The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผล ปลาจ่อมกุ้งฯ 67

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DME.BuriramPAO, 2024-01-04 03:05:14

รายงานสรุปผล ปลาจ่อมกุ้งฯ 67

รายงานสรุปผล ปลาจ่อมกุ้งฯ 67

คำนำ การติดตามและประเมินผลโครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย" ประจำปี พ.ศ.2567 เป็นการติดตามและประเมินผลโครงการที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ได้ดำเนินการเพื่อ ต้องการทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการและความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อผลการดำเนินงาน และความต้องการ ในการพัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขผลการดำเนินงานในครั้งต่อไป ท้ายนี้ใคร่ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหาร ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ให้การสนับสนุนและ มองเห็นความสำคัญของการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงาน และขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนร่วมกับ โครงการ ที่ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ในการติดตามและ ประเมินผลโครงการดังกล่าว ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี จึงได้นำเสนอรายงานผลการติดตามฯ ต่อคณะผู้บริหารฯ เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาโครงการและการปรับปรุงแก้ไขผลการดำเนินงานในครั้งต่อไป ฝ่ายตรวจติดตามและประเมินผล กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์


สารบัญ หน้า บทสรุปผู้บริหาร ก – จ บทที่ 1 บทนำ 1 – 4 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3 เป้าหมาย 1.4 วิธีดำเนินการ 1.5 ระยะเวลาดำเนินการ 1.6 สถานที่ดำเนินการ 1.7 ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.8 งบประมาณ 1.9 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการนี้ 1.10 การวิเคราะห์ข้อมูลของโครงการ 1.11 การนำเสนอผลการติดตาม บทที่ 2 ผลการติดตามและประเมินผล 5 - 16 บทที่ 3 สรุปผลการติดตามและประเมินผล 17 - 19 บรรณานุกรม K.PAIROJ, สูตร Taro Yamane สำหรับคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร, แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/bb24559r/khnad-khxng-klum-tawxyang-thi-hemaa-sm ภาคผนวก • ภาพผนวก • แบบสอบถาม • ตารางสูตร Taro Yamane สำหรับคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร


ก บทสรุปผู้บริหาร โครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย" ประจำปี พ.ศ.2567 สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย" ประจำปี พ.ศ.2567 เพื่อให้ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ และทราบถึงระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ โครงการ ตลอดจนข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ จึงได้มีการออกตรวจติดตามและ ประเมินผลโครงการเพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจ รวมทั้งรับทราบถึงปัญหาของโครงการเพื่อนำมา ปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินโครงการ ในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการติดตามและประเมินผล โครงการดังกล่าว กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสถานศึกษา วัด สมาคม บริษัทห้างร้าน และประชาชนในเขตพื้นที่อำเภอประโคนชัย จำนวน 16 ตำบล 182 หมู่บ้าน และ ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่า จำนวน 5,000 คน ดังนั้น ผู้ประเมินจึงใช้ระดับความคลาดเคลื่อนจากตาราง สูตร Taro Yamane ในการกำหนดจำนวนแบบสอบถามโดยใช้ความคลาดเคลื่อนที่ ±10% จึงได้จำนวนแบบสอบถาม อย่างน้อย 98 แบบ ผู้ประเมินสามารถเก็บรวบรวมแบบสอบถาม ได้จำนวน 115 แบบ โดยการสุ่มจากกลุ่มตัวอย่าง แบบไม่เฉพาะเจาะจง โดยสรุปผลการติดตามและประเมินผลในภาพรวม ดังนี้ สรุปผลข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเพศหญิง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 66.1 รองลงมาเป็น เพศชาย จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 33.9 เพศชาย จำนวน 39 คน (33.9) เพศหญิง จำนวน 76 คน (66.1)


ข ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอายุ ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ กลุ่มอายุระหว่าง 30 – 39 ปีจำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 33.0 รองลงมา คือ กลุ่มอายุระหว่าง 20 - 29 ปี จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 23.5, กลุ่มอายุ 40 – 49 ปี จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 18.3กลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 13.9, กลุ่มอายุ 50 – 59 ปี จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 11.3 และกลุ่มอายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0 ตามลำดับ ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มระดับการศึกษา ออกเป็น 5 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน ใหญ่ คือ การศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 42.6 รองลงมา คือ การศึกษาระดับมัธยมศึกษา จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 40.0, การศึกษาระดับปวช/ปวส/อนุปริญญา จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 9.6, สูง กว่าปริญญาตรี จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 7.8 และการศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลำดับ 13.9 23.5 33 18.3 11.3 0 0 5 10 15 20 25 30 35 ต่่ากว่า 20 ปี 20 – 29 ปี 30 – 39 ปี 40 – 49 ปี 50 – 59 ปี 60 ปี ขึ้นไป อายุ 0.0 40.0 9.6 42.6 7.8 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช/ปวส/อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี ระดับการศึกษา


ค ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอาชีพ ออกเป็น 8 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ กลุ่มรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 45.2 รองลงมา คือ กลุ่มนักเรียน/นักศึกษา จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 16.5, กลุ่มรับจ้างทั่วไป จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 13.0, กลุ่มค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 9.6, กลุ่มอื่น ๆ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.1 กลุ่มหน่วยงานเอกชน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5, กลุ่มพ่อบ้าน/แม่บ้าน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5 และกลุ่มเกษตรกรรม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.6 ตามลำดับ ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มภูมิลำเนา ออกเป็น 3 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ มีภูมิลำเนาอยู่จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 93.9 รองลงมา คือ มีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด จำนวน 7คน คิดเป็นร้อยละ 6.1 และมีภูมิลำเนาอยู่ต่างประเทศ จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลำดับ 16.5 45.2 3.5 2.6 13.0 3.5 9.6 6.1 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 นักเรียน/นักศึกษา รับราชการ หน่วยงานเอกชน เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป พ่อบ้าน/แม่บ้าน ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว อื่น ๆ อาชีพ 93.9 6.1 0.0 ภูมิล าเนา


ง ผู้สำรวจได้จำแนกสื่อการรับทราบการจัดกิจกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ หน่วยงานราชการ จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 45.3 รองลงมา คือ ป้าย ประชาสัมพันธ์จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 28.7, สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (เว็บไซต์, เฟส, ไลน์) จำนวน 24 คน คิดเป็น ร้อยละ 16.0 เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0, รถประชาสัมพันธ์จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อย ละ 0.0 และอื่น ๆ จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0, ตามลำดับ สรุปผลการติดตามและประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการในภาพรวมทุกด้าน มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.50) คิดเป็นร้อยละ 89.92 รายละเอียดแต่ละด้านมีดังนี้ • สรุปผลการประเมิน การจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมของโครงการฯ ผลการประเมินความพึงพอใจที่ได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.40) คิดเป็นร้อยละ 88.08 • สรุปผลการประเมิน วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านวัตถุประสงค์ ของการจัดกิจกรรมผลการประเมินความพึงพอใจที่ได้อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.68 • สรุปผลการประเมิน เป้าหมายของการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านเป้าหมายของ การจัดกิจกรรม ผลการประเมินความพึงพอใจที่ได้อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 91.00 0.0 28.7 10.0 45.3 16.0 0.0 รถประชาสัมพันธ์ ป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก หน่วยงานราชการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อื่น ๆ


จ สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจของการดำเนินโครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย" ประจำปี พ.ศ.2567 ในภาพรวมของโครงการอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.50) คิดเป็นร้อยละ 89.92 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ด้าน ด้านที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ด้านที่ 3.เป้าหมายของการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.55) รองลงมา คือ ด้านที่ 2.วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) และด้านที่ 1.การจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.40) ตามลำดับ สรุปปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะอื่นๆ - การประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย - ควรมีสถานที่จัดงานที่มีบริเวณที่กว้างขวาง ไม่ทำให้การจราจรติดขัด - สถานที่จอดรถมีน้อย จำนวนประชากรที่มาชมงานไม่มีที่จอดรถ - ควรหลีกเลี่ยงการจัดงานตรงเทศกาล ทำให้รถติด 4.40 4.53 4.55 4.50 4.30 4.35 4.40 4.45 4.50 4.55 4.60 ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 ด้านที่ 3 รวม สรุปผลการด าเนินโครงการฯ ในภาพรวม


1 บทที่ 1 บทนำ 1. หลักการและเหตุผล ด้วยอำเภอประโคนชัย ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ได้กำหนดจัดงานเทศกาลส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ขึ้นเป็นประจำทุกปี โดยเริ่มตั้งแต่ปีพ.ศ.2527 เป็นต้นมาโดยใช้ชื่องานว่า งานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย" ทั้งนี้ก็เนื่องจากว่า ประชาชนชาวอำเภอประโคนชัย ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรมโดยเฉพาะการปลูกข้าวหอมมะลิซึ่งเป็นข้าวที่มีคุณภาพเคยชนะเลิศการประกวดระดับประเทศมาแล้ว เมื่อปี พ.ศ.2521 และนอกจากนั้นชาวอำเภอประโคนชัยยังเป็นผู้มีฝีมือในการประกอบอาหารขนมพื้นเมือง เช่น แกงบวนฮอง ปลาจ่อมกุ้ง และกระยาสารท จนสามารถสร้างชื่อเสียงและทำรายได้ให้แก่ประชาชนเป็นอย่างมาก จึงได้มีการจัดงานเทศกาลนี้ขึ้นอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของชาวอำเภอประโคน ชัยเอาไว้และเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์อำเภอประโคนชัยให้เป็นที่รู้จักโดยแพร่หลายอีกด้วย ในช่วงเทศกาลส่งท้ายปีเก่า และต้อนรับปีใหม่นั้น พี่น้องชาวอำเภอประโคนชัยทุกสาชาอาชีพ ร่วมกับองค์การ บริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ และภาคราชการได้กำหนดจัดงาน เทศกาลดังกล่าวขึ้นอีกครั้งหนึ่ง แต่ได้เพิ่มเติมกิจกรรมและชื่องานใหม่ตั้งแต่ปี พ.ศ.2545 ว่างานเทศกาล "ข้าวมะลิ หอม ปลาจ่อมกุ้ง ขมทุ่งนกประโคนชัย" ทั้งนี้ เนื่องด้วยได้พิจารณาเห็นว่า ในพื้นที่อำเภอประโคนชัยมีแหล่งท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์ คือ เขตห้ามล่าสัตว์ป่าอ่างเก็บน้ำสนามบินเก่าประโคนชัย ซึ่งมีนกหลายร้อยชนิด จำนวนหลายแสนตัว มาพักอาศัยหากินอยู่และยังไม่เป็นที่รู้จักโดยแพร่หลายเท่าที่ควร ดังนั้น จึงได้เพิ่มกิจกรรมและชื่องานเทศกาลว่า "ชมทุ่งนกประโคนชัย" ขึ้นเพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไป และงานนี้จะได้ช่วย ประชาสัมพันธ์อาหารพื้นเมืองของจังหวัดบุรีรัมย์ ที่มีชื่อเสียงมานาน คือ ปลาจ่อมกุ้ง ซึ่งเป็นสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ์ ที่สำคัญของจังหวัดด้วย 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อส่งเสริมอาชีพเกษตรกร ในการปลูกข้าวมะลิหอมให้ถูกต้องตามหลักวิซาการและเผยแพร่ชื่อเสียงของ ข้าวหอมมะลิ ให้เป็นที่รู้จักโดยแพร่หลาย 2.2 เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น ตามคำขวัญของอำเภอที่ว่า "วัฒนธรรมเลิศล้ำ เมืองต่ำปราสาทหิน ถิ่นข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมรสดี ร้อยพันปักษี คนมีน้ำใจงาม" 2.3 เพื่อเป็นการสนองพระราชดำริ ตามโครงการเศรษฐกิจชุมขน ในการส่งเสริมอาชีพของชุมชนในท้องถิ่น 2.4 เพื่อเป็นการสนองนโยบายรัฐบาลชุดปัจจุบัน ตามโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในการทำปลาจ่อมกุ้ง เพื่อบริโภคและจำหน่ายเป็นรายได้เสริม 2.5 เพื่อเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนเผยแพร่ แหล่งท่องเที่ยวของอำเภอประโคนชัย


2 3. เป้าหมาย 3.1 เป้าหมายเชิงปริมาณ 3.1.1 ส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานศึกษา วัด สมาคม บริษัทห้าง ร้านและประชาชนชาวอำเภอประโคนชัย จำนวน 16 ตำบล 182 หมู่บ้าน ได้ตระหนักและเข้าร่วมกิจกรรมเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย" อำเภอประโคนชัย 3.1.2 ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่า 5,000 คน 3.2 เป้าหมายเชิงคุณภาพ 3.2.1 เพื่อประชาสัมพันธ์ผลผลิตและ"ผลิตภัณฑ์ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง กระยาสารทและอาหาร พื้นเมืองอื่น ๆ ของอำเภอประโคนชัย โดยการสาธิต ประกวดและจัดจำหน่ายในราคาพิเศษ 3.2.2 เพื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวทุ่งนกประโคนชัย ให้กว้างขวางยิ่งขึ้น และส่งเสริมการอนุรักษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแก่ประชาชนทั่วไป 4. วิธีดำเนินการ 4.1 อำเภอจัดทำโครงการเพื่อขอรับการอุดหนุนงบประมาณจากเทศบาลตำบล/องค์การบริหารส่วนตำบลทุกแห่ง 4.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน เพื่อดำเนินงานตามกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการฯ 4.3 ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน รายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ 5. ระยะเวลาในการดำเนินการ ปีงบประมาณ 2567 ห้วงเดือนธันวาคม 2566 ถึงเดือน มกราคม 2567 6. สถานที่ดำเนินการ บริเวณหน้าสำนักงานเทศบาลตำบลประโคนชัย (ถนนโชคชัย - เดชอุดม) อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ 7. ผู้รับผิดชอบโครงการ 7.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ 7.2 ที่ทำการปกครองอำเภอประโคนชัย 7.3 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอประโคนชัยทุกแห่ง 7.4 หน่วยงานราชการ, รัฐวิสาหกิจ, กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 7.5 เขตห้ามล่าสัตว์ป่าอ่างเก็บน้ำสนามบิน 7.6 ภาคเอกชนที่ให้การสนับสนุน 8. งบประมาณ 8.1 เงินรับบริจาค, ที่ทำการปกครองอำเภอประโคนชัย 2,000 บาท มีงบประมาณไม่เพียงพอในการดำเนินการ และจำเป็นต้องขอรับการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนชังหวัดบุรีรัมย์ เป็นเงิน 160,000 บาท 8.2 ขอรับการสนับสนุนจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่จำนวน 17 แห่ง ๆ ละ 30,000 บาท เป็นเงิน 510,000 บาท รวม 3 รายการ เป็นเงิน 672,000 บาท (หกแสนเจ็ดหมื่นสองพันบาทถ้วน) เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย ในการจัดงาน


3 9. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการนี้ 9.1 เป็นการส่งเสริมผลผลิต และการตลาดของสินค้าพื้นบ้าน ในอำเภอประโคนชัย และจังหวัดบุรีรัมย์ 9.2 เป็นการส่งเสริม ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอันดีของชาวอำเภอประโคนชัย 9.3 เป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างรายได้ในระยะสั้น และระยะยาว 10. การวิเคราะห์ข้อมูลของโครงการ 10.1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นการวิเคราะห์โดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) 10.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินความคิดเห็นต่อผลการดำเนินงานโครงการ ใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean, ¯x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation, S.D.) ❖ เกณฑ์การให้คะแนนและแปลความหมายโดยแบ่งระดับความคิดเห็นเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับความคิดเห็นมากที่สุด ให้คะแนน 5 ระดับความคิดเห็นมาก ให้คะแนน 4 ระดับความคิดเห็นปานกลาง ให้คะแนน 3 ระดับความคิดเห็นน้อย ให้คะแนน 2 ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด ให้คะแนน 1 ระดับความคิดเห็นที่มีต่อโครงการฯ ใช้ค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีเกณฑ์การพิจารณาค่าเฉลี่ย ไว้ 5 ระดับ ด้วยแบบวัดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ใช้เกณฑ์ Ordinal ดังนี้ ช่วงระดับคะแนน ความหมาย 1.00 - 1.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อยที่สุด 1.50 - 2.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย 2.50 – 3.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง 3.50 – 4.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก 4.50 – 5.00 ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด


4 ❖ การวิเคราะห์ข้อมูลและหาค่าสถิติต่าง ๆ สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (1) ร้อยละ (Percentage) ใช้สูตร (บุญชม ศรีสะอาด.2545 : 104) P = × 100 เมื่อ P แทน ร้อยละ f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จำนวนความถี่ทั้งหมด (2) ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้สูตร (บุญชม ศรีสะอาด.2545 : 105) x¯ = ∑ เมื่อ ¯x แทน ค่าเฉลี่ย ∑X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม N แทน จำนวนคนทั้งหมด (3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตร (บุญชม ศรีสะอาด.2545 : 106) . . = √ ∑( − ̅) เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ¯x แทน คะแนนแต่ละตัว N แทน จำนวนคนทั้งหมด ∑X แทน ผลรวม 11. การนำเสนอผลการติดตาม ใช้การนำเสนอผลสรุปการติดตามและประเมินผลในรูปแบบของความถี่, ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย และใช้รูปแบบ ตารางและแผนภูมิ (กราฟ) เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ


5 บทที่ 2 ผลการติดตามและประเมินผล สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย" ประจำปี พ.ศ.2567 ดำเนินการติดตามและประเมินผลโครงการจากผู้ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด 115 คน ผลการติดตามและประเมินผลดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ จำนวน (N) ร้อยละ (%) ชาย 39 33.9 หญิง 76 66.1 รวม 115 100.0 จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเพศหญิง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 66.1 รองลงมาเป็น เพศชาย จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 33.9 รูปประกอบตารางที่ 1 แสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศชาย จำนวน 39 คน (33.9) เพศหญิง จำนวน 76 คน (66.1)


6 ตารางที่ 2 แสดงอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม อายุ จำนวน (N) ร้อยละ (%) ต่ำกว่า 20 ปี 16 13.9 20 – 29 ปี 27 23.5 30 – 39 ปี 38 33.0 40 – 49 ปี 21 18.3 50 – 59 ปี 13 11.3 มากกว่า 60 ปี ขึ้นไป 0 0 รวม 115 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอายุ ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ กลุ่มอายุระหว่าง 30 – 39 ปีจำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 33.0 รองลงมา คือ กลุ่มอายุระหว่าง 20 - 29 ปี จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 23.5, กลุ่มอายุ 40 – 49 ปี จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 18.3กลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 13.9, กลุ่มอายุ50 – 59 ปีจำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 11.3 และกลุ่มอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0 ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 2 แสดงอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม 13.9 23.5 33 18.3 11.3 0 0 5 10 15 20 25 30 35 ต่่ากว่า 20 ปี 20 – 29 ปี 30 – 39 ปี 40 – 49 ปี 50 – 59 ปี 60 ปี ขึ้นไป อายุ


7 ตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม ระดับการศึกษา จำนวน (N) ร้อยละ (%) ประถมศึกษา 0 0 มัธยมศึกษา 46 40.0 ปวช/ปวส/อนุปริญญา 11 9.6 ปริญญาตรี 49 42.6 สูงกว่าปริญญาตรี 9 7.8 รวม 115 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มระดับการศึกษา ออกเป็น 5 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ คือ การศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 42.6 รองลงมา คือ การศึกษาระดับ มัธยมศึกษา จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 40.0, การศึกษาระดับปวช/ปวส/อนุปริญญา จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อย ละ 9.6, สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 7.8 และการศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 0 คน คิดเป็น ร้อยละ 0 ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม 0.0 40.0 9.6 42.6 7.8 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช/ปวส/อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี ระดับการศึกษา


8 ตารางที่ 4 แสดงอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม อาชีพ จำนวน (N) ร้อยละ (%) นักเรียน/นักศึกษา 19 16.5 รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 52 45.2 เอกชน 4 3.5 เกษตรกรรม 3 2.6 รับจ้างทั่วไป 15 13.0 พ่อบ้าน/แม่บ้าน 4 3.5 ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว 11 9.6 อื่น ๆ 7 6.1 รวม 115 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอาชีพ ออกเป็น 8 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ กลุ่มรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 45.2 รองลงมา คือ กลุ่มนักเรียน/นักศึกษา จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 16.5, กลุ่มรับจ้างทั่วไป จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 13.0, กลุ่มค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 9.6, กลุ่มอื่น ๆ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.1 กลุ่มหน่วยงานเอกชน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5, กลุ่มพ่อบ้าน/แม่บ้าน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5 และกลุ่มเกษตรกรรม จำนวน 3 คน คิด เป็นร้อยละ 2.6 ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 4 แสดงอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม 16.5 45.2 3.5 2.6 13.0 3.5 9.6 6.1 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 50.0 นักเรียน/นักศึกษา รับราชการ หน่วยงานเอกชน เกษตรกรรม รับจ้างทั่วไป พ่อบ้าน/แม่บ้าน ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว อื่น ๆ อาชีพ


9 ตารางที่ 5 แสดงภูมิลำเนาของผู้ตอบแบบสอบถาม ภูมิลำเนา จำนวน (N) ร้อยละ (%) จังหวัดบุรีรัมย์ 108 93.9 ต่างจังหวัด 7 6.1 ต่างประเทศ 0 0.0 รวม 115 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มภูมิลำเนา ออกเป็น 3 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ มีภูมิลำเนาอยู่จังหวัดบุรีรัมย์จำนวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 93.9 รองลงมา คือ มีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.1 และมีภูมิลำเนาอยู่ต่างประเทศ จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 5 แสดงภูมิลำเนาของผู้ตอบแบบสอบถาม 93.9 6.1 0.0 ภูมิล าเนา


10 ตารางที่ 6 แสดงสื่อการรับทราบการจัดกิจกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) รายการ จำนวน (N) ร้อยละ (%) รถประชาสัมพันธ์ 0 0.0 ป้ายประชาสัมพันธ์ 43 28.7 เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก 15 10.0 หน่วยงานราชการ 68 45.3 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (เว็บไซต์, เฟส, ไลน์) 24 16.0 อื่น ๆ 0 0 ผู้สำรวจได้จำแนกสื่อการรับทราบการจัดกิจกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ หน่วยงานราชการ จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 45.3 รองลงมา คือ ป้าย ประชาสัมพันธ์จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 28.7, สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (เว็บไซต์, เฟส, ไลน์) จำนวน 24 คน คิดเป็น ร้อยละ 16.0 เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0, รถประชาสัมพันธ์จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อย ละ 0.0 และอื่น ๆ จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0, ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 6 แสดงสื่อการรับทราบการจัดกิจกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม 0.0 28.7 10.0 45.3 16.0 0.0 รถประชาสัมพันธ์ ป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก หน่วยงานราชการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อื่น ๆ


11 ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจในโครงการจัดงานเทศกาล “ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย” ประจำปี พ.ศ.2567 ตารางที่ 7 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) มากที่สุด แปรผล อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ ด้านกิจกรรม 1.สถานที่ในการจัดงาน/ เวที/ระบบเครื่องเสียง/ ระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง มีความเหมาะสมเพียงใด 48 (41.7%) 57 (49.6%) 6 (5.2%) 4 (3.5%) 0 (0.0%) 4.26 0.85 85.20 มาก 4 2.การจัด/ติดตั้งป้าย ประชาสัมพันธ์ มีความ เหมาะสมเพียงใด 36 (31.3%) 68 (59.1%) 11 (9.6%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.22 0.60 84.40 มาก 5 3.กิจกรรมการประกวด ขบวนแห่ข้าวมะลิหอม มี ความเหมาะสมเพียงใด 78 (67.8%) 33 (28.7%) 4 (3.5%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.64 0.55 92.80 มากที่สุด 1 4.การประกวดผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร/การ ประกวดอาหารพื้นเมือง มี ความเหมาะสมเพียงใด 60 (52.2%) 55 (47.8%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.52 0.50 90.40 มากที่สุด 2 5.การแสดงนิทรรศการ ของส่วนราชการและการ จัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์มี ความเหมาะสมเพียงใด 59 (51.3%) 41 (35.7%) 15 (13.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.38 0.71 87.60 มาก 3 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 115) 4.40 0.64 88.08 มาก


12 ผลการประเมิน ด้านกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของโครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนก ประโคนชัย" ด้านการจัดกิจกรรม ผลการประเมินความพึงพอใจที่ได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.40) คิดเป็น ร้อยละ 80.08 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 5 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 3.กิจกรรมการ ประกวดขบวนแห่ข้าวมะลิหอม มีความเหมาะสมเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.64) รองลงมา คือ ข้อที่ 4.การประกวด ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร/การประกวดอาหารพื้นเมือง มีความเหมาะสมเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.52), ข้อที่ 5.การ แสดงนิทรรศการของส่วนราชการและการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์มีความเหมาะสมเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.38), ข้อ ที่ 1.สถานที่ในการจัดงาน/เวที/ระบบเครื่องเสียง/ระบบไฟฟ้าและแสงสว่าง มีความเหมาะสมเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.26), และข้อที่ 2.การจัด/ติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์ มีความเหมาะสมเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.22) ตามลำดับ 4.26 4.22 4.64 4.52 4.38 4.40 4.00 4.10 4.20 4.30 4.40 4.50 4.60 4.70 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4 ข้อที่ 5 รวม ระดับความพึงพอใจในโครงการฯ


13 ตารางที่ 8 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็นความ พึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) แปรผล อันดับ มาก ที่สุด 5 มาก 4 ปาน กลาง 3 น้อย 2 น้อย ที่สุด 1 ❖ วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม 1.การจัดกิจกรรมนี้ส่งเสริม เกษตรกรในการปลูกข้าว หอมมะลิให้ถูกต้องตามหลัก วิชาการและเผยแพร่ชื่อเสียง ของข้าวหอมมะลิให้เป็นที่ รู้จัก ในระดับใด 58 (50.4%) 42 (36.5%) 15 (13.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.37 0.71 87.40 มาก 5 2. การจัดกิจกรรมนี้เป็นการ อนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี อันดีงามของท้องถิ่นตามคำ ขวัญที่ว่า "วัฒนธรรมเลิศล้ำ" เมืองต่ำปราสาทหิน ถิ่นข้าว มะลิหอม ปลาจ่อมรสดี ร้อย พันปักษี คนมีน้ำใจงาม"ใน ระดับใด 68 (59.1%) 43 (37.4%) 4 (3.5%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.56 0.57 91.20 มากที่สุด 3 3. การจัดกิจกรรมนี้สามารถ สนองพระราชดำริตาม โครงการเศรษฐกิจชุมชน เพิ่มขึ้น ในระดับใด 71 (61.7%) 36 (31.3%) 8 (7.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.55 0.63 91.00 มากที่สุด 4 4. การจัดกิจกรรมนี้สามารถ ดำเนินการตามโครงการหนึ่ง ตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในการ ทำปลาจ่อมกุ้ง ในระดับใด 70 (60.9%) 45 (39.1%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.61 0.49 92.20 มากที่สุด 1 5. การจัดกิจกรรมนี้สามารถ ส่งเสริมและสนับสนุน เผยแพร่ แหล่งท่องเที่ยวของ อำเภอประโคนชัย ในระดับ ใด 75 (65.2%) 32 (27.8%) 8 (7.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.58 0.62 91.60 มากที่สุด 2 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 115) 4.53 0.60 90.68 มากที่สุด


14 ผลการประเมินวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของโครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนก ประโคนชัย" ด้านวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม ผลการประเมินความพึงพอใจที่ได้อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.68 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 5 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 4. การจัดกิจกรรมนี้สามารถดำเนินการตามโครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในการทำปลาจ่อมกุ้ง ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.61) รองลงมา คือ ข้อที่ 5. การจัดกิจกรรมนี้สามารถส่งเสริมและสนับสนุนเผยแพร่ แหล่งท่องเที่ยว ของอำเภอประโคนชัย ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.58), ข้อที่ 2. การจัดกิจกรรมนี้เป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นตามคำขวัญที่ว่า "วัฒนธรรมเลิศล้ำ" เมืองต่ำปราสาทหิน ถิ่นข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมรสดี ร้อยพันปักษี คนมีน้ำใจงาม"ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.56) ข้อที่ 3. การจัดกิจกรรมนี้สามารถสนองพระราชดำริ ตามโครงการเศรษฐกิจชุมชนเพิ่มขึ้น ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.55) และข้อที่ 1.การจัดกิจกรรมนี้ส่งเสริมเกษตรกร ในการปลูกข้าวหอมมะลิให้ถูกต้องตามหลักวิชาการและเผยแพร่ชื่อเสียงของข้าวหอมมะลิให้เป็นที่รู้จัก ในระดับใด มี ค่าเฉลี่ย (¯x = 4.37) ตามลำดับ 4.37 4.56 4.55 4.61 4.58 4.53 4.25 4.3 4.35 4.4 4.45 4.5 4.55 4.6 4.65 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4 ข้อที่ 5 รวม ระดับความพึงพอใจในโครงการฯ


15 ตารางที่ 9 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) มากที่สุด แปรผล อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ เป้าหมายของการจัดกิจกรรม 1. สามารถประชาสัมพันธ์ ผลผลิตและผลิตภัณฑ์ ทางการเกษตร และ อาหารพื้นเมืองอื่น ๆ มาก น้อยเพียงใด 48 (41.7%) 63 (54.8%) 4 (3.5%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.38 0.56 87.60 มาก 3 2. สามารถส่งเสริมและ ประชาสัมพันธ์ ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอันดีของ ชาวประโคนชัย มากน้อย เพียงใด 74 (64.3%) 41 (35.7%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.64 0.48 92.80 มากที่สุด 1 3. สามารถส่งเสริมการ ท่องเที่ยวและกระตุ้น เศรษฐกิจ สร้างรายได้ใน ระยะสั้นและระยะยาว มากน้อยเพียงใด 72 (62.6%) 43 (37.4%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.63 0.49 92.60 มากที่สุด 2 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 115) 4.55 0.51 91.00 มาก ที่สุด


16 ผลการประเมิน ด้านเป้าหมายของการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของโครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนก ประโคนชัย" ด้านเป้าหมายของการจัดกิจกรรม ผลการประเมินความพึงพอใจที่ได้อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 91.00 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 2. สามารถส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอันดีของชาวประโคนชัย มากน้อย เพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.64) รองลงมา คือ ข้อที่ 3. สามารถส่งเสริมการท่องเที่ยวและกระตุ้นเศรษฐกิจ สร้างรายได้ ในระยะสั้นและระยะยาว มากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.63) ข้อที่ 1. สามารถประชาสัมพันธ์ผลผลิตและ ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และอาหารพื้นเมืองอื่น ๆ มากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.38) ตามลำดับ ตอนที่ 3 ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะอื่นๆ - การประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย - ควรมีสถานที่จัดงานที่มีบริเวณที่กว้างขวาง ไม่ทำให้การจราจรติดขัด - สถานที่จอดรถมีน้อย จำนวนประชากรที่มาชมงานไม่มีที่จอดรถ - ควรหลีกเลี่ยงการจัดงานตรงเทศกาล ทำให้รถติด 4.38 4.64 4.63 4.55 4.25 4.30 4.35 4.40 4.45 4.50 4.55 4.60 4.65 4.70 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 รวม ระดับความพึงพอใจในโครงการฯ


17 บทที่ 3 สรุปผลการติดตามและประเมินผล สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย" ประจำปี พ.ศ.2567 เพื่อให้ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ และทราบถึงระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อ โครงการ ตลอดจนข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ จึงได้มีการออกตรวจติดตามและ ประเมินผลโครงการเพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจ รวมทั้งรับทราบถึงปัญหาของโครงการเพื่อนำมา ปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินโครงการ ในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการติดตามและประเมินผล โครงการดังกล่าว กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ส่วนราชการ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสถานศึกษา วัด สมาคม บริษัทห้างร้าน และ ประชาชนในเขตพื้นที่อำเภอประโคนชัย จำนวน 16 ตำบล 182 หมู่บ้าน และ ประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมไม่ต่ำกว่า จำนวน 5,000 คน ดังนั้น ผู้ประเมินจึงใช้ระดับความคลาดเคลื่อนจากตาราง สูตร Taro Yamane ในการกำหนดจำนวนแบบสอบถามโดยใช้ความคลาดเคลื่อนที่ ±10% จึงได้จำนวนแบบสอบถาม อย่างน้อย 98 แบบ ผู้ประเมินสามารถเก็บรวบรวมแบบสอบถาม ได้จำนวน 115 แบบ โดยการสุ่มจากกลุ่มตัวอย่าง แบบไม่เฉพาะเจาะจง โดยสรุปผลการติดตามและประเมินผลในภาพรวม ดังนี้ • เพศ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเพศหญิง จำนวน 76 คน คิดเป็น ร้อยละ 66.1 รองลงมาเป็น เพศชาย จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 33.9 • อายุผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอายุ ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ กลุ่มอายุระหว่าง 30 – 39 ปีจำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 33.0 รองลงมา คือ กลุ่มอายุระหว่าง 20 - 29 ปี จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 23.5, กลุ่มอายุ 40 – 49 ปี จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 18.3 กลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 13.9, กลุ่มอายุ 50 – 59 ปี จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 11.3 และกลุ่มอายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0 ตามลำดับ • การศึกษา ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มระดับการศึกษา ออกเป็น 5 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ การศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 42.6 รองลงมา คือ การศึกษา ระดับมัธยมศึกษา จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 40.0, การศึกษาระดับปวช/ปวส/อนุปริญญา จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 9.6, สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 7.8 และการศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลำดับ • อาชีพ ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอาชีพ ออกเป็น 8 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ คือ กลุ่มรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 45.2 รองลงมา คือ กลุ่มนักเรียน/ นักศึกษา จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 16.5, กลุ่มรับจ้างทั่วไป จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 13.0, กลุ่มค้าขาย/ ธุรกิจส่วนตัว จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 9.6, กลุ่มอื่น ๆ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.1 กลุ่มหน่วยงานเอกชน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5, กลุ่มพ่อบ้าน/แม่บ้าน จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5 และกลุ่มเกษตรกรรม จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.6 ตามลำดับ


18 • ภูมิลำเนา ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มภูมิลำเนา ออกเป็น 3 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ คือ มีภูมิลำเนาอยู่จังหวัดบุรีรัมย์ จำนวน 108 คน คิดเป็นร้อยละ 93.9 รองลงมา คือ มีภูมิลำเนาอยู่ ต่างจังหวัด จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 6.1 และมีภูมิลำเนาอยู่ต่างประเทศ จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลำดับ • ท่านทราบข่าวการจัดกิจกรรมจากสื่อใด ผู้สำรวจได้จำแนกสื่อการรับทราบการจัดกิจกรรมของผู้ตอบ แบบสอบถาม ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ หน่วยงานราชการ จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 45.3 รองลงมา คือ ป้ายประชาสัมพันธ์จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 28.7, สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (เว็บไซต์, เฟส, ไลน์) จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 16.0 เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 10.0, รถประชาสัมพันธ์ จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0 และอื่น ๆ จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0, ตามลำดับ สรุปผลการติดตามและประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการในภาพรวมทุกด้าน มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.50) คิดเป็นร้อยละ 89.92 รายละเอียดแต่ละด้านมีดังนี้ • สรุปผลการประเมิน การจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมของโครงการฯ ผลการประเมินความพึงพอใจที่ได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.40) คิดเป็นร้อยละ 88.08 • สรุปผลการประเมิน วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านวัตถุประสงค์ ของการจัดกิจกรรมผลการประเมินความพึงพอใจที่ได้อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.68 • สรุปผลการประเมิน เป้าหมายของการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านเป้าหมายของ การจัดกิจกรรม ผลการประเมินความพึงพอใจที่ได้อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 91.00 รายการ / ประเด็นความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) แปรผล อันดับ ❖ สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม 1.การจัดกิจกรรม 4.40 0.64 88.08 มาก 3 2. วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม 4.53 0.60 90.68 มาก 2 3. เป้าหมายของการจัดกิจกรรม 4.55 0.51 91.00 มาก 1 ค่าเฉลี่ยรวม 4.50 0.58 89.92 มากที่สุด


19 สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจของการดำเนินโครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย" ประจำปี พ.ศ.2567ในภาพรวมของโครงการอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.50) คิดเป็นร้อยละ 89.92 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ด้าน ด้านที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ด้านที่ 3. เป้าหมายของการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.55) รองลงมา คือ ด้านที่ 2.วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) และด้านที่ 1.การจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.40) ตามลำดับ สรุปปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะอื่นๆ - การประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย - ควรมีสถานที่จัดงานที่มีบริเวณที่กว้างขวาง ไม่ทำให้การจราจรติดขัด - สถานที่จอดรถมีน้อย จำนวนประชากรที่มาชมงานไม่มีที่จอดรถ - ควรหลีกเลี่ยงการจัดงานตรงเทศกาล ทำให้รถติด 4.40 4.53 4.55 4.50 4.30 4.35 4.40 4.45 4.50 4.55 4.60 ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 ด้านที่ 3 รวม สรุปผลการด าเนินโครงการฯ ในภาพรวม


ภาคผนวก


รวมภาพกิจกรรม โครงการจัดงานเทศกาล "ข้าวมะลิหอม ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนกประโคนชัย" ประจำปี พ.ศ.2567


±1% ±2% ±3% ±4% ±5% ±10% 500 * * * * 222 83 1,000 * * * 385 286 91 1,500 * * 638 441 316 94 2,000 * * 714 476 333 95 2,500 * 1250 769 500 345 96 3,000 * 1364 811 517 353 97 3,500 * 1458 843 530 359 97 4,000 * 1538 870 541 364 98 4,500 * 1607 891 549 367 98 5,000 * 1667 909 556 370 98 6,000 * 1765 938 566 375 98 7,000 * 1842 959 574 378 99 8,000 * 1905 976 580 381 99 9,000 * 1957 989 584 383 99 10,000 5000 2000 1000 588 385 99 15,000 6000 2143 1034 600 390 99 20,000 6667 2222 1053 606 392 100 25,000 7143 2273 1064 610 394 100 50,000 8333 2381 7087 617 397 100 100,000 9091 2439 1099 621 398 100 มากกว่า 100,000 10000 2500 1111 625 400 100 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ขนาดความคลาดเคลื่อน ขนาดประชากร สูตร Taro Yamane ส าหรับค านวณขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร * หมายถึง ขนาดตัวอย่างไม่เหมาะสมที่จะ Assume ให้เป็นการกระจายแบบปกติ จึงไม่สามารถใช้สูตรค านวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างได้


Click to View FlipBook Version