The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ ครั้งที่ 3 ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mod_pijitra, 2021-11-15 03:31:14

เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ ครั้งที่ 3 ปีการศึกษา 2564

เอกสารประกอบการประชุมคณะกรรมการบริหารโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ ครั้งที่ 3 ปีการศึกษา 2564

เอกสารประกอบการประชมุ
คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น

ครั้งที่ 3/2564

วนั ศุกร์ท่ี 19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2564 เวลา 09.00 น.
ณ หอ้ งประชุมอนุสรณ์ 50 ปี โรงเรยี นสตรมี ารดาพทิ กั ษ์ จ.จันทบรุ ี

โรงเรียนสตรมี ารดาพิทกั ษ์ 108 หมู่ 5
ตาบลจนั ทนิมติ อาเภอเมืองจนั ทบรุ ี จงั หวดั จนั ทบุรี 22000
โทร. 0-3931-1038 โทรสาร 0-3931-2575 http://www.sm.ac.th

E-mail. : [email protected]

ระเบยี บวาระการประชุมคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี นสตรีมารดาพทิ กั ษ์
คร้ังท่ี 3/๒๕64

วนั ศุกร์ที่ 19 เดือน พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖4 เวลา ๐๙.0๐ น.
ณ ห้องอนสุ รณ์ ๕๐ ปี โรงเรยี นสตรีมารดาพทิ ักษ์ อ.เมืองจนั ทบุรี จ.จนั ทบรุ ี
....................................................................................................................................................................

ระเบยี บวาระท่ี ๑ เรอ่ื งที่ประธานแจง้ ให้ท่ีประชุมทราบ
1.1 การดาเนนิ งานโครงการให้ความช่วยเหลือบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา
ในชว่ งสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
ให้นกั เรยี น 3,659 คน คนละ 2,000 บาท

ระเบยี บวาระที่ ๒ เรอ่ื งรับรองรายงานการประชุมครง้ั ท่ีแลว้
ทปี่ ระชุมรบั รองรายงานการประชมุ คร้ังท่ี 2/๒๕๖4 วนั พฤหัสบดีท่ี 22 กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๖4 (เอกสารแนบหมายเลข ๑ )

ระเบยี บวาระที่ ๓ เร่ืองสบื เนื่องจากการประชุมครั้งท่แี ล้ว
3.1 รายงานการประเมนิ คุณภาพภายนอก : ผลการตรวจเยย่ี มภายใตสถานการณ
COVID – 19 (การตรวจเย่ยี มผานทางระบบวธิ กี ารทางอิเล็กทรอนิกส) การศกึ ษา
ปฐมวยั และระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน)

............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................ ..............................................................

ระเบยี บวาระที่ ๔ เรอื่ งเสนอเพ่อื ทราบ
๔.๑ รายงานผลการดาเนนิ งานตามนโยบายสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษาตง้ั แต่ระดบั
อนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 (เอกสารแนบหมายเลข ๒)
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
๔.๒ รายงานผลการดาเนินงานโครงการอาหารกลางวนั ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖4
(เอกสารแนบหมายเลข ๓)
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
...................................................................................... ........................................................................
๔.๓ รายงานผลการดาเนินงานโครงการอาหารเสรมิ (นม) ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖4
(เอกสารแนบหมายเลข ๔)
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
........................................................................................................................................ ......................

๔.๔ รายงานการแต่งตัง้ ถอดถอนครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ภาคเรียนที่ ๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4
(เอกสารแนบหมายเลข ๕)

............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................

ระเบยี บวาระท่ี ๕ เร่ืองเสนอเพอ่ื พิจารณาให้ความเห็นชอบ
๕.๑ จานวนครูและบุคลากร ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ข้อมลู ณ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๖4 (เอกสารแนบหมายเลข 6)
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................ ......................................
มติท่ปี ระชมุ ................................................................................................................................
๕.๒ จานวนนกั เรยี นทั้งโรงเรยี น ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564 ขอ้ มูล ณ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๖4 (เอกสารแนบหมายเลข 7)
............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
มติทป่ี ระชมุ ................................................................................................................................
๕.๓ จานวนนกั เรยี นท่ีขอรับเงินอดุ หนนุ รายบุคคล ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
ขอ้ มูล ณ วันที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖4 (เอกสารแนบหมายเลข 8)
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
มติที่ประชุม........................................................................................................................... .....
๕.4 สรุปผลการใช้จ่ายเงินอุดหนุนรายบุคคลนกั เรยี น ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖4
(เอกสารแนบหมายเลข 9)
............................................................................................................................. .....................
............................................................................................................................. .....................
มตทิ ่ีประชมุ ................................................................................................................................
๕.5 บัญชรี ายรบั -รายจ่ายของโรงเรยี น ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖4
(เอกสารแนบหมายเลข 10)
........................................................................................................ ..........................................
............................................................................................................................. .....................
มตทิ ป่ี ระชุม................................................................................................................................
๕.6 ประกาศรับสมัครนกั เรยี นใหม่ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖5 (เอกสารแนบหมายเลข ๑1)
............................................................................................ ......................................................
............................................................................................................................. .....................
มตทิ ี่ประชมุ ..............................................................................................................................

๕.7 แผนเปดิ เรียน ON Site ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) (เอกสารแนบหมายเลข ๑2)

............................................................................................................................. .....................
..................................................................................................................................................
มติท่ปี ระชมุ ................................................................................................................................
5.8 แนวทางการดาเนนิ งานและบริหารงบประมาณเงินอุดหนุนกจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี นในช่วง

สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ครง้ั ท่ี 2
(เอกสารแนบหมายเลข ๑3)
..................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .....................
มตทิ ีป่ ระชมุ ........................................................................................................................ ........

ระเบียบวาระที่ ๖ เร่ืองอ่นื ๆ

ระเบียบวาระท่ี 2 เรอ่ื งรับรองรายงานการประชุมคร้งั ที่ 2/2564 วันท่ี 22 กรกฎาคม 2564

รายงานการประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารโรงเรียนสตรมี ารดาพิทักษ์
ครัง้ ท่ี 2/๒๕64

วันพฤหัสบดีที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕64
ณ ห้องประชุมอนุสรณ์ 50 ปี อาคารมารรี ักษ์ โรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์

.........................................................................................................

รายชอื่ กรรมการผเู้ ข้าประชุม

๑. นางสาวลายงค์ อ้นุ วนุ้ ผู้รับใบอนุญาต-ผจู้ ดั การ-ผู้อานวยการ ประธานกรรมการ
๒. นางสาวจาเรียง ถาวรสิน
๓. นางสาวศรีธารา รงุ่ เรอื ง ผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการบริหารโรงเรียน
๔. นางสาวสาล่ี ตนั ตกิ ลุ
๕. นายบารุง งามการ ผูท้ รงคณุ วุฒิ กรรมการบริหารโรงเรยี น
๖. นางประภาพรรณ ฉตั รมาลัย
๗. นายภูหริ ณั ย์ ธนารัญญโ์ รจน์ ผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการบริหารโรงเรียน
๘. นางสาวบญุ ยรตั น์ ลมงาม
ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการบรหิ ารโรงเรยี น
รายชอื่ กรรมการผู้ไมเ่ ขา้ ประชมุ -
ผทู้ รงคุณวุฒิ กรรมการบรหิ ารโรงเรียน

ผูแ้ ทนผ้ปู กครอง กรรมการบรหิ ารโรงเรียน

ผู้แทนครู กรรมการบริหารโรงเรยี น

และผู้ชว่ ยเลขานุการ

เร่ิมประชุม เวลา 09.0๐ น.
เม่ือคณะกรรมการมาครบองค์ประชุมแล้ว ประธานได้กล่าวเปิดการประชุม และดาเนินการประชุม

ตามระเบียบวาระการประชุม ดงั น้ี

ระเบียบวาระท่ี ๑ เร่อื งท่ปี ระธานแจง้ ใหท้ ป่ี ระชมุ ทราบ
ประธานการประชุมแจ้งให้ท่ีประชุมทราบถึงการประชุม ครั้งที่ 2/2564 ด้วยเหตุมีวาระจาเป็นและ

เรง่ ดว่ น มี 2 เรื่องสาคญั คือ
เรื่องที่ 1 การขออนุมัติจากคณะกรรมการบริหารให้โรงเรียนดาเนินการขอสินเช่ือจากธนาคารเพื่อใช้

ในการกอ่ สรา้ งอาคารเรยี นฯให้แล้วเสร็จ
เร่ืองท่ี 2 การขออนุมัติจากคณะกรรมการบริหารให้โรงเรียนดาเนินการจ่ายเงินเยียวยา 2,000 บาท

ท่ไี ด้รับจากรัฐบาลใหแ้ ก่นกั เรยี นดว้ ยวิธีการของโรงเรียนฯ
เรื่องการขอสินเชื่อเพ่ือการก่อสร้างอาคารเรียน ประธานการประชุม แจ้งรายละเอียดการก่อสร้างฯ

ให้ทีป่ ระชุมรับทราบ พอสังเขป ดงั นี้
1. ภาพรวมของอาคารเรียน โรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ จันทบุรี ได้รับอนุมัติจากคณะรักกางเขน

แห่ง จันทบุรี ต้นสังกัดให้ก่อสร้างอาคารเรียนเพ่ิมเติมเพื่อใช้รองรับจานวนนักเรียนและการจัดการเรียน
การสอน 1 หลัง เป็นอาคารอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 5 ชั้น งบประมาณการก่อสร้าง จานวน
271,631,704.00 บาท (สองร้อยเจ็ดสิบเอ็ดล้านหกแสนสามหม่ืนหนงึ่ พันเจ็ดร้อยส่บี าทถ้วน เร่ิมก่อสร้างเดือน
มีนาคม 2563 กาหนดแล้วเสร็จพร้อมเปิดใช้งานเดือน พฤษภาคม 2565 (ในการนี้ประธานฯได้นาแสดงภาพ
จาลอง (model) อาคารเรียนท่กี าลังก่อสร้างต่อที่ประชุม)

2. ความก้าวหน้าของการดาเนินการก่อสร้างอาคาร หลังจากได้รับอนุมัติให้ก่อสร้าง ได้มีการก่อสร้าง
อาคารตอ่ เนือ่ งมาโดยตลอด สรุปความก้าวหนา้ ไดด้ งั น้ี

2.1 ส่วนของตัวอาคารเรยี น
(1) โครงสร้างของอาคารฯ แล้วเสร็จประมาณร้อยละ 90 งานหลังคาอยู่ระหว่างการเตรียมการ

ดาเนนิ งาน
(2) งานก่อฉาบภายใน แลว้ เสรจ็ ประมาณร้อยละ 80
(3) งานกอ่ ฉาบภายนอก แลว้ เสรจ็ ประมาณรอ้ ยละ 40
(4) งานปูพน้ื ห้องเรียนทางเดนิ และโถงกลาง อยู่ระหว่างการเตรียมการดาเนนิ งาน
(5) งานราวบันได ราวระเบียงสแตนเลสและร้ัวสแตนเลสภายนอก อยู่ระหว่างการเตรียมการ

ดาเนินงาน
(6) งานทาสีอาคารท้ังภายในและภายนอก อยูร่ ะหว่างการเตรยี มการดาเนนิ งาน

2.2 สว่ นของงานระบบสขุ าภบิ าล ระบบไฟฟา้ น้าประปาและระบบความปลอดภัย
(1) งานเดินทอ่ ระบบสขุ าภบิ าล แล้วเสรจ็ ประมาณร้อยละ 80 แตย่ ังไมไ่ ด้ตดิ ตง้ั สขุ ภณั ฑ์
(2) งานเดินทอ่ รอ้ ยสายของระบบไฟฟา้ แลว้ เสร็จประมาณร้อยละ 80
(3) งานติดคอยน์เย็น ระบบเคร่ืองปรับอากาศแล้วเสร็จประมาณร้อยละ 60 งานติดคอยน์ร้อน

และติดตั้งเครอ่ื งปรับอากาศ อยู่ระหวา่ งการเตรียมการดาเนนิ งาน
(4) งานวางระบบดับเพลิง เดนิ ทอ่ แล้วเสร็จประมาณร้อยละ 80

2.3 งานตกแตง่ และเฟอรน์ ิเจอร์
(1) งานเฟอร์นเิ จอร์หอ้ งสานักงาน ห้องสมุด ห้องนาเสนอผลงาน หอ้ งคหกรรม ห้องคอมพิวเตอร์

ห้องครวั โรงอาหาร โต๊ะอาหาร หอ้ งพกั ครู ฯลฯ อยู่ระหวา่ งการเตรยี มการดาเนนิ งาน
(2) งานกอ่ สร้างและตกแตง่ บรเิ วณรอบอาคาร และสนาม ฯลฯ ยังไม่ไดด้ าเนินการ

ในการนี้ ตามงบประมาณการก่อสร้างที่ตั้งไว้จานวน 271,631,704.00 บาท (สองร้อยเจ็ดสิบเอ็ดล้าน
หกแสนสามหมื่นหน่ึงพันเจ็ดร้อยส่ีบาทถ้วน) นั้น ได้ใช้จ่ายไปแล้วจานวนทั้งส้ิน 160,000,000.00 บาท
(หน่ึงร้อยหกสิบล้านบาทถ้วน) ยังขาดงบประมาณในการก่อสร้างเพ่ือให้อาคารหลังดังกล่าวแล้วเสร็จเปิดใช้งาน
ไดอ้ กี จานวน 111,631,704.00 บาท (หน่งึ รอ้ ยสิบเอด็ ลา้ นหกแสนสามหม่นื หนงึ่ พันเจด็ รอ้ ยสีบ่ าทถว้ น)

ทีป่ ระชมุ รบั ทราบ

ระเบียบวาระที่ ๒ เรือ่ งรับรองรายงานการประชุม
ที่ประชมุ รับรองรายงานการประชมุ ครั้งที่ 1/๒๕๖4 วันพธุ ท่ี 30 มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖4

ระเบียบวาระที่ ๓ เร่อื งสืบเน่อื งจากการประชมุ คร้ังทแี่ ลว้
-

ระเบียบวาระท่ี ๔ เร่ืองเสนอเพอ่ื พิจารณาและขออนมุ ตั ิ
4.1 การขอสินเช่ือเพ่ือก่อสร้างอาคารเรียน ประธานฯนาเร่ืองการอนุมัติใหค้ วามเห็นชอบ

การขอสินเช่ือเพ่อื กอ่ สร้างอาคารเรียนเขา้ หารือและเสนอต่อทป่ี ระชมุ โดยประธานได้ชแ้ี จงถงึ ความจาเป็นทีจ่ ะต้อง
มีอาคารเรียนเพิ่ม เรื่องการก่อสร้างอาคารเรียน รายละเอียดตามความในวาระที่ 1 และปัญหาและอุปสรรคเร่ือง
งบประมาณ ท่ีไม่เพียงพอจะดาเนินการก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามแบบและกาหนดการท่ีวางไว้ ท้ังน้ีเป็นผลมาจาก
การแพร่ระบาดของโรคเชื้อไวรัสโคโรนา-19 อย่างรนุ แรงต่อเน่ืองมาจนถึงปีการศกึ ษา 2564 ส่งผลให้โรงเรียนไม่
สามารถเปิดทาการเรียนการสอนตามปรกติท่ีโรงเรียนได้ กอปรกับด้วยสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลกระทบโดยตรง

ต่อการประกอบอาชีพและรายได้ของผู้ปกครองส่วนใหญ่ เป็นเหตุให้ผู้ปกครองจานวนมากไม่ชาระค่าธรรมเนียม
การเรียนและค่าธรรมเนยี มอนื่ ๆ ใหแ้ ก่โรงเรยี น ซ่ึงคา่ ธรรมเนียมฯดังกลา่ ว เป็นรายรบั หลักหรือรายรบั ทงั้ หมดของ
โรงเรียน การขาดรายรับส่วนนจี้ ึงสง่ ผลกระทบต่องบประมาณการก่อสร้างอาคารเรียนท่ีวางแผนและเตรียมการไว้
โดยงบประมาณการก่อสร้างอาคารเรียนหลังน้ีเป็นเงินจานวน 271,631,704.00บาท (สองร้อยเจ็ดสิบเอ็ดล้าน
หกแสนสามหมื่นหน่ึงพันเจ็ดร้อยสี่บาทถ้วน) ได้ใช้จ่ายไปแล้วจานวนทั้งสิ้น 160 ,000,000.00 บาท
(หนึ่งร้อยหกสิบล้านบาทถ้วน) ยังขาดงบประมาณในการก่อสร้างเพ่ือให้อาคารหลังดังกล่าวแล้วเสร็จเปิดใช้งาน
ได้อีกจานวน 111,631,704.00 บาท (หน่ึงร้อยสิบเอ็ดล้านหกแสนสามหม่ืนหนึ่งพันเจ็ดร้อยสี่บาทถ้วน)
ตามความทีแ่ จ้งไว้แล้วในระเบียบวาระท่ี 1 ของบนั ทกึ การประชมุ ฉบับน้ี

เพ่ือให้การก่อสร้างอาคารเรียนฯ แล้วเสร็จและเปิดใช้งานได้ตามกาหนด โรงเรียนจึงมีความจาเป็นต้อง
ขอสินเช่ือจากสถาบนั การเงนิ ตามจานวนทย่ี ังขาดอยู่ เพือ่ นามาเปน็ ค่ากอ่ สรา้ งท่คี า้ งอย่ใู ห้แลว้ เสรจ็ ตามกาหนดการ
ภายในเดือนเมษายน พ.ศ. 2565 เพ่ือให้ทันย้ายนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-6 เข้าไปใช้เป็นสถานท่ีเรียน
ปีการศึกษา 2565 ในการน้ีธนาคารกรุงไทยสาขาจันทบุรีได้แจ้งว่าสามารถพิจารณาให้สินเช่ือฯแก่โรงเรียนได้
ในวงเงิน 100,000,000.00 บาท (หนึ่งร้อยล้านบาทถ้วน) โดยให้โรงเรียนจัดเตรียมเอกสารหลักฐานและ
ดาเนนิ การย่นื เรื่องขอก้ยู มื สนิ เชอ่ื จานวนนแ้ี ล้วนาเสนอธนาคารฯตอ่ ไป

เพื่อให้เป็นไปตามระเบียบการดาเนินงานของโรงเรียนฯ ประธานฯจึงได้เชิญกรรมการบริหาร
มาประชุมในคร้ังน้ี เพื่อขอให้พิจารณาให้ความเห็นชอบการขอสินเช่ือเพ่ือก่อสร้างอาคารเรียนฯ
หลงั ดังกลา่ ว จานวน 100,000,000.00 บาท (หน่งึ ร้อยล้านบาทถว้ น) ด้วย ซงึ่ อาคารเรยี นฯหลังดังกลา่ วตั้งอยู่
บนที่ดินโฉนดที่ดิน เลขที่ 19978 เล่มท่ี 199 หน้า78 ระวาง5434 ||| 8894-9 เลขที่ดิน 27 ถนนจันทนิมิต 2
ต.จันทนมิ ิต อ. เมืองจันทบุรี จ.จนั ทบุรี (ตรงขา้ มสานักงานเทศบาลเมืองจนั ทนมิ ติ )

คณะกรรมการบริหารให้ความสนใจและร่วมซักถามถึงลักษณะของอาคารเรียน ห้องเรียนและ
ห้องประกอบการต่างๆภายในอาคาร และความจาเป็นที่จะต้องย้ายและระบายนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษา
ไปยังอาคารใหม่ และสอบถามถึงการได้มาซึ่งจานวนเงินงบประมาณท่ีใช้ในการก่อสร้างอีก 11,631,704.00 บาท
(สิบเอ็ดล้านหกแสนสามหม่ืนหนึ่งพันเจ็ดร้อยส่ีบาทถ้วน) ท่ีเกินจากวงเงินที่ธนาคารฯพิจารณาให้สินเชื่อ
ซึ่งประธานฯแจ้งให้ทราบว่า โรงเรียนฯ จะสามารถเก็บค่าธรรมเนียมค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมอื่นมาสมทบได้
หรืออาจจะขออนุมตั วิ งเงินจานวนดังกลา่ ว (ซงึ่ เป็นจานวนไม่สูงจนเกนิ ไป) จากคณะรักกางเขน แห่ง จนั ทบุรี

มติทีป่ ระชุม คณะกรรมการมีมติใหค้ วามเหน็ ชอบเป็นเอกฉนั ท์

4.2 การจ่ายเงินเยียวยา 2,000 บาท ท่ีได้รับจากรัฐบาลให้แก่นักเรียนด้วยวิธีการของโรงเรียน
ประธานนาเร่ืองมาตรการให้ความช่วยเหลือผู้ปกครองและนักเรียน เพ่ือบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา
ในช่วงการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ตามมติคณะรัฐมนตรี วันท่ี 27 กรกฎาคม 2564 เสนอ
ให้ที่ประชุมรับทราบ และขออนุมัติท่ีประชุมเพ่ือดาเนินการจ่ายเงินช่วยเหลือดังกล่าวตามวิธีการท่ีโรงเรียนเห็นว่า
สะดวกและไม่เกิดภาระค่าใช้จ่ายทั้งแก่โรงเรียนและผู้ปกครอง คือ แทนที่จะใช้วิธีโอนเงินผ่านธนาคารตาม
คาแนะนาของหน่วยงานราชการซึ่งจะทาให้มีภาระค่าใช้จ่ายในการโอนซึ่งจะตกแก่โรงเรียนหรือผู้ปกครอง
โรงเรียนจะใช้วิธีการมอบเงินสดให้กับผู้ปกครองโดยตรง โดยนัดผู้ปกครองมารับภายใต้การรักษาความปลอดภัย
และมาตรการเฝา้ ระวงั ในภาวการณ์แพรร่ ะบาดของเชอ้ื COVID - 19

ท่ีประชุมซักถามเร่ืองมาตรการท่ีโรงเรียนจะบรหิ ารจดั การในขั้นตอนการรับเงินเพื่อความปลอดภยั
ของผูป้ กครอง ประธานฯช้แี จงข้นั ตอนและวิธกี ารใหท้ รี่ ับทราบ

มตทิ ีป่ ระชมุ คณะกรรมการมมี ติให้ความเหน็ ชอบเปน็ เอกฉนั ท์

ระเบียบวาระท่ี 5 เรือ่ งอื่นๆ -

ประธานการประชุม กล่าวแสดงความขอบคุณต่อคณะกรรมการทุกท่านท่ีได้สละเวลามาประชุม
อยา่ งพรอ้ มเพรียงกันในวนั นี้

ปดิ ประชมุ เวลา ๑0.๓๐ น.

(นางสาวบุญยรตั น์ ลมงาม)
ผบู้ ันทึกการประชมุ

(นางสาวลายงค์ อนุ้ วุ้น)
ผตู้ รวจรายงานการประชุม

วาระท่ี 3 เรอ่ื งสืบเน่ืองจาการประชุมครั้งท่ีแล้ว
3.1 รายงานการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก : ผลการตรวจเยี่ยมภายใตส้ ถานการณ์ COVID-19

ตอนที่ ๒
สรุปผลประเมินการตรวจเยี่ยมผา นทางระบบวิธกี ารทางอเิ ล็กทรอนกิ ส

และขอเสนอแนะ

การพิจารณา ใหทําเคร่ืองหมาย √ ในชองผลการพิจารณาทพี่ บขอมูล หลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ
ใหทาํ เคร่ืองหมาย X ในชอ งผลการพจิ ารณาทีไ่ มพบขอมูล หลกั ฐานเชิงประจกั ษ

การศกึ ษาปฐมวยั
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก
จุดเนน เด็กมพี ัฒนาการสมวัย พรอ มดวยคุณธรรมจริยธรรม ตามอตั ลักษณการศึกษาคาทอลกิ

และพ้นื ฐานการดาํ เนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ไดผ ลประเมนิ ระดบั ดี ตัวชว้ี ัด สรปุ ผลประเมิน
ผลการพิจารณา o ปรับปรงุ (๐-๓ ขอ)
√ ๑. มีการระบุเปาหมายคณุ ภาพของเดก็ ปฐมวยั o พอใช (๔ ขอ)
√ ๒. มีการระบวุ ิธพี ฒั นาคุณภาพของเดก็ ปฐมวัยอยางเปน √ ดี (๕ ขอ)
ระบบตามเปาหมายการพฒั นาเดก็ ปฐมวยั
√ ๓. มพี ัฒนาการสมวยั ตามเปาหมายการพฒั นาเด็กปฐมวยั
√ ๔. มกี ารนาํ ผลประเมินคุณภาพของเด็กปฐมวัยมาพัฒนาเด็ก
ปฐมวยั ใหมีพัฒนาการสมวัย
√ ๕. มีการนาํ เสนอผลการประเมินคุณภาพของเด็กปฐมวัยตอ
ผูทเ่ี กีย่ วขอ ง

ไดผ ลประเมนิ ระดับดเี ย่ียม เกณฑก ารพิจารณา
ระดบั คุณภาพ
 ดีมาก • มีหลกั ฐานหรอื ขอมลู แสดงผลการพัฒนาท่ีสูงขน้ึ ในชวง ๓ ปก ารศกึ ษา และ
• มแี นวทางรกั ษาผลหรือการพัฒนาท่สี ูงขน้ึ
 ดีเยยี่ ม • มหี ลกั ฐานแสดงผลการพัฒนาที่สูงขึ้นในชว ง ๓ ปการศึกษา และ
• มีแนวทางรักษาผลหรือการพฒั นาท่ีสูงข้ึน และ
• มีหลกั ฐานแสดงใหเห็นวาสถานศกึ ษามี แบบอยา งที่ดี (Best Practice) หรอื
นวัตกรรม (Innovation)



ขอเสนอแนะในการพฒั นาคุณภาพมาตรฐานท่ี ๑ ใหสูงขึ้น
สถานศึกษามีหลักฐานแสดงผลการพัฒนาครบถวนตอเนื่อง ๓ ปการศึกษา เปรียบเทียบพัฒนาการ

ดา นรางกาย อารมณ สังคม และสตปิ ญญา ทั้ง ๔ ดาน มีแนวโนม สูงขึ้น สถานศึกษาดําเนินการพัฒนาคุณภาพเด็ก
ดานคุณธรรมจริยธรรมตามอัตลักษณการศึกษาคาทอลิก ดวยการพัฒนาเด็กใหเปน“คนดีมีอัตลักษณ พระแม
มารีย” และบูรณาการพื้นฐานการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางมีประสิทธิภาพ สงผล
ใหเด็กรอยละ ๙๘ มีคุณลักษณะอันพึ่งประสงคบรรลุตามจุดเนนของสถานศึกษา ทําใหไดรับรางวัลจํานวนมาก
จนเปนท่ียอมรับ และเปนแบบอยางแกสถานศึกษาอ่ืน ผูปกครองและชุมชนมีความพึงพอใจตอการจัดการศึกษา
และสถานศึกษา มีแนวทางในการพัฒนาสูงข้ึนอยางตอเนื่อง โดยการนําเทคโนโลยีมาใชในการจัดการเรียนรู
ในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ใหเหมาะสมกับวัยและ
ความสามารถของผูเรียน มีการสงเสริมพัฒนาทางภาษา เชน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และอาจเพิ่มเติมภาษาเพื่อน
บานในอาเซียน ไดแก ภาษาเขมร ภาษาลาว ภาษาเวียดนาม หรือภาษาพมา สําหรับการจัดการศึกษาดานอื่น ๆ
ดาํ เนินการไดดีเย่ียมอยูแลว ขอใหรักษาคณุ ภาพและปรับเปลี่ยนเพ่ิมเติมตามสถานการณการเปล่ียนแปลงของโลก
ปจจบุ นั



มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
จุดเนน การบรหิ ารหลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการของเด็ก มุงเนนคุณธรรมจรยิ ธรรม

ปลกู ฝง พ้นื ฐานการดําเนนิ ชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ไดผลประเมินระดบั ดี สรปุ ผลประเมนิ
ผลการพิจารณา ตวั ช้วี ัด o ปรับปรงุ (๐-๓ ขอ )
√ ๑. มกี ารวางแผนการดาํ เนินการในแตล ะปการศึกษา o พอใช (๔ ขอ)
√ ๒. มีการนาํ แผนการดําเนินการไปใชดําเนนิ การ √ ดี (๕ ขอ)
√ ๓. มีการประเมนิ ผลสัมฤทธข์ิ องการดําเนนิ การตามแผน
√ ๔. มีการนาํ ผลการประเมนิ ไปใชใ นการปรบั ปรงุ แกไขในป
การศึกษาตอไป
√ ๕. มกี ารนาํ เสนอผลการบริหารจัดการของสถานศึกษาใหผู
มีสวนไดส วนเสยี ไดร ับทราบ

ไดผลประเมนิ ระดบั ดเี ยี่ยม เกณฑการพจิ ารณา
ระดับคณุ ภาพ
 ดมี าก • มีหลักฐานหรอื ขอมูลแสดงผลการพฒั นาทสี่ ูงขนึ้ ในชวง ๓ ปก ารศกึ ษา และ
• มีแนวทางรักษาผลหรือการพฒั นาท่สี งู ข้ึน
 ดเี ย่ยี ม • มหี ลกั ฐานแสดงผลการพัฒนาทสี่ งู ข้นึ ในชวง ๓ ปก ารศึกษา และ
• มแี นวทางรกั ษาผลหรือการพฒั นาที่สูงขึ้น และ
• มีหลกั ฐานแสดงใหเหน็ วา สถานศึกษามี แบบอยา งที่ดี (Best Practice) หรือ
นวตั กรรม (Innovation)

ขอ เสนอแนะในการพฒั นาคุณภาพมาตรฐานท่ี ๒ ใหส ูงขึ้น
สถานศึกษาดําเนินการพัฒนาบุคลากร โดยจัดการอบรม ศึกษาดูงาน สรางขวัญกําลังใจ และประเมิน

ประสิทธิภาพของบุคลากรอยางตอเน่ือง สงผลใหบุคลากรทุกคนมีความมุงมั่นทุมเทในการปฏิบัติงานอยางเต็ม
ศักยภาพ จนบรรลุตามเปาหมายของปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ ของสถานศึกษา ทําใหการพัฒนาเด็กมีคุณภาพ
ตามความตองการของผูปกครองและชุมชน ผูบริหารใชหลักการบริการจัดการสูความสําเร็จ โดยใชโมเดล FAIR
ซึ่งประกอบดวย F = Function การมอบหมายภาระงาน, A = Awareness สรางความตระหนัก, I = Intelligent
การปฏิบัติงานอยางชาญฉลาด, R = Responsibility รับผิดชอบภารกิจ ทําใหบุคลากรมีศูนยรวมจิตใจ ทํางาน
ดวยความทุมเทเสียสละ มีแนวทางและเปาหมายรวมกันอยางชัดเจน มีความม่ันคงในวิชาชีพครู เพราะผูบริหาร
มีภาวะผูนําท่ีเปนแบบอยางที่ดีในทุกๆดาน ดังนั้นนวัตกรรมการบริหารดวยโมเดล FAIR จึงนําองคการสู
ความสําเร็จ เปนแบบอยางท่ีดี และเกิดประโยชนตอวงการศึกษาอยางกวางขวางในการวางแผนการพัฒนา
ความกาวหนาในระดับที่สูงข้ึน ผูบริหารมีนโยบายการนําเทคโนโลยีเขามามีบทบาทสําคัญปรับเปลี่ยนการสอน
ของครู ซ่ึงครยู ุคใหมจะตองใชเทคโนโลยีเปนส่ือในการสอน ครูไดเรียนรูและใชสื่ออยางมีประสิทธิภาพ เพ่ือใหเปน
เคร่ืองมือ สรางสรรคนวัตกรรมใหมๆ ใหเกิดข้ึนตามการเปล่ียนแปลงของโลก และสถานศึกษาควรจัดหาส่ือ
อุปกรณเทคโนโลยีเพ่ิมเติม เพื่อบริการแกครูและเด็กในการฝกประสบการณการเรียนรู ตามแนวทางการดําเนิน
ชวี ติ ของมนษุ ยในศตวรรษที่ ๒๑ ทัง้ นเี้ พอื่ ความมั่นคงกาวหนา ของสถานศึกษาอยา งมีคณุ ภาพตอ ไป



มาตรฐานท่ี ๓ การจัดประสบการณทเ่ี นนเดก็ เปน สําคัญ

จุดเนน จัดประสบการณสงเสริมพฒั นาการเด็กทุกดา น อยา งสมดุลเต็มศักยภาพ พรอมดว ยคณุ ธรรม
จริยธรรม และพ้ืนฐานการดาํ เนนิ ชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

ไดผ ลประเมินระดบั ดี
ผลการพจิ ารณา ตัวชี้วดั สรุปผลประเมิน
√ ๑. ครมู กี ารวางแผนการจัดประสบการณการเรียนรูรายป o ปรบั ปรุง (๐-๓ ขอ )
ครบทุกหนวยการเรยี นรู ทุกช้ันป o พอใช (๔ ขอ)
√ ๒. ครูทกุ คนมีการนาํ แผนการจัดประสบการณก ารเรยี นรู √ ดี (๕ ขอ)
ไปใชใ นการจัดประสบการณโดยใชสือ่ เทคโนโลยี
สารสนเทศและแหลงเรียนรูที่เออื้ ตอการเรยี นรู
√ ๓. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจดั ประสบการณ
อยา งเปนระบบ
√ ๔. มีการนําผลการประเมินมาพฒั นาการจดั ประสบการณ
ของครูอยา งเปน ระบบ
√ ๕. มกี ารแลกเปลย่ี นเรยี นรูแ ละใหข อมลู ปอนกลบั เพอื่
พฒั นาปรับปรุงการจัดประสบการณ

ไดผลประเมนิ ระดับดเี ยย่ี ม เกณฑก ารพจิ ารณา
ระดบั คณุ ภาพ
 ดีมาก • มหี ลกั ฐานหรอื ขอมูลแสดงผลการพฒั นาท่สี งู ขน้ึ ในชวง ๓ ปก ารศึกษา และ
• มีแนวทางรกั ษาผลหรือการพฒั นาท่สี งู ขน้ึ
 ดเี ยยี่ ม • มีหลักฐานแสดงผลการพัฒนาทส่ี ูงข้นึ ในชว ง ๓ ปการศึกษา และ
• มีแนวทางรักษาผลหรือการพัฒนาท่ีสูงขึน้ และ
• มีหลักฐานแสดงใหเ ห็นวา สถานศกึ ษามี แบบอยา งที่ดี (Best Practice) หรือ
นวัตกรรม (Innovation)

ขอ เสนอแนะในการพฒั นาคุณภาพมาตรฐานท่ี ๓ ใหสงู ข้ึน
ครูมีการจัดทําแผนการจัดประสบการณที่บูรณาการสอนคุณธรรมจริยธรรม ปลูกฝงการดําเนินชีวิตตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอยางตอเนื่องตลอดมากวาสิบป จึงสมควรเปนผลการปฏิบัติงานที่เปนเลิศ
(Best Practice) โดยเฉพาะรูปแบบการสอนโครงงาน (Project Approach) เร่อื ง อญั มณีของดีเมืองจนั ท นบั เปน
โครงงานที่พัฒนาเด็กใหรูจัก เรียนรูจากสิ่งแวดลอม เด็กไดฝกปฏิบัติจริง รูจักชื่นชมและอนุรักษทองถิ่นของตน
ผลงานนี้ยังสรางคุณคาแกสังคมและชุมชนโดยรอบสถานศึกษาอีกดวย สงผลใหเด็กมีคุณลักษณะอันพึงประสงค
บรรลุตามจุดเนนของสถานศึกษา จนไดรับการชื่นชมจากหนวยงาน องคกร และสถานศึกษาตาง ๆ เขามาศึกษาดู
งานเปนจํานวนมาก ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหสูงข้ึน ครูควรเพ่ิมโครงงานในลกั ษณะนใ้ี หเด็กไดเรียนรูสืบ
ทอดตอไป ซ่ึงจะเปนประโยชนอยางย่ิงตอวงการศึกษา และครูควรเผยแพรวิธีการสอนไปยังสถานศึกษาอื่น ๆ
ทีม่ าศึกษาดูงานใหนําแบบอยางท่ีดีไปปฏิบัติ จะเปนประโยชนอยางยิ่งตอเด็กไทย ทั้งน้ีเพื่อสงเสริมใหเด็กมีทักษะ
พื้นฐานการคดิ วิเคราะห สังเคราะห นาํ ไปสูก ารสรางสรรคผ ลงานทีม่ คี ณุ ภาพตอไปในอนาคต



ระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู รยี น

จดุ เนน ผูเรยี นมีความรทู กั ษะพ้ืนฐาน มคี ุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคแ ละคา นิยมทีด่ ี
นอ มนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาดําเนินชวี ิต

ไดผ ลประเมินระดบั ดี
ผลการพจิ ารณา ตวั ชี้วดั สรปุ ผลประเมนิ
√ ๑. มีการระบุเปา หมายคุณภาพของผเู รียน o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ขอ )
√ ๒. มกี ารระบวุ ธิ พี ฒั นาคุณภาพของผูเรยี นอยา งเปน ระบบ o พอใช (๔ ขอ)
ตามเปา หมายการพัฒนาผูเรียน √ ดี (๕ ขอ)
√ ๓. มีผลสัมฤทธ์ิของผูเรยี นตามเปาหมายการพัฒนาผูเรียน
√ ๔. มกี ารนําผลประเมินคุณภาพของผเู รียนมาพฒั นาผเู รียน
ดานผลสมั ฤทธใิ์ หสงู ขนึ้
√ ๕. มีการนําเสนอผลการประเมินคณุ ภาพของผเู รยี นตอ ผทู ่ี
เกีย่ วขอ ง

ไดผ ลประเมินระดบั ดเี ยี่ยม
ระดบั คณุ ภาพ เกณฑก ารพจิ ารณา
 ดมี าก • มีหลักฐานหรือขอมูลแสดงผลการพัฒนาท่ีสงู ขึน้ ในชวง ๓ ปก ารศกึ ษา และ
• มแี นวทางรักษาผลหรือการพฒั นาทส่ี ูงขึ้น
 ดีเยยี่ ม • มีหลกั ฐานแสดงผลการพฒั นาท่สี ูงขน้ึ ในชวง ๓ ปก ารศึกษา และ
• มแี นวทางรักษาผลหรือการพฒั นาทสี่ ูงขึ้น และ
• มีหลักฐานแสดงใหเห็นวา สถานศกึ ษามี แบบอยางที่ดี (Best Practice) หรือ
นวตั กรรม (Innovation)

ขอ เสนอแนะในการพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานท่ี ๑ ใหสูงข้ึน
สถานศึกษาควรหาแนวทางพัฒนาคุณภาพการศึกษาในมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผูเรียนสูความเปนเลิศ

ท้ังในดานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ในประเด็นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนควรสงเสริม
ผูเรียนใหเรียนรูดวยตนเองจากส่ือออนไลนที่มีคุณภาพ ปลูกฝงคุณลักษณะใฝรู ใฝเรียน และรับผิดชอบครูควรมี
วิธีการการวัดผลและประเมินผลท่ีไดมาตรฐานเทียบเทาระดับสากล ควรใหความรูครูในการสืบคนแสวงหาความรู
โดยเพิ่มทักษะความสามารถการใชส ่ือเทคโนโลยีสารสนเทศในระดับท่ีสูงข้ึน และเหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน
ควบคูกับจุดเนนของสถานศึกษาในดานคุณธรรมจริยธรรมและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการพัฒนา
ผูเรียนเพิ่มทักษะที่จําเปนดานการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ (3R8C) สถานศึกษาสามารถบูรณาการวิธีการ
เชนเดียวกับผลงานท่ีประสบความสําเร็จมาแลว เชน การพัฒนากลุมครูแกนนําหรือนักเรียนแกนนําขึ้นมาจากนั้น
จึงขยายผลไปยังกลุมอื่นๆ โดยมีคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการอยางเปนระบบและมีสวนรวมจากทุกฝาย
โดยใชกระบวนพฒั นางานดวยวงจรคุณภาพ PDCA มีการประชุมวางแผน กําหนดคาเปาหมาย นิเทศกํากับติดตาม
ประเมินผล และแกไขปรับปรุงเพ่ือใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไว จัดใหมีการประสัมพันธผลงานของผูเรียนอยาง
ตอเนื่องใหผูที่เก่ียวของทราบผลการพัฒนาที่มีคุณภาพยั่งยืน เพ่ือสรางศรัทธาความเชื่อม่ันของผูปกครองและ
ชุมชนตอ ไป



มาตรฐานที่ ๒ กระบวนบรหิ ารและการจดั การ

จุดเนน ยกระดบั การบรหิ ารจัดการคณุ ภาพสถานศึกษาตามอัตลักษณการศกึ ษาคาทอลิก
โดยใชหลกั คุณธรรมนาํ ความรู และนอ มนาํ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ไดผลประเมนิ ระดับดี
ผลการพจิ ารณา ตัวชี้วัด สรปุ ผลประเมนิ
√ ๑. มีการวางแผนการดําเนินการในแตล ะปการศึกษา o ปรับปรงุ (๐-๓ ขอ)
√ ๒. มีการนาํ แผนการดาํ เนนิ การไปใชด ําเนนิ การ o พอใช (๔ ขอ)
√ ๓. มีการประเมนิ ผลสัมฤทธ์ขิ องการดําเนนิ การตามแผน √ ดี (๕ ขอ)
√ ๔. มีการนาํ ผลการประเมนิ ไปใชใ นการปรับปรงุ แกไขในป
การศึกษาตอไป
√ ๕. มกี ารนาํ เสนอผลการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษาใหผู
มสี ว นไดส ว นเสยี ไดรบั ทราบ

ไดผลประเมินระดบั ดเี ยี่ยม เกณฑการพิจารณา
ระดบั คณุ ภาพ
 ดีมาก • มีหลกั ฐานหรือขอมลู แสดงผลการพัฒนาทส่ี งู ขน้ึ ในชวง ๓ ปก ารศกึ ษา และ
• มแี นวทางรักษาผลหรือการพัฒนาทส่ี ูงขึ้น
 ดีเยยี่ ม • มหี ลักฐานแสดงผลการพัฒนาทีส่ ูงขึน้ ในชว ง ๓ ปการศึกษา และ
• มแี นวทางรักษาผลหรือการพฒั นาทสี่ ูงข้ึน และ
• มีหลักฐานแสดงใหเ หน็ วาสถานศึกษามี แบบอยา งท่ดี ี (Best Practice) หรอื
นวตั กรรม (Innovation)

ขอเสนอแนะในการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานท่ี ๒ ใหสงู ขึ้น
สถานศึกษามีหลักฐานขอมูลสารสนเทศผลการดาํ เนินงานครบถว นตามตวั ชี้วัดทุกประเด็น ตามจุดเนน

คือ “ยกระดับการบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา ตามอัตลักษณการศึกษาคาทอลิก โดยใชหลักคุณธรรม
จริยธรรม และนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” โดยใชกระบวนการบริหารวงจรคุณภาพ (PDCA)
เนนการมีสวนรวมจากทุกฝาย มีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารจัดการท่ีทันสมัย ไดจัดหลักฐานขอมูล
สารสนเทศผลการดําเนินงานอยางตอเน่ืองตั้งแตปการศึกษา 2560 จนถึงปจจุบัน และมีแบบอยางที่ดี (Best
Practice) คือ หลักการบริหารสถานศึกษาที่ยึดมั่นอัตลักษณการศึกษาคาทอลิก โดยใชหลักคุณธรรมนําความรู
และนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอยางตอเนื่องสูความย่ังยืน
จนเปนท่ียอมรับของสังคมวงการศึกษา จึงสงผลใหสถานศึกษาไดรับรางวัลพระราชทาน ระดับมัธยมศึกษาขนาด
กลาง จากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจาํ ป ๒๕๖๒ และรางวัลผบู ริหารโรงเรยี นเอกชนดีเดน ประจําป ๒๕๖๐-๒๕๖๒
จากสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน และเปนสถานศึกษาแบบอยางท่ีดีและศูนยการเรียนรูตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดานการศึกษาของกระทรวงศึกษาธกิ าร และมีการสรปุ แนวทางการรกั ษาผลการ
พัฒนา และแนวทางการพัฒนาใหมีคุณภาพสูงขึ้นในปการศึกษาตอไปอยางชัดเจน ดังน้ันสถานศึกษาควรรักษา
คุณภาพ การพัฒนาตอเน่ืองอยางยั่งยืน และควรพัฒนาคูมือการบริหารจัดการแบบอยางท่ีดีดังกลาวนี้ ใหเปน
เอกสารสําหรับเผยแพรเ พอ่ื ประโยชนของวงการศึกษาตอไป

๑๐

มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นน ผูเ รียนเปน สาํ คญั

จุดเนน พัฒนากระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่เี นนผูเ รยี นเปน สาํ คัญ จัดการเรยี นรผู านกระบวนการคิด
และปฏิบัตจิ รงิ นําไปประยกุ ตใชในชีวิตได เปนแบบอยางคุณธรรมจรยิ ธรรม นอ มนําหลกั ปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาดําเนนิ ชีวติ

ไดผลประเมนิ ระดับดี สรปุ ผลประเมิน
ผลการพิจารณา ตวั ช้วี ดั o ปรบั ปรงุ (๐-๓ ขอ)
√ ๑. ครูมกี ารวางแผนการจดั การเรียนรคู รบทุกรายวิชา ทุกช้ันป o พอใช (๔ ขอ)
√ ๒. ครูทกุ คนมีการนําแผนการจัดการเรียนรไู ปใชในการจดั การ √ ดี (๕ ขอ)
เรียนการสอนโดยใชสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง
เรียนรูทเ่ี อ้ือตอการเรียนรู
√ ๓. มีการตรวจสอบและประเมินผลการจัดการเรยี นการสอน
อยา งเปนระบบ
√ ๔. มกี ารนาํ ผลการประเมนิ มาพัฒนาการจดั การเรียนการสอน
ของครูอยา งเปน ระบบ
√ ๕. มีการแลกเปล่ียนเรียนรแู ละใหข อมูลปอนกลบั เพอื่ พฒั นา
ปรับปรุงการจดั การเรยี นการสอน

ไดผ ลประเมินระดบั ดีเยี่ยม เกณฑการพิจารณา
ระดบั คณุ ภาพ
 ดมี าก • มหี ลกั ฐานหรอื ขอมลู แสดงผลการพัฒนาที่สงู ข้นึ ในชว ง ๓ ปก ารศึกษา และ
• มีแนวทางรกั ษาผลหรือการพัฒนาที่สงู ข้ึน
 ดเี ยี่ยม • มหี ลกั ฐานแสดงผลการพัฒนาทสี่ ูงขึ้นในชว ง ๓ ปการศึกษา และ
• มีแนวทางรักษาผลหรือการพัฒนาที่สงู ขึน้ และ
• มหี ลักฐานแสดงใหเห็นวาสถานศึกษามี แบบอยางทีด่ ี (Best Practice) หรอื
นวัตกรรม (Innovation)

ขอ เสนอแนะในการพฒั นาคุณภาพมาตรฐานท่ี ๓ ใหส งู ขึ้น
สถานศึกษามีผลการดําเนินงานพัฒนาการจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญตามมาตรฐานในระดับ

คุณภาพดีเย่ียม โดยเนนโครงการพัฒนาศักยภาพครู ซึ่งเปนบุคลากรท่ีมีความสําคัญที่สุดในการขับเคล่ือนพัฒนา
ผูเรียนใหมีคุณภาพตามเปาหมายทีก่ ําหนด ดังน้ันลักษณะของครใู นยคุ ศตวรรษที่ ๒๑ ในเร่ืองของการใชเทคโนโลยี
และการสรางใหผูเรียนใหเปนนักคิด นักพัฒนา และนักประดิษฐ ถือเปนหัวใจหลักในการสงเสริมการเรียนรู
เปนไปตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป จัดการเรียนการสอนสงเสริมใหผูเรียนเรียนรูดวยตนเอง โดยท่ีครูออกแบบ
การเรียนรู ครูเปนผูแนะนํา และอํานวยความสะดวกในการเรียนรูใหกับผูเรียน ทั้งน้ีเพื่อใหผูเรียนสามารถ
สรา งสรรคและพฒั นาองคความรไู ดด วยตวั เอง ครูควรพัฒนาการใชส อื่ เทคโนโลยีในการเรียนการสอนตามแนวทาง
วถิ ีชีวติ ใหมใหทันสมัยกับสถานการณที่เกิดข้ึนในปจจุบัน ปรับเปล่ียนวิธีการสอน เรียนรูการสรางส่ือออนไลนและ
การสืบคน เลือกส่ือที่มีคุณภาพมาใชในการสอน ควรมีคณะกรรมการดาํ เนนิ งานสรางหองเรียนออนไลนท ่ีมีคุณภาพ
ในรูปแบบเชงิ รุก (Active Learning) สรรหาบคุ ลากรที่มีความสามารถเฉพาะดา นเพอื่ ขับเคลื่อนใหเกดิ นวัตกรรม

๑๑

ส่ือการเรียนรูออนไลน และเผยแพรตอยอดไปสูครูทุกคนในองคกร จัดทํารายงานผลการวิจัยส่ือที่สรางข้ึน
ประเมินผลนํามาปรบั ปรงุ แกไ ข และวางแผนพฒั นาตอ ไป
ขอ เสนอแนะเพ่ิมเติม

สถานศึกษาควรวางแผนการพัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาตามจุดเนนสูความย่ังยืน เพื่อยกระดับ
การบริหารจัดการคุณภาพสถานศึกษา ตามอัตลักษณการศึกษาคาทอลิก โดยใชหลักคุณธรรมนําความรู และนอม
นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และกําหนดคาเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาใหสูงขึ้น เพ่ือสราง
ความทาทาย และเปนรูปธรรมสามารถปฏิบัติไดจริงจนบรรลุเปาหมายสูงสุด ควรเพิ่มเติมจุดเนนการพัฒนา
คุณภาพผูเรียนใหเปนนักคดิ นักประดษิ ฐร ุนใหม ใหเปน “นวัตกร” ( Innovator) ในอนาคต การพัฒนาทักษะการ
เรียนรใู นศตวรรษท่ี ๒๑ สูการสงเสริมวิธีการคิดนอกกรอบ การคิดสรางสรรคนวัตกรรม วิทยาการใหมๆ เชน การ
สอนการสรางหุนยนต (Robot) ในการเรียนวิชา STEM ซ่ึงในโลกยุคตอจากนี้หุนยนตจะเขามามีบทบาทสําคัญใน
การดําเนินชีวิตของมนุษย สถานศึกษาไดมีการสงเสริมการเรียนรูในดานการบริหารจัดการการขายออนไลนจน
ไดผลดีแลว ควรพัฒนาตอยอดควบคูไปกับการบริหารจัดการระบบการสงสินคาโลจิสติกส (Logistics) การบรรจุ
ภัณฑ การออกแบบงานโฆษณา (Advertising) เปนตน นอกจากน้ันควรสงเสริมพัฒนาวิธีการปฏิบัตกิ ารท่ีดี (Best
Practice) หรือนวัตกรรม (Innovation) ของครูและบุคลากรของสถานศึกษาอยา งตอ เนือ่ ง การพัฒนาผเู รียนสโู ลก
ภายนอกตามแนวทางชีวิตวิถีใหม (New Normal) การเรียนตอในระดับท่ีสูงข้ึนหรือประกอบอาชีพ ควรใหผูเรียน
คนพบตนเองโดยสถานศึกษาพัฒนาผานกิจกรรมและประสบการณที่หลากหลาย เพ่ือใหผูเรียนมุงม่ันสูอาชีพ
ที่สนใจนําความสําเร็จมาสูตนเองและครอบครัว จึงถือวาบรรลุเปาหมายความสําเร็จของการจัดการศึกษาที่มี
คุณภาพอยางแทจรงิ

๑๒

คํารับรอง

คณะผูประเมินขอรับรองวาไดทําการประเมินผลการตรวจเยี่ยมผานทางระบบวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส
ตามเกณฑการประเมินคุณภาพภายนอกของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคการ
มหาชน) ซึ่งตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายนอกบนฐานความโปรงใส และยุติธรรมทุกประการ ลงนามโดย
คณะผปู ระเมินดังน้ี

ตาํ แหนง ชอ่ื - นามสกุล ลายมือช่ือ

ประธาน นายสมพร ไตยวงค

กรรมการ นางทองเพียร พลนาค

กรรมการและเลขานุการ นายปกรณ อชั ฌาศยั

วันที่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๓

๑๔

ระเบยี บวาระท่ี 4 เร่อื งเสนอเพ่ือทราบ
วาระท่ี 4.1 รายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษา

ตงั้ แต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564

รำยงำนผลกำรดำเนินงำนตำมนโยบำยสนับสนนุ คำ่ ใช้จำ่ ย
ในกำรจดั กำรศกึ ษำตง้ั แตร่ ะดบั อนุบำลจนจบกำรศกึ ษำข้ันพนื้ ฐำน ภำคเรียนที่ 1 ปกี ำรศกึ ษำ 2564

โรงเรียนสตรีมำรดำพิทักษ์ อำเภอเมืองจนั ทบรุ ี จงั หวัดจนั ทบรุ ี
รำยกำรจำ่ ยจริง ข้อมูล ณ วันท่ี 25 มิถนุ ำยน 2564

จำนวน น.ร. กจิ กรรมพฒั นำ
คุณภำพผู้เรียน
ระดบั ชน้ั ที่ได้รบั เงนิ อดุ หนุน หนงั สือเรยี น อปุ กรณ์กำรเรยี น เครื่องแบบนกั เรยี น รวมเงินจำ่ ยจริง

อ.1 รับจริง ณ 25 ม.ิ ย. 35,600.00 17,800.00 53,400.00 38,270.00 145,070.00
38,400.00 19,200.00 57,600.00 41,280.00 156,480.00
16748 40,400.00 20,200.00 60,600.00 43,430.00 164,630.00
114,400.00 57,200.00 171,600.00 122,980.00 466,180.00
อ.2 192 182,368.00 54,210.00 100,080.00 66,720.00 403,378.00
185,250.00 55,575.00 102,600.00 68,400.00 411,825.00
อ.3 202 200,471.00 59,865.00 110,520.00 73,680.00 444,536.00
208,565.00 57,525.00 106,200.00 70,800.00 443,090.00
รวมกอ่ นประถม 572 220,806.00 50,895.00 93,960.00 62,640.00 428,301.00
225,917.00 51,285.00 94,680.00 63,120.00 435,002.00
ป.1 278 1,223,377.00 329,355.00 608,040.00 405,360.00 2,566,132.00
230,280.00 59,850.00 128,250.00 125,400.00 543,780.00
ป.2 285 256,038.00 58,380.00 125,100.00 122,320.00 561,838.00
247,008.00 52,080.00 111,600.00 109,120.00 519,808.00
ป.3 307 733,326.00 170,310.00 364,950.00 356,840.00 1,625,426.00
262,960.00 43,700.00 95,000.00 90,250.00 491,910.00
ป.4 295 274,482.00 47,610.00 103,500.00 98,325.00 523,917.00
452,479.00
ป.5 261 222,324.00 43,930.00 95,500.00 90,725.00 1,468,306.00
759,766.00 135,240.00 294,000.00 279,300.00 6,126,044.00
ป.6 263 2,830,869.00 692,105.00 1,438,590.00 1,164,480.00

รวมประถม 1689

ม.1 285

ม.2 278

ม.3 248

รวม ม.ต้น 811
190
ม.4

ม.5 207

ม.6 191

รวม ม.ปลำย 588

รวมทุกระดับ 3660

วาระที่ 4 เรอ่ื งเสนอเพ่ือทราบ
4.2 รายงานผลการดาเนินงานโครงการอาหารกลางวนั ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

รายงานผลการดาเนินงานโครงการอาหารกลางวันสาหรับโรงเรยี นเอกชน

สังกัดสานกั งานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน

...........................................................................................................................................................................................................................................................................................

โรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ ต้ังอยู่เลขท่ี 108 หมู่ 5 ถนนจันทนิมิต ตาบลจันทนิมิต อาเภอเมืองจันทบุรี จังหวัด
จันทบุรี รหัสไปรษณีย์ 22000 โทร 0-3931-1038 รายงานสานักงานศึกษาธิการจังหวัดจันทบุรี ประจาภาค
เรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 (ชว่ งเดอื นเมษายน ถึง เดือน ตลุ าคม พ.ศ 2564)

สว่ นท่ี 1 จานวนนักเรยี นและจานวนเงิน รายงานการรับ - การจ่ายเงิน และภาวการณ์เจรญิ เตบิ โต

ของนกั เรยี นโครงการอาหารกลางวนั

1. จานวนนักเรยี นและจานวนเงนิ ทไ่ี ดร้ ับการช่วยเหลอื จากโครงการอาหารกลางวัน

ระดับการศึกษา จานวนนกั เรยี น จานวนนักเรยี นที่ได้รบั จานวนเงินท่ีได้รับ

ท้งั โรงเรียน (คน) การชว่ ยเหลือ (คน) การช่วยเหลอื (บาท)

ก่อนประถมศึกษา 576 83 166,000.00

ประถมศกึ ษา 1,648 308 616,000.00

รวม 2,224 391 782,000.00

2. รายงานการรับ - จา่ ยเงนิ จานวนเงิน จานวนเงิน รวม
ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา
รายการ
- --
1. ยอดคงเหลือยกมา 135,666.86 368951.74 504,618.60
- เงินสด
- เงนิ ฝากธนาคาร - --
2. บวก รายรับ
- ไดร้ ับจากงบประมาณโครงการอาหารกลางวนั ของ 166,000.00 616,000.00 782,000.00
กระทรวงศึกษาธกิ าร
- ได้รับเงนิ ดอกผลกองทุนเพื่อโครงการอาหาร 173.02 493.02 666.04
กลางวนั ในโรงเรยี นประถมศึกษา
- ดอกเบยี้ รบั บัญชเี งนิ ฝากโครงการอาหารกลางวัน - --
(30/06/64)
- เปิดบัญชี 131,140.00 486,640.00 617.780.00
- อืน่ ๆ - --
3. หกั รายจ่าย - --
- คา่ อาหาร
- คา่ จา้ งบคุ คลภายนอกประกอบอาหาร 170,699.88 498,804.76 669,504.64
- อ่นื ๆ (จา่ ยคนื ผูร้ ับใบอนุญาต)
4. ยอดคงเหลือยกไป
- เงนิ สด
- เงินฝากธนาคาร

3. ภาวการณ์เจรญิ เตบิ โตของนักเรียนทไี่ ด้รับการช่วยเหลอื จากโครงการอาหารกลางวัน

เปรียบเทียบกบั การรายงานคร้ังทแี่ ล้ว

(สรุปจากแบบบันทกึ รายละเอียดภาวะการเจรญิ เติบโตแนบท้ายรายงาน)

จานวนนักเรียน

ระดบั การศึกษา ทีไ่ ดร้ ับ ทไ่ี ด้รับ เพิ่ม/ลด ท่ีมนี า้ หนกั ทม่ี ีนา้ หนกั ต่ากวา่ เกณฑ์
การช่วยเหลอื การช่วยเหลือ ตา่ กวา่ เกณฑ์ ตา่ กว่าเกณฑ์ เพม่ิ /ลด
-
ครั้งที่ 1 ครงั้ ที่ 2 ครั้งท่ี 1 คร้ังท่ี 2 -
-
กอ่ นประถมศึกษา 83 --- -

ประถมศกึ ษา 308 - -7 -

รวม 391 - - 7 -

สว่ นที่ 2 การบริหาร การจัดการและการสนบั สนนุ โครงการอาหารกลางวนั
1. การบริหารโครงการอาหารกลางวัน กาหนดกิจกรรมขน้ั ตอนการดาเนินงาน ดังน้ี
1. จดั ตัง้ คณะกรรมการดาเนินงานโครงการอาหารกลางวัน
2. ประชมุ คณะกรรมการดาเนินงาน
3. เสนอโครงการตอ่ ผู้บริหาร
4. ดาเนินงานโดยครทู าอาหารให้แก่นกั เรียนที่ขาดแคลนทุนอาหารกลางวนั
2. โครงการต่าง ๆ ทโ่ี รงเรยี นดาเนินการเพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
1. โครงการอาหารเสริม (นม)
2. โครงการโรงเรยี นส่งเสริมสุขภาพ
3. ปญั หาอุปสรรคในการดาเนนิ งานโครงการอาหารกลางวนั
ยอดเงนิ งบประมาณโครงการอาหารกลางวันจากกระทรวงศกึ ษาธิการจัดสรรมาล่าช้ามากและ

จานวนไม่ครบวันมาเรยี นซึ่งทาให้ไม่ทราบจานวนนกั เรยี นท่ีแน่นอน ทาให้ทางโรงเรียนต้องจา่ ยเงินสารองที่เหลอื ไป
กอ่ น

ลงชอ่ื ……………………………………………..ผูก้ รอกข้อมลู ลงชอื่ ……………………….....……………..ผูร้ บั รองข้อมลู
(นางสาวนวลพรรณ วิชญธรกลุ ) (นางสาวลายงค์ อ้นุ วนุ้ )
ครูอนามยั โรงเรียนสตรีมารดาพทิ ักษ์
วันที่ 18 ตลุ าคม 2564 ผอู้ านวยการโรงเรียนสตรีมารดาพทิ ักษ์
วันที่ 26 ตลุ าคม 2564

ระเบยี บวาระท่ี 4 เรื่องเสนอเพื่อทราบ
วาระท่ี 4.3 รายงานผลการดาเนนิ งาน โครงการอาหารเสริม (นม) ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564

รายงานผลการดาเนินงาน โครงการอาหารเสริม (นม)
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564

งวดท่ี 1 - 3 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

1. ข้อมูลทั่วไป
โรงเรยี นสตรมี ารดาพทิ ักษ์ เลขที่ 108 หมู่ 5 ตาบลจันทนิมติ อาเภอเมืองจนั ทบรุ ี

จังหวัดจันทบรุ ี รหสั ไปรษณีย์ 22000 โทรศพั ท์ 039-311038 เปน็ โรงเรียนประเภท ( √ ) สามัญ
ท่วั ไป ( ) การกุศลของวัด ( ) ศกึ ษาสงเคราะห์
2. งบประมาณเงินอุดหนุนค่าอาหารเสริม (นม)
ขอให้รายงานงบประมาณเงินอุดหนุนค่าอาหารเสรมิ (นม) ดังน้ี

รายการ จานวนเงนิ ทไ่ี ด้รบั รวม
ระดับ ระดับ
1. ยอดยกมาจากงวดก่อน กอ่ นประถมศกึ ษา ประถมศกึ ษา -
2. ค่าอาหารเสรมิ (นม) ทไ่ี ดร้ ับงวดน้ี คร้งั ท่ี 1 996,030.00
-- 396,270.00
3. คา่ อาหารเสรมิ (นม) ท่ีได้รับงวดน้ี 235,011.00 761,019.00
ได้รับเงนิ เพิม่ เติม คร้ังท่ี 2
93,499.00 302,771.00
4. คา่ อาหารเสรมิ (นม) ท่ีไดร้ ับงวดน้ี
ไดร้ บั เงนิ เพิ่มเติม ครง้ั ที่ 3 192,010.00 473,200.00 665,210.00

5. คา่ อาหารเสริม (นม) ทใ่ี ชไ้ ปในงวดน้ี 518,982.12 1,526,276.32 2,045,258.40
ซื้อนมเกนิ ไปจานวน
1,537.88 10,713.68 12,251.56
4. ยอดยกไป ( 1+2+3)

3. การรักษาเงนิ อดุ หนุนคา่ อาหารเสรมิ (นม)
3.1 ระหว่างภาคเรียน ( √ ) ฝากธนาคาร
( ) ผู้บรหิ ารเก็บไว้
( ) วธิ ีอนื่ ๆ (ระบุ)...........................
3.2 ปลายภาคเรียน ( √ ) ฝากธนาคาร
( ) ผบู้ รหิ ารเก็บไว้
( ) วธิ ีอ่ืน ๆ (ระบ)ุ .............................................

4. วันทไี่ ดร้ ับแจง้ การจดั สรรและวันทีเ่ ริม่ ดาเนนิ การจัดซือ้

4.1 ไดร้ บั การจดั สรรเงินเมอ่ื วันที่ 4 เดอื น มิถนุ ายน พ.ศ. 2564
4.2 เรม่ิ ดาเนินการซือ้ อาหารเสรมิ (นม) เม่ือวันท่ี 14 เดอื น มิถุนายน พ.ศ. 2564

5. โรงเรยี นจดั ซอื้ อาหารเสรมิ (นม) ภาคเรยี นละ 4 งวด ดังน้ี

งวดที่ ซอ้ื จาก ปริมาณทซ่ี ื้อ /กล่อง หมายเหตุ
1 นายเสฎฐวุฒิ สมงาม 37,740
2 นายเสฎฐวุฒิ สมงาม 70,091

3 นายเสฎฐวฒุ ิ สมงาม 70,091

4 นายเสฎฐวฒุ ิ สมงาม 83,620

รวม 261,542

6. จานวนวันทีจ่ ัดอาหารเสริม (นม) ใหน้ ักเรียนดื่ม (เฉลีย่ ) 116 วัน
ตง้ั แต่วันที่ 14 มถิ ุนายน ถึง 7 ตุลาคม พ.ศ. 2564

7. ปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดจากการดาเนนิ งาน
- การทาบนั ทกึ ลงในทะเบียนคมุ ยอดเงินจะไมต่ รงกบั ท่ีจ่ายจริงเนื่องจากไดร้ บั งบประมาณจัดสรรนม

ในภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ไดร้ ับงบประมาณในการจดั ซอื้ น้อยกว่าจานวนนักเรียนทีม่ อี ยู่จริงจงึ มผี ล
ทาให้การจัดสรรนมในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 ไมพ่ อกบั จานวนวนั 116 วัน

- งบประมาณทที่ าง สช. จัดใหซ้ ้อื นมต่อคนกบั ราคานมไมเ่ ท่ากนั จงึ เปน็ การยากในการคานวณ ซง่ึ มี
ผลทาให้ยอดเงินในทะเบียนคุมไม่ตรงกับทจี่ ่ายจริงในสญั ญาซอ้ื ขาย

- บรรจุภณั ฑข์ องนมถงุ ค่อนข้างบอบบางจึงทาให้มีการชารุดเสยี หายง่าย

8. ข้อเสนอแนะของโรงเรยี นท่เี กย่ี วกบั โครงการอาหารเสรมิ (นม)
- งบประมาณเงนิ อุดหนนุ คา่ อาหารเสริมนมในอตั ราคนละ 7 บาท ต่อวัน ควรกาหนดอัตราให้

เท่ากับราคานมท่ีจัดซ้ือจรงิ เพ่ือจะได้ยอดเงนิ ทต่ี รงกบั ความเปน็ จริงและสะดวกในการคานวณ
- ควรจัดสรรงบประมาณใหท้ ันกอ่ นจะเปดิ เรียนในภาคเรียนท่ี 1 ของปีการศึกษา และจดั สรรใหต้ รง

กับจานวนนักเรยี นทมี่ ีอย่จู ริง

วาระที่ 4 เร่ืองเสนอเพื่อทราบ
วาระท่ี 4.4 รายงานการแต่งตั้ง ถอดถอนครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

รายงานการแตง่ ตั้งและถอดถอนผอู้ านวยการ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 โรงเรยี นสตรีมารดาพทิ กั ษ์ อาเภอเมอื งจันทบุรี จงั หวัดจนั ทบรุ ี

ท่ี ชอ่ื - สกลุ ตาแหน่ง แตง่ ต้งั ต้ังแตว่ ันที่ ถอดถอนต้ังแตว่ นั ที่
1 นางสาวนิตยา ชงโคพนาเวศ ครู 1 ม.ิ ย. 2564
2 นางสาวณฐั วรรณ อติชาตธิ านนิ ทร์ 1 ม.ิ ย. 2564 1 ม.ิ ย. 2564
3 นางสาวณฐั วรรณ อติชาติธานินทร์ รองผอู้ านวยการ 1 ม.ิ ย. 2564 1 มิ.ย. 2564
4 นางสาวเพญ็ จันทร์ มีนะจรสั 1 ม.ิ ย. 2564
5 นางสาววมิ ลรัตน์ พัสดุ ครู 1 พ.ย. 2564
6 นางสาวรชยา ครฑุ วิเศษ 1 ส.ค. 2564 1 พ.ย. 2564
7 นางสาวเสาวลกั ษณ์ แตงจุ้ย ครู 1 ส.ค. 2564 1 ก.ค. 2564
8 นางสาวประภาภรณ์ สุวรรณชาติ 1 ส.ค. 2564
9 นายรญั ชน์ธรณ์ แยม้ บาล บุคลากรทางการศึกษา 1 ส.ค. 2564
10 นางสาวปวณี า แสงรจู ี บคุ ลากรทางการศึกษา 1 ส.ค. 2564
11 นางสาวอภญิ ญา ปนสิ สวสั ดิ์ 1 ส.ค. 2564
12 นางสาววาสนา ใจชื่น ครู 1 ส.ค. 2564
13 นางสาวชลลดา จบหิมเวศน์ 1 ส.ค. 2564
14 นางสาวชนดิ า คนชาญ ครู 1 ก.ย. 2564
15 นางสาวจิตรดา บญุ เฒ่า ครู 1 ก.ย. 2564
16 นางสาวฉตั รธิดา ฟอ้ งเสยี ง ครู 1 ก.ย. 2564
17 นางสาวมนสั นนั ท์ สุขสิงห์ ครู 1 ก.ย. 2564
18 นางสาวจันทร์จิรา ดา่ นปาน ครู 1 ก.ย. 2564
19 นางสาวคนึงพิศ ดบั โศรก ครู 1 ก.ย. 2564
20 นางสาวเบญจมาศ นามคณุ ครู 1 ก.ย. 2564
21 นายอศิ รา พวงมาลา ครู 1 ก.ย. 2564
22 นางสาวปภาวดี สพี าไชย ครู 1 ก.ย. 2564
23 นางสาวกนกวรรณ อาปชั ชิง ครู 1 พ.ย. 2564
24 นางสาวอาปรยี า เขม็ มณี ครู 1 พ.ย. 2564
25 นางสาววมิ ลรตั น์ พสั ดุ ครู
26 นางสาวรชยา ครฑุ วเิ ศษ ครู
ครู
ครู
ครู
ครู

ครู

ครู

วาระที่ 5 เร่ืองเสนอเพื่อพิจารณาใหค้ วามเห็นชอบ
5.1 จานวนครูท้งั โรงเรียน ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 10 พฤศจิกายน 2564

จำนวนครูทงั้ โรงเรียน ภำคเรยี นท่ี 2 ปกี ำรศกึ ษำ 2564 ข้อมูล ณ วนั ท่ี 10 พฤศจิกำยน 2564

โรงเรยี นสตรมี ำรดำพทิ ักษ์ อำเภอเมอื งจนั ทบุรี จงั หวัดจันทบรุ ี

ประเภทบุคลากร จานวน เพศ วุฒกิ ารศกึ ษา

(คน) ชาย หญิง ป.เอก ป.โท ป.ตรี 5 ปี ป.บณั ฑติ ป.ตรี ตากวา่ ป.ตรี
-
ผอู้ านวยการ 1 - 11 - - -- -
-
รองผอู้ านวยการ 1 - 1- 1 - -- -
-
ครูระดบั อนุบาล 39 1 38 - - 25 86 2
-
ครรู ะดับประถมศกึ ษา 74 5 69 - - 15 11 48 2

ครรู ะดบั มธั ยมศึกษา 61 19 42 - 2 18 8 33

บุคลากรสนบั สนนุ 33 6 27 - 4 1 8 18

ครตู า่ งชาติ 23 9 14 - - - - 23

รวม 232 40 192 1 7 59 35 128

จำนวนครูบรรจุ ภำคเรียนท่ี 2 ปีกำรศกึ ษำ 2564 ขอ้ มูล ณ วันที่ 10 พฤศจกิ ำยน 2564

ประเภทบคุ ลำกร จำนวน เพศ วุฒกิ ำรศึกษำ

(คน) ชำย หญิง ป.เอก ป.โท ป.ตรี 5 ปี ป.บณั ฑติ ป.ตรี ต่ำกว่ำ ป.ตรี

ผูอ้ านวยการ 1 -1 1 - - -- -

รองผอู้ านวยการ 1 -1 - 1 - -- -
ครูระดบั อนุบาล 37 1 36 - - 23 86 -
ครูระดับประถมศกึ ษา 70 4 66 - - 12 11 47 -
ครูระดบั มธั ยมศึกษา 52 14 38 - 2 15 8 27 -

บคุ ลากรสนับสนนุ 33 6 27 - 4 1 8 18 2

ครูตา่ งชาติ 21 8 13 - - - - 21 -

รวม 215 33 182 1 7 51 35 119 2

จำนวนครูรอบรรจุ ภำคเรียนท่ี 2 ปีกำรศกึ ษำ 2564 ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 10 พฤศจกิ ำยน 2564

ประเภทบุคลำกร จำนวน เพศ วุฒิกำรศึกษำ

(คน) ชำย หญงิ ป.เอก ป.โท ป.ตรี 5 ปี ป.บณั ฑิต ป.ตรี ตำ่ กวำ่ ป.ตรี

ครรู ะดบั อนบุ าล 2 -2 - - 2 -- -

ครูระดับประถมศึกษา 4 13 - - 3 -1 -

ครูระดบั มธั ยมศึกษา 9 54 - - 3 -6 -

บคุ ลากรสนบั สนนุ - -- - - - -- -

ครูตา่ งชาติ 2 11 - - - -2 -

รวม 17 7 10 - - 8 19 -

ระเบียบวำระที่ 5 เรื่องเสนอเพ่อื พจิ ำรณำให้ควำมเหน็ ชอบ
วำระท่ี 5.2 จำนวนนกั เรียนท้ังโรงเรียน (ขอ้ มูล ณ วันที่ 10 พฤศจกิ ำยน 2564)

สถติ จิ ำนวนนักเรยี นทัง้ โรงเรียน
ระดบั ชน้ั อนุบำล 1 ถึง ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ่ี 6
ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ำยน พ.ศ. 2564
โรงเรียนสตรีมำรดำพิทกั ษ์ อ.เมืองจันทบุรี จ.จันทบุรี

ระดับชัน้ ชำย จำนวนเตม็ รวมท้ังหมด
87 หญงิ 176
อนบุ าล 1 93 89 193
อนุบาล 2 98 100 203
อนบุ าล 3 278 105 572
รวมระดับชน้ั อนบุ ำล 130 294 277
ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 129 147 285
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 140 156 307
ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 131 167 294
ประถมศึกษาปีที่ 4 120 163 261
ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 119 141 267
ประถมศึกษาปีท่ี 6 769 148 1,691
รวมระดับชัน้ ประถมศึกษำ 119 922 283
มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 120 164 276
มธั ยมศึกษาปีท่ี 2 114 156 243
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 129
รวมระดับชนั้ มัธยมศกึ ษำตอนตน้ 353 802
78 449 184
มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 69 106 202
มัธยมศึกษาปที ่ี 5 77 133 189
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 224 112 575
รวมระดับชน้ั มธั ยมศึกษำตอนปลำย 577 351 1,377
รวมระดับช้นั มัธยม 1,624 800 3,640
รวมจำนวนนกั เรยี นทั้งโรงเรียน 2,016

ระเบียบวำระท่ี 5 เร่ืองเสนอเพือ่ พจิ ำรณำให้ควำมเหน็ ชอบ
วำระท่ี 5.3 จำนวนนกั เรยี นขอรับเงนิ อุดหนนุ รำยบคุ คล (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ำยน 2564)

สถติ จิ ำนวนนกั เรียนขอรบั เงินอุดหนนุ รำยบคุ คล
ระดับชัน้ อนุบำล 1 ถงึ ชั้นมธั ยมศึกษำปีท่ี 6
ข้อมูล ณ วันที่ 10 พฤศจิกำยน พ.ศ. 2564
โรงเรียนสตรีมำรดำพทิ กั ษ์ อ.เมอื งจันทบุรี จ.จนั ทบรุ ี

ระดบั ชน้ั ชำย จำนวนเต็ม รวมทั้งหมด
87 หญงิ 176
อนบุ าล 1 92 89 192
อนบุ าล 2 97 100 201
อนบุ าล 3 276 104 569
รวมระดับชน้ั อนุบำล 130 293 276
ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 129 146 284
ประถมศกึ ษาปีที่ 2 140 155 307
ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 131 167 294
ประถมศึกษาปีท่ี 4 120 163 261
ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 117 141 263
ประถมศกึ ษาปีที่ 6 767 146 1,685
รวมระดับชน้ั ประถมศกึ ษำ 119 918 283
มัธยมศึกษาปที ่ี 1 119 164 275
มัธยมศกึ ษาปีที่ 2 114 156 243
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 129
รวมระดับชั้นมัธยมศึกษำตอนต้น 352 801
78 449 184
มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 69 106 202
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 77 133 189
มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 224 112 575
รวมระดับชั้นมธั ยมศึกษำตอนปลำย 576 351 1,376
รวมระดับช้นั มธั ยม 1,619 800 3,630
รวมจำนวนนกั เรยี นทง้ั โรงเรียน 2,011









ระเบยี บวาระท่ี 5 เร่ืองเสนอเพอ่ื พิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ
วาระท่ี 5.6 ประกาศรบั สมคั รนกั เรียนใหมป่ ระจาปีการศึกษา 2565

ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕

ประกาศโรงเรียนสตรมี ารดาพิทกั ษ์
เรือ่ ง การรับสมคั รนกั เรียนเข้าศึกษาตอ่ ระดับชน้ั อนบุ าล – มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔

ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๕
.....................................................................................................
เพ่ือให้การเปิดรับสมัครนักเรียนใหม่ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๕ ของโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์
จังหวัดจันทบุรี เป็นไปอย่างถูกต้องตามเจตนารมณ์ของข้อบังคับโรงเรียน และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อาศัย
ความตาม ระเบียบการรับนักเรียนเข้าใหม่ โรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ จังหวัดจันทบุรี พ.ศ. ๒๕๖๕คณะกรรมการ
บริหารโรงเรียน จึงมีมติให้ออก “ประกาศ โรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์ เร่ืองการรับสมัครนักเรียนใหม่ โรงเรียน
สตรีมารดาพิทักษ์ จังหวัดจันทบุรี ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๕” ข้ึน กาหนดรายละเอียดในการสมัคร คุณสมบัติ
การคดั เลือกและการสอบคดั เลือก ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ให้ผูเ้ กยี่ วขอ้ งถอื ปฏิบัติ ดังต่อไปน้ี
ข้อท่ี ๑ หลักสตู รทีเ่ ปิดรบั สมคั ร ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ โรงเรียนเปิดการเรยี นการสอน
๑) หลกั สตู รปรกติ
๒) หลักสตู รการเรยี นการสอนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นสอื่ ( MEP )
๓) หลักสูตรห้องเรียนพัฒนาแววอัจฉรยิ ภาพ (Gifted Room) เรยี นเข้มขน้ วิชา วทิ ยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ
๔) หลักสูตรห้องเรียนวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาคภาษาองั กฤษ ( ISMEP )
๕) หลกั สตู รหอ้ งเรียนพิเศษวทิ ยาศาสตร์ (สสวท.)
ข้อท่ี ๒ การรับสมคั ร ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ โรงเรียนรบั สมคั รนักเรยี นชายและหญงิ ไป-กลบั ตัง้ แต่ระดบั
ชัน้ ปฐมวยั (อนุบาล) ๑ ถงึ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ และมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๔ ดังนี้
ระดบั ปฐมวัย
๑) ระดับชั้นอนบุ าล ๑ รบั สมคั รนกั เรยี นทีม่ อี ายคุ รบ ๓ ปเี ต็ม (เกดิ ก่อน ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๒)
๒) ระดับชนั้ อนุบาล ๒ รับสมัครนกั เรยี นท่มี อี ายคุ รบ ๔ ปเี ต็ม (เกิดกอ่ น ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๑)
๓) ระดับชั้นอนบุ าล ๓ รบั สมคั รนกั เรยี นทม่ี อี ายคุ รบ ๕ ปเี ต็ม (เกิดก่อน ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๖๐)
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ถงึ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ รับไดต้ ามจานวนทวี่ า่ งในแต่ระดบั ช้ัน
ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ และระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๔
๑) ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ รับสมัครนักเรียนทจ่ี บการศกึ ษาระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๖
จานวน ๒๐๐ คน

๒) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ รับสมัครนักเรียนท่ีจบการศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
จานวน ๒๐๐ คน

หมายเหตุ :
๑. นักเรยี นใหม่ทกุ คนและนกั เรียนทุกระดบั ชัน้ จะต้องผ่านการคัดเลือกโดยคณะกรรมการคัดเลือก

นักเรียนใหม่ ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ ของโรงเรยี น และผทู้ ่ีผา่ นการคดั เลอื กจะได้รบั สทิ ธ์ิ
เขา้ เรียนตามลาดับของการมอบตวั
๒. โรงเรียนสามารถรับ "นักเรยี นใหม่ทสี่ อบเข้าระหวา่ งช่วงชั้น" ได้ตามจานวนทว่ี ่าง การรับนักเรยี น
ทุกระดับให้ถือเอาการชี้ขาดของผ้อู านวยการโรงเรียนเป็นสาคัญ
ขอ้ ท่ี ๓ รับสมัครนักเรียนผ่านระบบออนไลน์ (โดยดาวโหลดใบสมัคร)หรือซ้ือใบสมัครท่ีโรงเรียน ในปีการศึกษา
๒๕๖๕ ตัง้ แต่ วันท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๖๔ เป็นตน้ ไป
ข้อท่ี ๔ วันและเวลาย่ืนใบสมัคร สอบคัดเลือก ประกาศผลการสอบคัดเลือกและวันมอบตัว ในปีการศึกษา
๒๕๖๕ ของแต่ระดับชน้ั ดงั นี้
ระดับปฐมวยั
กรณสี มคั รผ่านระบบออนไลน์
- ย่ืนใบสมัครที่ดาวโหลดมาพร้อมค่าธรรมเนียมการสมัครคนละ ๑๐๐ บาท และทดสอบความพร้อม และ
สอบสัมภาษณ์ วนั เสาร์ท่ี ๑๒ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๔.๐๐ น.
- ประกาศผลพรอ้ มมอบตัว วันเสาร์ท่ี ๒๖ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๔.๐๐ น.
กรณซี ้ือใบสมคั รทโ่ี รงเรยี น
- ยื่นใบสมัครและทดสอบความพร้อม และสอบสัมภาษณ์ วันเสาร์ที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕
เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๔.๐๐ น.
- ประกาศผลพรอ้ มมอบตวั วนั เสาร์ท่ี ๒๖ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๔.๐๐ น.
ระดับประถมศึกษาปที ี่ ๑ ถึง ประถมศึกษาปีท่ี ๖ มัธยมศึกษาปีที่ ๑ และ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๔
กรณสี มัครผา่ นระบบออนไลน์
- ยืน่ ใบสมัครที่ดาวโหลดมาพร้อมคา่ ธรรมเนยี มการสมคั รคนละ ๑๐๐ บาท วันเสารท์ ่ี ๕ มีนาคม ๒๕๖๕
เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๔.๐๐ น.
- สอบข้อเขยี นวันที่ ๑๙ มนี าคม ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๓๐ น.- ๑๒.๐๐ น. และสอบสัมภาษณ์
เวลา ๑๓.๐๐ น. เป็นตน้ ไป
- ประกาศผลสอบพร้อมมอบตัว วนั เสาร์ท่ี ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๕
กรณซี ื้อใบสมคั รทโ่ี รงเรียน
- ยนื่ ใบสมัคร วนั เสาร์ท่ี ๕ มีนาคม ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๐๐ น. – ๑๔.๐๐ น.
- สอบข้อเขียนวนั ท่ี ๑๙ มนี าคม ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๓๐ น.- ๑๒.๐๐ น. และสอบสัมภาษณ์
เวลา ๑๓.๐๐ น. เปน็ ตน้ ไป
- ประกาศผลสอบพร้อมมอบตัว วนั เสาร์ที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๕

ข้อท่ี ๕ หลกั ฐานทใี่ ช้ประกอบการรับสมคั รในปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ โรงเรยี นกาหนดให้ใช้หลักฐานท่ใี ช้ประกอบ
การรับสมัคร ดังนี้
๑) เอกสารใบสมัครของโรงเรียนที่กรอกรายละเอียดเรยี บร้อยแล้ว
๒) สูตบิ ัตรพรอ้ มรับรองสาเนา ๑ ชดุ
๓) สาเนาทะเบียนบ้านนกั เรียน และบดิ า - มารดา พร้อมรับรองสาเนา ๑ ชดุ
๔) รูปถ่ายสหี รือขาวดา ขนาด ๑ น้ิวครึง่ ๓ รปู
๕) สาเนาบัตรประชาชนนกั เรียน และบิดา – มารดา พร้อมรบั รองสาเนา ๑ ชดุ
๖) สาเนาใบเปลย่ี นชื่อหรือนามสกุลของนกั เรียน บดิ า หรือมารดา (กรณเี ปล่ยี นช่ือหรือนามสกลุ )
๗) เอกสารรบั รองการจบการศกึ ษาจากโรงเรียนเดิม ๑ ชดุ ยกเว้นนักเรียนท่ีสมัครเข้าเรียน
ในระดบั ชน้ั อนุบาล ๑
๘) กรณีนกั เรยี นตา่ งชาติ ตอ้ งนาสาเนาพาสปอรต์ และวซี ่าของนกั เรียนและผปู้ กครอง ใบอนญุ าต
การทางานของบดิ า – มารดา หรอื ผู้ปกครองคนละ ๑ ชดุ
๙) บดิ ามารดา นาผ้สู มัครในชุดเคร่ืองแบบนักเรียนพรอ้ มเอกสารประกอบใบยืน่ สมคั รตามวนั และเวลา
ทร่ี ะบุไว้ในใบสมัคร
๑๐) โรงเรียนไมร่ ับใบสมคั รท่ีส่งทางไปรษณยี ์

ข้อท่ี ๖ เกณฑ์การรับนักเรียน ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ คณะกรรมการจะพิจารณารับนักเรียนตามผล
การประเมิน ดงั นี้
๑) ระดบั ชน้ั อนบุ าล ๑ ประเมินจากความพรอ้ มของนกั เรียนและผูป้ กครอง
๒) ระดับชั้นอนุบาล ๒ – ๓ ประเมินจากความพร้อมและความรคู้ วามสามารถของนักเรียนและ
ความพร้อมของผูป้ กครอง
๓) ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ถงึ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ และชั้นมธั ยม
ศึกษาปีท่ี ๔ ประเมินจากความพรอ้ ม และประวตั คิ วามประพฤติของนักเรียน และประเมนิ
จากการสอบวิชาภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ อน่ึง นกั เรยี นทผ่ี ่านการ
ประเมนิ ความพรอ้ มความประพฤตแิ ละสอบผา่ นแลว้ จะตอ้ งผ่านการสอบสัมภาษณ์ด้วยจงึ จะถือวา่
ผา่ นการคัดเลือกเขา้ เปน็ นกั เรียนโรงเรยี นสตรีมารดาพทิ กั ษ์ ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๕
๔) โรงเรียนจะยืนยันการเป็นนกั เรียนของผูท้ ี่สอบผา่ นการคดั เลือกเข้าเปน็ นกั เรยี นกต็ อ่ เมอ่ื ผู้ปกครอง
นานักเรียนมามอบตัวและชาระค่าเลา่ เรียนเทอมแรกเป็นท่ีเรยี บรอ้ ยแล้ว

ข้อท่ี ๗ หลกั สตู รและการเรยี นการสอน ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ โรงเรียนกาหนดให้ใช้หลกั สูตรและการเรียน
การสอน ดงั นี้
ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ของกระทรวงศึกษาธิการและหลักสูตร
แกนกลางการศึกษ าข้ันพ้ื นฐานพุ ทธศักราช ๒ ๕ ๕ ๑ (ฉบับปรับปรุง พ .ศ. ๒ ๕ ๖ ๐ ) ของ
กระทรวงศึกษาธิการ ในส่วนของหลักสูตรการเรียนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นส่ือใช้หลักสูตรการเรียน
ภาษาอังกฤษของกระทรวงศึกษาธิการโดยใช้ร่วมกับหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์
จังหวดั จันทบุรี

ข้อที่ ๘ หอ้ งเรยี นท่เี ปดิ สอน ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรยี นกาหนด ดังน้ี
๑) ห้องเรียนปกติ วิชาที่เปิดสอนเป็นวิชาสามัญตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระได้แก่ ภาษาไทย
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงาน
อาชพี และเทคโนโลยี ภาษาองั กฤษ และกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน พร้อมท้งั ส่งเสรมิ
การเรียนภาษาอังกฤษและภาษาจีนกลาง และส่งเสริมทักษะด้านดนตรีไทย – สากล นาฏศิลป์
กีฬา และ คอมพิวเตอร์
๒) ห้องเรียนพัฒนาแววอัจฉริยภาพ (Gifted Room) เปิดสอนต้ังแต่ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓
ถึง ประถมศึกษาปีที่ ๖ เปิดช้ันละ ๑ ห้องเรียน จัดการเรียนการสอนเข้มข้นในวิชาวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และสังคมศึกษา โดยอาจารย์พิเศษจากมหาวิทยาลัยและ
อาจารยผ์ ู้เชยี่ วชาญในรายวชิ าดงั กลา่ ว
๓) ห้องเรียนหลักสูตรการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ (MEP) เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้น
อนุบาล ๑ ถึง มัธยมศึกษาปีท่ี ๖ เรียนวิชา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สุขศึกษา เป็นภาษาอังกฤษ
โดยมีครตู ่างชาติเปน็ ผจู้ ัดการเรียนการสอน
๔)หลกั สูตรห้องเรยี นวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ ภาคภาษาอังกฤษ ( ISMEP ) เปิดสอนตง้ั แต่ระดบั
ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๔ ถึง ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๖
๕) หลกั สตู รห้องเรียน สสวท. เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ ถงึ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖
จัดการเรียนการสอนตามแนวทางหลักสูตร สสวท. ของสถาบนั สง่ เสริมและสอนวิทยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลยกี ระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ข้อท่ี ๙ กาหนดเปดิ /ปิดเรียน ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ โรงเรียนไดก้ าหนดการเปดิ และปดิ เรยี น ดงั นี้
ระดบั ชน้ั อนุบาล
๑) ภาคเรียนที่ ๑ เปดิ เรยี นวันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ถงึ วนั ท่ี ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๕
๒) ภาคเรียนท่ี ๒ เปิดเรยี นวันท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ถึงวันที่ ๑๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖๖
ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึง ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๖
๑) ภาคเรียนที่ ๑ เปดิ เรยี นวันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ถึงวนั ท่ี ๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๕
๒) ภาคเรยี นที่ ๒ เปดิ เรยี นวันที่ ๒๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ถงึ วนั ท่ี ๑๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๖

ข้อท่ี ๑๐ กาหนดเวลาเรียน ในปีการศกึ ษา ๒๕๖๕ โรงเรียนได้กาหนดเวลาเรยี น ดงั น้ี
๑) ระดบั อนบุ าลเรียนตัง้ แต่เวลา ๐๘. ๓๐ – ๑๕.๒๐ น. พักกลางวันเวลา ๑๑.๒๐– ๑๒.๐๐น.
๒) ระดับประถมศกึ ษาเรียนต้ังแตเ่ วลา ๐๘.๓๐ – ๑๕.๓๐ น. พักกลางวัน เวลา ๑๑.๐๐ – ๑๑.๕๐ น.
๓) ระดบั มัธยมศกึ ษาเรียนตัง้ แต่เวลา ๐๘.๓๐– ๑๕.๓๐ น. พักกลางวนั เวลา ๑๑.๕๐–๑๒.๔๕ น.
๔) นักเรียนหลกั สูตรห้องเรียนพฒั นาแววอัจฉริยภาพ (Gifted Room) และหลกั สตู รห้องเรียน
วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ภาคภาษาองั กฤษ (ISMEP) เรยี นตง้ั แต่ เวลา ๐๗.๔๐ – ๑๖.๓๐ น.
๕) นกั เรียนหลักสตู รการเรียนการสอนโดยใชภ้ าษาอังกฤษเปน็ สือ่ ( MEP ) เรยี นตงั้ แต่
เวลา ๐๗.๔๐-๑๕.๓๐ น.

ขอ้ ที่ ๑๑ วันหยดุ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ โรงเรยี นได้กาหนดให้มวี ันหยุดดงั น้ี
๑) วนั หยุดประจาสัปดาห์ คือ วนั เสารแ์ ละวันอาทิตย์
๒) วนั หยุดราชการ ตามประกาศของทางราชการโรงเรียนอาจจะกาหนดให้มีวันหยดุ นอกเหนอื
จากวันท่ีกาหนดใน ๑) ถึง ๒) ได้ โดยจะแจง้ ให้นักเรยี นและผู้ปกครองทราบล่วงหน้า

ข้อที่ ๑๒ คา่ ธรรมเนียมและการเกบ็ คา่ ธรรมเนยี มการเรยี นและค่าธรรมเนียมอ่นื
๑) โรงเรยี นเก็บคา่ ธรรมเนยี มการเรียนและคา่ ธรรมเนยี มอน่ื ตามที่ได้รับอนญุ าตจากผอู้ นญุ าต คอื
สานักงานคณะกรรมการส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ซงึ่ โรงเรียนต้อง
มหี นังสอื หรอื เอกสารแสดงรายละเอียดคา่ ธรรมเนียมการเรียนและค่าธรรมเนียมอืน่ แจ้งให้
ผู้ปกครองทราบก่อนวันเก็บค่าธรรมเนยี มอย่างนอ้ ย ๑๕ วัน
๒) โรงเรยี นกาหนดวนั เวลาการเกบ็ ค่าธรรมเนยี มการเรียนและค่าธรรมเนยี มอ่ืนจากผู้ปกครอง
ตาม “ประกาศวา่ ด้วยการเกบ็ ค่าธรรมเนยี มการเรียนและค่าธรรมเนียมอืน่ ของโรงเรยี น
สตรีมารดาพทิ ักษ์ จงั หวดั จันทบรุ ี ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕”

ข้อท่ี ๑๓ ระเบยี บการแตง่ กาย นกั เรยี นแตง่ กายด้วยเครือ่ งแบบนกั เรยี นของโรงเรียนสตรีมารดาพิทักษ์
จังหวัดจันทบุรี ตามท่กี าหนดไว้ใน “ค่มู ือนักเรยี นโรงเรียนสตรมี ารดาพทิ กั ษ์ จงั หวัดจนั ทบรุ ี”
ซ่งึ นักเรียนจะได้รบั ในวันมอบตวั

ข้อท่ี ๑๔ ตารางประจาวัน ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ โรงเรยี นไดก้ าหนดตารางประจาวันเพอ่ื ใหน้ ักเรียนถือปฏบิ ัติ
โดยเครง่ ครดั ดงั น้ี
๐๗.๔๕ น. นักเรียนห้องเรยี นปกตทิ กุ ระดับชน้ั เข้าแถวเคารพธงชาติ แล้วเขา้ ช้ันเรียน
๑๕.๒๐ น. นักเรยี นระดับอนุบาล ถึง ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เลิกเรียน
๑๕.๓๐ น. นกั เรยี นระดบั ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนตน้ เลิกเรยี น
๑๖.๓๐ น. นกั เรยี นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เลกิ เรยี น

ข้อที่ ๑๕ ในปีการศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรียนไม่สามารถรับเด็กพิเศษ ที่มีความผิดปรกติ เช่นออทิสติกส์
(autistic) หรือ ดาวน์ซินโดรม (down syndrome) ฯลฯ เข้าเรียนได้ เนื่องจากโรงเรียนยังขาด
ผูเ้ ชย่ี วชาญและบุคลากรผ้ใู ห้คาปรึกษาหรอื ผู้ใหก้ ารดแู ลโดยตรง

ข้อท่ี ๑๖ อนั ความใดทม่ี ปี รากฏทอ่ี ่ืนในขณะทปี่ ระกาศน้ีใช้อยู่ หรอื ทอ่ี าจมใี นภายภาคหน้าและเปน็ ความ
อันเกี่ยวข้องกับการรับนักเรียนใหม่ ซ่ึงโรงเรียนเห็นสมควรให้ถือรวมเป็นความด้วยกัน กับความ
ในประกาศน้ี เมื่อโรงเรียนคดั ลอกหรอื ประกาศความนั้น ให้ผู้ปกครองหรอื นักเรียนได้ทราบในคราวใด
ให้ถอื เป็นความในประกาศน้ดี ้วย

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑ เดือน ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นางสาวลายงค์ อนุ้ วนุ้ )
ผ้อู านวยการโรงเรียนสตรมี ารดาพทิ กั ษ์

เอกสารแนบหมายเลข 5.76 แผนเปิดเรียน ON Site ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564

แผนเปิดเรยี น ON Site ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564
ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
วันจันทร์ที่ 29 พฤศจกิ ายน พ.ศ 2564 โรงเรยี นสตรมี ารดาพทิ ักษ์ จ.จันทบุรี
...................................................................................................................................................................

ข้อมูลการวางแผนการเปดิ เรียน

โรงเรยี นมีการวางแผนการเปิดเรียนสลบั กลุ่มนักเรียน แบบแบง่ นักเรยี นในห้องเรียนเป็น ๒ กลุ่ม กลุ่ม
A และกลุ่ม B ใหส้ ลับกนั มาเรียน วันจันทร์ กล่มุ A มาเรียนที่โรงเรยี น กลุ่ม B เรยี นอยทู่ ีบ่ า้ นดว้ ยการเรียนการ
สอนทางไกล วนั องั คาร กลมุ่ A เรียนอยูท่ ีบ่ ้านด้วยการเรียนการสอนทางไกล กลุม่ B มาเรยี นท่ีโรงเรียนสลับกนั
ไป นักเรียนเรียนรู้โดยการเรียนการสอนทางไกลท้ัง Online On Hand On Demand ตามความเหมาะสม
และความพรอ้ มของนกั เรยี น

วันเปิดทาการเรยี น ชัน้ ทม่ี าเรยี น/ หมายเหตุ
การสอน รปู แบบการเรยี นการสอน
วันจันทร์ ชนั้ อนุบาล ถงึ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 สลบั กลุม่ A กลุม่ B สลบั กลมุ่ ตามจานวน
วนั องั คาร ช้นั อนบุ าล ถึง มธั ยมศึกษาปีที่ 6 สลับกลุ่ม A กลุ่ม B นักเรียนท่ีมีอยจู่ รงิ
ในหอ้ งเรียน แตล่ ะ
วันพุธ ชนั้ อนบุ าล ถึง มัธยมศึกษาปีท่ี 6 สลบั กล่มุ A กลุ่ม B กลมุ่ ไม่เกนิ 25 คน

วันพฤหสั บดี ชนั้ อนุบาล ถงึ มัธยมศึกษาปีที่ 6 สลับกลุ่ม A กลุม่ B

วันศุกร์ ช้นั อนบุ าล ถงึ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 สลับกลุ่ม A กลมุ่ B

แผนเผชิญเหตุ

โรงเรียนไดจ้ ดั ให้มีการเตรยี มพร้อมไวห้ ากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการซักซ้อมอยา่ งเคร่งครัด สมา่ เสมอ

หากพบผ้ตู ิดเชื้อ หรอื พบว่าเป็นกลมุ่ เส่ยี งสงู สถานศึกษาต้องมคี วามพรอ้ มในเร่ืองสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ทาง

การแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกบั บุคลากรทางการแพทย์ในพืน้ ท่ี รวมทั้งการสรา้ งการรับรู้

ข่าวสารภายใน การคดั กรองเพื่อแบง่ กลุ่มนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศกึ ษา ดงั น้ี

ระดบั การระบาด มาตรการป้องกนั

ในชมุ ชน ในสถานศกึ ษา ครู/นกั เรยี น สถานศึกษา

ไม่มผี ู้ติดเชื้อ ไม่พบผู้ติดเชอื้ ๑. ปฏิบัติตามมาตรการ DMHTT ๑. เปดิ เรยี น Onsite

ยนื ยนั ๒. ประเมนิ TST เป็นประจา ๒. ปฏบิ ัติตาม TST

๓. เฝ้าระวังคัดกรอง กรณีเด็กมี

อาการผิดปกติ

มีผู้ตดิ เช้อื ไมพ่ บผ้ตู ดิ เชือ้ ๑. ปฏิบตั ิตามมาตรการ DMHTT ๑. เปดิ เรียน Onsite

ประปราย ยนื ยนั ๒. ประเมนิ TST ทกุ วนั ๒. ปฏบิ ัติเขม้ ตามมาตรการ TST

Plus

๓. เฝ้าระวงั คัดกรอง กรณเี ดก็

พักนอน,เด็กพิเศษ

ระดบั การระบาด มาตรการปอ้ งกนั

ในชมุ ชน ในสถานศึกษา ในชุมชน ในสถานศกึ ษา

พบผตู้ ิดเช้อื ๑.ปฏบิ ตั เิ ขม้ ตามมาตรการ ๑. ปิดห้องเรียนทพ่ี บผู้ติดเชื้อ

ยืนยนั DMHTT * เน้นใสห่ นา้ กาก * เว้น 3 วนั เพื่อทาความสะอาด

ในหอ้ งเรยี น ๑ ระยะหา่ งระหว่าง บุคคล ๑ - ๒ ม. ๒. เปดิ หอ้ งเรียนอื่น ๆ Onsite

รายขึน้ ไป ๒. ประเมนิ TST ทุกวนั ได้ตามปกติ

๓. ระบายอากาศทกุ ๒ ช่วั โมง ๓. สมุ่ ตรวจเฝ้าระวัง

กรณีใช้ เคร่อื งปรบั อากาศ Sentinel Surveillance

๔. กรณี High Risk Contact : ทกุ ๒ ครัง้ /สัปดาห์

งดเรียน Onsite และกกั ตวั ทบ่ี ้าน ๔. ปฏบิ ตั เิ ขม้ ตาม

๑๔ วนั มาตรการ TST Plus

๕. กรณี Low Risk Contact : ๕. ปดิ ห้องเรียนท่ีพบผู้ตดิ เชอ้ื
ใหส้ งั เกตอาการของตนเอง และ ๓ วัน เพื่อทาความสะอาดหรอื
ปฏิบตั ิ ตามมาตรการของกระทรวง มากกวา่ ตามข้อสง่ั การของ
สาธารณสขุ กระทรวงศึกษาธกิ าร

๖. ปฏบิ ตั เิ ข้มตาม

มาตรการ TST Plus

มผี ตู้ ิดเช้ือ ๑. ปฏิบัตเิ ขม้ ตามมาตรการ ๑. พิจารณาการเปดิ เรยี น

เปน็ กลุม่ กอ้ น DMHTT * เน้นใสห่ น้ากาก *เว้น Onsite โดยเขม้ มาตรการทกุ มติ ิ
ระยะห่างระหว่าง บุคคล ๑-๒ ม. ๒. สาหรบั พนื้ ท่ีระบาดแบบ

๒. ประเมนิ TST ทกุ วนั กลุ่มก้อน พจิ ารณาปดิ โดย

๓. ระบายอากาศทกุ ๒ ช่วั โมง กรณี คณะกรรมการควบคุม การแพร่
ระบาดระดับพืน้ ท่ี หากมี
ใชเ้ คร่ืองปรับอากาศ
๔. กรณี High Risk Contact : งดเรียน หลักฐานและความจาเปน็
Onsite และกกั ตวั ท่ีบ้าน ๑๔ วนั
๓. สุ่มตรวจเฝา้ ระวงั Sentinel
๕. กรณี Low Risk Contact : ให้ Surveillance ทุก ๒ สัปดาห์
สงั เกตอาการของตนเอง

มีการแพร่ ๑. ปฏิบตั เิ ขม้ ตามมาตรการ ๑ . พิ จ า ร ณ า ก า ร เ ปิ ด เ รี ย น

ระบาด DMHTT Onsite โดยเขม้ ตามมาตรการทกุ

ในชุมชน ๒. เฝา้ ระวังอาการเสย่ี งทุกวัน Self- มิติ

Quarantine ๒. สาหรับพน้ื ทรี่ ะบาดแบบ

๓. ประเมิน TST ทกุ วนั กลมุ่ ก้อน พิจารณาปิดโดย

คณะกรรมการควบคมุ การแพร่

ระบาดระดับพื้นที่ หากมี

หลักฐานและความจาเปน็

๓. สุ่มตรวจเฝ้าระวัง entinel

Surveillance ทุก ๒ สัปดาห์

ในกรณีทไี่ ม่สามารถเปิดการเรียนการสอน แบบ Onsite ได้ โรงเรียนมีการวางแผนการจัดการเรียนการ
สอน ดงั น้ี

โรงเรยี นสตรมี ารดาพิทกั ษ์ ประสานงานกับชุมชน ผูใ้ หญ่บ้าน กรรมการบรหิ ารโรงเรยี น และผู้ปกครอง
โดยแจ้งประชาสัมพันธ์ผ่านแอปพลิเคชันสื่อสารและส่งข้อความทางไลน์กลุ่มผู้ปกครอง นักเรียน จดหมายข่าว
เพจเฟซบุ๊ก และเว็บไซต์โรงเรียน ในการประสานงานด้านการจัดการเรียนการสอนแบบ On Demand , On
Hand และ On Line การรับ-ส่ง คลิปวีดิโอการสอนของครูแต่ละวิชา เอกสาร ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัดใน
การจดั การเรียนการสอน โดยครูประจาชน้ั /ประจาวิชา กากบั ตดิ ตามทุกวัน

ระดบั ปฐมวยั อนุบาล 1-3
1. ครูผู้สอนแตล่ ะวิชาจดั ทาคลปิ วดิ โิ อ สง่ ให้นกั เรียน
2. ครูจดั ทาแบบฝึกหดั สง่ ให้นักเรยี น หรือผู้ปกครองมารับทโ่ี รงเรยี นกไ็ ด้ตามวัน เวลา ที่ครูกาหนด
3. การวดั และประเมินผล โดยครูประจาวชิ าจะติดตามการพัฒนาของนักเรียนเป็นรายบุคคล ตาม
สภาพจริงทุกสปั ดาห์ ผ่านไลน์นักเรียน และผู้ปกครองนักเรยี น อยา่ งใกลช้ ิด

ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1
1. จดั หาสอ่ื คลิปวิดีโอ / Power Point จากหนว่ ยงานต่าง ๆ สง่ ลงิ ก์ใหก้ ับนักเรียน
2. ถ่ายทาคลิปวิดิโอประกอบการเรียนส่งให้นักเรียน เช่น วิชาวิทยาศาสตร์ สอนเรื่อง วัสดุ ครูผู้สอนถ่าย

คลิปวิดิโอการประดิษฐ์ของเล่นของใช้จากวัสดุท่ีเหลือใช้ เช่น การทากังหันลมจากกระดาษที่เหลือใช้ วิชา
คณิตศาสตร์ สอนเร่ือง การวัด ครูผู้สอนถ่ายคลิปวิดิโอ การวัดสิ่งของต่างรอบตัวโดยใช้ อุปกรณ์การวัดท่ีเป็น
มาตรฐานเชน่ ไม้บรรทดั สายวัด เปน็ ตน้ ใหน้ ักเรียนฝกึ วดั และทาลงในใบงานทีส่ ง่ ให้

3. จัดทาไฟลเ์ อกสารประกอบการเรยี น ใบความรู้ ใบงาน ส่งทางไลน์กลมุ่ นักเรียนและผปู้ กครอง
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 2

1. จัดหาส่ือคลิปวิดีโอที่สอดคล้องกับเนื้อหาที่สอน มีกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับผู้เรียน มี
เกมและเพลงเพ่ือกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน *เพิ่มการทาแบบฝึกหัดและวัดผลโดยใช้ Live worksheets
และ Google Classroom

2. มอบหมายภาระงาน ในหนงั สือเรียนแต่ละวิชา
3. จัดทาไฟล์เอกสารประกอบการเรยี น ใบความรู้ ใบงาน ส่งทางไลนก์ ลมุ่ นักเรยี นและผู้ปกครอง
ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3
1. จัดหาส่ือคลิปวิดีโอการสาธิต ทดลอง การ์ตูนช่วยสอน ภาพยนตร์ส้ันและเพลงสอดแทรกความรู้ช่วย
ในการจาเรอ่ื งต่าง ๆ ในแต่ละวิชา นอกจากนี้ได้จัดทา Power Point เสริมความรู้เนื้อหาจากคลิปวิดีโอ เพ่ือให้
นักเรียนมีความความรูค้ วามเขา้ ใจในเน้อื หาทีเ่ รยี นมากยิ่งขึ้น
๒. มอบหมายภาระงานในเอกสารประกอบการเรียน แบบฝึกหัดที่นักเรียนทุกคนมีอยู่แล้ว ใบงาน Live

worksheets และสง่ กลบั มาที่ครู โดยผา่ น Line กล่มุ นกั เรียนและผูป้ กครอง

ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4
1. จัดหาสื่อ/คลิปวิดีโอ Power Point เน้ือหาความรู้แต่ละวิชา เกม การทดลอง เพลง แบบฝึกหัดใน

แต่ละวันลงในโปรแกรม Google Slides

2. ส่ง Link ส่ือคลิป/วิดีโอ เกม เพลง ไฟล์ใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกหัด live worksheets ให้กับ

นักเรียนตามตารางเวลาเรียนปกติ โดยแต่ละวันครูประจาชั้นสรุปจานวนส่ือคลิปของวิชา ที่มอบหมายให้

นักเรียนศกึ ษาเรยี นร้แู ละแจง้ ภาระงานที่ไดม้ อบหมายให้นักเรียนทราบในไลน์กลุ่ม

ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 5
1. ครูจัดทาคลิปวิดีโอการสอน โดยบันทึกคลิปวิดีโอการสอนของครูจากโปรแกรม zoom ท่ีใช้สอน

ออนไลน์ เน่อื งจาก โปรแกรม zoom สามารถใช้นาเสนอเน้ือหาตา่ ง ๆ และสามารถมองเห็นครูผ้สู อนได้พร้อมกัน
2. วัดผลประเมินผลโดยใช้รูปแบบ google form และ live worksheets สร้างเอกสารประกอบการ

เรียน แบบฝึกหัด และแบบประเมินต่าง ๆ เนอ่ื งจากสะดวกในการเข้าถึงและสามารถตรวจสอบได้
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6

1. เรียน Online ผ่าน โปรมแกรม Zoom พร้อมกับนักเรียนท่ีมาเรียน On site โดยตั้งกล้องเพื่อให้
เหน็ บรรยากาศในการเรียน จดั ครทู ่วี ่างในการสอนในสายช้ันมาช่วยควบคมุ การเรยี น Online

หอ้ ง Gifted หอ้ ง ป.6/1
หอ้ ง MEP หอ้ ง ป.6/7
หอ้ ง ปกติ ห้อง ป.6/5
2. ครูประจาวิชาจัดเตรียมเอกสาร ใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัด โดยใช้ Google Form Live
worksheets เพอื่ สง่ ลิงก์ใหน้ กั เรยี น
ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3
ครสู อนตามตารางเรียนจริงของนักเรียนทุกห้อง โดยครูสอนนกั เรยี นในหอ้ งไปพร้อม ๆ กบั ถ่ายทอดสด

ผ่านโปรแกรม zoom ให้นักเรียนท่ีเรียนออนไลน์อยู่ที่บ้านเรียนไปพร้อม ๆ กัน ซ่ึงในการสอนครูจะใช้สื่อเป็น

สไลด์ โดยแชร์หน้าจอผ่าน zoom และนักเรียนในห้องเรียนจะเห็นผ่านหน้าจอโปรเจคเตอร์/โทรทัศน์ใน

ห้องเรียน ขณะครูสอนในห้องเรียนตามปกตนิ ักเรียนท่ีเรยี นออนไลน์จะเหน็ สไลด์และไดย้ ินเสียงของครใู นกรณี

ท่ีมีกิจกรรมในห้องเรียน นักเรียนท่ีมาเรียนปกติจะได้ปฏิบัติกิจกรรมจริง ส่วนนักเรียนที่เรียนออนไลน์จะได้ดู

กิจกรรมถ่ายทอดสดผ่าน zoom ส่วนภาระงานต่าง ๆ นอกเหนือจากในหนังสือเรียนให้ครูส่งไฟล์เอกสารให้

นกั เรียนทา

ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6
1) กรณีนักเรียนที่มีอินเตอร์เน็ต ครูแต่ละวิชาจัดทาใบงาน ใบความรู้ (ในกรณีที่ครูมีคลิปวิดีโอครูส่ง

ลงิ กใ์ ห้นกั เรียนเปดิ วดิ โี อควบค่กู ับใบความรเู้ พอื่ ใหเ้ ข้าใจบทเรียนไดง้ ่ายยิ่งข้ึน) ส่งเป็นเอกสารใหก้ บั นกั เรียนทาง
ไลน์หรืออีเมล์ส่วนตัวของนักเรียนโดยให้ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองแล้วถ่ายรูปใบงานท่ีทาเสร็จแล้วส่งกลับมาให้
ครปู ระจาวิชาทุกสัปดาห์

2) กรณีนักเรียนท่ีไม่มีอินเตอร์เน็ต ครูแต่ละวิชาจัดทาใบงาน ใบความรู้ (ในกรณีที่ครูมีคลิปวิดีโอครู
บันทึกวิดีโอลงแผ่นซีดีให้นักเรียนเปิดวิดีโอควบคู่กับใบความรู้เพ่ือให้เข้าใจบทเรียนได้ง่ายยิ่งขึ้น) ส่งให้กับ
นักเรียนทางไปรษณีย์ ให้ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองแล้วส่งใบงานที่ทาเสร็จกลับมาให้ครูประจาวิชาทุกสัปดาห์
โดยส่งเอกสารมาตามที่อยขู่ องโรงเรยี น

เอกสารแนบหมายเลข 5.87 แนวทางการดาเนินงานและบริหารงบประมาณเงินอดุ หนุน
กจิ กรรมพฒั นาผูเ้ รยี นในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)


Click to View FlipBook Version