ใบงาน ให้นักศึกษาตอบคําถามต่อไปนี้ให้ครบถ้วน 1ให้นักศึกษาค้นคว้าติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการของเทคโนโลยีที่เล็งเห็นการ เปลี่ยนแปลงและสามารถเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีสมัยใหม่ รวมทั้งสามารถนําไปประยุกต์ได้ถูกต้อง โดย เขียนบรรยายมาครึ่งหน้ากระดาษ A4 ว่าสนใจเรื่องนี้เพราะเหตุใด มาอย่างครอบคลุมและนํามาเขียนเป็นผัง มโนทัศน์หรือ ไมด์แม็ป (Mind Map) วิวัฒนาการของเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Ai) ตั้งแต่ยุคอดีตจนถึงปัจจุบัน ปี 1943-1950 วอร์เรน แมคคัลลอช์ และวอลเธอร์ พิทซ์ ร่วมกันสร้างแบบจําลองหน่วยประสาทเดี่ยว(neurons) โดยใช้ความรู้เรื่องหน้าที่ของสมองในเชิงกายภาพ ตรรกศาสตร์ และทฤษฎีการคํานวณต่อมา โดนัลด์ เฮ็บบ์ ได้ ศึกษาโครงสร้างและพัฒนากฎเกณฑ์ ซึ่งมีส่วนสําคัญในการพัฒนา “โครงข่ายประสาทเทียม” มาร์วิน มินสกี และ ดีน เอ็ดมอนด์ นักศึกษามหาวิทยาลัย Princeton ได้ร่วมกันสร้างระบบโครงข่ายใยประสาทตัวแรกของโลก โดยใช้ชื่อว่า “SNARC” สร้างจากหลอดสูญญากาศ 3,000 หลอด และจําลองหน่วยประสาท 40 หน่วย ปี 1955 ปัญญาประดิษฐ์ได้กําเนิดขึ้นอย่างเต็มตัวที่มหาวิทยาลัย Princeton โดยจอห์น แมคคาร์ธี, มาร์วิน มินสกี คล็อด แชนนอน, นาธาเนียล โรเชสเตอร์ และนักวิจัยจากสถาบันอื่นรวม 10 คน ร่วมกันทําวิจัยเรื่อง ทฤษฎีอัตโนมัติ (Automata Theory) โครงข่ายใยประสาทและศึกษาเรื่อง "ความฉลาด" -ปัญญาประดิษฐ์และระบบอัตโนมัติ -ปัญญาประดิษฐ์และระบบอัตโนมัติ เทคโนโลยีแห่งอนาคตที่จะพัฒนา ทุกสิ่งให้ลํ้าสมัยมนุษย์เราอาจรู้จัก Artificial Intelligence (AI) หรือเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ และ เทคโนโลยี Automation หรือระบบอัตโนมัติกันมาเป็นเวลานาน แต่ในช่วงไม่กี่ปีมานี้เองที่เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มีการ พัฒนาไปอย่างรวดเร็วAI พัฒนาไวจนน่าจับตามองในช่วงปี 2021 เทคโนโลยี AI ได้ถูกนํามาใช้ใน ชีวิตประจําวันมากยิ่งขึ้น นอกจากด้านของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สื่อสังคมออนไลน์ และด้านการแพทย์แล้ว AI ยังได้เข้ามามีบทบาทในธุรกิจมากยิ่งขึ้น มีการใช้ระบบ AI ในธุรกิจเพิ่มขึ้นถึง 25% ต่อปี ไม่ว่าจะเป็นด้านการ บริการลูกค้า การขนส่ง การตลาดแบบ Personalized Marketing และการลงทุน เป็นต้นเดิมทีเรามักจะ คาดการณ์ว่ายังคงมีงานหลายส่วนที่ AI ไม่สามารถทําได้ดีเท่ากับคน เพราะเป็นงานที่ต้องใช้ความเป็นมนุษย์ สูง เช่น งานที่ต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์และงานที่ต้องใช้ความเข้าใจด้านอารมณ์ แต่ความเชื่อนี้จะค่อยๆ ถูก
เปลี่ยนเมื่อมี AI ที่สามารถทําสิ่งเหล่านี้ได้เทคโนโลยี AI ได้พัฒนาระบบ Multi Skill และ Deep Learning ซึ่งทํา ให้ปัญญาประดิษฐ์มีความสามารถที่จะเรียนรู้เชิงลึกและเรียนรู้หลายสิ่งจนเชี่ยวชาญได้พร้อมๆ กัน AI จึงมี ความรู้มากกว่าและยังมีความสามารถเทียบเคียงมนุษย์ ทําให้ AI คิดและทํางานสร้างสรรค์รวมถึงงานที่ใช้ ทักษะด้านอารมณ์เองได้ตัวอย่างที่น่าสนใจคือ เทคโนโลยี GPT-3 ปัญญาประดิษฐ์ที่สามารถเขียนหนังสือได้ไม่ แพ้มนุษย์ โดยที่ AI สามารถทํางานศิลปะ ด้านดนตรี และการวาดภาพก็สามารถทําได้เช่นกัน รวมทั้งใน ปัจจุบันคนเริ่มยอมรับให้ AI เป็นเพื่อนกับมนุษย์ได้อีกด้วยAutomation จะยกระดับและนํามาใช้อย่างจริงจัง มากยิ่งขึ้นเทคโนโลยี Automation หรือระบบอัตโนมัติได้ถูกนํามาใช้ในภาคอุตสาหกรรมมาเป็นเวลานานใน รูปแบบเครื่องจักรที่ช่วยลดงานให้มนุษย์และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนกลายเป็นหุ่นยนต์ ปัจจัยเร่งที่สําคัญ ในปี 2020 คือสถานการณ์โควิด-19 ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงขีดจํากัดของมนุษย์ที่ชัดเจนมากขึ้นเมื่อเกิดโรคระบาด ทําให้ภาคการผลิตที่ใช้แรงงานคนหยุดชะงัก วิกฤติครั้งนี้กระตุ้นให้การใช้ระบบ Automation เป็นที่ต้องการ มากขึ้น คนสามารถป่ วยได้ แต่จักรกลเองไม่มีวันป่ วยและยังทํางานได้มีประสิทธิภาพมากกว่าสิ่งที่น่าจับตา มองเป็นอย่างมากก็คือเทคโนโลยี AI ที่พัฒนาอย่างรวดเร็วนี้จะเข้ามาผสานรวมกับเทคโนโลยี Automation มากขึ้น ผลลัพธ์ที่ได้ก็คือระบบ Automation ที่ทํางานได้อย่างชาญฉลาดมากขึ้นกว่าเดิมและสามารถทํางาน แทนมนุษย์ได้เกือบทุกอย่าง แน่นอนว่าจะเป็น เทคโนโลยีในอนาคต 10 ปี ข้างหน้าที่เปลี่ยนชีวิตเราไปโดย สิ้นเชิง เหตุผลที่สนใจเรื่องนี้ เพราะ เป็นเทคโนโลยีที่สามารถพัฒนาต่อไปได้อีกเรื่อยๆสามารถแบ่งเบาช่วยเหลือมนุษย์ ในด้านต่างๆได้อย่างดี ซึ่งปฏิเสธไม่ได้เลยว่ามีประโยชน์ในการใช้ในชีวิตประจําวันของมนุษย์
2.ให้นักศึกษาศึกษาค้นคว้างานวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่นักศึกษาสนใจ โดยให้ศึกษาค้นคว้าจาก แหล่งข้อมูลงานวิจัย ไม่ว่าจะเป็นวิทยานิพนธ์ งานวิจัย วารสาร และหนังสือ ที่ดาวน์โหลดฟรี โดยไม่ต้องออก จากบ้าน ทํางานทางผ่าน Website ต่างๆ พร้อมทั้งผ่านระบบ online จาก Linkwebsite โดยเลือกเอามา 7 เรื่อง โดยแบ่งออกเป็น ภาษาไทย 5 เรื่อง ภาษาอังกฤษ 2 เรื่อง 1.เทคโนโลยีสมัยใหม่ทีสนใจ ่ #วิทยานิพนธ์ #งานวิจัย 1.การพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริง เรื่ องสร้างงานแอนิเมชั่ น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง https://opacimages.lib.kmitl.ac.th/medias/pdf/09022037.pdf ยุคที่มีความเจริญทางด้านเทคโนโลยีเป็นยุคแห่งข้อมูลข่าวสารที่สามารถแพร่หลาย กระจายไปทั่วโลกอย่าง รวดเร็ว ซึ่งมีผลต่อวิถีการดําเนินชีวิตของมนุษย์และการเปลี่ยนแปลงทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ดังนั้นระบบการศึกษาจึงต้องปรับเปลี่ยนให้ทันต่อเหตุการณ์การศึกษาจะต้องหาวิธีการที่จะพัฒนา เยาวชน ให้สามารถเรียนรู้และปรับตนเองให้เข้ากับสถานการณ์โลกยุคใหม่ในศตวรรษที่ 21 (สุคนธ์สินธพา นนท์. 2558 : 15) ในการพัฒนาการศึกษาไทยสะท้อน ความแตกต่างในแต่ละสมัยอย่างชัดเจน ซึ่งแบ่งยุคของ การศึกษาไทยเป็น 4 ยุคด้วยกัน ปัจจุบันเรากําลังอยู่ในยุคที่ 4 (ยุค 4.0) เป็นยุคที่สังคมไทยจะต้องส่งเสริมการ ผลิตการคิด ผลิตสินค้า และบริการต่างๆ มากขึ้น ไม่ได้เป็นเพียงผู้บริหารหรือผู้บริการอย่างเดียว ทักษะการ ผลิตและสร้างสรรค์สิ่งต่างๆจึงจําเป็นเพื่อก้าวสู่ศตวรรษที่ 21 อย่างที่มีการเปลี่ยนแปลงและแข่งขันสูง การศึกษาไทย 4.0 จึงเป็น แนวคิดของการศึกษาที่จะส่งเสริมให้เยาวชนรุ่นใหม่ ไม่ใช่เป็นเพียงแค่บริโภคนิยม แต่ต้องก้าวไปสู่ผลผลิตนิยมด้วย จึงจะเป็นทักษะศตวรรษที่ 21 ที่มีความหมายอย่างแท้จริง (ไพฑูรย์สินลารัตน์. 2557 : 155-157) การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 2 (พ.ศ.2552-2561) มีเป้าหมายสําคัญในการพัฒนา คุณภาพมาตรฐานการศึกษาและการเรียนรู้ของคนไทย เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่าง ทั่วถึง และมีคุณภาพ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการบริหารและการจัดการศึกษา ซึ่ง เป็นไปตาม บทบัญญัติของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 (สุคนธ์สินธพานนท์และคณะ. 2555 : 8) ได้กําหนดแนว ทางการจัดการศึกษาไว้ในหมวด 4 มาตรา 22 และมาตรา 24 ได้กล่าวถึงความสําคัญของแนวทางการจัดการศึกษาไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องยึด
หลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ซึ่งการจัด กระบวนการศึกษานั้นต้องจัดทําเนื้อหาสาระและ กิจกรรมให้สอดคล้องกับจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม มีการฝึก ทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ และ การประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อแก้ไขปัญหา และจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึก การปฏิบัติให้ทําได้คิดเป็น และเกิดการใฝ่ รู้ใฝ่ เรียนอย่างต่อเนื่อง จัดการเรียน การสอนโดยผสมผสาน สาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน โดยผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการสอน และจัดกิจกรรมเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ทุกที่ ทุกเวลา (ฝ่ ายวิชาการ สํานักพิมพ์เดอะบุคส์.2556 : 11-12) และในหมวด 9 ว่าด้วย เรื่องของการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา จาก มาตรา 64 กล่าวถึงความจําเป็นที่รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตและพัฒนาแบบเรียนตําราหนังสือ วิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และจากมาตรา 65 และ 66 สรุป ได้ว่า การ พัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ความสามารถและทักษะใน การผลิต รวมทั้งใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมนั้นมีความสําคัญต่อการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมที่มีคุณภาพ เพื่อใช้ใน การเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ สามารถสร้างขีดความสามารถของ 2 ผู้เรียน สําหรับแข่งขันในสังคมแห่ง ความรู้ ซึ่งการพัฒนาเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญอย่างมากในด้านต่างๆโดยเฉพาะการนําเทคโนโลยีไปใช้ใน ระบบการศึกษาทําให้การใช้วิธีการเรียนการสอนหรือ กระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบเดิม จึงถูก ปรับเปลี่ยนให้มีการนําเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเข้า มาเป็นส่วนหนึ่งในการจัดการเรียนการสอน ดังนั้น การ สร้างและการใช้เทคโนโลยีที่มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพจึงเป็นส่วนสําคัญที่ทําให้เกิดความสนใจและเป็น แรงจูงใจในการเรียนรู้ของผู้เรียน (วิวัฒน์ มีสุวรรณ์. 2558 : 1) การเรียนการสอนผ่านระบบเครือข่าย เป็นการ รวมคุณสมบัติของสื่อหลายมิติกับ คุณลักษณะของอินเทอร์เน็ตและเวิลด์ไวด์เว็บมาออกแบบเป็นเว็บเพื่อการ เรียนการสอน สนับสนุน และส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายที่สามารถเรียน ได้ทุกที่ทุกเวลา มีชื่อเรียกหลายลักษณะ เช่น เว็บช่วยสอน เว็บฝึกอบรม อินเทอร์เน็ตช่วยสอน เวิลด์ไวด์เว็บ ช่วยสอน เป็นต้น โดยที่ผู้เรียนและผู้สอนมีปฏิสัมพันธ์กันโดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงถึงกัน มีส่วนสําคัญในการสร้างความกระตือรือร้นกับการเรียนการสอน โดยผู้สอนสามารถให้ความช่วยเหลือ ผู้เรียน ได้ตลอดเวลาในขณะกําลังศึกษา ทั้งยังช่วยเสริมสร้างความคิดและความเข้าใจ ผู้เรียนที่เรียน ผ่านระบบ เครือข่ายสามารถสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมทั้งซักถามข้อข้องใจกับผู้สอนได้โดย ทันทีทันใด สนับสนุนให้มีการพัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้เรียน ความร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เรียน ช่วยพัฒนาความคิด ความเข้าใจได้ดีกว่ากาทํางานคนเดียว ทั้งยังสร้างความสัมพันธ์เป็นทีมโดยการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ระหว่างกัน เป็นการพัฒนาการแก้ไขปัญหาการเรียนรู้และการยอมรับความ คิดเห็นของคนอื่นมาประกอบเพื่อ หาแนวทางที่ดีที่สุด ช่วยให้ผู้เรียนสามารถหาข้อมูลได้ด้วยความ สะดวกและรวดเร็ว ทั้งยังหาข้อมูลได้จาก แหล่งข้อมูลทั่วโลกเป็นการสร้างความกระตือรือร้นในการ ใฝ่ หาความรู้ผู้เรียนสามารถได้รับผลย้อนกลับจากทั้ง ผู้สอนเองหรือแม้กระทั้งจากผู้เรียนคนอื่นๆได้ทันทีทันใด เป็นการขยายโอกาสให้กับทุกคนที่สนใจศึกษาโดยไม่ จําเป็นจะต้องเดินทางไปเรียนที่ใดที่ หนึ่ง ผู้ที่สนใจสามารถเรียนได้ด้วยตนเองในเวลาที่สะดวก เพื่อให้บรรลุ จุดมุ่งหมายของงานร่วมกัน (ปรัชญนันท์นิลสุข. 2555 : 152) การเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศใน ปัจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ เช่น สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer-Assisted Instruction : CAI) สื่อการ เรียนการสอนที่อยู่บน ฐานของเทคโนโลยีเว็บ (Web-Based Instruction : WBI) สื่อการเรียนการสอนในรูปแบบ (ELearning) การศึกษาทางไกล เทคโนโลยีความจริงเสมือน (Virtual Reality Technology) หรือ VR เทคโนโลยี เสมือนจริง (Augmented Reality) หรือ AR เป็นต้น ซึ่งการเรียนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศจะส่งผลให้มีการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับผู้สอน เนื่องจากสื่อเป็นตัวกลางในการ ถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจทักษะต่าง ๆ จากผู้สอนไปยังนักเรียนได้เป็นอย่างดีเปรียบเสมือนสะพาน เชื่อมความคิดระหว่างกันและกัน หากสื่อได้รับการ ออกแบบพัฒนาอย่างดีก็จะสามารถสร้างความ เข้าใจในประเด็นที่ต้องการนําเสนอได้อย่างถูกต้องด้วย การ เรียนการสอนที่อยู่บนฐานของเทคโนโลยีเว็บเป็นการผสมผสานกันผ่านเทคโนโลยีปัจจุบันกับกระบวนการ ออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพทางการเรียนรู้และแก้ปัญหาในเรื่องข้อจํากัดทางด้านสถานที่ และเวลา โดยการสอนบน อินเทอร์เน็ตจะประยุกต์ใช้คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลไวดเว็บในการจัด สภาพแวดล้อมที่ ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดขึ้นผ่านเว็บนี้อาจเป็น บางส่วนหรือ ทั้งหมดของกระบวนการเรียนการสอนก็ได้ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง. 2544 : 87-94) จะเห็นได้ว่า การ สอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นรูปแบบหนึ่งของการสอนแบบเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง เป็น 3 แนวคิดที่มุ่งเน้นให้นักเรียนได้มีบทบาท มีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากขึ้น นักเรียนจะเกิดการ เรียนรู้โดย การลงมือกระทําปฏิบัติแก้ปัญหาหรือศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและสามารถที่จะพัฒนา ศักยภาพของตนเอง ซึ่ง จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสําหรับการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน เทคโนโลยีเสมือนจริง (Augmented Reality) หรือ AR เป็นเทคโนโลยีที่ช่วยเพิ่มศักยภาพ การเรียนรู้การสื่อสารและช่วยลดรอยต่อของการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างโลกจริงกับโลกเสมือนสําหรับการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเสมือนจริงในปัจจุบันและจะ ต่อเนื่องไปในอนาคตก็คือ การประยุกต์ใช้กับ อุปกรณ์ในลักษณะที่เป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรือสมาร์ทโฟน (Smart Phone) มากขึ้น เนื่องจากการ เปลี่ยนแปลงการติดต่อสื่อสารครั้งใหญ่ ความสามารถในด้านการใช้งาน และการเคลื่อนที่เป็นปัจจัยสําคัญต่อการเปลี่ยนแปลงที่กําลังเกิดขึ้น การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของอุปกรณ์
เหล่านี้ทําให้เกิด ขอบเขตใหม่ของเทคโนโลยีเสมือนจริงที่ไม่ได้อยู่เฉพาะในเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น (วิวัฒน์มี สุวรรณ์. 2558 : 7)สําหรับเทคโนโลยีเสมือนจริงทางด้านการศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ทําให้ ผู้เรียนได้สัมผัสประสบการณ์ใหม่ในมิติที่เสมือนจริง ผู้เรียนเกิดกระบวนการร่วมกันเรียนรู้ครูผู้สอน เสริมสร้าง ความรู้ของผู้เรียนผ่านการสาธิต การสนทนา ส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าใจในสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ผู้เรียนได้รับ ประสบการณ์ที่มีความหมาย เชื่อมโยงเนื้อหาที่ได้เรียนรู้กับสถานที่หรือวัตถุด้วยภาพ 3 มิติเสมือนจริงทําให้การ เรียนรู้ไม่ได้จํากัดแต่ในห้องเรียนอีกต่อไป จะขยายสู่นอกห้องเรียนมากขึ้น (วิวัฒน์มีสุวรรณ์. 2558 : 5) จากการ ที่ผู้วิจัยเป็นผู้สอนในรายวิชาเทคโนโลยีสื่อประสม ของกลุ่มสาระการเรียนรู้การ งานอาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมวัดหนองจอก สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 2 โดยสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา ใน รายวิชาเทคโนโลยีสื่อประสมนั้น พบว่าผู้เรียน ต้องเรียนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติไปพร้อมกัน เวลา เรียนถูกจํากัดแค่ 1 ชั่วโมง 40 นาทีทําให้ทํากิจกรรมการ เรียนการสอนไม่ทัน อีกทั้งระหว่างการเรียน การสอนผู้เรียนปฏิบัติตามผู้สอนไม่ทัน หรือทําทันแต่จําวิธีการทํา ไม่ได้บางครั้งไม่ได้มาเรียนในชั่วโมง นั้น ก็จะทําให้ผู้เรียนไม่สามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งผู้เรียน ไม่มีสื่อการเรียนที่นําไป ทบทวน หรือเรียนรู้เพิ่มเติมในเรื่องที่ผู้เรียนไม่ทันหรือไม่มาเรียน ดังนั้น เพื่อขจัดปัญหา ข้อจํากัด ทางการเรียนของผู้เรียน ด้วยเหตุที่กล่าวมาแล้ว ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริง เรื่อง สร้างงานแอนิเมชั่นสําหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการ เรียนรู้ของ ผู้เรียนให้มากยิ่งขึ้นและพัฒนาผู้เรียนให้ได้เรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ 2.รูปแบบการพัฒนาศักยภาพด้านการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม http://research.rmu.ac.th/rdi-mis//upload/fullreport/1632634742.pdf แนวคิดการนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจใหม่ ๆ มาใช้ตังแต่เศรษฐกิจสร้างสรรค์้ (CreativeEconomy)จนถึงนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัล(DigitalEconomy)เริ่มมีจุดเปลี่ยนจากเหตุผลการ ปรับเปลี่ยนการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจของประเทศจากยุคที่ขับเคลื่อนด้วยปัจจัยการผลิตและทัพยากร ธรรมชาติไปสู่การขับเคลื่อนด้วยความรู้และความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่พุงปรารถนาหลายประการในด้าน รายได้ในด้านการกระจายรายได้ความมั่งคั่งจะเห็นโอกาสของธุรกิจเล็กๆในชุมชนหรือผู้ประกอบอาชีพอิสระที่ พัฒนาสินค้าและบริการของตนเองด้วยความคิดสร้างสรรค์และเชื่อมโยงกับตลาดโลกได้โดยตรงมีมากขึ้นการ
นําเอาเทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตจึงเป็นสิ่งที่จําเป็น เนื่องจากเป็นการลดต้นทุนสร้างข่าวสารใหม่ๆอํานวยให้เกิดการลงทุนธุรกิจข้ามพรมแดนมากยิ่งขึ้นเช่นการ จองโรงแรมหรือโปรแกรมการท่องเที่ยว เป็นต้น (สํานักวิชาการสํานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร, 2558 : 4)หลายประเทศกําหนดโมเดลเศรษฐกิจรูปแบบใหม่เพื่อสร้างความมั่งคั่งในศตวรรษที่21อาทิ สหรัฐอเมริกาพูด ถึง A nation of Makers อังกฤษกําลังผลักดันประเทศสู่ Design ofInnovation จีนประกาศโมเดล Made in China 2025 ส่วนอินเดียกําลังขับเคลื่อน Made in Indiaหรือเกาหลีใต้วางโมเดลเศรษฐกิจเป็น Creative Economy และประเทศลาวได้ประกาศโมเดลเศรษฐกิจเป็น Power of ASEAN ในส่วนของประเทศไทยได้ ประกาศนโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยหรือโมเดลพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาลที่เรียกว่าประเทศ ไทย 4.0 (สุดปฐพี เวียงสี,2559 :ออนไลน์)ประเทศไทย 4.0 จะปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจจากที่กล่าวมา ข้างต้นไปสู่ ยุคเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมหรือ Value–Based Economy โดยมีฐานคิดหลัก คือ 1) เปลี่ยนจากการผลิตสินค้าโภคภัณฑ์ไปสู่สินค้าเชิงนวัตกรรม2)เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วย ภาคอุตสาหกรรมไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม และ 3)เปลี่ยนจากการ เน้นภาคการผลิตสินค้าไปสู่การเน้นภาคบริการมากขึ้น ดังนั้น ประเทศไทย 4.0ประเทศไทยจะต้องเปลี่ยนผ่าน ทั้งระบบใน 4 องค์ประกอบสําคัญ คือ 1) เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิมในปัจจุบัน (Traditional Farming) ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรต้องรวยขึ้น และเป็นเกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ(Entrepreneur) 2) เปลี่ยนจาก Traditional SMEs หรือ SMEs ที่มีอยู่ และรัฐต้องให้ความช่วยเหลืออยู่ตลอดเวลาไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Start ups ที่มีศักยภาพสูง 3) เปลี่ยนจากTraditional Services ซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่างไปสู่ High Value Services และ 4) เปลี่ยน จากแรงงานทักษแต่ไปสู่แรงงานที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง ถือเป็นการพัฒนาเครื่องยนต์เพื่อ ขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจชุดใหม่ (New Engines of Growth) ด้วยการเปลี่ยนแปลง ความได้เปรียบเชิง เปรียบเทียบของประเทศที่มีอยู่ 2 ด้าน คือ ความหลากหลายเชิง2ชีวภาพ และ ความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม ให้เป็นความได้เปรียบในเชิงแข่งขัน โดยการเติมเต็มด้วยวิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา แล้วต่อยอดความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบเป็น 5 กลุ่มเทคโนโลยีและ อุตสาหกรรมเป้าหมาย ประกอบด้วย (สุดปฐพี เวียงสี, 2559 : ออนไลน์) 1) กลุ่มอาหารเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ(Food, Agriculture & Bio-Tech)อาทิ เทคโนโลยีการเกษตร (Agritech) เทคโนโลยีอาหาร (Foodtech) เป็นต้น
2) กลุ่มสาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Health, Wellness &Bio-Med) อาทิ เทคโนโลยี สุขภาพ (Healthtech) เทคโนโลยีการแพทย์ (Medtech) สปา (Spa) เป็นต้น 3) กลุ่มเครื่องมือ อุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบเครื่องกลที่ใช้ระบบอิเล็กทรอนิกส์ควบคุม (Smart Devices, Robotics & Mechatronics) อาทิ เทคโนโลยีหุ่นยนต์(Robotech) เป็นต้น 4) กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตที่เชื่อมต่อและบังคับอุปกรณ์ต่างๆปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมอง กลฝังตัว (Digital, IOT, Artificial intelligence & EmbeddedTechnology)อาทิเทคโนโลยีการเงิน (Fintech)อุปกรณ์เชื่อมต่อออนไลน์โดยไม่ต้องใช้คน (IoT)เทคโนโลยีการศึกษา (Edtech) อี-มาร์เก็ตเพลส (EMarket place) อี-คอมเมิร์ซ (E-Commerce)เป็นต้น 5) กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการที่มีมูลค่าสูง (Creative,Culture & High Value Services) อาทิ เทคโนโลยีการออกแบบ (Designtech) ธุรกิจไลฟ์ สไตล์(Lifestyle Business)เทคโนโลยีการท่องเที่ยว (Traveltech) การเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ(Service Enhancing) เป็นต้นจากรูปแบบประเทศไทย 4.0 ที่ กล่าวมาจะพบว่าคําหลักที่สําคัญคัญหนึ่งได้แก่ ค าว่า ธุรกิจสตาร์ทอัพ (Start up) ถือเป็นรากฐานเศรษฐกิจ ใหม่แห่งอนาคตของประเทศไทย ซึ่งเป็นที่จับตามองจากทุกภาคส่วนเนื่องจากเริ่มต้นได้ง่าย ต้นทุนเริ่มต้นไม่สูง มีการน าเทคโนโลยี และ /หรือ นวัตกรรมมาใช้เป็นหัวใจหลักในการสร้างธุรกิจ ตลอดจนยังถูกออกแบบมาให้ สามารถทําซํ้าและขยายตัวได้อย่างไม่มีขีดจํากัดจึงทําให้มีมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจสูงและเป็นธุรกิจที่สามารถ เติบโตได้อย่างรวดเร็วนอกจากนี้ธุรกิจสตาร์ทอัพยังมุ่งเน้นที่จะแก้ไขปัญหาต่างๆด้วยการสร้างผลิตภัณฑ์/ บริการที่สามารถตอบโจทย์ดังกล่าวและส่งผ่าน “คุณค่า” ที่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ประกอบกับการมี โมเดลทางธุรกิจและการดําเนินงานที่สามารถทําซํ้าด้วยต้นทุนที่ไม่สูงรวมถึงความสามารถในการขยายตลาด ได้รวดเร็วในวงกว้างจึงทําให้ธุรกิจสตาร์ทอัพสามารถแก้ไขปัญหาที่ระบบหรือรูปแบบของธุรกิจดั้งเดิมไม่ สามารถส่งผ่าน “คุณค่า” ที่แท้จริงให้กับผู้ใช้ได้โดยการท าให้คุณภาพชีวิตของผู้ใช้ดีขึ้น เช่น บริการที่รวดเร็วขึ้น และ/หรือมีราคาถูกลงปัจจุบันธุรกิจสตาร์ทอัพมีโอกาสที่จะปฏิวัติอุตสาหกรรมต่างๆและเจาะตลาดหรือ ครอบครองตลาดเดิมของธุรกิจรูปแบบเก่า ยกตัวอย่างเช่น ปัญหาแท็กซี่ไม่ยอมรับผู้โดยสารของคนไทยทั้งๆที่ ปัญหานี้เป็นปัญหาเรื้อรังมานานซึ่งถือเป็นโอกาสทางธุรกิจของคนไทย แต่กลับเป็นเทคสตาร์ทอัพ (Startup) ชื่อ GrabTaxiที่ก่อตั้งโดยชาวมาเลเซียเข้ามาทําตลาดสร้างธุรกิจจากแอบพลิเคชันการเรียกแท็กซี่และประสบ ความสําเร็จ โดยมีส่วนแบ่งการตลาด3เป็นอันดับ 1 ซึ่งทุกๆ 5 วินาทีจะมีการเรียกแท็กซี่ผ่าน Grab Taxi และใน ปัจจุบัน Grab Taxi มีมูลค่าประเมินแตะ 2 พันล้านเหรียญสหรัฐภายในระยะเวลาเพียง 14 เดือน (สมาคม
การค้าเพื่อส่งเสริผู้ประกอบการเทคโนโลยีรายใหม่, 2559 : ออนไลน์) เทคสตาร์ทอัพ (Startup) เป็นการสร้าง ธุรกิจเทคโนโลยีดิจิทัลโดยผู้ประกอบการรายใหม่หรือนักพัฒนาอิสระด้านดิจิทัลที่มุ่งเน้นการสร้างธุรกิจด้วย เทคโนโลยีดิจิทัลให้เกิดเป็นสินค้าและบริการใหม่บนพื้นฐานของการสร้างสรรค์นวัตกรรมและผสมผสานเข้ากับ การธุรกิจอันจะเป็นกลไกลสําคัญในการขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศ(สํานักงานส่งเสริมอุตสาหกรรม ซอฟต์แวร์แห่งชาติ, 2559 : ออนไลน์)สถาบันอุดมศึกษา เป็นหน่วยงานที่ผลิตกําลังคนให้กับสังคมประเทศชาติ จะต้องมีการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้มีศักยภาพยิ่งขึ้นสามารถนําความรู้ไปใช้ใน การทํางานได้อย่างเหมาะกับคุณลักษณะของผู้เรียนยุคดิจิทัลซึ่งบัณฑิตต้องมีศักยภาพที่จะเรียนรู้อย่าง ต่อเนื่องรับข้อมูลความรู้และเทคโนโลยีที่ทันสมัยไปตลอดชีวิตการทํางานความสามารถในการใช้ ภาษาต่างประเทศและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกลายเป็นคุณสมบัติที่ต้องมีและต้องใช้สําหรับบัณฑิต ศตวรรษที่21และเพื่อตอบสนองการเป็นมหาวิทยาลัยอิเล็กทรอนิกส์ (e-University)เนื่องจากการทํางานเป็น สังคมของการแข่งขันจึงต้องอาศัยฐานความรู้และการเรียนรู้ตลอดชีวิตและให้สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 หรือ สังคมยุคสารสนเทศ (จารุมน หนูคง และณมน จีรังสุวรรณ, 2558: 107-109) นอกจากนี้ในการผลิตกํา ลังคน จําเป็นต้องสอดคล้องกับความต้องการของสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพเศรษฐกิจสังคมและเทคโนโลยีที่ เปลี่ยนไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทในปัจจุบันที่ประเทศไทยมีการประกาศนโยบายประเทศไทย4.0ยุค เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมหรือValue–BasedEconomyสถาบันอุดมศึกษาจะต้องผลิตกําลังคนให้มี ความรู้ยกระดับขีดความสามารถทางการแข่งขันเพื่อตอบโจทย์เชิงเศรษฐกิจซึ่งนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา ถือว่าเป็นก าลังคนจํานวนที่จะเป็นกําลังสําคัญในการช่วยพัฒนาประเทศให้ก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลในอนาคตได้ อีกทางหนึ่งตามแผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมได้กําหนดไว้ในยุทธศาสตร์ที่5พัฒนากําลังคนให้ พร้อมเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล จะให้ความสําคัญกับการพัฒนากําลังคนวัยทํางานทุกสาขาอาชีพทั้ง บุคลากรภาครัฐและภาคเอกชนให้มีความสามารถในการสร้างสรรค์และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างชาญฉลาดใน การประกอบอาชีพและการพัฒนาบุคลากรในสาขาเทคโนโลยีดิจิทัลโดยตรงให้มีความรู้ความสามารถดูแล ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในระดับมาตรฐานสากลเพื่อนําไปสู่การสร้างและจ้างงานที่มีคุณค่าสูงในยุค เศรษฐกิจและสังคมที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นปัจจัยหลักในการขับเคลื่อนโดยยุทธศาสตร์นี้ประกอบด้วย แผนงานเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ 3 ด้าน คือ 1)พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีดิจิทัลให้แก่บุคลากรใน ตลาดแรงงานที่รวมถึงบุคลากรภาครัฐภาคเอกชนบุคลากรทุกสาขาอาชีพและบุคลากรทุกช่วงวัย 2)ส่งเสริมการ พัฒนาทักษะความเชี่ยวชาญเทคโนโลยีเฉพาะด้านให้กับบุคลากรในสายวิชาชีพด้านเทคโนโลยีดิจิทัลที่ ปฏิบัติงานในภาครัฐและเอกชนเพื่อรองรับความต้องการในอนาคตและ3)พัฒนาผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ
ให้สามารถวางแผนการนําเทคโนโลยีดิจิทัลไปพัฒนาภารกิจตลอดจนสามารถสร้างคุณค่าจากข้อมูลของ องค์กร(กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, 2559 : 1-5)อย่างไรก็ตามเนื่องจากการประกาศ นโยบายประเทศไทย4.0หรือนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลถือเป็นนโยบายใหม่ที่รัฐบาลได้ประกาศออกมาดังนั้นโดย ส่วนใหญ่มหาวิทยาลัยต่างๆจึงยังไม่ได้มีการปรับหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป บางส่วนอาจจะมีการปรับเรียบร้อยแล้วบางส่วนอยู่ระหว่างการปรับปรุงหลักสูตรดังนั้นการพัฒนาศักยภาพ นักศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจทักษะในด้านสร้างธุรกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลจึงเป็นสิ่งที่จําเป็นเพื่อยกระดับ ขีดความสามารถทางการแข่งขันเพื่อตอบโจทย์เชิงเศรษฐกิจให้กับนักศึกษาโดยพัฒนาหลักสูตรการเสริมสร้าง สมรรถนะที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาวการณ์ในปัจจุบันจากสภาพที่กล่าวมาผู้วิจัยจึงสนใจพัฒนา รูปแบบการพัฒนาศักยภาพด้านการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีดิจิทัลสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขา เทคโนโลยีสารสนเทศสําหรับใช้ในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาในสาขาที่เกี่ยวข้อง หรือสัมพันธ์กับเทคโนโลยี สารสนเทศผู้วิจัยคาดหวังว่าผลจากการวิจัยดังกล่าวจะเสริมสร้างให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจทักษะใน ด้านสร้างธุรกิจด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลสามารถนําใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพที่เหมาะสมเป็นกําลังสําคัญ ในการช่วยพัฒนาประเทศให้ก้าวสู่เศรษฐกิจดิจิทัลในอนาคตได้ในโอกาสต่อไป 3.เทคโนโลยีดิจิทัลต่อการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการภาครัฐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย https://digital.car.chula.ac.th/cgi/viewcontent.cgi?article=8111&context=chulaetd บทบาทของเทคโนโลยีดิจิทัลต่อการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการภาครัฐ ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงและความท้าทายทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ทําให้สถานการณ์โลกเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิง (Radical Change) ในปัจจุบันนับได้ว่าเป็น 2 ทศวรรษแล้วที่โลกก้าวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงอย่างสิ้นเชิงในทุกอุตสาหกรรมไม่ว่าจะ เป็น ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การดําเนินชีวิต และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีล้วนทําให้สังคม โลกได้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นพลวัตร รวมถึงความท้าทายใหม่ๆ ได้เกิดขึ้นซึ่งมีผลทั้งเชิงบวก และเชิงลบในวงกว้างโดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการปกครองและการบริหารบ้านเมือง มานูเอล คาสเทลส์นักสังคมวิทยาชื่อดังผู้บุกเบิกงานศึกษาเกี่ยวกับสังคมยุคสารสนเทศ เคยเขียนถึง
พลังของอินเทอร์เน็ตไว้ว่า “โอกาสในยุคสารสนเทศจะปลดปล่อยขีดความสามารถในการสร้างสรรค์ อย่างที่ไม่เคยเป็นมาก่อนด้วยพลังแห่งความคิดฉันคิด ดังนั้นฉันจึงสรรค์สร้าง” แต่เขาก็มีความ กังวลว่า “เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของเราพัฒนาขึ้นบนฐานของผลประโยชน์ คุณค่า สถาบัน และระบบตัวแทนซึ่งจํากัดความสร้างสรรค์รวมหมู่ ยึดกุมดอกผลจากเทคโนโลยีสารสนเทศ และหันเห พลังงานของเราไปสู่การเผชิญหน้าที่ทําลายตัวเอง” 1 ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีดิจิทัลปัจจุบันได้ มอบโอกาสมากมายให้กับภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมในการพัฒนาตนเองและสังคมร่วมกันเป็นหนึ่ง ในตัวขับเคลื่อนที่สามารถนําประเทศชาติ สังคมและประชาชนไปสู่สังคมที่ดีในอุดมคติได้ ในหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทยเอง มีความท้าทายในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพราะเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่ควบคุมศักยภาพของเทคโนโลยีดิจิทัลจากการที่โลกได้มีการหลอมรวมเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT) เข้ากับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทําให้จํานวนข้อมูลมีมากมายมหาศาล ไม่ว่าจะ เป็นข้อมูลจําพวก ถ่านหินนํ้ามัน และที่ ดิน ได้กลายมาเป็นทรัพย์ากรเชิงกลยุทธ์ขั้นพื้นฐานของประเทศ และใน ปัจจุบันอย่างเช่น การใช้ข้อมูลขนาดใหญ่ (Big data) มีความสําคัญเป็นอย่างมากสําหรับธุรกิจการผลิต การ ขนส่ง การกระจายสินค้า การบริโภคของคนทั้งโลก และยังรวมไปถึง เศรษฐกิจ สังคมและการบริหารปกครอง ประเทศ ดังนั้นเทคโนโลยีจึงกลายมาเป็นปัจจัยสําคัญที่ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ จากการศึกษาถึง แนวโน้มและการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลในปี 2020 โดยการศึกษาจากFuturum Research ที่มีการเผยแพร่โดย Forbes พบว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีดิจิทัลเปลี่ยนไปจากเดิม ซึ่งในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา เทคโนโลยีดิจิทัลที่สําคัญได้แก่ Cloud, EdgeCompute, Internet of Things (IoT) และ Augmented Reality (AR) เป็นต้น เทคโนโลยีดิจิทัลที่กล่าวมานี้ยังคงเป็นรากฐานแห่งการพัฒนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างเป็น รูปธรรม อีกทั้งยังเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สําคัญของนวัตกรรมใหม่ๆ ทั้งนี้ ในปี 2020 ท่ามกลางการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่สําคัญ ไม่ว่าจะเป็น 5G, Artificial Intelligence (AI) และ เทคโนโลยีการวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูงจะเป็นอีกหนึ่งตัวขับเคลื่อนไปสู่การเปลี่ยนแปลง ซึ่งแนวโน้มการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่สําคัญในปี 2020 ประกอบด้วย เทคโนโลยี 5G, WiFi ที่รวดเร็วมากขึ้น, การวิเคราะห์ ความได้เปรียบในการแข่งขัน, Artificial Intelligence (AI) และการเรียนรู้ของเครื่องจักรจะทวีคูณมากขึ้น สําหรับการวิเคราะห์ข้อมูลต่างๆ, Blockchain, Robotic Process Automation,การสนทนาของ Artificial
Intelligence (AI) จะกลายเป็นอินเทอร์เฟซที่ถูกกฎหมาย, Alwaysconnected PCs (ACPCs), Connected vehicles, autonomous drones and Smart Cities,Everything-as-a-Service (XaaS), User and Customer Experience (UX/CX) และ DigitalPrivacy2ในขณะที่ การ์ตเนอร์(Gartner) บริษัทวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศชั้นนําของโลก ได้นําเสนอแนวกลยุทธ์เทคโนโลยีสําหรับรัฐบาลดิจิทัลในปี2019– 2020 โดยมี10 แนวโน้มเทคโนโลยีเชิงกลยุทธ์ ที่มีศักยภาพในการปรับหรือเปลี่ยนบริการสาธารณะ เพื่อให้ChiefInformation Officer (CIO) ของภาครัฐสามารถใช้เป็นแนวทางในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ทางด้าน ITRoadmap ในอีก 12 ถึง 18 เดือนข้างหน้าเพื่อตอบสนองต่อเป้าหมายนโยบายสาธารณะและความต้องการ ทางธุรกิจของหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งในการบริหารประเทศผู้นําภาครัฐคาดหวังว่า Chief 4.การนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพือเพิ่มประสิทธิภาพใน่การปฎิบัติราชการภายใต้นโยบาย มหาวิทยาลัยรามคําแหง http://www3.ru.ac.th/mpa-abstract/files/2565_1681966235_6414830085.pdf รัฐบาลในสมัยปัจจุบัน ภายใต้การน าของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ประกาศใช้วิสัยทัศน์เชิงนโยบายที่จะ เปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมภายใต้ชื่อ “ไทยแลนด์ 4.0”ได้ให้หน่วยงาน ภาครัฐบาลนําไปใช้เป็น โมเดลการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศไทย ที่มุ่งปรับเปลี่ยนโครงสร้าง เศรษฐกิจไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value–Based Economy) เพื่อให้หลุดพ้นจากกับดัก ประเทศรายได้ปานกลาง กับดักความเหลื่อมลํ้าและกับดักความสมดุลที่ประเทศไทยเผชิญอยู่ในฐานะประเทศ ที่กําลังพัฒนาไปสู่ประเทศที่พัฒนา ซึ่งนโยบายไทยแลนด์4.0 เป็นความพยายามอย่างหนึ่งที่เห็นได้ชัดว่า ประเทศไทยมีความพยายามที่จะหลุดพ้นจากการครอบง าที่กล่าวมา และมุ่งสู่ประเทศที่ได้ขึ้นชื่อว่าพัฒนาแล้ว การน านโยบายไทยแลนด์ 4.0 มาปรับใช้ในหน่วยงานภาครัฐในปัจจุบัน ท าให้หน่วยงานรัฐทั้งส่วนกลางและ ส่วนภูมิภาค ต้องมีการปรับปรุงแผนปฏิบัติงาน แผนปฏิบัติราชการ แผนพัฒนาในหน่วยงาน รวมไปถึงการ จัดทํากลยุทธ์และยุทธศาสตร์ของหน่วยงานในภาพรวม เพื่อตอบสนองและเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายที่ รัฐบาลได้วางไว้ (สํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี,2560, หน้า 4)สํานักงาน กพ. (2563) มีแนวทางการพัฒนา บุคลากรภาครัฐ พ.ศ. 2563 –2565โดยมีการพัฒนาและปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐเป็นหนึ่งในประเด็น การด าเนินการปฏิรูปประเทศที่สําคัญตามกรอบ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580)แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่12 พ.ศ. 2560 –2564 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 - 2580) และแผนการปฏิรูปประเทศ (พ.ศ. 2561 -2565) ก าหนดให้ต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารงาน
บุคคลภาครัฐเพื่อจูงใจให้ผู้มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริงเข้ามาท างานในหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งพัฒนา บุคลากรภาครัฐให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มุ่งเน้นให้ก าลังคนภาครัฐมีสมรรถนะสูง มี ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่ทันสมัย ปฏิบัติงานอย่างมีคุณภาพ และยึดมั่นในคุณธรรม รวมถึง พัฒนาภาวะ ผู้น าในทุกระดับให้มีขีดความสามารถสูง มีความรับผิดชอบ มีความเป็นมืออาชีพ โดยที่การ พัฒนาบุคลากรภาครัฐเป็นปัจจัยสําคัญที่จะช่วยให้องค์กรภาครัฐสามารถขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศภายใต้ บริบทความท้าทายและการเปลี่ยนแปลงแบบพลิกผันได้ประกอบกับบริบทผันผวนที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ส่งผลให้ ต้องมีการทบทวนหลักการ แนวทาง รูปแบบการพัฒนาบุคลากรภาครัฐโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเปลี่ยนกระบวน ทัศน์ของการพัฒนาที่ต้องเน้นให้บุคลากรภาครัฐเรียนรู้และพัฒนาตนเอง การสร้างระบบ นิเวศที่ส่งเสริมให้เกิด การเรียนรู้และพัฒนาที่ยืดหยุ่น ต่อเนื่อง พร้อมปรับให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงรวมถึงการนําเทคโนโลยีดิจิทัลมา ใช้ในกระบวนการเรียนรู้และพัฒนา เพื่อเร่งการเสริมสร้างศักยภาพและ ประสิทธิภาพการท างานของบุคลากร ภาครัฐให้ประสิทธิภาพมากที่สุด ส านักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม จึงได้ขานรับนโยบาย นี้ จึงได้กําหนดวิสัยทัศน์ เป็นเลิศด้านการบริหารจัดการ เพื่อผลักดันทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนประเทศด้วย เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัล โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาปรับใช้ในการปฏิบัติราชการ โดยการขับเคลื่อน การใช้ระบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-document) อย่างเต็มรูปแบบ มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการและ วิธีการท างานด้วยมือและกระดาษให้เป็นระบบ อิเล็กทรอนิกส์ และนําเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (e-document) มาใช้อย่างเต็มรูปแบบ โดยเฉพาะเรื่องการเงินและ การจัดซื้อจัดจ้าง โดยให้มีการก าหนดแนวปฏิบัติและระบบ ควบคุมภายในที่ชัดเจน เพื่อให้การปฏิบัติงานของ สป.ดศ. ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เหมาะสม สามารถเชื่อมโยงและแยกแยะการทํางานด้วยมือและกระดาษกับด้วยระบบและเอกสาร อิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างไร้รอยต่อ3จากความเป็นมาดังกล่าว จะเห็นได้ว่า สํานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคม นับว่าเป็นหน่วยงานหลักที่มีบทบาทที่สําคัญในการดําเนินตามนโยบายของรัฐบาลโดยใช้ เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามามีบทบาทในการปฏิบัติราชการซึ่งการดําเนินการเหล่านั้นมักจะเกิดปัญหาและอุปสรรค ได้ง่ายจึงเป็นเรื่องที่ผู้ศึกษามีความสนใจต้องการศึกษาเกี่ยวกับนโยบายและผลการดําเนินการของการนํา เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติราชการภายใต้นโยบาย Thailand 4.0: กรณีศึกษา สํานักงานปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมรวมถึงปัญหาและอุปสรรคของดําเนินงานตลอดจน ศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาข้อเสนอแนะของการดําเนินการตามนโนบายดังกล่าว
5.ปัจจัยความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทีส่งผลต่อความสํา่ เร็จในการดําเนินงาน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ http://cmruir.cmru.ac.th/bitstream/123456789/1524/1/F432982.pdf ก่อนปีพศ. 2541 สถาบนั การศึกษายงัไม่มีการตื่นตัวในกระแสของการประกนัคุณภาพการศึกษาเนื่องจากยัง ไม่มีระบบการประกันคุณภาพที่ชัดเจนต่อมาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับ ที่ 2) พศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พศ. 2553(สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา,2558)ได้กํา หนดให้มีระบบ การประกนัคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับโดยให้ถือว่าการประกัน คุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดําเนินการอย่างต่อเนื่องโดยให้มีการจัด ทํารายงานประจําปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชนเพื่อนําไปสู่ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอกทําให้วงการศึกษา ไทยให้ความสําคัญในเรื่องของการประกันคุณภาพการศึกษามากยิ่งขึ้นสถาบนั การศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน ให้ความร่วมมือ และเริ่มมีกระแสการปฏิรูปการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่มี การดําเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาตั้งแต่ปีพศ. 2544 โดยมีหน่วยประกนัคุณภาพการศึกษา”ซึ่ง ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็น "สํานักงานมาตรฐานและประกันคุณภาพการศึกษา" ทําหน้าที่ดําเนินงานประกัน คุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยภายใต้การกํากับดูแลของผู้บริหารที่ไดรับการมอบหมายจากอธิการบดี และมีหัวหน้าสํานักงานปฏิบัติหน้าที่ตามนโยบายให้เกิดประสิทธิผลตามเป้าหมายด้านคุณภาพการจัด ก า ร ศึ ก ษ า ( สํ า นั ก ง า น ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า , 2 5 5 4 :http://www.qa.cmru.ac.th/web/index.php?name=content&task=history) แต่ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ยงัไม่มีการสํารวจปัจจัยที่จะส่งผลต่อความสําเร็จในการดําาเนินงานด้านการประกันคุณภาพ การศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร จากกลุ่มบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบด้านการประกนั คุณภาพ การศึกษาภายใน ระดับหลักสูตร ซึ่งความสําเร็จของงานประกันคุณภาพการศึกษาขั้นอยู่กับปัจจัยหลายด้าน ได้แก่ปัจจัยด้านบริบทของสถานศึกษาปัจจัยด้านผู้บริหารปัจจัยด้านคุณลักษณะของบุคลากร ปัจจัยด้านระบบ ฐานข้อมูล และปัจจัยด้านการสื่อสารภายในองค์กร (มัฮดีแวดราแมและคณะ, 2556) ด้านความพร้อมด้าน ทรัพยากรด้านวัฒนธรรมคุณภาพของหน่วยงาน และด้านภาวะผู้นําของผู้บริหาร(พัฒน์พล แก้วยม, 2557)ด้าน ลักษณะสภาพแวดล้อม ด้านลักษณะขององค์การ ด้านนโยบายการบริหารและการปฏิบัติ และด้านลักษณะ บุคลากร (จินตนา สระทองขาว, 2554) ด้านทัศนคติต่อการประกันคุณภาพด้านความพร้อมด้านทรัพยากรด้าน
วัฒนธรรมคุณภาพ และด้านภาวะผู้นําของผู้บริหาร (สุรวี ศุนาลัย, 2553)เป็นต้นอย่างไรก็ตาม ในปัจจุบันการ ดําเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษามีการลงทุนพัฒนาและนําเทคโนโลยีสารสนเทศ (ไอที) เช้ามา ช่วยในการดําเนินงานอย่างแพร่หลายโดยมิได้เป็นการลงทุนเฉพาะการพัฒนาระบบแต่รวมถึงการลงทุนใน ฮาร์ดแวร์การลงทุนในการเตรียมความพร้อมของบุคลากรซึ่งยังไม่สามารถทราบแน่ชัดว่าการลงทุนทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศเหล่าน้ั นจะส่งผลต่อความสําเร็จในการดําเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาหรือไม่ อย่างไรดังนั้นผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาถึงปัจจัยความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ส่งผลต่อ ความสําเร็จในการดําเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ เชียงใหม่ เพื่อให้ได้แนวทางทางการพัฒนาคุณภาพการดําาเนินงานด้านการประกัน
6. Development of virtual reality technology About creating animation work King Mongkut's Institute of Technology Ladkrabang Instithttps://opacimages.lib.kmitl.ac.th/medias/pdf/09022037.pdfute of Technology Ladkrabang The era of technological advancement is an era of widespread information. spread quickly throughout the world This affects the way of life of humans and changes in the economy, society, politics, and culture. Therefore, the education system must be adjusted to keep up with events. Education must find ways to develop youth. To be able to learn and adjust yourself to the situation. The modern world in the 21st century (Sukon Sinthaphanon. 2015 : 15) in the development of Thai education reflects The differences in each era are clear. which divides the era of Thai education into 4 eras. Currently we are in the 4th era (Era 4.0). It is an era in which Thai society must promote the production of thinking, produce more products and services, not just as administrators or only service provider The skills to produce and create things are therefore necessary in order to enter the 21st century with high changes and competition. Thai education 4.0 is therefore a concept of education that will encourage the new generation of youth. It is not just consumerism, but must move towards Productivity is also popular. Therefore, it will be a truly meaningful 21st century skill. (Paithun Sinlarat. 2014: 155-157) Educational reform in the second decade (2009-2018) has important goals for development. Quality standards of education and learning of Thai people Increase opportunities for education and learning Thorough and quality Promote participation of all sectors in education administration and management, which is in accordance with the provisions of the National Education Act 1999. Additional amendments (Edition 2) B.E. 2002 and (Edition 3) B.E. 2010 ( Sukon Sinthaphanon et al. 2012: 8) has specified guidelines for organizing education in Section 4, Section 22 and Section 24, mentioning the importance of guidelines. Organizing education that organizing education must adhere toThe principle is that every learner has the ability to learn and develop. You yourself can and consider students to be the most important. The educational process must encourage learners to be able Develop naturally and reach full potential In organizing the educational process, the content and Activities consistent with behavioral objectives There is training in skills,
thought processes, management, and application of knowledge to solve problems. and organize activities for students to learn from real experiences, practice practice to be able to think and a constant desire to learn and learn Organize teaching and learning by combining Knowledge in various fields in proportion and balance The teacher arranges the atmosphere, environment, teaching media and organizes activities so that students can learn anywhere, anytime (Academic Department, The Books Publishing House. 2013 : 11-12) and in Section 9 regarding the development of technology for education from Section64 mentions the need for the state to promote and support the production and development of textbooks, academic books, and other printed media. materials, equipment and technology for education and from Sections 65 and 66 it can be concluded that the development of personnel in both the producer and and users of educational technology To have knowledge Abilities and skills in production Including using appropriate technology is important for media development. Quality innovation for use in effective teaching and learning Can build the capacity of 2 students to compete in a knowledge society. The development of technology plays a very important role in various fields, especially the use of technology in the education system, making the use of teaching methods or Traditional teaching and learning process Therefore, it was modified to include technology for education. Become a part of teaching and learning, therefore creating and using quality technology and Efficiency is therefore an important part that creates interest and motivation for students' learning (Wiwat Meesuwan. 2015: 1) Teaching and learning through a network system. It combines the properties of multidimensional media with The characteristics of the Internet and the World Wide Web are designed to be a website for teaching and learning, supporting and promoting meaningful learning, connecting into a network that can be learned anywhere, anytime. It has many names, such as teaching websites, training websites, and internet teaching websites. World Wide Web teaching aids, etc., where students and teachers interact through computer networks that are connected to each other. It plays an important role in creating enthusiasm for teaching and learning. The instructor can provide assistance. students at any time while studying It also helps strengthen thinking and understanding. students studying Through the network system, one can chat, exchange opinions, as well as ask questions and concerns with teachers immediately, supporting the
development of cooperation between students. Cooperation between groups of learners Helps develop thinking and understanding better than working alone. It also builds team relationships by Exchange opinions with each other It is the development of problem solving, learning and acceptance. Other people's opinions are included to find the best way. Helps students to find information. Convenient and fast They can also find information from sources around the world, creating enthusiasm for Pursuing knowledge, students can immediately receive feedback from the teacher or even from other students, expanding opportunities for everyone who is interested in studying without the need to travel anywhere to study. One, those who are interested can study by themselves at a convenient time. To achieve the goals of the work together (Prachananan Nilsuk. 2012 : 152) Teaching using information technology today has many forms, such as computer-assisted instruction media. (Computer-Assisted Instruction: CAI) teaching media on Web-Based Instruction : WBI, teaching media in the form of (ELearning), distance education. Virtual reality technology (Virtual Reality Technology) or VR, virtual reality technology (Augmented Reality) or AR, etc., which learning using technology Information will result in interaction between students and teachers. Because the media is the medium for Transferring knowledge and understanding of various skills from teachers to students very well is like a bridge. Connect ideas with each other If the media is designed and developed well, it can create Understand the issues you want to present correctly as well. Teaching and learning based on technology The Web is a combination of current technology and instructional design processes to increase learning efficiency and solve the problem of space and time constraints. Teaching on the Internet uses the features and resources of Worldwide. The web provides an environment where Promote and support teaching and learning The teaching and learning organized through this website may be partial or of the entire teaching and learning process (Thanomporn Laohajarasaeng. 2001: 87-94) It can be seen that Teaching using information technology is a form of student-centered teaching. It is a 3 concept that focuses on giving students a role. Participate more in teaching Students will be born Learn by doing, practicing, solving problems or researching on your own and being able to develop own potential This will be very useful for organizing teaching and learning in schools. Virtual reality technology (Augmented Reality) or AR is
a technology that helps increase potential. learning communication And help reduce the interaction between the real world and the virtual world for the application of virtual technology today and will continue in the future. Application to Equipment in the nature of a mobile phone or Smart Phone more due to major changes in communication Usability and mobility are key factors in the transformation that is taking place. The rapid increase in these devices has led to The new frontier of virtual reality technology is not limited to computers only. (Wiwat Meesuwan. 2015 : 7) For virtual reality technology in education, it can be applied in learning. Learners get to experience a new dimension in virtual reality. Learners create a collaborative process of learning from the teacher. Enhance students' knowledge through demonstrations, discussions, and encourage students to understand what they want to learn. Learners gain meaningful experiences Linking learned content with places or objects with 3D virtual images makes learning no longer limited to the classroom. It will expand further outside the classroom. (Wiwat Meesuwan. 2015: 5) From the fact that the researcher is an instructor in the course Multimedia Technology. of the learning subject group Careers and Technology (Computer) Mathayom 5 level, Wat Nong Chok Secondary School Under the jurisdiction of the Secondary Educational Service Area Office 2, in accordance with the educational institution curriculum in the subject of Multimedia Technology. It was found that students had to study both theory and practice at the same time. Class time was limited to 1 hour and 40 minutes, causing them to not be able to complete teaching activities. Also during study Teaching students is not able to follow the teacher in time. Or do it in time but can't remember the methods. Sometimes you don't come to class during that hour, which will cause the student to not be able to learn effectively. In addition, students do not have learning media to use to review or learn more about topics that students are behind on or do not come to study. Therefore, in order to eliminate the problem of limitations the learning of the students For the reasons already mentioned The researcher is therefore interested in developing virtual reality technology on creating animation work for Mathayom 5 students in order to increase efficiency. Learn more from students and develop students to learn to their full potential
7. Information technology readiness factors that affect operational success Chiang Mai Rajabhat University http://cmruir.cmru.ac.th/bitstream/123456789/1524/1/F432982.pdf Before 1998, educational institutions were not yet aware of the trend of educational quality assurance because there was no clear quality assurance system. Later, the National Education Act B.E. 1999, amended (No. 2) B.E. 2002 and (No. 3) B.E. 2010 (Office of the Higher Education Commission, 2015) has established Requires an educational quality assurance system to develop the quality and standards of education at all levels. It is considered that assurance Internal quality is part of the educational administration process that must be continuously implemented by organizing Make an annual report to the parent agency, relevant agencies and disclose it to the public in order to lead to the development of educational quality and standards. and to support external quality assurance, causing the Thai education circle to place greater importance on the issue of educational quality assurance. Both public and private education cooperate. And there has begun to be a trend of educational reform. Chiang Mai Rajabhat University is a higher education institution that has operated in the area of educational quality assurance since 2012. 2001 with the Education Quality Assurance Unit, which has now been renamed "Office of Educational Standards and Quality Assurance" is responsible for carrying out the university's educational quality assurance work under the supervision of executives assigned by the president and with the head of the office performing duties in accordance with policy to be effective according to the goals of Quality of education (Office of EducationalStandardsandQualityAssurance,2011:http://www.qa.cmru.ac.th/web/index.php?name= content&task=history) However, Chiang Mai Rajabhat University has not yet surveyed the factors that will Affects the success of internal educational quality assurance operations. Course level From the group of people assigned to be responsible for ensuring Internal education quality Course level The success of educational quality assurance depends on many factors, including the context of the educational institution, administrators, personnel characteristics. Database system factors and communication factors within the organization (Mahdiwadramae et al., 2013) In terms of the readiness
of the organization's quality cultural resources. and the leadership aspect of the executives (Patphon Kaewyom, 2014) the environmental characteristics Characteristics of the organization Administrative policy and practice and personnel characteristics (Jintana Sathongkhao, 2011) in terms of attitude towards quality assurance, readiness in terms of resources quality culture and the leadership aspect of executives (Surawee Sunalai, 2010), etc., however At present, operations in the area of educational quality assurance are investing in developing and introducing information technology (IT) to help in operations widely, not only investing in system development but also investing in hardware, investing in Preparing personnel. It is still not clear whether these investments in information technology will affect the success of educational quality assurance operations or not and how. Therefore, the researcher is interested in studying the factors. Readiness in information technology that affects the success of operations in the quality assurance of education within the curriculum level of Chiang Mai Rajabhat University in order to obtain guidelines for developing the quality of operations in the area of insurance.