The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานสรุปผล โครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DME.BuriramPAO, 2024-01-23 03:57:48

รายงานสรุปผล บุญมันวันเกษตรกร

รายงานสรุปผล โครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567

คำนำ การติดตามและประเมินผลโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เป็นการติดตามและประเมินผลโครงการที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ได้ดำเนินการเพื่อต้องการ ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการและความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อผลการดำเนินงาน และความต้องการในการ พัฒนาจังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขผลการดำเนินงานในครั้งต่อไป ท้ายนี้ใคร่ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหาร ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ให้การสนับสนุนและ มองเห็นความสำคัญของการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงาน และขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนร่วมกับ โครงการ ที่ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ในการติดตามและ ประเมินผลโครงการดังกล่าว ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี จึงได้นำเสนอรายงานผลการติดตามฯ ต่อคณะผู้บริหารฯ เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาโครงการและการปรับปรุงแก้ไขผลการดำเนินงานในครั้งต่อไป ฝ่ายตรวจติดตามและประเมินผล กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์


สารบัญ หน้า บทสรุปผู้บริหาร ก – จ บทที่ 1 บทนำ 1 – 4 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3 เป้าหมาย 1.4 วิธีดำเนินการ 1.5 ระยะเวลาดำเนินการ 1.6 สถานที่ดำเนินการ 1.7 ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.8 งบประมาณ 1.9 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการนี้ 1.10 การวิเคราะห์ข้อมูลของโครงการ 1.11 การนำเสนอผลการติดตาม บทที่ 2 ผลการติดตามและประเมินผล 5 - 16 บทที่ 3 สรุปผลการติดตามและประเมินผล 17 - 19 บรรณานุกรม K.PAIROJ, สูตร Taro Yamane สำหรับคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร, แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/bb24559r/khnad-khxng-klum-tawxyang-thi-hemaa-sm ภาคผนวก • ภาพผนวก • แบบสอบถาม • ตารางสูตร Taro Yamane สำหรับคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร


ก บทสรุปผู้บริหาร โครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อให้ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ และทราบถึงระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อโครงการ ตลอดจนข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ จึงได้มีการออกตรวจติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจ รวมทั้งรับทราบถึงปัญหาของโครงการเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาการ ดำเนินโครงการ ในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการติดตามและประเมินผลโครงการดังกล่าว กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ประชาชนในเขตพื้นที่อำเภอปะคำ และประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 45,000 คน โดยประมาณ ดังนั้น ผู้ประเมินจึงใช้ระดับความคลาดเคลื่อนจากตารางสูตร Taro Yamane ในการกำหนดจำนวน แบบสอบถามโดยใช้ความคลาดเคลื่อนที่ ±10% จึงได้จำนวนแบบสอบถามอย่างน้อย 100 แบบ ผู้ประเมินสามารถ เก็บรวบรวมแบบสอบถาม ได้จำนวน 135 แบบ โดยการสุ่มจากกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เฉพาะเจาะจง โดยสรุปผลการ ติดตามและประเมินผลในภาพรวม ดังนี้ สรุปผลข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเพศหญิง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 56.3 และเพศชาย จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 43.7 เพศชาย จำนวน 59 คน (43.7) เพศหญิง จำนวน 76 คน (56.3)


ข ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มช่วงอายุออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มอายุระหว่าง 41 – 50 ปีจำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 27.4 รองลงมา คือ กลุ่มอายุระหว่าง 51 – 59 ปี จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 26.7, กลุ่มอายุระหว่าง 31 – 40 ปีจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 24.4, กลุ่มอายุระหว่าง 20 – 30 ปีจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 10.4, กลุ่มอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 และน้อยที่สุด คือ กลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.4 ตามลำดับ ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มการศึกษา ออกเป็น 5 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มการศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 35.6 รองลงมา คือ กลุ่มการศึกษาระดับ มัธยมศึกษา จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 34.1, กลุ่มการศึกษาระดับปวช./ปวส./อนุปริญญา จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 16.3, กลุ่มการศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 11.9 และน้อยที่สุด คือ กลุ่มการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2 ตามลำดับ 4.4 10.4 24.4 27.4 26.7 6.7 0 5 10 15 20 25 30 ต่่ากว่า 20 ปี 20 – 30 ปี 31 – 40 ปี 41 – 50 ปี 51 – 59 ปี 60 ปี ขึ้นไป อายุ 35.6 34.1 16.3 11.9 2.2 0 5 10 15 20 25 30 35 40 ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี การศึกษา


ค ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอาชีพ ออกเป็น 5 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 41.5 รองลงมา คือ กลุ่มอาชีพค้าขาย/รับจ้างทั่วไป จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 35.6, กลุ่มอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8, กลุ่มนักเรียน/นักศึกษา จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 5.2 และน้อยที่สุด คือ กลุ่มอาชีพอื่น ๆ (ไม่ระบุ) จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.0 ตามลำดับ ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มภูมิลำเนา ออกเป็น 2 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มจังหวัดบุรีรัมย์จำนวน 127 คน คิดเป็นร้อยละ 94.1 และกลุ่มต่างจังหวัด จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 5.9 5.2 14.8 35.6 41.5 3.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 นักเรียน รับราชการ ค้าขาย เกษตรกรรม อื่น ๆ อาชีพ จังหวัดบุรีรัมย์ 94.1 ต่างจังหวัด 5.9 ภูมิล าเนา


ง ผู้สำรวจได้จำแนกสื่อการรับทราบการจัดกิจกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ หน่วยงานราชการ จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 23.9 รองลงมา คือ เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 22.8, ป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 21.1, รถประชาสัมพันธ์จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 18.3, สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (เว็บไซต์, เฟส, ไลน์) จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 11.7 และอื่น ๆ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2 ตามลำดับ สรุปผลการติดตามและประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ในภาพรวมทุกด้าน มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.46) คิดเป็นร้อยละ 89.30 รายละเอียดแต่ละด้านมีดังนี้ • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 1 การจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.45) คิดเป็นร้อยละ 88.96 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 2 วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อ วัตถุประสงค์ของโครงการ ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.46) คิดเป็น ร้อยละ 89.22 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 3 ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.49) คิดเป็นร้อยละ 89.70 18.3 21.1 22.8 23.9 11.7 2.2 0 5 10 15 20 25 30 รถประชาสัมพันธ์ ป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก หน่วยงานราชการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อื่น ๆ


จ สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.46) คิดเป็นร้อยละ 89.30 รายการ ประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ด้าน ด้านที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ด้านที่ 3 ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัด กิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.49) คิดเป็นร้อยละ 89.70 รองลงมา คือ ด้านที่ 2 วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.46) คิดเป็นร้อยละ 89.22 และด้านที่ 1 การจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.45) คิดเป็นร้อยละ 88.96 สรุปข้อเสนอแนะ - การประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย - ควรมีสถานที่จัดงานที่มีบริเวณที่กว้างขวาง ไม่ทำให้การจราจรติดขัด - ต้องการให้จัดกิจกรรมแบบนี้ในทุก ๆ ปี 4.45 4.46 4.49 4.46 4.43 4.44 4.45 4.46 4.47 4.48 4.49 4.5 ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 ด้านที่ 3 รวม สรุปผลการด าเนินโครงการฯ ในภาพรวม


1 บทที่ 1 บทนำ 1. หลักการและเหตุผล อำเภอปะคำ มีพื้นที่ประมาณ 296.029 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 185,018.25 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.87 ของพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ ภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง สภาพทั่วไปเป็นป่าไม้ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำสวน พาณิชยกรรม รับจ้าง และอื่น ๆ โดยพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์และมีความ พร้อมในด้านทรัพยากรน้ำ ทั้งน้ำใต้ดินและบนผิวดิน คือ หมู่บ้านในเขตบ้านปลื้ม อันประกอบด้วย 7 หมู่บ้าน ได้แก่ บ้านปลื้มพัฒนา บ้านปลื้มใต้ บ้านเริงแก้ว บ้านเริงทรัพย์ บ้านศรีเมืองใหม่ บ้านบ่อน้ำใส และบ้านปลื้มอุดม ซึ่งมีพื้นที่สามารถเพาะปลูกพืชผลได้เป็นอย่างดี อาทิ มันสำปะหลัง อ้อย ไม้ผล และอื่นๆ อีกมากมาย ทำให้การทำ การเกษตรในพื้นที่ได้ผลผลิตที่ดีมีคุณภาพ กับทั้งยังมีผลผลิตอีกมากมายหลายชนิดที่ประชากรได้ดำเนินการผลิต ในปัจจุบันนี้แทบจะแยกไม่ออกว่าเป็นผลผลิตจากท้องที่สุด โดยเฉพาะมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นพืชที่ได้ผลผลิตดีมาก อำเภอปะคำได้พิจารณาแล้วว่า เพื่อเป็นการส่งเสริมเกษตรกรที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมในท้องถิ่นให้มี ความสมัครสมานสามัคคีกันมากยิ่งขึ้น สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น และมีขวัญกำลังใจในการ ประกอบอาชีพ เพื่อสืบสานอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีอัตลักษณ์อันดีงาม และความภาคภูมิใจของท้องถิ่นให้คงอยู่ อย่างยั่งยืน นับเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่ควรสืบทอดและควรยกระดับเข้าสู่การท่องเที่ยวของอำเภอปะคำต่อไป จึงได้จัดทำโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำขึ้น 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นให้คงอยู่อย่างมั่นคง 2.2 เพื่อเป็นการส่งเสริมกิจกรรมอันดีงามของเกษตรกร และส่งเสริมความสามัคคีในหมู่คณะ 2.3 เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญของชุมชน และวัฒนธรรมเชิงการท่องเที่ยวของ อำเภอปะคำ 2.4 เพื่อเป็นการแข่งขันในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร 3. เป้าหมาย เชิงคุณภาพ : การผลักดันนโยบายของรัฐบาลให้เกิดผลสัมฤทธิ์ การส่งเสริมการท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักอย่าง แพร่หลาย ประชาชนชาวอำเภอปะคำอนุรักษ์สืบสานประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนและมีความรัก ความสามัคคี รักใคร่กลมเกลียว 4. วิธีดำเนินการ 4.1 จัดทำโครงการเสนอขออนุมัติงบอุดหนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ให้การ สนับสนุน 4.2 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานและคณะกรรมการที่รับผิดชอบ 4.3 ดำเนินงานตามแผนโครงการ 4.4 สรุปผลและประเมินผล


2 5. ระยะเวลาในการดำเนินการ ปีงบประมาณ 2567 ห้วงระหว่างเดือนมกราคม - มีนาคม 6. สถานที่ดำเนินการ ภายในบริเวณสนามโรงเรียนบ้านปลื้มพัฒนา หมู่ที่ 7 ตำบลโคกมะม่วง อำเภอปะคำ จังหวัดบุรีรัมย์ 7. ผู้รับผิดชอบโครงการ 7.1 องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ 7.2 ที่ทำการปกครองอำเภอปะคำ 7.3 ที่ทำการปกครองจังหวัดบุรีรัมย์ 8. งบประมาณ 8.1 ขอรับเงินอุดหนุนจากองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ จำนวนเงิน 200,000 บาท (สองแสนบาทถ้วน) 8.2 งบประมาณในส่วนของตนเองร่วมสมทบ จำนวน 1,000 บาท (หนึ่งพันบาทถ้วน) 8.3 งบประมาณตามโครงการภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปีของจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 จำนวน 400,000 บาท (สี่แสนบาทถ้วน) รวมงบประมาณทั้งหมด จำนวน 601,000 บาท (หกแสนหนึ่งพันบาทถ้วน) 9. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการนี้ 9.1 สืบสานอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี และอัตลักษณ์อันดีงามของท้องถิ่นให้คงอยู่อย่างยั่งยืน 9.2 ประชาชนในท้องถิ่นมีความสมัครสมานสามัคคีกันมากยิ่งขึ้น 9.3 สร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น เกิดการค้าขายแบบออนไลน์ สามารถตอบสนองนโยบาย รัฐบาล ในด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชน 9.4 ก่อให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรวิถีใหม่ ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์รูปแบบต่างๆ จนทำให้ผลผลิตของ เกษตรกรได้รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น 9.5 เกษตรกรมีขวัญและกำลังใจในการประกอบอาชีพ และสามารถนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาปรับใช้ ในการเพิ่มผลผลิตและเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ 10. การวิเคราะห์ข้อมูลของโครงการ 10.1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นการวิเคราะห์โดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) 10.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินความคิดเห็นต่อผลการดำเนินงานโครงการ ใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean, ¯x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation, S.D.)


3 ❖ เกณฑ์การให้คะแนนและแปลความหมายโดยแบ่งระดับความคิดเห็นเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับความคิดเห็นมากที่สุด ให้คะแนน 5 ระดับความคิดเห็นมาก ให้คะแนน 4 ระดับความคิดเห็นปานกลาง ให้คะแนน 3 ระดับความคิดเห็นน้อย ให้คะแนน 2 ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด ให้คะแนน 1 ระดับความคิดเห็นที่มีต่อโครงการฯ ใช้ค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีเกณฑ์การพิจารณาค่าเฉลี่ย ไว้ 5 ระดับ ด้วยแบบวัดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ใช้เกณฑ์ Ordinal ดังนี้ ช่วงระดับคะแนน ความหมาย 1.00 - 1.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อยที่สุด 1.50 - 2.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย 2.50 – 3.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง 3.50 – 4.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก 4.50 – 5.00 ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ❖ การวิเคราะห์ข้อมูลและหาค่าสถิติต่าง ๆ สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (1) ร้อยละ (Percentage) ใช้สูตร (บุญชม ศรีสะอาด.2545 : 104) P = × 100 เมื่อ P แทน ร้อยละ f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จำนวนความถี่ทั้งหมด (2) ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้สูตร (บุญชม ศรีสะอาด.2545 : 105) x¯ = ∑ เมื่อ ¯x แทน ค่าเฉลี่ย ∑X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม N แทน จำนวนคนทั้งหมด


4 (3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตร (บุญชม ศรีสะอาด.2545 : 106) . . = √ ∑( − ̅) เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ¯x แทน คะแนนแต่ละตัว N แทน จำนวนคนทั้งหมด ∑X แทน ผลรวม 11. การนำเสนอผลการติดตาม ใช้การนำเสนอผลสรุปการติดตามและประเมินผลในรูปแบบของความถี่, ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย และใช้รูปแบบ ตารางและแผนภูมิ (กราฟ) เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ


5 บทที่ 2 ผลการติดตามและประเมินผล สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ดำเนินการติดตามและประเมินผลโครงการจากผู้ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด 135 คน ผลการติดตามและ ประเมินผลดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ตารางที่ 1 แสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ จำนวน (N) ร้อยละ (%) ชาย 59 43.7 หญิง 76 56.3 รวม 135 100.0 จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเพศหญิง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 56.3 และเพศชาย จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 43.7 รูปประกอบตารางที่ 1 แสดงข้อมูลเพศ เพศชาย จำนวน 59 คน (43.7) เพศหญิง จำนวน 76 คน (56.3)


6 ตารางที่ 2 แสดงข้อมูลอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม อายุ จำนวน (N) ร้อยละ (%) ต่ำกว่า 20 ปี 6 4.4 20 – 30 ปี 14 10.4 31 – 40 ปี 33 24.4 41 – 50 ปี 37 27.4 51 – 59 ปี 36 699 26.7 60 ปี ขึ้นไป 9 6.7 รวม 135 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มช่วงอายุออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มอายุระหว่าง 41 – 50 ปีจำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 27.4 รองลงมา คือ กลุ่มอายุระหว่าง 51 – 59 ปี จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 26.7, กลุ่มอายุระหว่าง 31 – 40 ปีจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 24.4, กลุ่มอายุระหว่าง 20 – 30 ปีจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 10.4, กลุ่มอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 และน้อยที่สุด คือ กลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปีจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.4 ตามลำดับ 4.4 10.4 24.4 27.4 26.7 6.7 0 5 10 15 20 25 30 ต่่ากว่า 20 ปี 20 – 30 ปี 31 – 40 ปี 41 – 50 ปี 51 – 59 ปี 60 ปี ขึ้นไป อายุ รูปประกอบตารางที่ 2 แสดงข้อมูลอายุ


7 ตารางที่ 3 แสดงข้อมูลการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม การศึกษา จำนวน (N) ร้อยละ (%) ประถมศึกษา 48 35.6 มัธยมศึกษา 46 34.1 ปวช./ปวส./อนุปริญญา 22 16.3 ปริญญาตรี 16 11.9 สูงกว่าปริญญาตรี 3 2.2 รวม 135 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มการศึกษา ออกเป็น 5 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มการศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 35.6 รองลงมา คือ กลุ่มการศึกษาระดับ มัธยมศึกษา จำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 34.1, กลุ่มการศึกษาระดับปวช./ปวส./อนุปริญญา จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 16.3, กลุ่มการศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 11.9 และน้อยที่สุด คือ กลุ่มการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2 ตามลำดับ 35.6 34.1 16.3 11.9 2.2 0 5 10 15 20 25 30 35 40 ประถมศึกษา มัธยมศึกษา อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี การศึกษา รูปประกอบตารางที่ 3 แสดงข้อมูลการศึกษา


8 ตารางที่ 4 แสดงข้อมูลอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม อาชีพ จำนวน (N) ร้อยละ (%) นักเรียน/นักศึกษา 7 5.2 รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 20 14.8 ค้าขาย/รับจ้างทั่วไป 48 35.6 เกษตรกรรม 56 41.5 อื่น ๆ 4 3.0 รวม 135 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอาชีพ ออกเป็น 5 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 41.5 รองลงมา คือ กลุ่มอาชีพค้าขาย/รับจ้างทั่วไป จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 35.6, กลุ่มอาชีพรับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8, กลุ่มนักเรียน/นักศึกษา จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 5.2 และน้อยที่สุด คือ กลุ่มอาชีพอื่น ๆ (ไม่ระบุ) จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.0 ตามลำดับ 5.2 14.8 35.6 41.5 3.0 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 45.0 นักเรียน รับราชการ ค้าขาย เกษตรกรรม อื่น ๆ อาชีพ รูปประกอบตารางที่ 4 แสดงข้อมูลอาชีพ


9 ตารางที่ 5 แสดงข้อมูลภูมิลำเนาของผู้ตอบแบบสอบถาม ภูมิลำเนา จำนวน (N) ร้อยละ (%) จังหวัดบุรีรัมย์ 127 94.1 ต่างจังหวัด 8 5.9 รวม 135 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มภูมิลำเนา ออกเป็น 2 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มจังหวัดบุรีรัมย์จำนวน 127 คน คิดเป็นร้อยละ 94.1 และกลุ่มต่างจังหวัด จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 5.9 จังหวัดบุรีรัมย์ 94.1 ต่างจังหวัด 5.9 ภูมิล าเนา รูปประกอบตารางที่ 5 แสดงข้อมูลสถานะ


10 ตารางที่ 6 แสดงข้อมูลสื่อการรับทราบการจัดกิจกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) รายการ จำนวน (N) ร้อยละ (%) รถประชาสัมพันธ์ 33 18.3 ป้ายประชาสัมพันธ์ 38 21.1 เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก 41 22.8 หน่วยงานราชการ 43 23.9 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (เว็บไซต์, เฟส, ไลน์) 21 11.7 อื่น ๆ 4 2.2 ผู้สำรวจได้จำแนกสื่อการรับทราบการจัดกิจกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ หน่วยงานราชการ จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 23.9 รองลงมา คือ เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก จำนวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 22.8, ป้ายประชาสัมพันธ์จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 21.1, รถประชาสัมพันธ์จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 18.3, สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (เว็บไซต์, เฟส, ไลน์) จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 11.7 และอื่น ๆ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2 ตามลำดับ 18.3 21.1 22.8 23.9 11.7 2.2 0 5 10 15 20 25 30 รถประชาสัมพันธ์ ป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก หน่วยงานราชการ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ อื่น ๆ รูปประกอบตารางที่ 6 แสดงข้อมูลสื่อการรับทราบการจัดกิจกรรม


11 ส่วนที่ 2 ระดับความพึงพอใจในการดำเนินโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2567 ตารางที่ 7 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) มากที่สุด แปรผล อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ การจัดกิจกรรม 1. สถานที่ เต็นท์ เก้าอี้ เวทีพร้อม ตกแต่ง มีความ เหมาะสมเพียงใด 75 (55.6%) 42 (31.1%) 18 (13.3%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.42 0.72 88.44 มาก 4 2. พิธี เปิด - ปิด โครงการฯ จัดหา น้ำดื่มบริการ ประชาชนผู้มา ร่วมงาน มีความ เหมาะสมเพียงใด 77 (57.0%) 43 (31.9%) 13 (9.6%) 2 (1.5%) 0 (0.0%) 4.44 0.73 88.89 มาก 3 3. การจัดแสดงผล ผลิตทางการเกษตร ภายในบริเวณงาน มีความเหมาะสม เพียงใด 75 (55.6%) 46 (34.1%) 14 (10.4%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.45 0.68 89.04 มาก 2 4. เงินรางวัลในการ ประกวดผลผลิตทาง การเกษตร มีความ เหมาะสมเพียงใด 79 (58.5%) 41 (30.4%) 15 (11.1%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.47 0.69 89.48 มาก 1 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 135) 4.45 0.70 88.96 มาก


12 ผลการประเมินระดับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ผลการประเมินระดับความพึงพอใจภาพรวมได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.45) คิดเป็นร้อยละ 88.96 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 4 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 4. เงินรางวัลในการประกวด ผลผลิตทางการเกษตร มีความเหมาะสมเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.47) คิดเป็นร้อยละ 89.48 รองลงมา คือ ข้อที่ 3. การจัดแสดงผลผลิตทางการเกษตรภายในบริเวณงาน มีความเหมาะสมเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.45) คิดเป็นร้อยละ 89.04, ข้อที่ 2. พิธี เปิด - ปิด โครงการฯ จัดหาน้ำดื่มบริการประชาชนผู้มาร่วมงาน มีความเหมาะสม เพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.44) คิดเป็นร้อยละ 88.89 และข้อที่ 1. สถานที่ เต็นท์ เก้าอี้ เวทีพร้อมตกแต่ง มีความ เหมาะสมเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.42) คิดเป็นร้อยละ 88.44 ตามลำดับ 4.42 4.44 4.45 4.47 4.45 4.39 4.4 4.41 4.42 4.43 4.44 4.45 4.46 4.47 4.48 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4 รวม การจัดกิจกรรม รูปประกอบตารางที่ 7 แสดงข้อมูลความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม


13 ตารางที่ 8 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) มากที่สุด แปรผล อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม 1. เพื่อเป็นการ อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น ให้คงอยู่อย่างมั่นคง ในระดับใด 79 (58.5%) 43 (31.9%) 11 (8.1%) 2 (1.5%) 0 (0.0%) 4.47 0.71 89.48 มาก 2 2. เพื่อเป็นการ ส่งเสริมกิจกรรมอัน ดีงามของเกษตรกร และส่งเสริมความ สามัคคีในหมู่คณะ ในระดับใด 80 (59.3%) 44 (32.6%) 10 (7.4%) 1 (0.7%) 0 (0.0%) 4.50 0.67 90.07 มาก ที่สุด 1 3. เพื่อเป็นการ ประชาสัมพันธ์ ผลผลิตทางการ เกษตรที่สำคัญของ ชุมชนและวัฒนธรรม เชิงการท่องเที่ยว ของอำเภอปะคำ ในระดับใด 78 (57.8%) 41 (30.4%) 15 (11.1%) 1 (0.7%) 0 (0.0%) 4.45 0.72 89.04 มาก 3 4. เพื่อเป็นการ แข่งขันในการนำ เทคโนโลยีที่ทันสมัย มาใช้ในการเพิ่ม ผลผลิตทาง การเกษตร ในระดับใด 77 (57.0%) 39 (28.9%) 17 (12.6%) 2 (1.5%) 0 (0.0%) 4.41 0.77 88.30 มาก 4 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 135) 4.46 0.72 89.22 มาก


14 ผลการประเมินระดับความพึงพอใจในวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ผลการประเมินระดับความพึงพอใจภาพรวมได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.46) คิดเป็นร้อยละ 89.22 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 4 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 2. เพื่อเป็นการส่งเสริม กิจกรรมอันดีงามของเกษตรกร และส่งเสริมความสามัคคีในหมู่คณะ ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.50) คิดเป็นร้อยละ 90.07 รองลงมา คือ ข้อที่ 1. เพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณีของท้องถิ่นให้คงอยู่อย่างมั่นคง ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.47) คิดเป็นร้อยละ 89.48, ข้อที่ 3. เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญของ ชุมชนและวัฒนธรรมเชิงการท่องเที่ยว ของอำเภอปะคำ ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.45) คิดเป็นร้อยละ 89.04 และข้อที่ 4. เพื่อเป็นการแข่งขันในการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.41) คิดเป็นร้อยละ 88.30 ตามลำดับ 4.47 4.50 4.45 4.41 4.46 4.36 4.38 4.40 4.42 4.44 4.46 4.48 4.50 4.52 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4 รวม วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม รูปประกอบตารางที่ 8 แสดงข้อมูลความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม


15 ตารางที่ 9 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) มากที่สุด แปรผล อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม 1. สามารถสืบสาน อนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น และอัตลักษณ์อันดี งามของท้องถิ่นให้ คงอยู่อย่างยั่งยืน ในระดับใด 79 (58.5%) 43 (31.9%) 12 (8.9%) 1 (0.7%) 0 (0.0%) 4.48 0.69 89.63 มาก 2 2. ทำให้ประชาชน ในท้องถิ่นมีความ สมัครสมานสามัคคี กันมากยิ่งขึ้น ในระดับใด 79 (58.5%) 42 (31.1%) 13 (9.6%) 1 (0.7%) 0 (0.0%) 4.47 0.70 89.48 มาก 3 3. สามารถสร้าง รายได้ให้แก่เกษตรกร ในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น เกิดการค้าขายแบบ ออนไลน์และ สามารถตอบสนอง นโยบายรัฐบาลใน การส่งเสริมการ ท่องเที่ยวของชุมชน ในระดับใด 76 (56.3%) 46 (34.1%) 12 (8.9%) 1 (0.7%) 0 (0.0%) 4.46 0.69 89.19 มาก 4 4. ทำให้เกิดการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร วิถีใหม่ ผ่านสื่อ ประชาสัมพันธ์ รูปแบบต่าง ๆ จนทำให้ผลผลิตของ เกษตรกรได้รู้จักกัน อย่างแพร่หลาย มากขึ้น ในระดับใด 83 (61.5%) 40 (29.6%) 12 (8.9%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.53 0.66 90.52 มาก ที่สุด 1 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 135) 4.49 0.68 89.70 มาก


16 ผลการประเมินระดับความพึงพอใจในประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ผลการประเมินระดับความพึงพอใจภาพรวมได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.49) คิดเป็นร้อยละ 89.70 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 4 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 4. ทำให้เกิดการท่องเที่ยว เชิงเกษตรวิถีใหม่ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์รูปแบบต่าง ๆ จนทำให้ผลผลิตของเกษตรกรได้รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขึ้น ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.52 รองลงมา คือ ข้อที่ 1. สามารถสืบสานอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น และอัตลักษณ์อันดีงามของท้องถิ่นให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.48) คิดเป็นร้อยละ 89.63, ข้อที่ 2. ทำให้ประชาชนในท้องถิ่นมีความสมัครสมานสามัคคีกันมากยิ่งขึ้น ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.47) คิดเป็นร้อยละ 89.48 และข้อที่ 3. สามารถสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่เพิ่มมากขึ้น เกิดการค้าขายแบบออนไลน์ และสามารถตอบสนองนโยบายรัฐบาลในการส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชน ในระดับใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.46) คิดเป็นร้อยละ 89.19 ตามลำดับ ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะ - การประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย - ควรมีสถานที่จัดงานที่มีบริเวณที่กว้างขวาง ไม่ทำให้การจราจรติดขัด - ต้องการให้จัดกิจกรรมแบบนี้ในทุก ๆ ปี 4.48 4.47 4.46 4.53 4.49 4.42 4.44 4.46 4.48 4.5 4.52 4.54 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4 รวม ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม รูปประกอบตารางที่ 9 แสดงข้อมูลความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม


17 บทที่ 3 สรุปผลการติดตามและประเมินผล สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อให้ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ และทราบถึงระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อโครงการ ตลอดจนข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ จึงได้มีการออกตรวจติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจ รวมทั้งรับทราบถึงปัญหาของโครงการเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาการ ดำเนินโครงการ ในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการติดตามและประเมินผลโครงการดังกล่าว กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ประชาชนในเขตพื้นที่อำเภอปะคำ และประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 45,000 คน โดยประมาณ ดังนั้น ผู้ประเมินจึงใช้ระดับความคลาดเคลื่อนจากตารางสูตร Taro Yamane ในการกำหนดจำนวน แบบสอบถามโดยใช้ความคลาดเคลื่อนที่ ±10% จึงได้จำนวนแบบสอบถามอย่างน้อย 100 แบบ ผู้ประเมินสามารถ เก็บรวบรวมแบบสอบถาม ได้จำนวน 135 แบบ โดยการสุ่มจากกลุ่มตัวอย่างแบบไม่เฉพาะเจาะจง โดยสรุปผลการ ติดตามและประเมินผลในภาพรวม ดังนี้ • เพศ จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยเพศหญิง จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 56.3 และเพศชาย จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 43.7 • อายุจากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มอายุระหว่าง 41 – 50 ปีจำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 27.4 รองลงมา คือ กลุ่มอายุระหว่าง 51 – 59 ปีจำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 26.7, กลุ่มอายุระหว่าง 31 – 40 ปีจำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 24.4, กลุ่มอายุระหว่าง 20 – 30 ปีจำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 10.4, กลุ่มอายุ 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 6.7 และน้อยที่สุด คือ กลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 4.4 ตามลำดับ • การศึกษา จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มการศึกษาระดับประถมศึกษา จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 35.6 รองลงมา คือ กลุ่มการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จำนวน 46 คน คิดเป็น ร้อยละ 34.1, กลุ่มการศึกษาระดับปวช./ปวส./อนุปริญญา จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 16.3, กลุ่มการศึกษาระดับ ปริญญาตรีจำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 11.9 และน้อยที่สุด คือ กลุ่มการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2 ตามลำดับ • อาชีพ จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มอาชีพเกษตรกรรม จำนวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 41.5 รองลงมา คือ กลุ่มอาชีพค้าขาย/รับจ้างทั่วไป จำนวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 35.6, กลุ่มอาชีพ รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8, กลุ่มนักเรียน/นักศึกษา จำนวน 7 คน คิดเป็น ร้อยละ 5.2 และน้อยที่สุด คือ กลุ่มอาชีพอื่น ๆ (ไม่ระบุ) จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 3.0 ตามลำดับ


18 • ภูมิลำเนา จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ กลุ่มจังหวัดบุรีรัมย์จำนวน 127 คน คิดเป็นร้อยละ 94.1 และกลุ่มต่างจังหวัด จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 5.9 • ท่านทราบข่าวการจัดกิจกรรมจากสื่อใด จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ หน่วยงานราชการ จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 23.9 รองลงมา คือ เพื่อน/ญาติ/คนรู้จัก จำนวน 41 คน คิดเป็น ร้อยละ 22.8, ป้ายประชาสัมพันธ์ จำนวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 21.1, รถประชาสัมพันธ์จำนวน 33 คน คิดเป็น ร้อยละ 18.3, สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (เว็บไซต์, เฟส, ไลน์) จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 11.7 และอื่น ๆ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2 ตามลำดับ สรุปผลการติดตามและประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ในภาพรวมทุกด้าน มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.46) คิดเป็นร้อยละ 89.30 รายละเอียดแต่ละด้านมีดังนี้ • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 1 การจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.45) คิดเป็นร้อยละ 88.96 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 2 วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อ วัตถุประสงค์ของโครงการ ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.46) คิดเป็น ร้อยละ 89.22 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 3 ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต่อ ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงการ ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.49) คิดเป็นร้อยละ 89.70 รายการ / ประเด็นความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) แปรผล อันดับ ❖ สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม 1. การจัดกิจกรรม 4.45 0.70 88.96 มาก 3 2. วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม 4.46 0.72 89.22 มาก 2 3. ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรม 4.49 0.68 89.70 มาก 1 ค่าเฉลี่ยรวม 4.46 0.70 89.30 มาก


19 สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.46) คิดเป็นร้อยละ 89.30 รายการ ประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ด้าน ด้านที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ด้านที่ 3 ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัด กิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.49) คิดเป็นร้อยละ 89.70 รองลงมา คือ ด้านที่ 2 วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.46) คิดเป็นร้อยละ 89.22 และด้านที่ 1 การจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.45) คิดเป็นร้อยละ 88.96 สรุปข้อเสนอแนะ - การประชาสัมพันธ์ควรมีการประชาสัมพันธ์ที่หลากหลาย - ควรมีสถานที่จัดงานที่มีบริเวณที่กว้างขวาง ไม่ทำให้การจราจรติดขัด - ต้องการให้จัดกิจกรรมแบบนี้ในทุก ๆ ปี 4.45 4.46 4.49 4.46 4.43 4.44 4.45 4.46 4.47 4.48 4.49 4.5 ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 ด้านที่ 3 รวม สรุปผลการด าเนินโครงการฯ ในภาพรวม


ภาคผนวก


รวมภาพกิจกรรม โครงการงานประเพณีบุญมันวันเกษตรกรอำเภอปะคำ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567


±1% ±2% ±3% ±4% ±5% ±10% 500 * * * * 222 83 1,000 * * * 385 286 91 1,500 * * 638 441 316 94 2,000 * * 714 476 333 95 2,500 * 1250 769 500 345 96 3,000 * 1364 811 517 353 97 3,500 * 1458 843 530 359 97 4,000 * 1538 870 541 364 98 4,500 * 1607 891 549 367 98 5,000 * 1667 909 556 370 98 6,000 * 1765 938 566 375 98 7,000 * 1842 959 574 378 99 8,000 * 1905 976 580 381 99 9,000 * 1957 989 584 383 99 10,000 5000 2000 1000 588 385 99 15,000 6000 2143 1034 600 390 99 20,000 6667 2222 1053 606 392 100 25,000 7143 2273 1064 610 394 100 50,000 8333 2381 7087 617 397 100 100,000 9091 2439 1099 621 398 100 มากกว่า 100,000 10000 2500 1111 625 400 100 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ขนาดความคลาดเคลื่อน ขนาดประชากร สูตร Taro Yamane ส าหรับค านวณขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร * หมายถึง ขนาดตัวอย่างไม่เหมาะสมที่จะ Assume ให้เป็นการกระจายแบบปกติ จึงไม่สามารถใช้สูตรค านวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างได้


Click to View FlipBook Version