The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

น.ส.อรณัญช์ วรเวชธนกุล ม.6/6 เลขที่ 27

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by t16102546, 2021-09-23 06:46:30

การปฏิวัติฝรั่งเศส(ม.6/6 เลขที่ 27)

น.ส.อรณัญช์ วรเวชธนกุล ม.6/6 เลขที่ 27

1.สภาพการณ์ทางสังคม

สังคมฝรั่งเศสเป็นสังคมที่เหลื่อมล้ำ
ออกเป็น 3 ฐานันดร ได้แก่ ฐานันดรที่ 1 และฐานันดรที่
2 คือพวกพระและขุนนางซึ่งมีประมาณร้อยละ 2 ของ
จํานวนประชาการท้ังหมด พวกพระและขุนนางจึงถือเป็น
พวกอภิสิทธิ
กว้างใหญ่ประมาณร้อยละ 30 – 40 ของเนื้อที่เพาะปลูก
ภายในประเทศและยังได้รับยกเว้นการเสียภาษีอากรทุก
ประเภทอีกด้วย ฐานันดรที่ 3 คือพวกสามัญชน ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพวกชาวนาชาว
ไร่ทรายากจน มีจํานวนประมาณ 20 ล้านคน และอีกประมาณกว่า 4 ล้านคน
เป็นกลุ่มชนชั้นกลางโดยกลุ่มคนที่อยู่ในฐานันดรที่ 3 นี่ต้องเสียภาษีให้กับรัฐเป็น
จํานวนมากอีกท้ังยังถูกเกณฑ์ทหารและเกณฑ์แรงงานไปทํา สาธารณะและอื่นๆ

2. สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจ

ในปลายศริสต์ศตวรรษที่ 18 ฐานะทางเศรษฐกิจและการคลังของฝรั่งเศษอยู่
ในสภาวะวิกฤตถึงขั้นล้มละลายทเนื่องจากฝรั่งเศสเข้าไปยุ่งเกี่ยวโดยไม่ได้รับ
ผลประโยชน์ใดๆ นอกจากนี้ พระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ของฝรั่งเศสยังสนับสนุนให้
อาณานิคมอังกฤษในทวีปอเมริกาให้ปฏิวัติแยกตัวออกจากอังกฤษ ทําให้
รัฐบาลต้องเสียค่าใช้จ่ายอย่างมาก จนฐานะทางการเงินทรุดตัวลง ชจนเกือบ
ทรงตัวไวไ้ม่ได้ และในระหว่าง ค.ศ. 1770-1780 ฝรั่งเศส เกิดสภาวะ
วิกฤตทางด้านเศรษฐกิจ เพราะการเก็บเกี่ยวไม่ได้ผลและเกิดภาวะการ
ขาดแคลนอาหาร นอกจากนี้ ราชสำนักที่แวร์ซายก็ใช้จ่ายอย่างสุรุ่ยสุร่ายทํา
ให้รายจ่ายในแต่ละปีมีมากกว่ารายได้ที่เรียกเก็บภาษีชนิดต่างๆ

3. สภาพการณ์ทางการเมือง

ระบบการปกครองของฝรังเศสท่ีเรียกกันว่า ระบบเก่า (Ancient Regime) เป็น
ระบบการปกครองที่มีความซับซ้อน และยุ่งเหยิงมาก เพราะแบ่งประเทศเป็นหน่วย
ปกครองอิสระถึง 60 หน่วย ซึ่งแต่ละหน่วยมีระบบกฎหมายและระเบียบบริหารของ
ตนเอง ทั้งยังมีข้าหลวงตรวจการซึ่งทําหน้าที่แทนพระมหากษัตรีย์บริหารเขตการ
ปกครองแต่ละเขต แต่ก็ยังขาดการวางระบบบริหารให้เป็นแบบแผนเหมือนกันทัวทั้ง
ประเทศ การบริหารด้านต่างๆจึงขาดประสิทธิภาพและมักสร้างปัญหาอยู่เสมอ
นอกจากนี้การที่กษัตริย์ทรงมีอํานาจท่ีไม่มีขอบเขตจํากัดและทรงอยู่เหนือกฎหมาย
บ้านเมือง พระองค์จึงมักใช้อํานาจโดยพลการ เมื่อรัฐบาลและผู้นําประเทศไม่เข้ม
แข็ง ก็ไม่สามารถควบคุมประเทศให้มีประสิทธิภาพได้



2. ความเหลื่อมล้ำทางสังคม

ฝรั่งเศสมีโครงสร้างทางสังคมแบบชนชัชั้น โดยฐานะของผู้คนในสังคมมี
สองกลุ่ม ใหญ่ ๆ คือ ชนช้ันอภิสิทธิและชนชั้นสามัญชน แต่ในทาง
ปฏิบัติทางการจะแบ่งฐานะของ พลเมืองออกเป็น 3 ชนช้ัน ได้แก่
1) พระและนักบวชในครสต์ศาสนา
2) ขุนนางและชนช้ันสูง ทังสองฐานันดรเปนชนช้ันอภิสิทธิมีจํานวน
ประมาณร้อยละ 2 ของจํานวนประชากรทั้งหมด มีชีวิตความเป็นอยู่
สะดวกสบายและหรูหรา
3) สามัญชน ส่วนใหญ่เปนชาวนาที่ยากจนและถูกขูดรีดภาษีอย่างหนัก
รวมทั้งพวกชนชั้นกลาง เช่น พ่อค้า ช่างฝีมือ ฯลฯ

3. ความเสื่อมของระบบการปกครองแบบเก่า

กษัตริย์ฝรั่งเศสในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ทรงมีพระราชอํานาจเป็น
ล้นพ้นไม่มีขอบเขตจํากัดและทรงอยู่เหนือกฎหมายของบ้านเมืองโดย
เฉพาะในรัชสมัยของพระเจ้าหลุยส์ที่16 มีหลายครั้งที่ทรงใช้อำนาจโดยไม่
ฟังเสียงประชาชน ทรงไม่สนพระทัยการบริหารบ้านเมือง อีกทังยังทรงอยู่
ภายใต้อิทธิพลของราชินีมารีอังตัวเนตต์ ซค่งทรงใช้จ่ายเงินอย่างฟุ












Click to View FlipBook Version