของโรค ไดแ้ ก่ มไี ข้ ไอ และหายใจหอบ ในราย การวิจัยทางคลินิกเพื่อประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ
ทม่ี อี าการรนุ แรง การตดิ เชอื้ อาจทำ� ใหม้ อี าการปอดอกั เสบ
หรือหายใจล�ำบากร่วมด้วย และอาจถึงขั้นเสียชีวิต เราจะชะลอหรอื ป้องกันการแพร่
แต่พบไม่บ่อยนัก อาการดังกล่าวมีลักษณะคล้ายกับ ระบาดของโรคโควดิ -19 ได้อยา่ งไร
โรคไขห้ วดั ใหญ่ หรอื โรคหวดั ธรรมดาซงึ่ พบไดบ้ อ่ ยกวา่
โควิด-19 และนี่คือเหตุผลท่ีจะต้องท�ำการทดสอบ มาตรการด้านสาธารณสุข มีสว่ นส�ำคัญอยา่ งยง่ิ ตอ่ การ
เพอ่ื ยนื ยันวา่ ผปู้ ่วยตดิ เชอื้ โควิด-19 หรอื ไม่ ลดการแพรก่ ระจายของโรคต่าง ๆ เช่นเดยี วกบั โรคติด
เชอื้ ของระบบทางเดนิ หายใจอน่ื ๆ เชน่ โรคไขห้ วดั ใหญ่
โควดิ -19 แพร่กระจายไดอ้ ย่างไร หรอื โรคหวัดธรรมดา มาตรการดา้ นสาธารณสุขในการ
ปฏิบตั ิประจำ� วันเพ่ือปอ้ งกันโรค ได้แก่
เช้ือไวรัสโควิด-19 ถ่ายทอดผ่านการสัมผัสโดยตรงกับ
ฝอยละอองจากลมหายใจของผ้ตู ดิ เช้อื (ทเี่ กิดจากการ • อยบู่ า้ นเมอ่ื มีอาการปว่ ย
ไอหรือจาม) และจากการสัมผัสพื้นผิวที่มีเชื้อไวรัส • ปิดปากและจมูกด้วยข้อพับแขนหรือกระดาษ
ปนเปอ้ื นแลว้ ไปสมั ผสั บรเิ วณใบหนา้ ของตน (เชน่ ตา จมกู
ปาก) ไวรัสโควิด-19 อาจอยู่รอดบนพื้นผิวเป็นเวลา ทิชชู่เม่ือไอหรือจาม และทิ้งกระดาษทิชชู่
หลายชวั่ โมง แตก่ ็ถกู ท�ำลายไดด้ ้วยน้ำ� ยาฆ่าเชือ้ ทว่ั ไป ทใ่ี ช้แล้วทันทใี นถังขยะที่มีฝาปดิ มิดชิด
• ล้างมอื บอ่ ย ๆ ด้วยน�้ำสะอาดและสบู่ แลว้ เชด็
ใครมีความเส่ยี งมากท่สี ุด มอื ให้แหง้
• ทำ� ความสะอาดพน้ื ผวิ และวตั ถทุ ผี่ คู้ นสมั ผสั บอ่ ยครง้ั
เราไดเ้ รยี นรเู้ กยี่ วกบั ผลกระทบทโี่ ควดิ -19 มตี อ่ ประชาชน เมื่อเรามีการเรียนรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 มากข้ึน
เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ในแต่ละวัน โดยพบว่าผู้สูงอายุและ เจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขอาจมีข้อแนะน�ำเพิ่มเติม
ผู้ที่มีอาการป่วยเร้ือรัง โรคเบาหวานและโรคหัวใจ เก่ยี วกับการปฏิบตั ติ น
เปน็ ผทู้ มี่ คี วามเสย่ี งตอ่ การมอี าการรนุ แรง และเนอ่ื งจาก

แนวทางปฏิบตั สิ ำ� หรบั สถานศึกษา เพ่อื ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 8

2 บทนำ�

การแพรร่ ะบาดของโรคไวรสั โคโรนา่ สายพนั ธใ์ุ หม่ (โควดิ -19) วตั ถปุ ระสงค์
ได้รับการประกาศให้เป็น ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
ระหว่างประเทศ (Public Health Emergency of เด็กและเยาวชนเป็นพลเมืองของโลก พวกเขาเป็น
International Concern – PHEIC) ซึง่ เช้ือไวรสั ได้แพร่ กลุ่มประชากรที่มีพลังในการสร้างความเปลี่ยนแปลง
ไปยังประเทศและดินแดนต่าง ๆ มากมาย แม้เราจะยัง และเป็นคนรุ่นใหม่ที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้ให้การดูแล
ไม่ทราบเก่ยี วกบั ตน้ ตอของการเกดิ โรคโควิด-19 แต่เราก็ นักวิทยาศาสตร์ และบุคลากรทางการแพทย์ต่อไป
ทราบว่าไวรัสชนิดนี้ถ่ายทอดผ่านการสัมผัสโดยตรง วกิ ฤตการณใ์ ด ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ลว้ นเปน็ โอกาสทชี่ ว่ ยใหพ้ วกเขา
กับฝอยละออง (Droplet) จากลมหายใจของผู้ติดเชื้อ ได้เรียนรู้ บ่มเพาะความเห็นอกเห็นใจ และเสริมความ
(ที่เกิดจากการไอและจาม) และจากการท่ีบุคคลสัมผัส ยดื หยนุ่ ในการรับมือกับสถานการณ์ พร้อมท้ังสรา้ งสรรค์
พนื้ ผวิ ทม่ี เี ชอ้ื ไวรสั ปนเปอ้ื นอยแู่ ลว้ ไปสมั ผสั บรเิ วณใบหนา้ ชุมชนท่ีมีความปลอดภัยและห่วงใยกันมากยิ่งข้ึน การมี
ของตนอีกที (เช่น ตา จมูก ปาก) ขณะท่ีโรคโควิด-19 ขอ้ มลู ขา่ วสารเกยี่ วกบั โรคโควดิ -19 ชว่ ยลดความกลวั และ
กำ� ลงั แพรร่ ะบาดอยา่ งต่อเน่อื งเชน่ นี้ สถานศึกษาจะต้อง วติ กกงั วลของเดก็ และเยาวชน และเสรมิ สรา้ งความสามารถ
ด�ำเนินการเพ่ือป้องกันการแพร่เช้ือ ลดผลกระทบของ ในการรบั มอื กบั ผลขา้ งเคยี งทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ ในชวี ติ ของพวกเขา
การระบาด และสนบั สนนุ มาตรการตา่ ง ๆ ในการควบคมุ โรค คมู่ อื ฉบบั นนี้ ำ� เสนอสาระสำ� คญั และขอ้ ควรพจิ ารณาในการ
การป้องกันโรคโควิด-19 ในเด็กและสถานศึกษามีความ ส่งเสริมให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และเจ้าหน้าที่
ส�ำคัญอย่างย่ิง โดยจะต้องมีมาตรการป้องกันการ ตลอดจนผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก สมาชิกในชุมชน และ
แพร่ระบาดของเช้ือโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ ท่ีอาจเกิดขึ้น ตวั นกั เรยี นเอง รว่ มแรงรว่ มใจและทำ� ใหส้ ถานศกึ ษาปลอดภยั
ในสถานศกึ ษาต่าง ๆ รวมท้งั ดแู ลไม่ให้นักเรียน นักศกึ ษา จากการแพรร่ ะบาดคร้ังนี้
และเจ้าหน้าที่ถูกตีตราหากติดเช้ือ ซึ่งโรคโควิด-19 เอกสารฉบบั นมี้ จี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื นำ� เสนอขอ้ แนะนำ� ในการ
เกดิ ขนึ้ ไดก้ บั ทกุ คนโดยไมม่ ขี อ้ ยกเวน้ ทางพรมแดน เชอ้ื ชาติ ด�ำเนนิ งานเพ่อื ปอ้ งกนั โรคท่ชี ัดเจนและปฏิบัติไดจ้ ริง โดย
ภาวะทุพพลภาพ อายุ หรือเพศสภาพ สถานศึกษา การปอ้ งกนั การตรวจพบในระยะเรมิ่ แรก และการควบคมุ
ควรใหก้ ารตอ้ นรบั และเคารพทกุ คนแบบไมแ่ บง่ แยก และ โควดิ -19 ในโรงเรียนและสถานศึกษาอ่นื ๆ ขอ้ เสนอแนะ
มีสภาพแวดล้อมท่ีเก้ือหนุนการเรียนรู้ส�ำหรับทุกคน ในคู่มือฉบับน้ีไม่เพียงแต่จะเหมาะสมกับประเทศที่มีการ
มาตรการของสถานศึกษาจะช่วยป้องกันการแพร่เชื้อ แพรเ่ ชอื้ โควดิ -19 แล้วเท่านัน้ แตย่ ังเหมาะกบั บรบิ ทอน่ื ๆ
ของเด็ก เยาวชน และเจ้าหน้าท่ีที่อาจได้รับเชื้อไวรัส ดว้ ย การศกึ ษาชว่ ยสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ และเยาวชนมสี ว่ นรว่ ม
พร้อมทั้งลดปัญหาการหยุดเรียนกลางคันของเด็ก และ ในการรณรงคใ์ หเ้ กดิ การปอ้ งกนั และควบคมุ โรคในครอบครวั
คมุ้ ครองเด็กและเจ้าหนา้ ทีจ่ ากการเลอื กปฏิบัติ ของตน รวมทั้งในสถานศึกษาและภายในชุมชน โดยให้
ข้อมูลแก่ผู้อื่นเก่ียวกับวิธีป้องกันการแพร่เช้ือไวรัส ทั้งน้ี
การด�ำเนินงานตามมาตรการป้องกันโรคของสถานศึกษา
หรือการเปิดสถานศึกษาอีกครั้งหลังจากปิดลงช่ัวคราว
มีหลายสิ่งที่ต้องพิจารณา ซึ่งจะช่วยส่งเสริมสุขภาพ
ของประชาชนได้หากดำ� เนินงานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ

9 แนวทางปฏิบตั ิสำ� หรับสถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกนั และควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 (COVID-19)

3 ผูบ้ ริหารสถานศึกษา
ครู และเจา้ หนา้ ท่ี

แนวทางเบ้ืองตน้ ปรับปรุงหรอื จัดท�ำแผนฉุกเฉนิ
ของสถานศึกษาให้ทันสมยั อยูเ่ สมอ
การปฏิบัติตามแนวทางเบื้องต้น เป็นการป้องกันการ
แพร่กระจายเช้ือโรคและควบคุมการระบาดของโรคไปสู่ ประสานงานกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องเพื่อให้มั่นใจว่า
นกั เรยี น ครู และเจา้ หน้าทใี่ นสถานศกึ ษา ดงั นี้ หากมีความจ�ำเป็นในการใช้สถานศึกษาเป็นศูนย์พักพิง
สถานพยาบาล หรือทป่ี ระชมุ ของชมุ ชน ทห่ี ลกี เลย่ี งไมไ่ ด้
• นักเรียน ครู และเจ้าหน้าท่ีท่ีเจ็บป่วยไม่ควร สถานศึกษาจะมีมาตรการที่ปลอดภัยในการป้องกัน
มาสถานศกึ ษา การแพร่ระบาดของโรคมาสู่นักเรยี น

• สถานศึกษาควรก�ำหนดให้มีการล้างมือด้วย สนับสนุนใหม้ ีการลา้ งมอื บอ่ ย ๆ
นำ้� สะอาดและสบเู่ ปน็ ประจำ� หรอื ถมู อื ดว้ ยเจลหรอื และการรกั ษาสุขอนามัย
น้�ำยาล้างมือที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ และ
อยา่ งนอ้ ยจะตอ้ งมกี ารทำ� ความสะอาดและฆา่ เชอื้ ควรจดั เตรยี มบรเิ วณสำ� หรบั ลา้ งมอื ดว้ ยนำ�้ และสบใู่ หพ้ รอ้ ม
โรคตามพื้นผิวท่ีมีการสัมผัสบ่อย ๆ ภายใน และจดั หาอุปกรณท์ ีจ่ �ำเปน็ สำ� หรับการลา้ งมือ
สถานศึกษาทกุ วนั หากเป็นไปได้ ควรวางเจลล้างมือไว้บริเวณทางเข้า-ออก
ของหอ้ งเรยี นทกุ หอ้ ง รวมทงั้ บรเิ วณใกลก้ บั โรงอาหารและ
• สถานศึกษาควรจัดเตรียมส่ิงอ�ำนวยความสะดวก ห้องนำ้�
เพ่ือการจัดการเกี่ยวกับน�้ำ สุขาภิบาล และ
การก�ำจัดขยะมูลฝอย ตลอดจนขจัดส่ิงปนเปื้อน ข้อควรระวงั เก่ียวกับเจลลา้ งมอื
และท�ำความสะอาดสภาพแวดล้อมตามข้ันตอน • เจลลา้ งมอื จะตอ้ งมคี วามเขม้ ขน้ ของแอลกอฮอล์
ที่ถกู ต้อง
ไมต่ ำ่� กวา่ 70% เพอ่ื ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพในการ
• สถานศึกษาควรส่งเสริมมาตรการรักษาระยะห่าง ฆา่ เช้อื ไวรสั
ทางกายภาพ (Physical distancing / Social • การใช้เจลล้างมือแอลกอฮอล์กับเด็กเล็ก
Distancing) ซ่ึงหมายถึง การจ�ำกัดการรวมกลุ่ม จะต้องอยู่ภายใต้ความดูแลของผู้ใหญ่
ของผคู้ น เพอ่ื ชะลอการระบาดของโรคทแี่ พรก่ ระจาย สถานศกึ ษาที่มีเด็กเล็กต�ำ่ กว่า 5 ปี ไมค่ วร
อยา่ งรวดเร็ว วางเจลล้างมือไว้ในจุดท่ีเด็กสามารถหยิบ
ใช้ได้เอง เพ่ือป้องกันเด็กน�ำเข้าปากและ
ตดิ ตามขอ้ มูลขา่ วสารล่าสุด เป็นอันตรายต่อเด็กได้ ควรเน้นให้ใช้การ
ลา้ งมอื ดว้ ยน�้ำและสบู่เปน็ หลกั
ทำ� ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ขอ้ มลู พนื้ ฐานของโรคโควดิ -19 รวม
ถงึ อาการ โรคแทรกซอ้ น การตดิ ตอ่ และวธิ ปี อ้ งกนั ตดิ ตาม
ขา่ วสารเกยี่ วกบั โรค โควดิ -19 ผา่ นแหลง่ ขอ้ มลู ทน่ี า่ เชอื่ ถอื
เชน่ องคก์ ารยนู เิ ซฟ (https://www.unicef.org/thailand/
th/coronavirus/covid-19) องคก์ ารอนามยั โลก (WHO)
(https://www.who.int/thailand) และค�ำแนะน�ำจาก
กระทรวงสาธารณสุข พึงระวังข่าวปลอมหรือเร่ืองท่ี
แตง่ ขึ้นแลว้ ส่งต่อแบบปากตอ่ ปากหรือทางออนไลน์

แนวทางปฏบิ ตั สิ �ำหรบั สถานศึกษา เพ่ือป้องกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 (COVID-19) 10

ทำ� ความสะอาดและฆ่าเช้ือโรค เกิดความแออัด (เช่น การใช้ห้องคอมพิวเตอร์
ที่ต้องสมั ผัสสอื่ การเรยี นการสอนร่วมกัน)
ทำ� ความสะอาดและฆา่ เชอื้ โรคตามอาคารเรยี นและหอ้ งเรยี น • จัดโต๊ะเรียนให้มีระยะห่างจากกันอย่างน้อย
โดยเฉพาะจุดให้บริการน้�ำและสิ่งอ�ำนวยความสะดวก หนึ่งเมตร (หากเป็นไปได้)
ด้านสุขาภิบาลอย่างน้อยวันละคร้ัง และบริเวณพ้ืนผิว • สอนเกยี่ วกบั การรกั ษาระยะหา่ งและการหลกี เลยี่ ง
ท่มี คี นจำ� นวนมากสมั ผสั (ราวบันได โตะ๊ อาหาร อุปกรณ์ การสัมผัสโดยไม่จ�ำเป็น โดยปฏิบัติให้นักเรียน
กีฬา อุปกรณ์ดนตรี มือจับประตู-หน้าต่าง ของเล่น นักศกึ ษา ดูเป็นตวั อยา่ ง
สื่อการเรยี นการสอน เปน็ ต้น)
กรณีสถานศึกษาท่ีมีรถรับ-ส่ง ควรท�ำความสะอาด เตรยี มมาตรการรองรบั
ยานพาหนะบริเวณท่ีสัมผัสกับผู้โดยสาร เช่น ราวจับ หากมนี กั เรยี นหรอื เจา้ หนา้ ท่เี จบ็ ป่ วย
กลอนประตู เบาะนั่ง ท่ีเท้าแขน ด้วยน�้ำผสมผงซักฟอก
หรือน้ำ� ยาทำ� ความสะอาด วางแผนล่วงหน้าร่วมกับหน่วยงานสาธารณสุขในท้องถิ่น
และเจา้ หนา้ ทดี่ แู ลสขุ ภาพในสถานศกึ ษา พรอ้ มทงั้ ปรบั ปรงุ
คดั กรองอาการเจ็บป่ วยของนกั เรียน รายชื่อบุคคลที่ติดต่อได้ในกรณีฉุกเฉินให้เป็นปัจจุบัน
อยูเ่ สมอ และจัดเตรยี มห้องพยาบาลสำ� หรบั แยกนกั เรยี น
จัดให้มีการคัดกรองอาการไข้ ไอ น้�ำมูก บริเวณทางเข้า ที่มีอาการป่วยเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจออกจาก
ประตูสถานศกึ ษาทกุ เชา้ เพื่อแยกผู้มอี าการไปยังสถานท่ี นักเรยี นทีม่ อี าการป่วยอ่นื ๆ
ท่ีจัดเตรียมไว้ โดยควรใช้เคร่ืองวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอล
ที่ไมต่ ้องสัมผสั ตัว หากพบวา่ มนี กั เรยี น และเจา้ หนา้ ทที่ มี่ ไี ข้ (อณุ หภมู สิ งู กวา่
37.5 องศาเซลเซียส) หรือมีประวัติสงสัยป่วยด้วยโรค
นำ� หลักการรกั ษาระยะห่าง โควดิ -19 ควรแยกนักเรียนหรอื เจ้าหนา้ ทีค่ นน้นั ออกจาก
ทางกายภาพมาใช้ บคุ คลอน่ื โดยระวงั ไมใ่ หเ้ กดิ การตตี รา รวมทงั้ มกี ระบวนการ
(Physical distancing) ซง่ึ อาจรวมถงึ ในการแจ้งให้ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กทราบ และปรึกษา

• ปรบั เวลาเขา้ เรยี น-เลิกเรยี นให้เหลอ่ื มกัน
• ยกเลกิ การรวมกลมุ่ กฬี า และกจิ กรรมอน่ื ใดทท่ี ำ� ให้

11 แนวทางปฏบิ ตั สิ �ำหรบั สถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19)

หากมีขอ้ สงสัย หรอื ตรวจพบความเส่ียง
ตอ่ การตดิ เชื้อโควดิ -19 สามารถรายงาน
ตามช่ องทางเหล่าน้ี

• สายด่วนกรมควบคุมโรค โทร 1422
• ศนู ยอ์ �ำนวยการช่วยเหลอื สถานศกึ ษา

ประสบภยั พิบตั ิ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ตามมาตรการควบคุมและป้องกันโรคติด
เช้ือไวรัสโคโรนา (COVID-19)
โทร 02 628 6400 หรอื 02 628 6397

ผู้ใหบ้ ริการ/หน่วยงานสาธารณสุข ซง่ึ อาจต้องมีการสง่ ตวั ปรบั เปล่ียนนโยบายของโรงเรยี น
เด็ก/เจ้าหน้าท่ีไปยังสถานพยาบาลโดยตรงตามแต่บริบท ตามความเหมาะสม
และสถานการณ์ หรือส่งตัวกลับบ้าน โดยสถานศึกษา
จะต้องแจ้งข้ันตอนหรือกระบวนการที่มีอยู่ให้เจ้าหน้าที่ ก�ำหนดนโยบายเก่ียวกับการมาเรียนของนักเรียนและ
ผปู้ กครอง และนักเรยี นทราบล่วงหน้า การมาทำ� งานของเจา้ หนา้ ท่ี รวมทั้งการลาป่วยท่ียืดหยุน่
เพอื่ สนบั สนนุ ใหน้ กั เรยี นและเจา้ หนา้ ทอี่ ยบู่ า้ นเมอ่ื ไมส่ บาย
ส่ือสารขอ้ มูล หรือต้องดูแลสมาชิกครอบครัวท่ีเจ็บป่วย โดยไม่ส่งเสริม
การให้รางวัลหรือสิ่งจูงใจส�ำหรับการมาเรียนหรือท�ำงาน
ประสานงานและปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำของกระทรวง ทส่ี ถานศกึ ษา พรอ้ มทง้ั ระบหุ นา้ ทห่ี รอื ตำ� แหนง่ งานสำ� คญั ๆ
สาธารณสขุ และกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สอ่ื สารและทำ� ความ และวางแผนใหเ้ จา้ หนา้ ทจี่ ากสายงานอน่ื ทผ่ี า่ นการฝกึ อบรม
เขา้ ใจกบั เจ้าหนา้ ท่ี ผู้ปกครอง และนักเรยี น เพอื่ ให้ทุกคน มาปฏบิ ตั งิ านแทนได้ นอกจากนยี้ งั ควรวางแผนปรบั เปลย่ี น
ทราบถงึ ข้อมลู ล่าสดุ เก่ียวกบั สถานการณข์ องโรค รวมถึง ปฏิทินการศกึ ษา โดยเฉพาะในส่วนของการปิดภาคเรียน
การดำ� เนนิ งานและควบคมุ การระบาดในสถานศกึ ษา พรอ้ ม และการสอบ
ทั้งเน้นย้�ำให้ผู้ปกครองแจ้งให้สถานศึกษาและหน่วยงาน ผอู้ ำ� นวยการสถานศกึ ษาสามารถใชด้ ลุ ยพนิ จิ เพอ่ื พจิ ารณา
สาธารณสขุ ทราบหากมสี มาชกิ ในครอบครวั ตดิ โรคโควดิ -19 ปิดสถานศึกษาหากพบผู้ป่วยจ�ำนวนมาก เช่น หลาย
และให้เด็กหยุดเรียนอยู่บ้านเพื่อสังเกตอาการเป็นเวลา ห้องเรียน หลายชั้นเรียน กรณีเป็นโรงเรียนประจ�ำ
14 วัน การสื่อสารข้อมูลอาจกระท�ำโดยผ่านทางอีเมล์ ใหน้ กั เรยี น/นกั ศกึ ษาอยแู่ ตบ่ รเิ วณหอพกั หากเปน็ โรงเรยี น
แอปพลิเคชั่น LINE หรือช่องทางส่ือสารออนไลน์อ่ืน ๆ ไปกลับ ใหเ้ นน้ ย้�ำการอย่กู บั บา้ น ไม่ออกไปในทช่ี ุมนุมชน
ตอ่ ครทู ป่ี รกึ ษา และครทู ปี่ รกึ ษารวบรวมขอ้ มลู รายงานตอ่
ผู้บริหารสถานศึกษา ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
ณ วนั ที่ 28 กมุ ภาพนั ธ์ 2563
นอกจากนี้ยังควรใส่ใจในข้อสงสัยและความวิตกกังวล
ของเดก็ ซงึ่ รวมถงึ การเลอื กใชส้ อ่ื ทเ่ี หมาะสม เชน่ โปสเตอร์
ซ่ึงอาจติดบนกระดานติดประกาศ ในห้องน�้ำ และพื้นที่
สว่ นกลางอนื่ ๆ

แนวทางปฏิบัติส�ำหรับสถานศึกษา เพ่ือป้องกันและควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 12

ติดตามการมาสถานศกึ ษา สอนสุขศึกษาตามกล่มุ เป้าหมาย

ตรวจสอบติดตามการขาดเรียนและการขาดงาน ด�ำเนิน บูรณาการเนื้อหาด้านการป้องกันและควบคุมโรคไว้ใน
การอย่างเป็นระบบและมปี ระสิทธิภาพ โดยเปรยี บเทียบ กิจกรรมประจ�ำวันและบทเรียนต่าง ๆ โดยเป็นเนื้อหา
กบั ขอ้ มลู ของการขาดเรยี น/งานตามปกตขิ องสถานศกึ ษา ที่เหมาะสมกับอายุ เพศ เชื้อชาติ และตอบสนองต่อ
จากนั้นแจ้งให้หน่วยงานสาธารณสุขในพื้นท่ีทราบหาก ความตอ้ งการของผพู้ กิ าร ตลอดจนบรรจกุ จิ กรรมเหลา่ นนั้
มกี ารลาปว่ ยของนกั เรยี นและเจา้ หนา้ ทเ่ี พมิ่ ขน้ึ เปน็ จำ� นวน ลงในวิชาที่มีสอนอยู่ (ดูหัวข้อ ‘สุขศึกษาส�ำหรับเด็ก
มากดว้ ยโรคระบบทางเดินหายใจ วัยต่าง ๆ’)

วางแผนใหน้ กั เรียน/นักศึกษา ดูแลด้านสุขภาพจติ
ได้เรียนรูอ้ ยา่ งต่อเน่ือง และให้ความช่วยเหลอื ทางจติ สังคม

ในกรณีของการขาดเรียน/งาน การลาป่วย หรือการ กระตนุ้ ให้เดก็ นกั เรียน ซักถามและแสดงความวิตกกงั วล
ปดิ โรงเรยี นชว่ั คราว สถานศกึ ษาจะตอ้ งหาวธิ ใี หน้ กั เรยี น/ ของตนออกมา อธบิ ายใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจว่าการมปี ฏกิ ริ ยิ า
นักศึกษาสามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่าง ต่าง ๆ เก่ียวกับสถานการณ์เช่นนี้เป็นเรื่องปกติ และ
ตอ่ เน่ือง โดยอาจรวมถงึ การด�ำเนินงานเหลา่ นี้ สนบั สนนุ ใหพ้ วกเขาพดู คยุ กบั ครผู สู้ อนหากมขี อ้ สงสยั หรอื
มีความวิตกกังวล พร้อมท้ังให้ข้อมูลอย่างเปิดเผยตรงไป
• ใชก้ ลยทุ ธก์ ารเรยี นออนไลนห์ รอื ผา่ นสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ตรงมาและเหมาะสมกับวัยของเด็ก นอกจากนี้ครูยังควร
(e-Learning) การมอี ปุ กรณก์ ารเรยี น เชน่ แทป็ เลต็ ชี้แนะให้นักเรียนช่วยเหลือเพื่อน หลีกเล่ียงการตีตรา
ที่มีการใส่ข้อมูลแผนการจัดการเรียนรู้ส�ำหรับ แบ่งแยก กีดกันและข่มเหงรังแก ทั้งน้ีครูจะต้องมีข้อมูล
นักเรียนแต่ละชั้นปี จะช่วยลดปัญหาการไม่มี เกยี่ วกบั ทรพั ยากรในทอ้ งถน่ิ เพอื่ สวสั ดภิ าพของตนเองดว้ ย
อินเตอร์เน็ตท่ีบ้าน (ดูช่องทางการจัดการศึกษา และร่วมมือกับผู้ท�ำงานด้านการดูแลสุขภาพในโรงเรียน/
ออนไลนส์ �ำหรับนกั เรียน นักศึกษา ในภาคผนวก) นกั สงั คมสงเคราะห์ ในการระบตุ วั ตนและชว่ ยเหลอื นกั เรยี น
และเจา้ หนา้ ท่ีทีม่ ีสัญญาณบง่ บอกความทุกข์ใจ
• มอบหมายใหน้ กั เรยี นอา่ นหนงั สอื ทบทวนบทเรยี น
และทำ� แบบฝึกหัดที่บา้ น

• เผยแพร่เนื้อหาวิชาการทางวิทยุ พอดคาสต์ หรือ
โทรทัศน์

• ให้ครูติดตามการศึกษาทางไกลของนักเรียน
เป็นรายวันหรือรายสปั ดาห์

• ทบทวนหรือพัฒนากลยุทธ์ส�ำหรับการเรียน
การสอนเชงิ เร่งรดั (Accelerated Education)

• ในกรณีท่ีสถานศึกษาและเด็ก มีข้อจ�ำกัดด้าน
เทคโนโลยีในการเข้าถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ คุณครู
อาจปรบั เปน็ การตดิ ตอ่ ทางโทรศพั ท์ แอปพลเิ คชน่ั
ส�ำหรับตดิ ต่อสอื่ สาร (เช่น LINE) หรือเย่ียมบา้ น
(โดยมีการรักษาระยะหา่ งท่ปี ลอดภยั ) แทน

13 แนวทางปฏบิ ัติสำ� หรับสถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19)

การตตี ราและการเลอื กปฏบิ ตั ิ ช่วยเหลือผู เ้ ปราะบาง

“การตตี รา” หมายถึง การท่เี ราเช่ือมโยงหรือ ประสานกบั หนว่ ยงานบรกิ ารสงั คมและองคก์ รสว่ นทอ้ งถน่ิ
เหมารวมวา่ คนกลมุ่ นี้ เชอ้ื ชาตนิ ้ี หรอื มลี กั ษณะ เพอ่ื ใหม้ ่นั ใจวา่ บริการสำ� คัญต่าง ๆ ของสถานศึกษา เช่น
แบบน้ี เปน็ คนท่ไี มด่ ีต่อสงั คม อาจถกู รงั เกยี จ บรกิ ารตรวจสขุ ภาพ โครงการอาหาร หรอื การบำ� บดั รกั ษา
จากคนอ่นื ๆ และน�ำมาซงึ่ “การเลือกปฏบิ ัต”ิ เด็กท่ีมีความต้องการพิเศษ จะด�ำเนินไปอย่างต่อเนื่อง
เช่น พูดจาล้อเลียนให้เกิดความอับอาย นอกจากนย้ี งั ควรพจิ ารณาและศกึ ษาเกย่ี วกบั ความตอ้ งการ
กลั่นแกล้ง หรือนินทาไปในทางเสียหาย เฉพาะของเด็กพิการ เด็กที่ไม่ได้อาศัยอยู่กับพ่อแม่
การตีตราอาจจะเกิดจากความกลัวในส่ิงที่เรา เด็กในครอบครัวชายขอบ เด็กต่างชาติ และเด็กที่อยู่
ไม่เคยรู้จักมาก่อนหรือสิ่งท่ีอยู่นอกเหนือ ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนว่าได้รับ
การควบคุมของเรา ผลกระทบหรือผลข้างเคียงจากโรคโควิด-19 รุนแรงกว่า
คนทั่วไปอย่างไร รวมถึงตรวจสอบผลกระทบต่าง ๆ
ในกรณกี ารเกิดโรคระบาด เด็กที่อาจถกู ตตี รา ที่ท�ำให้เด็กผู้หญิงมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นหากต้องออกจาก
หรือถูกเลือกปฏบิ ัติ อาจรวมถงึ โรงเรียน เช่นการต้องรับผิดชอบการดูแลผู้ป่วยท่ีบ้าน
• เดก็ ทต่ี ดิ เชอ้ื หรอื มคี นในครอบครวั ตดิ เชอ้ื การล่วงละเมิดทางเพศ หรือการถูกแสวงหาประโยชน์
• เด็กท่ีเจ็บป่วยด้วยอาการคล้ายกับการ รวมท้ังการต้องอยู่ตามล�ำพังหากพ่อแม่ หรือผู้ปกครอง
เจ็บปว่ ย และตอ้ งเขา้ รับการรักษาในสถานพยาบาล
เป็นโรคโควดิ -19 มีระบบการสอดส่อง ติดตามดูแลกลุ่มเด็กที่มีความ
• เดก็ ทผี่ ปู้ กครองมอี าชพี ทเี่ สยี่ งตอ่ การตดิ เชอื้ เปราะบางเป็นพิเศษ เช่น การโทรเยี่ยมบ้านเป็นประจ�ำ
(ระหวา่ งปดิ ภาคเรยี น) การจดั ใหม้ ชี อ่ งทางในการแจง้ เหตุ
ดังน้ัน การให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ที่เป็นมิตรกับเด็ก รวมถึงมีการติดตามกรณีเด็กไม่กลับ
วา่ สามารถตดิ ตอ่ กนั ไดท้ างใดบา้ ง และพฤตกิ รรม เข้าระบบการศึกษาเม่ือเปิดภาคเรียน หรือต้องออกจาก
ใดไมเ่ สย่ี งตอ่ การตดิ ตอ่ จะสามารถชว่ ยลดความ โรงเรยี นกลางคนั โดยดำ� เนินการเยย่ี มบา้ น
กลัวลงได้ และเมื่อความกลัวลดลงการตีตรา ครูและเจ้าหน้าที่ในโรงเรียน ควรได้รับการอบรมเพ่ือให้
และการเลอื กปฏบิ ัติก็ลดลงไปด้วย มีความรู้และทักษะท่ีเพียงพอในการระบุ ค้นหา รวมถึง
สง่ ตอ่ เดก็ ทีม่ ีความเครยี ด หรอื มรี ่องรอยของการเลย้ี งดู
อ่านเพิ่มเติม: การตีตราทางสังคมท่ีเก่ียวข้อง ทีไ่ มเ่ หมาะสม
กบั โรคโควดิ -19 https://www.who.int/docs/ ในอดตี ทผ่ี า่ นมา จะเหน็ ไดว้ า่ อตั ราการใชค้ วามรนุ แรงและ
default-source/searo/thailand/covid19- แสวงประโยชนจ์ ากเดก็ มกั เพมิ่ สงู ขนึ้ ในชว่ งทมี่ โี รคระบาด
stigma-guide-th-final.pdf ยกตัวอยา่ งเชน่ จำ� นวนเดก็ ทถ่ี ูกทอดท้ิง เด็กท่ถี ูกกระท�ำ
รุนแรงทางเพศ แรงงานเด็ก รวมถึงการต้ังครรภใ์ นวันรุน่
ได้พุ่งขึ้นสูงกว่าปกติในช่วงท่ีมีการปิดโรงเรียนตอนท่ี
เชื้อไวรัสอโี บล่าแพร่ระบาดในทวีปแอฟรกิ า

แนวทางปฏบิ ัติสำ� หรับสถานศกึ ษา เพ่ือป้องกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 14

ผู ้บริหารราสยถกาานรศตึกรวษจาสคอรบู สแ�ำลหะรเจบั ้าหน้าท่ี

 1. ส่งเสริมและสาธติ การลา้ งมอื เป็นประจำ� และการแสดงพฤตกิ รรมดา้ นสขุ อนามัยเชิงบวก

ใหน้ กั เรยี น นกั ศกึ ษาเหน็ เปน็ ตวั อยา่ งพรอ้ มทงั้ ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา
และจดั เตรียมห้องน�้ำสะอาดอยา่ งเพยี งพอโดยแยกสว่ นชาย-หญิง
 เตรียมน้�ำสะอาดและสบ่ใู หพ้ ร้อมใช้ ณ จุดใหบ้ ริการลา้ งมือท่มี ีลักษณะเหมาะสม

กับนักเรียนในแตล่ ะชว่ งวัย
 ส่งเสริมใหม้ กี ารลา้ งมือบอ่ ย ๆ อยา่ งถกู วิธี (ใช้เวลาอย่างน้อย 20 วนิ าท)ี
 วางเจลลา้ งมอื แอลกอฮอล์ไวใ้ นห้องน้�ำ หอ้ งเรียน ห้องโถง และบรเิ วณใกล้

ทางออก
 มหี ้องน้ำ� /หอ้ งส้วมท่ีสะอาดอย่างเพยี งพอและแยกสว่ นชาย-หญิง
 ส่งเสริมใหม้ กี ารใส่หน้ากากอนามัยหากมอี าการไอหรือจาม และเรียนรู้

การใสแ่ ละถอดหนา้ กากอนามยั อยา่ งถูกตอ้ ง

 2. ท�ำความสะอาดและฆ่าเช้ือโรคตามอาคารเรียน ห้องเรียน และสิ่งอ�ำนวยความสะดวก

ด้านสุขาภิบาล อย่างน้อยวันละคร้ัง โดยเฉพาะบริเวณพ้ืนผิวท่ีมีผู้คนจ�ำนวนมากสัมผัส
(ราวบันได โต๊ะอาหาร อุปกรณ์กีฬา อุปกรณ์ดนตรี มือจับประตู-หน้าต่าง ของเล่น
สอ่ื การเรยี นการสอน ฯลฯ)
 ใชน้ ำ้� ยาฆา่ เชอื้ หรอื สารโซเดยี มไฮโปคลอไรต์ 0.5% (ผสมนำ�้ ยาโซเดยี มไฮโปคลอไรต์

20 มลิ ลิลติ ร ต่อน�้ำ 1 ลติ ร) เพอ่ื ฆ่าเชอื้ โรคบนพืน้ ผวิ วตั ถุ ควรผสมนำ้� ยาใหมท่ ุกวนั
ในการฆ่าเช้ือโรคบนพน้ื ผวิ และใชเ้ อธลิ แอลกอฮอล์ 70% ส�ำหรบั เชด็ บนสงิ่ ของ
ชิ้นเล็ก ๆ โดยบุคลากรผู้ท�ำความสะอาดจะต้องสวมใส่อุปกรณ์ท่ีเหมาะสม
ขณะปฏบิ ตั งิ าน

 3. เพมิ่ ชอ่ งทางระบายอากาศใหอ้ ากาศปลอดโปรง่ และไหลเวยี นไดด้ ี หากสภาพอากาศอำ� นวย

(เปดิ หน้าต่างหรือ เครอ่ื งปรับอากาศ เปน็ ตน้ )

 4. ติดปา้ ยรณรงคก์ ารปฏิบัตเิ พอ่ื สขุ อนามยั ทดี่ ี เช่น วธิ ลี า้ งมือทถี่ ูกตอ้ ง หากมีอาการไอ/จาม

ควรสวมหน้ากากอนามัย เป็นต้น

 5. กำ� จดั ขยะอย่างถกู สขุ ลักษณะเป็นประจำ� ทุกวนั

15 แนวทางปฏิบตั ิสำ� หรับสถานศึกษา เพ่อื ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19)

4 ส่ิงท่ผี ูป้ กครอง/ผูด้ แู ลเดก็
และสมาชิกในชุมชนควรรู้

สถานศึกษามีบทบาทหน้าที่ส�ำคัญในการให้ความรู้และ สาระสำ� คัญและข้อควรปฏบิ ตั ิ
ข่าวสารกับผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก และสมาชิกในชุมชน
เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ข้อมูลด้านล่างน้ีคือเน้ือหาที่สถาน โควิด-19 เป็นไวรัสชนิดใหม่ซึ่งเรายังคงศึกษาเก่ียวกับ
ศกึ ษาสามารถสอื่ สารได้ ผา่ นการประชมุ ผปู้ กครอง เอกสาร ผลกระทบทมี่ ตี อ่ เดก็ อยใู่ นขณะนี้ แมเ้ ราจะทราบวา่ บคุ คล
ที่ให้นักเรียนน�ำกลับบ้าน หรอื โปสเตอรป์ ระชาสัมพนั ธ์ ทกุ วัยมโี อกาสติดเช้ือ แตก่ ม็ ีรายงานการติดเชื้อโควิด-19
ในหมเู่ ดก็ เพยี งไมก่ ร่ี าย ผตู้ ดิ เชอ้ื ไวรสั ชนดิ นอ้ี าจถงึ แกช่ วี ติ ได้
โดยสว่ นใหญ่เป็นผู้สงู อายุท่ีมีโรคประจ�ำตวั อยกู่ อ่ นแลว้

แนวทางปฏบิ ัตสิ �ำหรบั สถานศึกษา เพ่ือป้องกนั และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 16

ตดิ ตามข้อมูลข่าวสารลา่ สุด ถา้ ลกู หลานยงั สุขภาพแขง็ แรง
จากแหลง่ ท่ีเช่ือถือได้ ยังควรให้ไปเรียนตามปกติ

ท�ำความเข้าใจเกี่ยวกับข้อมูลพ้ืนฐานของโรคโควิด-19 หากบุตรหลานไม่ได้แสดงอาการเจ็บป่วยใด ๆ เช่น
รวมถึงอาการ โรคแทรกซ้อน การติดต่อและวิธีป้องกัน ไอ หรือมีไข้ ควรให้เด็กไปเรียนตามปกติ และแนะน�ำ
ติดตามข่าวสารเก่ียวกับโรคโควิด-19 ผ่านแหล่งข้อมูลที่ ให้เด็กสวมหน้ากากอนามัย เว้นเสียแต่จะมีประกาศ
นา่ เชอ่ื ถอื เชน่ องคก์ ารยนู เิ ซฟ องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ดา้ นสาธารณสขุ คำ� แนะนำ� อยา่ งเปน็ ทางการ หรอื คำ� เตอื น
และคำ� แนะนำ� จากกระทรวงสาธารณสขุ พงึ ระวงั ขา่ วปลอม/ อืน่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกับการดำ� เนินการของสถานศึกษา
เรอื่ งทแ่ี ตง่ ขนึ้ แลว้ สง่ ตอ่ แบบปากตอ่ ปากหรอื ทางออนไลน์ ส่ิงท่ีผู้ปกครองสามารถท�ำได้เพ่ือป้องกันลูกหลานจาก
โรคโควิด-19 ไม่ใช่ห้ามเด็กไปสถานศึกษา แต่เราควร
รูอ้ าการของโรคโควดิ -19 สอนใหเ้ ดก็ รจู้ กั วธิ ปี ฏบิ ตั เิ พอ่ื สขุ ลกั ษณะทดี่ ี และดแู ลตวั เอง
(ไอ มไี ข้ หายใจลำ� บาก) ในทุกขณะ วิธีปฏิบัติเหล่าน้ี ได้แก่ การล้างมือบ่อย ๆ
เพ่ือสังเกตอาการของลูกหลาน (ดูด้านล่าง) ใช้หน้ากากอนามัย การไอหรือจามลงบน
ข้อพับแขนหรือกระดาษทิชชู่ แล้วทิ้งกระดาษทิชชู่
หากลูกหลานมีอาการเจ็บป่วย เช่น ไอ มีไข้ สามารถ ที่ใช้แลว้ ลงในถังขยะทม่ี ีฝาปิด และไม่สมั ผสั ตา ปาก หรอื
ขอค�ำปรึกษาจากบุคลากรทางสาธารณสุข โดยโทรศัพท์ จมูกหากยงั ไมล่ ้างมือให้สะอาด เป็นต้น
สอบถามทส่ี ถานพยาบาลกอ่ นแลว้ จงึ พาเดก็ เขา้ ไปรบั บรกิ าร
อย่างไรกด็ ี อาการของโรคโควดิ -19 เช่น มอี าการไอหรือ วธิ ลี ้างมือท่ถี ูกตอ้ ง
มีไข้คล้ายกับอาการของไข้หวัดใหญ่หรือโรคหวัดท่ัวไป
ซง่ึ พบไดบ้ ่อยกว่า ข้นั ตอนที่ 1: ลา้ งมอื ใหเ้ ปยี กดว้ ยนำ้� สะอาดทไ่ี หลจากกอ๊ ก
หากเด็กมอี าการปว่ ย ควรใหเ้ ดก็ ข้นั ตอนที่ 2: ถสู บใู่ หท้ ว่ั มอื ท่ีเปยี ก
หยดุ เรยี นและพกั ผอ่ นอยทู่ บี่ า้ น ข้ันตอนท่ี 3: ถมู ือใหท้ ่วั รวมทง้ั หลังมือ ระหวา่ งนวิ้ มอื
และใหเ้ ดก็ สวมหนา้ กากอนามยั
พรอ้ มทง้ั แจง้ ใหส้ ถานศกึ ษาทราบ และใต้เล็บ เปน็ เวลาอยา่ งนอ้ ย 20 วนิ าที
ถงึ อาการปว่ ย ผปู้ กครองอาจจะ ขั้นตอนที่ 4: ลา้ งสบอู่ อกใหท้ วั่ มอื ดว้ ยนำ้� ทไ่ี หลจากกอ๊ ก
ขอแบบฝึกหัดเน้ือหาท่ีเด็ก ขั้นตอนท่ี 5: เชด็ มอื ใหแ้ หง้ ดว้ ยผา้ สะอาด หรอื ผา้ ขนหนู
จะต้องอ่านจากครูเพ่ือให้
เดก็ ไดศ้ กึ ษาตอ่ ทบี่ า้ น และ แบบใชแ้ ลว้ ท้ิง หรอื เคร่ืองเป่ามือ
อธิบายให้เด็กฟังถึงส่ิงที่ ลา้ งมอื บอ่ ย ๆ โดยเฉพาะกอ่ นและหลงั รบั ประทานอาหาร
เกดิ ขน้ึ โดยใชภ้ าษาทเ่ี ขา้ ใจ หลงั สงั่ นำ้� มกู ไอ หรอื จาม เมือ่ ใชห้ อ้ งน�ำ้ / หอ้ งส้วม และ
ง่าย และสร้างความเช่ือ ทุกครั้งท่ีเห็นว่ามือสกปรก หากไม่มีน้�ำและสบู่ ให้ใช้
มั่นให้เด็กว่าพวกเขาจะ เจลล้างมือที่ผสมแอลกอฮอล์อย่างน้อย 70% แต่หาก
ปลอดภัย มอื เป้อื นส่งิ สกปรกอย่างเหน็ ได้ชัด ใหล้ ้างมอื ด้วยน้�ำและ
สบเู่ สมอ

17 แนวทางปฏิบัติส�ำหรับสถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกนั และควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 (COVID-19)

ช่วยใหเ้ ด็กคลายความเครยี ด ช่วยป้องกันการตตี ราและเลือกปฏบิ ตั ิ

เด็กมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดแตกต่างกันไป เด็ก โดยเฉพาะเด็กเล็ก อาจจะยังไม่มีวิจารณญาณ
อาการท่ัว ๆ ไปประกอบด้วย นอนหลับยาก ปัสสาวะ เพียงพอในการคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลที่ไม่เป็นความ
รดทนี่ อน ปวดทอ้ งหรอื ปวดหวั วติ กกงั วล เกบ็ ตวั ฉนุ เฉยี ว จริง มีเนื้อหารุนแรง มีเจตนาด้านลบ หรือแฝงด้วยอคติ
ติดพ่อแม่แจหรือไม่กล้าอยู่คนเดียว ท้ังนี้ เราจะต้อง ดังนั้น ผู้ปกครองควรระมัดระวังเม่ือพูดคุยกับเด็กไม่ให้
ตอบสนองตอ่ อาการของเดก็ ดว้ ยความเหน็ อกเหน็ ใจพรอ้ ม เกิดความเข้าใจผิด และน�ำไปสู่การเกิดอคติ และเลือก
ทั้งอธิบายว่า อาการเหล่าน้ีเป็นส่ิงปกติที่เกิดขึ้นได้ใน ปฏบิ ัตติ อ่ เพื่อนได้
สถานการณ์ท่ีไม่ปกติเช่นน้ี ตั้งใจรับฟังความวิตกกังวล
ของเดก็ ใชเ้ วลาปลอบโยน พรอ้ มทงั้ รบั รองความปลอดภยั คุณพ่อคุณแม่ควรหม่ันสอบถามความเข้าใจของลูก
และกล่าวชมพวกเขาบ่อย ๆ เกี่ยวกับโรคโควิด-19 และสังเกตอารมณ์ความรู้สึกและ
หาโอกาสให้เด็กได้เล่นและผ่อนคลายและท�ำกิจวัตร ทัศนคติของลูกเก่ียวกับเร่ืองนี้ หากรู้สึกว่าลูกอาจจะ
ประจำ� วนั ตามเดมิ ใหไ้ ดม้ ากทสี่ ดุ โดยเฉพาะชว่ งเวลากอ่ น มีทัศนคตทิ ไี่ มถ่ กู ต้อง ควรพดู คยุ กับลูกอยา่ งอ่อนโยนและ
เขา้ นอน หรอื อาจคดิ ทำ� กจิ กรรมใหม่ ๆ ในสง่ิ แวดลอ้ มใหม่ ตรงไปตรงมา เพื่อแก้ไขความเข้าใจผิดหรือทัศนคตินั้น
นอกจากน้ียังควรช้ีแจงข้อเท็จจริงให้เด็กทราบตาม หากสงสัยว่าลูกอาจตกเป็นเหย่ือของการรังแกที่มีเหตุผล
ความเหมาะสม โดยอธบิ ายสถานการณพ์ ร้อมยกตัวอย่าง สืบเนือ่ งมาจากโควิด ควรสอบถามและปรึกษานักวชิ าชีพ
ที่ชดั เจนเกย่ี วกับส่งิ ที่เดก็ สามารถทำ� ไดเ้ พ่ือปกป้องตัวเอง
และผู้อ่ืนจากการติดเช้ือ รวมทั้งบอกเล่าส่ิงท่ีอาจเกิดข้ึน
ต่อไปให้เดก็ ร้สู ึกอ่นุ ใจ
ตัวอย่างเช่น หากลูกรู้สึกไม่สบายและต้องอยู่ที่บ้านหรือ
โรงพยาบาล คณุ อาจบอกวา่ “ลกู ตอ้ งอยทู่ บ่ี า้ น/โรงพยาบาล
นะเพราะจะเป็นการปลอดภัยต่อตัวลูกและเพ่ือน ๆ
แม/่ พอ่ รวู้ า่ มนั ไมใ่ ชเ่ รอื่ งงา่ ย (อาจฟงั ดนู า่ กลวั หรอื นา่ เบอื่ ดว้ ย)
แต่เราต้องท�ำตามกฎเพ่ือที่เราและคนอ่ืนจะได้ปลอดภัย
อีกไม่นาน ทกุ ส่งิ ก็จะกลับสสู่ ภาวะปกตนิ ะ”

แนวทางปฏบิ ัติสำ� หรับสถานศึกษา เพ่ือป้องกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 18

รายการตรวจสอบ ส�ำหรับผู ้ปกครอง
ผู ด้ แู ลเดก็ และสมาชิกในชุมชน

 1. ตรวจดสู ุขภาพของลกู ให้ลกู หยุดเรยี นและพักผอ่ นอยู่บ้านหากลูกมีอาการปว่ ย
 2. สอนวธิ ีปฏิบตั ิเพื่อสุขอนามัยท่ีดีให้กบั ลกู พรอ้ มแสดงให้ดูเป็นตัวอย่าง

 ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยน้�ำสะอาดและสบู่ หากไม่มีน้�ำและสบู่ให้ใช้เจลหรือน้�ำยา
ล้างมือท่ีผสมแอลกอฮอล์อย่างน้อย 70% และหากมือเปื้อนสิ่งสกปรกอย่าง
เหน็ ไดช้ ดั ให้ลา้ งมอื ด้วยน้ำ� และสบ่ทู ุกครัง้

 ใหส้ วมหนา้ กากอนามัยอย่างถกู ต้อง
 จัดเตรยี มน้�ำดมื่ สะอาดใหพ้ รอ้ ม และดแู ลรกั ษาความสะอาดของหอ้ งน�้ำ/หอ้ งส้วม

ทบ่ี ้านอยู่เสมอ
 รับประทานอาหารท่ีปรงุ สุก และร้อน
 เวน้ ระยะหา่ งจากผอู้ ่นื อย่างนอ้ ย 1 เมตร
 จัดเก็บและทงิ้ ขยะอยา่ งถูกสุขลกั ษณะ
 ไอและจามลงบนกระดาษทชิ ชหู่ รอื ขอ้ พบั แขน หลกี เลย่ี งการสมั ผสั ใบหนา้ ตา ปาก

และจมกู ของตน

 3. กระต้นุ ใหล้ กู ซักถามข้อสงสยั และแสดงความร้สู กึ ออกมาใหค้ ุณและครทู ราบ พึงจ�ำไวว้ า่

เด็กอาจมีปฏิกิริยาต่อความเครียดแตกต่างกันไป คุณจึงต้องอดทนและปฏิบัติต่อลูก
ด้วยความเข้าใจ

 4. คอยสังเกตอารมณค์ วามรูส้ ึกและทัศนคติของลกู เกย่ี วกับโควดิ -19 เพอื่ ปอ้ งกันการตีตรา

และเลือกปฏิบตั ิ

 5. หม่นั ตดิ ตามรบั ฟังข้อมลู ข่าวสารจากสถานศึกษา และสอบถามถึงวิธที ี่ผปู้ กครองสามารถ

ปฏบิ ตั เิ พอื่ สง่ เสรมิ ความปลอดภยั ในโรงเรยี น (เชน่ ผา่ นการประชมุ ผปู้ กครอง หรอื กลมุ่ LINE)

19 แนวทางปฏิบตั สิ �ำหรบั สถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 (COVID-19)

5 ส่งิ ท่ีนักเรียน
นักศกึ ษาควรรู้

สถานศกึ ษาควรสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี น นกั ศกึ ษามคี วามเขา้ ใจ ระดบั ประถมศึกษา
ข้อมลู เบอ้ื งต้นของโรคไวรัสโควดิ -19 ตามความเหมาะสม
กับวัย รวมถึงอาการ โรคแทรกซ้อน การติดต่อและ • รับฟังความกังวลและตอบค�ำถามของเด็กด้วยเน้ือหา
วิธีป้องกัน ติดตามข่าวสารเก่ียวกับโรคโควิด-19 ผ่าน ทเี่ หมาะสมกบั วยั โดยไมป่ อ้ นขอ้ มลู ใหเ้ ดก็ มากจนเกนิ ไป
แหล่งข้อมูลที่น่าเช่ือถือ เช่น องค์การยูนิเซฟ องค์การ นอกจากนยี้ งั ควรกระตนุ้ ใหเ้ ดก็ แสดงความรสู้ กึ ออกมา
อนามยั โลก (WHO) และคำ� แนะนำ� จากกระทรวงสาธารณสขุ พรอ้ มทงั้ พดู คยุ เกยี่ วกบั ปฏกิ ริ ยิ าทพ่ี วกเขามี และอธบิ าย
พงึ ระวงั ขา่ วปลอม/เรอ่ื งทแ่ี ตง่ ขน้ึ แลว้ สง่ ตอ่ แบบปากตอ่ ปาก ว่าเป็นเร่ืองปกติที่พวกเขาจะมีปฏิกิริยาดังกล่าวใน
หรือทางออนไลน์ สถานการณ์ไม่ปกตเิ ชน่ นี้

สขุ ศึกษาท่ีเหมาะสมส�ำหรบั เด็ก ๆ • เนน้ ยำ้� วา่ มหี ลายสง่ิ ทเี่ ดก็ สามารถปฏบิ ตั เิ พอ่ื ดแู ลตนเอง
ในแต่ละช่ วงวยั และผู้อ่ืนให้ปลอดภัย
• แนะน�ำแนวคิดเรื่องการรักษาระยะห่างทางสังคม
ค�ำแนะน�ำดา้ นล่างน้ี เปน็ หวั ข้อที่แนะน�ำสำ� หรบั นักเรียน (ยืนหา่ งจากเพ่อื น หลีกเลย่ี งฝงู ชน)
ในช่วงวัยต่าง ๆ เพื่อช่วยป้องกันและควบคุมการแพร่ • ไม่สมั ผัสตัวผู้อน่ื ถา้ ไม่จ�ำเป็น
ระบาดของโรคโควิด-19 รวมทงั้ เชอ้ื ไวรสั ชนิดอน่ื ๆ ทง้ั นี้ • เน้นย้�ำเรื่องพฤติกรรมเพ่ือสุขอนามัยที่ดี เช่น
ควรปรบั กจิ กรรมใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทและความตอ้ งการ การไอหรอื จามลงบนข้อพับแขน และการล้างมือ
เฉพาะของเด็ก (ภาษา ความสามารถ เพศสภาพ เป็นต้น)
• เสริมความเข้าใจของเด็กเก่ียวกับแนวคิดพ้ืนฐานของ
ระดับปฐมวยั การป้องกันและการควบคุมโรค โดยอาจใช้อุปกรณ์
• เน้นเร่ืองพฤตกิ รรมเพ่อื สุขอนามัยทด่ี ี เช่น การไอหรือ แสดงให้เห็นการแพร่กระจายของเช้ือโรค เช่น ใส่น�้ำ
ผสมสีลงในขวดสเปรย์แล้วฉีดพ่นลงบนกระดาษสีขาว
จามลงบนขอ้ พับแขน และการลา้ งมือบอ่ ย ๆ จากนั้นให้เด็กสังเกตดูการกระจายตัวของละอองน�้ำ
• รอ้ งเพลงประกอบการลา้ งมอื เชน่ เพลงแฮปปเ้ี บริ ธ์ เดย์ บนกระดาษ

2 รอบ หรือเพลงชา้ ง 2 รอบ เพอื่ เปน็ การฝกึ ล้างมอื • สาธติ ใหเ้ ดก็ ดวู า่ เหตใุ ดจงึ จำ� เปน็ ตอ้ งลา้ งมอื ดว้ ยนำ้� และ
ตามระยะเวลาทแ่ี นะน�ำคอื 20 วนิ าที เดก็ อาจ “ฝึก” สบูเ่ ปน็ เวลา 20 วนิ าที
ล้างมือโดยใช้ นำ�้ สบู่ หรือ เจลล้างมอื ในหอ้ งเรียนได้ • ใส่กากเพชรจ�ำนวนเล็กน้อยลงในมือเด็ก ให้เด็ก
• ตดิ ตามและตรวจสอบการลา้ งมอื ของเดก็ และใหร้ างวลั ล้างมือด้วยน�้ำเปล่าแล้วสังเกตดูว่ามีกากเพชร
ส�ำหรับการลา้ งมือบ่อย ๆ ตามระยะเวลาที่แนะน�ำ ตกค้างอยู่ในมือมากน้อยเพียงใด จากนั้นให้เด็ก
• น�ำหุ่นมือหรือตุ๊กตามาสาธิตให้เห็นอาการของโรค ล้างมอื ดว้ ยน้ำ� และสบู่เปน็ เวลา 20 วนิ าที
(จาม ไอ มีไข้) และการปฏิบัติตัวเมื่อรู้สึกป่วย (เช่น
ปวดหัว ปวดท้อง ตัวร้อน หรือรู้สึกเหน่ือยผิดปกติ)
รวมทง้ั วธิ ปี ลอบโยนผทู้ เ่ี จบ็ ปว่ ย (ฝกึ ใหเ้ ดก็ มคี วามเหน็ อก
เห็นใจ และความใส่ใจดแู ลผู้อนื่ อยา่ งปลอดภัย)
• จัดให้เด็กนั่งห่างกันโดยให้เด็กกางแขนออกหรือท�ำท่า
‘กระพอื ปกี ’ ซง่ึ จะตอ้ งมรี ะยะหา่ งพอทจ่ี ะไมส่ มั ผสั ตวั เพอื่ น

แนวทางปฏบิ ตั ิสำ� หรบั สถานศึกษา เพ่ือป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 20

• ให้นักเรียนวิเคราะห์ข้อความท่ีบ่งบอกพฤติกรรมท่ีมี • บทเรยี นเกย่ี วกบั การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื (Media Literacy)
ความเสยี่ งสงู พรอ้ มทงั้ เสนอแนะพฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม ช่วยส่งเสริมให้นักเรียนเป็นนักคิดและนักปฏิบัติ
• ตวั อย่างเช่น เด็กคนหนึง่ เปน็ หวดั และไปโรงเรียน ที่มีวิจารณญาณ มีทักษะในการสื่อสาร และ
แลว้ จามโดยใชม้ อื ปดิ ปากและจมกู จากนน้ั กจ็ บั มอื เป็นพลเมอื งทีม่ ีคุณค่าตอ่ สงั คม
ทักทายเพ่ือน แล้วเช็ดมือด้วยผ้าเช็ดหน้าก่อนจะ
เขา้ หอ้ งเรยี น เดก็ คนนท้ี ำ� สง่ิ ใดบา้ งทม่ี คี วามเสยี่ ง? ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย / อาชีวศึกษา
และเด็กควรปฏิบตั ติ นเช่นไรจึงจะเหมาะสม?
• รบั ฟงั ข้อวิตกกังวลและตอบคำ� ถามของนักเรยี น
ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น • เน้นย้�ำว่ามีหลายส่ิงทีนักเรียนสามารถปฏิบัติเพื่อดูแล

• รับฟังความคิดเห็น ข้อวิตกกังวล และตอบค�ำถาม ใหต้ นเองและผูอ้ ื่นปลอดภัย
ของนักเรียน • แนะนำ� แนวคิดเร่อื งการรักษาระยะห่างทางสงั คม
• เนน้ เร่อื งพฤตกิ รรมเพอื่ สขุ อนามัยที่ดี เช่น การไอ
• เน้นย�้ำว่ามีหลายสิ่งที่นักเรียนสามารถปฏิบัติเพื่อดูแล
ให้ตนเองและผู้อน่ื ปลอดภยั หรือจามลงบนข้อพับแขน และการลา้ งมือ
• แนะน�ำแนวคิดเรือ่ งการรกั ษาระยะห่างทางสังคม • สนับสนุนให้นักเรียนป้องกันและจัดการกับปัญหา
• เน้นเรอ่ื งพฤติกรรมเพือ่ สุขอนามัยทด่ี ี เชน่ การไอ
หรือจามลงบนขอ้ พับแขน และการล้างมอื เรือ่ งการตตี รา
• ยำ้� เตอื นนกั เรยี นวา่ พวกเขาสามารถสรา้ งพฤตกิ รรม • พูดคุยเกี่ยวกับปฏิกิริยาต่าง ๆ ที่นักเรียนพบเจอ
เพือ่ สขุ ภาพท่ีดีเปน็ ตัวอยา่ งให้แก่ครอบครวั ได้
และอธิบายว่าปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นส่ิงปกติ
• สนับสนุนให้นักเรียนป้องกันและจัดการกับปัญหา ในสถานการณ์ท่ีผิดปกติเช่นน้ี พร้อมท้ังกระตุ้น
เรื่องการตีตรา ให้พวกเขาพดู คุยและแสดงความรู้สกึ ออกมา
• พูดคุยเกี่ยวกับปฏิกิริยาต่าง ๆ ท่ีนักเรียนพบเจอ • บรู ณาการเนอ้ื หาของวชิ าสขุ ศึกษาไวใ้ นวชิ าอ่ืน
และอธิบายว่าปฏิกิริยาดังกล่าวเป็นสิ่งปกติ • วชิ าวทิ ยาศาสตร์ อาจบรรจเุ นอื้ หาเกยี่ วกบั เชอื้ ไวรสั
ในสถานการณ์ที่ไม่ปกติเช่นนี้ พร้อมทั้งกระตุ้น ต่าง ๆ การติดต่อของโรค และความส�ำคัญของ
ใหน้ ักเรยี นพดู คุยและแสดงความรู้สึกออกมา การฉดี วคั ซนี
• วิชาสังคมศึกษา อาจเน้นเร่ืองราวของโรคระบาด
• จัดต้ังชมรมหรือจัดกิจกรรมของนักเรียนเพ่ือเผยแพร่ ใหญ่ทั่วโลกในประวัติศาสตร์และผลกระทบ
ขอ้ มลู ด้านสาธารณสุข ตลอดจนศึกษาว่า นโยบายสาธารณะชว่ ยสง่ เสรมิ
• ส่งเสรมิ ให้นักเรียนจัดทำ� ประกาศ โปสเตอร์ หรอื เร่ืองความอดกล้ันและความสมานฉันท์ของผู้คน
คลปิ วดิ ที ศั น์ เพอ่ื เปน็ บรกิ ารสาธารณะและรณรงค์ ในสังคมอย่างไร
ทางสงั คม โดยสามารถแปะไวท้ บี่ อรด์ ของโรงเรยี น • ส่งเสริมให้นักเรียนจัดกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสังคม
หรอื ชมุ ชน ผา่ นสอื่ สงั คมออนไลน์ และการเผยแพรท่ างสอื่ วทิ ยหุ รอื
โทรทศั น์ทอ้ งถิ่น
• บรู ณาการเน้อื หาของวชิ าสุขศกึ ษาไว้ในวชิ าอื่น • บทเรยี นเกย่ี วกบั การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื (Media Literacy)
• วชิ าวทิ ยาศาสตร์ อาจบรรจเุ นอ้ื หาเกย่ี วกบั เชอ้ื ไวรสั ส่งเสริมให้นักเรียนเป็นนักคิดและนักปฏิบัติที่มี
ต่าง ๆ การติดต่อของโรค และความส�ำคัญของ วจิ ารณญาณ มที กั ษะในการสอ่ื สาร และเปน็ พลเมอื ง
การฉีดวคั ซนี ท่มี ีคณุ คา่ ตอ่ สงั คม
• วิชาสังคมศึกษา อาจเน้นเร่ืองราวของโรคระบาด
ใหญท่ เ่ี กดิ ขนึ้ ทวั่ โลกในประวตั ศิ าสตร์ และววิ ฒั นาการ
ของนโยบายดา้ นสาธารณสุขและความปลอดภยั

21 แนวทางปฏบิ ตั ิสำ� หรบั สถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19)

รายการตรวจสอบ
ส�ำหรบั นกั เรยี น และเดก็

 1. การทเี่ รารู้สึกเศรา้ ใจ กังวล สบั สน หวาดกลัว หรอื โกรธ เป็นเรอื่ งปกตใิ นสถานการณ์เชน่

น้ี อยา่ ลมื ว่าเราไมไ่ ดอ้ ยูเ่ พยี งล�ำพัง และควรพดู คยุ กับผู้ที่เราไวใ้ จ เชน่ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง
หรือครผู ู้สอน เพ่ือดูแลตวั เองและโรงเรียนของเราใหป้ ลอดภยั
 ไต่ถามขอ้ สงสัย เรียนรู้ และหาข้อมูลข่าวสารจากแหล่งความร้ทู ่นี ่าเชือ่ ถอื

 2. ปกป้องตัวเองและผอู้ ื่น

 ล้างมอื บอ่ ย ๆ ด้วยน้ำ� และสบเู่ สมอเปน็ เวลาอยา่ งน้อย 20 วนิ าที
 ไม่สมั ผสั ใบหน้าของตน
 ไมใ่ ชแ้ ก้วนำ้� หรอื ชอ้ นสอ้ มร่วมกับผู้อืน่ รวมท้ังไมร่ ับประทานอาหารหรอื เครอื่ งดื่ม

รว่ มกนั

 3. เป็นผู้นำ� ในการดแู ลตวั เอง โรงเรยี น ครอบครวั และชุมชนใหแ้ ขง็ แรง

 แบง่ ปนั ความรเู้ กยี่ วกบั การปอ้ งกนั โรคใหส้ มาชกิ ในครอบครวั และเพอื่ น โดยเฉพาะ
ผ้ทู ีอ่ ่อนวัยกว่าไดร้ บั รู้

 แสดงวิธีปฏิบัติท่ีถูกต้อง เช่น การไอหรือจามลงบนข้อพับแขนและการล้างมือ
ให้ผู้อืน่ ดูเปน็ ตวั อย่างโดยเฉพาะสมาชิกในครอบครวั ท่ีออ่ นวัยกว่า

 4. ไม่ตีตราหรือล้อเลียนเพ่ือนที่เจ็บป่วย เพ่ือนที่มีสมาชิกครอบครัวเจ็บป่วย หรือได้รับ

ผลกระทบจากโรคโควดิ -19

 5. บอกให้ผู้ปกครอง สมาชิกในครอบครัว หรือผู้ให้การดูแลทราบหากรู้สึกไม่สบาย และ

ขอพักผ่อนอย่บู า้ น

แนวทางปฏิบตั ิส�ำหรับสถานศึกษา เพ่ือป้องกนั และควบคมุ การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 (COVID-19) 22

ภาคผนวก

ช่องทางการจดั การศึกษาออนไลนส์ �ำหรับนักเรยี น นักศึกษา

• มูลนิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม https://www.dltv.ac.th/channels/schedules/days/1
• สำ� นกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศกึ ษาเอกชน รว่ มมือกบั หนว่ ยงาน สอน Online ฟรี ใหโ้ รงเรียนเอกชน

ทว่ั ประเทศ https://odlc.opec.go.th/online/
• คลิปส่ือการเรียนการสอนรายวชิ าตา่ ง ๆ http://203.147.24.83/clip/view1list.php
• คลังสื่อเน้ือหาอิเลก็ ทรอนิคส์ ของ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน OBEC Content Center

https://contentcenter.obec.go.th
• เทคโลยสี ารสนเทศเพ่อื การเรียนรู้ทางไกล DLIT ด�ำเนนิ การโดย สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

https://dlit.ac.th
• รูปแบบการศกึ ษาแบบโฮมสคูล ซง่ึ เปน็ หลักสตู รพัฒนาตามศักยภาพผูเ้ รยี นรายบคุ คล
• การจัดการเรยี นการสอนออนไลนโ์ ดยเพจ inskru.com http://inskru.com/tag/เทคโนโลยี

23 แนวทางปฏบิ ตั สิ ำ� หรบั สถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกันและควบคุมการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 (COVID-19)

อินโฟกราฟิกเก่ียวกับการป้องกนั การแพระ่ บาดของโรคโควิด-19
สามารถดาวนโ์ หลดอนิ โฟกราฟฟิกเหล่านีไ้ ดจ้ ากเวปไซต์กรมควบคุมโรค
https://ddc.moph.go.th/viralpneumonia/info.php
กรมสุขภาพจิต https://www.dmh.go.th/covid19/infographic/
องค์การยูนเิ ซฟ ประเทศไทย https://www.unicef.org/thailand/th/coronavirus/covid-19

แนวทางปฏบิ ัตสิ ำ� หรบั สถานศกึ ษา เพ่ือป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 24

25 แนวทางปฏิบตั สิ �ำหรบั สถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 (COVID-19)

แนวทางปฏบิ ัตสิ ำ� หรบั สถานศกึ ษา เพ่ือป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) 26

27 แนวทางปฏิบตั สิ �ำหรับสถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกนั และควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 (COVID-19)
ส่อื วดิ ิโอเก่ยี วกบั การป้องกันโควิด-19

วดิ ิโอ ตน่ื ตัวไมต่ ่ืนกลวั หนา้ กากอนามัย ร้ไู ว้ ใช้เป็น
(องคก์ ารยูนเิ ซฟ ประเทศไทย) 1 นาที (กรมอนามัย) 35 วินาที

วิดโิ อ อัศวินน้อยผูพ้ ชิ ิตเชื้อโรคตัวรา้ ย ดแู ลบ้านใหห้ า่ งโควดิ -19
(องคก์ ารยนู ิเซฟ ประเทศไทย) 5 นาที (กรมควบคมุ โรค) 30 วนิ าที



29 แนวทางปฏิบตั สิ �ำหรบั สถานศกึ ษา เพ่อื ป้องกันและควบคมุ การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 (COVID-19)


Click to View FlipBook Version