The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เทคนิคการขยายพันธุ์ผักเหลียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by konginnot, 2022-04-10 05:40:44

เทคนิคการขยายพันธุ์ผักเหลียง

เทคนิคการขยายพันธุ์ผักเหลียง

เทคนิคการขยายพนั ธุ์
ผกั เหลียง

ศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวดั กระบี่ (พชื สวน)

เทคนิคการขยายพนั ธุ์
ผกั เหลียง

ศูนยส์ ่งเสรมิ และพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวดั กระบี่ (พชื สวน)

หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-book)
เปน็ ส่วนหนงึ่ ของโครงงานรายวิชา (0403485) สหกจิ ศึกษา
เปน็ ส่วนหนงึ่ ของการศึกษา หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการพฒั นาชมุ ชน

มหาวทิ ยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพทั ลงุ
ปีการศึกษา 2564

จดั ทาโดย

นางสาวกุลธิดา สอนจอน รหสั นิสิต 612041003
นางสาวณัฐกานต์ คงอนิ ทร์ รหสั นิสิต 612041006

ฝึกปฏบิ ัติการในสถานประกอบการสหกจิ ศึกษา
ณ. ศนู ย์ส่งเสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)

อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่

คานา

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book) เป็นส่วนหน่ึงของการฝึกสหกิจศึกษาของ
นางสาวกุลธิดา สอนจอน และนางสาวณัฐกานต์ คงอินทร์ สหกิจ ศึกษาเป็นส่วนหน่ึง
ของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ คณะเทคโนโลยีและการ
พัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง โดยมีจุดประสงค์เพ่ือการศึกษา
ความรู้ท่ีได้จากเร่ืองการขยายพันธ์ุผักเหลียง ซึ่งรายงานน้ีมีเน้ือหาเก่ียวกับความรู้
ลกั ษณะท่ัวไปของผักเหลียง ประโยชน์ แนวโน้มการตลาด การขยายพันธ์ุผกั เหลียงด้วย
วิธีการเพาะเมล็ด การตอนกิ่ง และการใช้ต้นจากรากแขนง รวมถึงโรคและแมลงท่ีพบ
ในแปลงผักเหลยี ง ตลอดจนการประยกุ ต์ใช้

ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อนี้ในการทารายงาน เน่ืองมาจากเป็นเร่ืองท่ีน่าสนใจ
รวมทั้งแสดงให้เห็นถึงความสาคัญของการขยายพันธุ์พืช ผู้จัดทาต้องขอขอบคุณ รอง
ศาสตราจารย์ ดร.สรพงค์ เบญจศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปริศนา วงค์ล้อม อาจารย์
ที่ปรึกษาโครงงานสหกิจศึกษา และขอขอบคุณ คุณวรารัตน์ เกียรติเมธา ที่ปรึกษา
โครงงานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการ ตลอดจนพ่ีๆ ภายในศูนย์ส่งเสริมและ
พัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบ่ี (พืชสวน) ทุกท่านที่ได้ให้ความรู้ แนวทาง
การศึกษา ข้อมูลการปฏิบัติงาน ตลอดจนช่วยเหลือในการสอนการปฏิบัติงานอย่าง
ละเอียด หวังว่ารายงานฉบับน้ีจะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆ ท่าน ที่
นาไปใช้ใหเ้ กิดผลตามความคาดหวงั

กุลธิดา สอนจอน
ณฐั กานต์ คงอินทร์

ผูจ้ ดั ทา

สารบัญ หนา้

เรื่อง ก
1
บทนา 3
การขยายพนั ธุ์พืช 4
ความเปน็ มาของผกั เหลียง 8
ลักษณะท่วั ไปของผักเหลียง 9
ประโยชน์ของผักเหลียง 10
แนวโน้มการตลาด 11
การเก็บยอดผกั เหลยี ง 12
การขยายพันธ์ุผักเหลยี ง 18
การเพาะเมลด็ ผักเหลียง 27
การตอนกิ่งผกั เหลยี ง 30
การใช้ต้นจากรากแขนงผักเหลียง 32
โรคทีพ่ บในผักเหลียง
บรรณานกุ รม



บทนา

ผักเหลียงพบขึ้นอยู่ทั่วไปตามเนินเขาและท่ีราบในภาคใต้ฝั่งตะวันตก เช่น
จังหวัดระนอง พังงา กระบ่ี และภาคใต้ฝ่ังตะวันออก เช่น จังหวัดชุมพร สุราษฎร์ธานี
นครศรีธรรมราช ซ่ึงสภาพดั้งเดิมของจังหวัดแถบน้ีเป็นป่าธรรมชาติที่มีความอุดม
สมบูรณ์ ความช้ืนสูง ต้นผักเหลียงจึงเจริญเติบโตเป็นอย่างดี นอกจากนี้ ยังพบผักเหลี
ยงในแถบประเทศมาเลเซยี และหมู่เกาะบอเนียว อีกด้วย ในประเทศไทยน้ัน ชาวบ้าน
นิยมนาส่วนของใบยอดอ่อน และเมล็ดมาประกอบอาหาร ประกอบกบั สภาพป่าไมท้ ถี่ ูก
โค่นทาลายลงไป ทาให้ชาวบ้านนาต้นผักเหลียงจากป่ามาปลูกในบริเวณสวนหรือ
บริเวณข้างบ้าน ภายใต้ร่มเงาของยางพารา หรือไม้ผล ไม้ยืนต้นอ่ืนๆ ผักเหลียงจึงเป็น
ผักพ้ืนเมืองชนิดหน่ึงท่ีชาวบ้านมีความคุ้นเคยและนิยมบริโภคปัจจุบันผักเหลียงมีการ
ปลกู อยา่ งแพร่หลายมากข้ึนในหลายท้องที่และมีชื่อเรียกขานต่างๆ กันไป เช่น จังหวัด
ชุมพร ระนอง ประจวบคีรีขันธ์ เรียก “ผักเหลียง” จังหวัดพังงา ภูเก็ต กระบี่ เรียก
“ผักเหมียง” จังหวัดสุราษฎร์ธานี เรียก “ผักเขรียง” จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก
“ผักเขรยี ง” และ “ผักเปรยี ง” เปน็ ต้น
(บาเพญ็ เขยี วหวาน และคณะ 2542:6)

ปจั จุบนั การขยายตัวของประชากรท่มี ีมากขึ้น และกระแสการรักสุขภาพก็มีเพิ่ม
มากขึ้นเน่ืองจากกระบวนการผลิตของเกษตรกรมีการใช้สารเคมีในปริมาณมากเพื่อให้
ไดผ้ ลผลิตมากพอในเชงิ การค้า การส่งเสริมให้มีการปลูกผักเหลียงร่วมกับพืชเศรษฐกิจ
เช่น ปลูกแซมกับปาล์มน้ามัน ยางพารา สวนไม้ผลต่างๆ ที่มีสภาพร่มเงาเหมาะสมกับ
การปลกู ผักเหลียงมากข้นึ

1

การขยายพนั ธ์พุ ืช

การขยายพนั ธพุ์ ืชจัดวา่ มีความสาคัญในการปลูกพืช เพราะข้ันตอนแรกของการ
เพาะปลูกต้องมีต้นกล้าพืชเสียก่อน การเลือกวิธีการขยายพันธ์ุพืชที่เหมาะสมจะทาให้
สามารถผลิตตน้ กลา้ ได้ตามปรมิ าณและคุณภาพท่ตี ้องการ ซ่ึงเป็นผลไปถึงคุณภาพหรือ
ปริมาณของผลผลิตของพืชนั้นๆ นอกจากนี้การขยายพันธุ์พืชยังมีความสาคัญในด้าน
การอนรุ กั ษพ์ ันธ์พุ ชื ท่ีหายากหรอื ใกลจ้ ะสญู พนั ธุ์

การขยายพันธ์ุพืชแบ่งออกเป็น 2 แบบคือ การขยายพันธ์ุแบบอาศัยเพศ ได้แก่
การขยายพันธ์ุโดยการใช้เมล็ด และการขยายพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ ได้แก่ การ
ขยายพนั ธโ์ุ ดยการใช้สว่ นตา่ งๆ ของตน้ พืช เชน่ การปักชา การตอนกิ่ง การติดตา การ
ต่อกง่ิ รวมถงึ การเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยื่อ

2

การขยายพนั ธ์พุ ืช

แบบอาศยั เพศ แบบไม่อาศัยเพศ
การเพาะเมล็ด
การตอนก่งิ
การตอ่ กิง่
การปักชากิ่ง
การตดิ ตา
การทาบกิ่ง

3

ผกั เหลียง

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Gnetum gnemon Linn. var. tenerum Markgr.
วงศ์ : GNETACEAE
ชื่อสามญั : ผกั กระเหรยี่ ง
ช่อื ท้องถ่ิน : เขลียง, เหลยี ง, เรยี นแก่ (นครศรีธรรมราช)

ผักกะเหรี่ยง (ชมุ พร) ผกั เม่ียง, เหมยี ง (พังงา)

ผักเหลียงเป็นพันธ์ุไม้ป่า มีถิ่นกาเนิดในทวีปเอเชียบริเวณคาบสมุทรมาลายู
พบแพร่กระจายทั้งในประเทศไทย มาเลเซีย และหมู่เกาะบอร์เนียว เติบโตได้ดีใน
ภูมิอากาศร้อนชื้น ผักเหลียงจึงพบมากในภาคใต้ตอนกลางฝ่ังตะวันตกของประเทศไทย
เป็นส่วนใหญ่ เช่น จังหวัดพังงา ระนอง กระบ่ี ตรัง (ฝั่งอันดามัน) ชุมพร (ฝั่งอ่าวไทย)
เป็นต้น จะสังเกตเห็นว่าผักเหมียงข้ึนเองตามธรรมชาติ หรือมีการปลูกแถบจังหวัด
ภาคใต้ฝ่ังตะวนั ตกมากกวา่ ฝงั่ ตะวันออก อาจเป็นเพราะปรมิ าณน้าฝนชกุ และต่อเนื่องใน
ฝั่งตะวันตกจึงเหมาะสมกว่าที่จังหวัดชุมพรได้มีการปลูกผักเหมียงใต้ร่มเงาไม้ผล เช่น
เงาะ ทุเรียน ชมพู่ หรือร่วมกับต้นไม้ชนิดอ่ืนๆ เช่น จันทร์เทศ กานพลู หมาก โดยปลูก
ให้ผักเหมียงขยายพนั ธ์งอกไปเปน็ กลมุ่ ใต้ร่มเงา และมกี ารเกบ็ เก่ียวตลอดโดยให้ต้นสูงได้
ประมาณศีรษะคน (สวนนายสนั่น – นางบุญหนุน ชูกล่ิน ท่ี ตาบลวังไผ่ อาเภอเมือง
จังหวดั ชุมพร) ท่ีอาเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลาได้มีการปลูกผักเหมียงในร่องยาง คนใต้
นิยมนามากินเป็นผักเคียงกับขนมจีนน้ายาปักษ์ใต้ อาหารที่ได้รับความนิยมท่ีประกอบ
จากผักเหมียง คือ ผักเหมียงต้มกะทหิ รือแกงเคย ผักเหมียงได้ชื่อวา่ เปน็

“ราชินีแหง่ ผักพืน้ บ้านภาคใต้”

4

ลักษณะทว่ั ไป

ต้น : เป็นไมย้ นื ตน้ ขนาดเลก็ ทรงพุม่ สูง 1-3 เมตร ลาตน้ มีขนาดเลก็ ลกั ษณะใบคล้าย
ใบตน้ ยางพารา ใบแตกออกมาจากปลายยอดของต้นและกิ่ง ใบเป็นใบเด่ียวออก
เรียงตรงข้ามกัน มีก้านยาว ลักษณะใบเป็นทรงรี ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบ
เรียบ ใบแก่มีสีเขียว ยอดอ่อนมีสีแดง ใบอ่อนหรือใบเพสลาดสีเขียวอ่อนเหมาะ
ท่ีจะนาไปกิน

5

ลกั ษณะทั่วไป

ใบ : มีลักษณะคล้ายยางพารา ใบออกมาจากปลายยอดของต้นและกิ่ง ใบเป็น
ใบเด่ียวเรียงตรงข้ามกัน ใบเป็นรูปรีปลายใบเรียวแหลม ก้านใบยาว เน้ือ
ใบบางแต่เหนยี วคลา้ ยแผน่ หนงั ใบมสี เี ขียวเปน็ มัน แตห่ ากตน้ อยใู่ นที่ โล่งสีของ
ใบจะจางลงหรืออาจขาวทั้งหมด ยอดใบอ่อนมีรสชาติหวานมัน รับประทานได้
ทง้ั ดิบและสุก

6

ลักษณะทวั่ ไป

ดอก : มีท้ังดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย โดยดอกตัวผู้และดอกตัวเมียจะออกต่างต้นกัน
กล่าวคือหากต้นใดมีดอกตัวผู้จะไม่มีดอกตัวเมีย ดอกตัวผู้เป็นดอกขนาดเล็ก
ออกเป็นช่อตาม ข้อของก่ิง ในแต่ละช่อมีปุ่มดอกขนาดเล็กเรียงกันเป็น ข้อๆ
ประมาณ 5–8 ข้อ กลีบดอกมีสีขาว ดอกตัวเมียเป็นดอกสมบูรณ์เพศ มีขนาด
ของดอก ใหญ่กว่าดอกตัวผู้ ดอกออกเป็นช่อตามข้อของกิ่ง ในแต่ละช่อมีปุ่ม
ดอกเรียงเป็นข้อๆ ประมาณ 7–10 จะออกดอกเมื่อมีอายุประมาณ 5–6 ปี เริ่ม
ออกดอกในช่วง เดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม ผลแก่สามารถเก็บไว้ขยายพันธุ์
ไดใ้ นชว่ งเดอื นมนี าคม – เมษายน

7

ลกั ษณะทว่ั ไป

ผล : ผักเหลียงออกรวมกันบนช่อ แต่ละช่อมีผลประมาณ 10-20 ผล มีลักษณะเป็น
รูปกระสวย กว้างประมาณ 1–1.5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 2.5–4 เซนติเมตร
เปลือกผลคอ่ นข้างหนา ผลอ่อนมีสีเขยี ว ผลสุกมีสเี หลอื ง เนอ้ื ผลมีรสหวาน ทั้งน้ี
หลังออกดอก ดอกผักเหลียงจะเร่ิมติดผลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม และ
ผลสุกในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน และติดเร่ิมติดผลครั้งแรกเมื่ออายุประมาณ
5-6 ปี ข้ึนไป แต่การติดดอกออกผลจะไม่แน่นอน บางปีอาจไม่มีการติดดอก
ออกผล โดยเฉพาะปีทฝี่ นตกชกุ มาก

8

ประโยชน์

1. กรอบเม่ือรับประทานสด นุ่มเมื่อปรุงสุก มีรสชาติอร่อย หวานมัน นิยม
รับประทานสดหรือใช้ประกอบเป็นอาหาร เช่น แกงเลียง ผัดใส่ไข่ แกงจืด แกง
กะทิ และแกงไตปลา เป็นตน้

2. เค้ียวหรือรับประทานสดแก้หิว แก้ท้องว่าง ช่วยบารุงร่างกาย แก้อาการขาดน้า
โดยเฉพาะเวลาเดนิ ทางไกลหรอื เดนิ ปา่

3. เมล็ดใช้คั่วรับประทานเป็นของขบเค้ียวคล้ายถั่ว ส่วนประเทศมาเลเซีย และ
อนิ โดนีเซยี นยิ มใชเ้ นือ้ เมลด็ มาบดและทอดใชท้ าข้าวเกรียบ

4. ยางจากลาตน้ ใช้ทาลอกฝ้า ชว่ ยให้หน้าขาวใส

5. ผลเหลียงสุกมีรสหวานสามารถรับประทานได้ และเป็นแหล่งอาหารสาคัญของ
สตั ว์ป่า

6. ผักเหลียงช่วยในการอนุรักษ์ดิน และน้า ป้องกันการกัดเซาะหน้าดิน ชะลอการ
ไหลซึมของน้า ช่วยให้หนา้ ดินชุ่มชน้ื นาน ปอ้ งกันไฟปา่ บารงุ ดนิ ป้องกันหน้าดิน
แขง็ เอื้อตอ่ การเติบโต และให้ผลผลติ ของพืชหลกั ในแปลง

7. ช่วยเพ่ิมรายได้ เช่น การปลูกเหลียงแซมในสวนยาง สวนปาล์ม นอกจากจะได้
รายได้จากสวนยางหรอื ปาลม์ แลว้ ยอดผักเหลียงยงั ชว่ ยสรา้ งรายไดง้ ามในแตล่ ะ
ปี

9

การตลาด

ผักเหมียงมีขายทั่วไปตามตลาดชุมชนในภาคใต้ โดยขายเป็นกา กาละ 5–20
บาท แล้วแต่ขนาดกา โดยปกติแล้วเม่ือนาผักเหมียง มาปรุงเป็นอาหารผักเหมียงจะ
ยุบตัวมาก จึงต้องใช้ในปริมาณมากพอควร ในอดีตผักเหมียงนิยมบริโภคกันในจังหวัด
ภาคใต้ฝ่ังทะเลอันดามัน และมีการบริโภคกันบ้างแถบจังหวัดชุมพรและสุราษฎร์ธานี
ปัจจุบันนี้ได้มีการขยายพ้ืนที่การปลูกผักเหมียงมายังจังหวัดในภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย เช่น
จังหวัดสงขลา เปน็ การขยายตลาดมาสู่ผู้บริโภคได้มากข้ึน คาดว่าผู้บริโภคในกรุงเทพฯ
และภาคอื่นของประเทศจะบริโภคผักเหมียงกันมากข้ึนตามการเคล่ือนย้ายของ
ประชากร และการให้ขอ้ มูลการบรโิ ภคท่ีทาไดแ้ พร่หลายและกว้างขวางขึ้น

10

การเกบ็ ยอด

ผักเหลียงหลังการปลูกประมาณ 1 ปี จะโตได้กว่า 1 เมตร โดยเริ่มเก็บยอดได้
ตั้งแต่ 1-2 ปี ขึ้นไป และสามารถเก็บยอดอ่อนได้ตลอดทั้งปี การเก็บยอด ควรเก็บ
ตอ่ เนื่องอย่างสม่าเสมอ ไม่ควรปล่อยให้เกิดยอดแก่ แต่หากเกิดยอดแก่ ให้ตัดโคนยอด
ท้ิง เพ่ือให้แตกยอดอ่อนใหม่ หลังเก็บแล้วประมาณ 15 วัน กิ่งเหลียงจะเร่ิมแตกยอด
ใหม่ และใช้เวลาพัฒนายอดอีกประมาณ 10-15 วัน จึงพร้อมเก็บ ดังน้ัน ใน 1 เดือน
จะเก็บยอดเหลยี งไดป้ ระมาณ 1 ครงั้

การเก็บยอดแต่ละคร้ัง ให้เด็ดหรือตัดใกล้ข้อ ไม่ควรเด็ดกลางหรือปลายข้อ
เพราะจะทาให้ยอดใหม่แตกช้า โดยควรเก็บในช่วงเช้าหรือเย็นท่ีแสงแดดไม่ร้อน ท้ังน้ี
การเด็ดหรือเก็บยอดเหลียงให้ระวังน้ายางไม่ให้เข้าตา เพราะหากเข้าตาจะทาให้ระ
เคือง และแสบตาได้

หลังเก็บยอดเหลียง ควรพรมน้าให้ชุ่มตลอดหรือเก็บรักษาไว้ในตู้เย็นหรือรีบ
บรรจุถุงส่งจาหน่าย เพราะผักเหลียงจะเหี่ยวเร็วหากเก็บไว้นานโดยไม่สัมผัสน้า โดย
ปกติหากพรมน้าหรือเก็บไวใ้ นรม่ ทีช่ ุมจะเก็บได้นาน 5-7 วัน

11

การขยายพันธุผ์ กั เหลียง

สามารถขยายพันธุ์ได้หลายวธิ ี คอื
1. การเพาะเมล็ดผกั เหลียง
2. การตอนก่ิงผักเหลียง
3. การใชต้ ้นจากรากแขนง

12

การเพาะเมล็ดผกั เหลียง

13

อปุ กรณ์

แก้วพลาสติก ขุยมะพร้าว
คัตเตอร์ แกลบดิบ

ตะกรา้ หนงั ยางวง

14

วิธีการ

ล้างและทาความสะอาดเมล็ดแล้วแช่ในน้าอุ่นประมาณ 24-72 ช่ัวโมงแล้วนามาเพาะ
ดงั น้ี

1. เพาะด้วยขุยมะพร้าวผสมแกลบดาที่ผ่านการน่ึงฆ่าเช้ือ และหุ้มพลาสติกอบ
ความชื้น พร้อมท้ังกระตุ้นการพักตัวของเมล็ดด้วยรูปแบบต่างๆ เช่น แช่น้าอุ่น
แกะเปลอื ก แกะไมโครไพล์ ตดั แผลเมลด็ ด้านขัว้ ผล

15

วิธีการ

2. เพาะด้วยทรายผสมแกลบดิบผสมขุยมะพร้าวในตะกร้า กระตุ้นการพักตัวของ
เมลด็ ดว้ ยการแชน่ า้ อนุ่

16

วิธีการ

3. ชาต้นกล้าผักเหลียงที่ทยอยงอกในแก้วกาแฟ หรือถุงเพาะชา ในวัสดุปลูกที่มี
ส่วนผสมของดินใบกา้ มปู ขว้ี ัว ทรายหยาบ แกลบดิบ

ลกั ษณะการงอกของเมลด็ ผักเหลียง

17

ขอ้ ดี

1. ทาได้โดยง่ายและรวดเรว็ ไดต้ ้นพนั ธุ์จานวนมาก
2. มรี ากแกว้ ทาให้มคี วามแขง็ แรง สามารถหยงั่ รากลงไปได้ลึกจึงหานา้ และอาหาร

ได้ดี
3. ทาไดท้ กุ ฤดกู าล
4. มีการกลายพันธ์ุ ทาให้มโี อกาสในการได้พชื พันธ์ุใหม่ทีด่ กี ว่าต้นพอ่ แม่

ขอ้ เสีย

1. ออกผลช้ากว่า
2. ได้ตน้ ที่สูงใหญจ่ งึ ไม่สะดวกตอ่ การเกบ็ เก่ยี วและดูแลรักษา
3. ตน้ ท่ีได้มขี นาดทีไ่ มส่ มา่ เสมอ
4. พืชบางชนดิ ไม่มเี มลด็ หรอื เป็นหมนั
5. พชื บางชนิดเพาะเมลด็ แลว้ งอกช้า ใช้เวลานาน

18

การตอนกิง่ ผกั เหลียง

19

อุปกรณ์

กรรไกรตัดกง่ิ คีมตอนก่งิ
คตั เตอร์ ตุม้ ตอนกง่ิ

ฮอรโ์ มนเร่งราก เชอื ก

20

วิธีการ

กงิ่ ท่ีจะตอนต้องเป็นกงิ่ ไมอ่ อ่ นและไมแ่ กเ่ กนิ ไป ใบงาม ไม่มโี รคหรือแมลง
1. ควัน่ แผล โดยใชค้ ีมตอนกิง่ ตรงสว่ นปลายทม่ี คี มมดี หากไม่มีคีมตอนก่งิ ให้ใช้

คตั เตอร์หรอื มีดปลายแหลม

2. ควนั่ เสรจ็ แล้ว เอาคมี เดมิ แต่ใชส้ ่วนตรงกลางทมี่ รี อยหยกั มางบั เปลอื กกิ่งและบดิ
หมุน เปลือกและเยอ่ื เมอื กล่นื จะหลดุ ออกมาทันที

21

วิธีการ

3. ขูดเน้ือเยื่อเจรญิ ที่เปน็ เมอื กลน่ื ๆ ออก

4. ใช้คตั เตอรก์ รดี ตรงสว่ นขอบแผลด้านบน 2-3 แผล เพ่ือเรง่ การงอกราก

22

วิธีการ

5. ใชฮ้ อรโ์ มนเรง่ (B-1) รากทาบรเิ วณท่ที าแผล หรือบริเวณที่กิง่ จะเกิดราก จะชว่ ย
ใหก้ ิง่ พืชเกิดรากดีข้ึน

6. นาตุม้ ตอน (ขุยมะพรา้ วที่แช่นา้ แลว้ บบี หมาด ๆ อัดลงในถงุ พลาสติก ผูกปาก
ถงุ ใหแ้ น่น) มาผา่ ตามความยาว

23

วิธีการ

7. เปิดปากถงุ พลาสตกิ ที่กรีดแลว้ ออกทงั้ ด้านบนและด้านท้ายของตมุ้ ตอน

8. นาตมุ้ ตอนไปหมุ้ บนรอยแผลของก่ิงตอน

24

วิธีการ

9. มัดดว้ ยเชอื กทงั้ บนและลา่ งรอยแผล หมัน่ ตรวจดูความช้ืนอยา่ ปลอ่ ยใหแ้ หง้ ราก
จะงอกภายในเวลาประมาณ 2 – 3 เดอื น ตรวจดรู ากสามารถดูดนา้ ได้หรอื ไม่

10. เมอ่ื รากทางานดีแล้วตัดเอาลงถงุ ปลูก

25

วิธีการ

11. เม่อื ต้นแข็งแรงดีจึงนาลงหลุมปลกู

26

ข้อดี

1. สามารถใช้กับพืชทอี่ อกรากยาก ทไ่ี ม่สามารถใช้ตัดชาได้ แต่เกิดรากไดด้ ดี ว้ ย
การตอนกงิ่

2. ไดก้ ่งิ พันธ์ุทไ่ี มก่ ลายพนั ธ์ุ
3. การปฏบิ ตั แิ ละบารงุ รักษางา่ ย
4. สามารถประหยัดคา่ ใชจ้ า่ ย และพืชบางชนดิ ออกรากได้งา่ ย
5. เปน็ วธิ ที ีส่ ามารถทาไดง้ ่าย ท้ังกลางแจ้ง และในเรอื นเพาะชา

ข้อเสีย

1. กง่ิ ตอนไมม่ รี ากแกว้ ปลูกแลว้ จะโค่นล้มไดง้ ่าย เม่อื มีพายแุ รง เช่น ลิน้ จี่ และ
ลาไย เปน็ ตน้

2. ตอ้ งเสียเวลาในการตัดกิง่ มาปักชากอ่ น เพอ่ื ให้ต้นแข็งแรงก่อนนาไปปลูก
3. สามารถขยายพนั ธุ์ได้นอ้ ย เพราะตอ้ งใช้ขนาดกิง่ โตพอสมควร
4. ตอ้ งใช้ต้นไม้จานวนมาก ทาให้ต้องปลกู ในเนือ้ ท่ีมีมากกวา่ การขยายพันธดุ์ ว้ ยวิธี

อ่นื ๆ และต้องเสยี ค่าใช้จา่ ยมากขึ้น

27

การใช้ตน้ จากรากแขนง

28

วิธีการ

ผกั เหมยี งที่มอี ายุประมาณ 4–5 ปี หากต้นและรากเจรญิ ดกี ็จะงอกตน้ ใหม่
สามารถขุดนาไปปลกู ได้ แตอ่ ัตราการรอดตายประมาณร้อยละ 50–80 เพอื่ เพิ่มอตั รา
การรอดตายควรนาตน้ ใหม่มาปลูกในถงุ เพาะชาจนมคี วามแข็งแรงเสียก่อนนาลงปลกู

29

ข้อดี

1. ไดพ้ ชื ตน้ ไมท้ ่ตี รงตามพนั ธ์ุเดมิ
2. ไมค่ อ่ ยมีการกลายพนั ธ์ุ
3. เหมาะกบั ต้นไม้ที่ไม่ตดิ เมล็ดหรอื ตดิ เมล็ดยาก เชน่ ชบา เข็ม มะลิ

ข้อเสีย

1. พชื ทีไ่ ด้รบั การปักชาจะไมม่ รี ากแก้ว
2. มโี อกาสโค่นล้มได้งา่ ย โดยเฉพาะกรณที ่ีเป็นต้นไมใ้ หญ่

30

โรคที่พบ

 โรคใบจดุ สา่ หรา่ ย (Agal leaf-spot, red rust)
เชอ้ื สาเหตุ : Cephaleuros virescens
ลักษณะของโรค : เป็นจุดกลมขนาด 3-5 มิลลิเมตร มองเห็นเป็นขุยฟูเหมือน
กามะหย่ี มีสีเขียวอมเหลือง สีส้มหรือสีน้าตาลอมส้ม เมื่อขูดจุดแผลจะหลุด
โดยงา่ ย เนอ้ื เยื่อเป็นสีเหลือง

การป้องกันกาจัด

1. การระบาดมักเกิดในช่วง สิงหาคม – กันยายน และช่วงฤดูหนาวที่มีหมอกและ
นาคา้ งลงจดั

2. การตัดแต่งทรงพมุ่ ใหโ้ ปรง่ ก็ชว่ ยไดม้ าก
3. ใช้สารกลุ่มคอปเปอร์อัตรา 30 กรัมต่อน้า 20 ลิตรหรือแมนโคเซ็บ 30 กรัมต่อ

นา้ 20 ลติ รเพื่อปอ้ งกันการเข้าทาลาย

31

โรคทีพ่ บ

 ตะไคร่บนใบ (Leaf epiphyte)
เชื้อสาเหตุ : เปน็ การเจรญิ รว่ มกันของราและสาหรา่ ย
ลกั ษณะของโรค : เป็นจุดเล็ก ๆ อาจมีสีขาวอมเทา สีเขียวอ่อน หรือสีอ่ืนๆ พบ
ในพืน้ ทท่ี ่มี คี วามช้นื สงู ทรงพมุ่ หนาทึบ ไม่ตัดแต่งกง่ิ

การปอ้ งกันกาจดั

กาจดั ดว้ ยมอื ใชก้ าจดั ตะไครป่ ระเภททม่ี ีการยึดเกาะไม่แน่นหนานกั อย่างตะไคร่เส้นผม
ตะไคร่เสน้ ใย และตะไคร่เมอื กเขียวแกมนา้ เงนิ อาจจะใชม้ อื หยบิ หรือใชอ้ ปุ กรณอ์ ่นื ๆ

32

บรรณานกุ รม

กองบรรณาธิการ. (2018). ประโยชน์ของใบเหลียง ไอเดียการกนิ และการใช้ใบเหลยี ง
เพ่อื สุขภาพ. สบื ค้นจาก : https://hd.co.th/benefits-of-baegu-and-caution

ธัญญา ทะพิงค์แก. 2554. หลกั การขยายพนั ธพุ์ ืช. เชยี งใหม่. คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร
มร.ชม.

พัฒนา นรมาศ. (2564). ผักเหลียง พชื ผกั เศรษฐกจิ พื้นบ้าน ปลูกขายรายได้ดีวิถีมัน่ คง.
มตชิ น. สบื ค้นจาก : https://www.technologychaoban.com

สธุ าชพี ศุภเกษร. (2527). ต้นผกั เหลยี งผกั พื้นเมอื งท่ีนา่ สนใจ. กสิกร 57 : 5-11.


Click to View FlipBook Version