The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-BOOK Anatomy นางสาวกานติมา หนูทอง ครั้งที่5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kantimamai098, 2021-10-25 14:44:55

E-BOOK Anatomy นางสาวกานติมา หนูทอง ครั้งที่5

E-BOOK Anatomy นางสาวกานติมา หนูทอง ครั้งที่5

a

Anatomy
กายวภิ าคศาสตร์

b

คำนำ

E-bookเล่มนเี้ ป็นส่วนหนึง่ ของวชิ ากายวภิ าคศาสตร์ (Anatomy) โดยมจี ดุ ประสงคเ์ พือ่ ให้
ผู้จดั ทำไดอ้ ธิบายโครงสร้างของเซลลร์ ะดบั โมเลกุล เซลล์ของสิง่ มชี ีวติ ภาพรวมของกระบวนการแบ่งเซลล์
เน้อื เย่อื และอวัยวะของระบบตา่ ง ๆ ในร่างกายมนษุ ยร์ วมท้งั ผวิ หนัง กระดูกและขอ้ กล้ามเนื้อ ประสาท
การไหลเวยี นโลหติ การหายใจ การย่อยอาหาร การขับถ่าย ต่อมไร้ท่อ การทำงานของฮอร์โมน การ
สบื พนั ธุ์ การปฏิสนธิ การเจรญิ เตบิ โตในภาวะปกติของรา่ งกายได้ ตลอดจนการนำไปประยกุ ต์ใช้ในวชิ าชีพ
พยาบาลในภายภาคหน้า

สุดทา้ ยน้ตี อ้ งขอขอบคุณอาจารย์ ท่กี รุณาตรวจและให้คำแนะนำเพือ่ แกไ้ ขตลอดการทำงาน
ผจู้ ัดทำหวังวา่ E-book เล่มน้ีจะให้ความรแู้ ละเปน็ ประโยชนแ์ กผ้ ู้อา่ นทกุ ๆ ทา่ น หากมขี ้อแนะนำหรือ
ข้อผดิ พลาดประการใด ผู้จัดทำขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภยั มา ณ ท่ีนี้ดว้ ย

กานติมา หนทู อง
ผูจ้ ัดทำ

สารบัญ c

ANATOMICAL POSITION หน้า
CELL AND SKIN
FEMALE REPRODUCTIVE SYSTEM 1-4
ENDOCRINE SYSTEM 5 - 12
MUSCULAR SYSTEM 13 – 24
SKELETAL SYSTEM 25 – 33
DIGESTIVE SYSTEM 34 – 53
MALE REPRODUCTIVE AND URINARY SYSTEM 54 – 68
RESPIRATORY SYSTEM 69 – 82
CARDIOVASCULAR SYSTEM 83 – 94
NERVOUS SYSTEM 95 – 102
103 – 120
121 - 143

1

คำศพั ทท์ างกายวิภาคศาสตร์

Anatomical position ท่ายืนตรงเท้าทั้งสองข้างติดกัน แขนทั้งสองข้างเหยียดตรง
ศรีษะ ตา และเท้าไปทางดา้ นหน้า แขนเหยียดตรงแนบชิดลำตัว และฝา่ มือทง้ั สองข้างหงายมา
ทางดา้ นหน้า

2

การแบง่ พ้นื ที่ของร่างกาย

Longitudinal เกี่ยวกบั ตามความยาวของร่างกาย
Median plane แบ่งร่างกายในแนวตงั้ ออกเป็นสองส่วนเท่ากนั หรอื สามารถเรียกเป็น
midsagittal planeได้ แตจ่ ะมอี กี หนึ่งเพลนท่ีเป็นแนวขนานกับ median plane แตไ่ มไ่ ด้
ผา่ นตรงกลาง โดยทว่ั ไปจะเรยี กวา่ sagittal plane ซ่ึงแบง่ ลำตัวออกเป็นดา้ นซ้ายขวา
Frontal/coronal plane แบ่งร่างกายออกเป็นส่วนหน้ากับสว่ นหลัง
Horizontal/transverse/axial plane แบ่งร่างกายออกเป็นส่วนบนและสว่ นล่าง

3

ช่องวา่ งภายในร่างกาย (Body Cavity)

Cranial cavity ช่องกะโหลกศีรษะ
Spinal cavity ช่องกระดกู สันหลงั
Dorssal cavity ช่องดา้ นหลัง
Ventral cavity ชอ่ งด้านหนา้
Thoracic cavity ชอ่ งอก
Abdominal cavity ชอ่ งท้อง
Abdomino pelvic cavity ช่องทอ้ ง-เชงิ กรานPelvic cavity เชงิ กราน

4

คำศัพทแ์ สดงความสัมพนั ธข์ องร่างกายทีส่ ำคญั

1. Flexion คอื การงอ สว่ นหนงึ่ ของรา่ งกาย
2. Extension คอื การเหยยี ด ส่วนหน่ึงของร่างกาย
3.Abduction คอื การกางเปน็ การเคลื่อนไหวของสว่ นรา่ งกายในแนวcoronal planeออกจากsagittal
plane
4.Adduction คือการหบุ กางเปน็ การเคลอ่ื นไหวของส่วนรา่ งกายในแนวcoronal planeเขา้ หาsagittal
plane
5.Circumduction คือการหมูนเปน็ วงกลมเปน็ การเคลื่อนไหวflexion-abduction-extension-
adduction ต่อเน่อื งกัน
6. Pronation คอื การควำ่ เชน่ การคว่ำมือ
7. Supination คอื การหงาย เชน่ การหงายมอื
8.Rotation คอื การหมนุ รอบแกนยาว เชน่ การหมุนคอ การหมุนขอ้ สะโพก

-External (lateral) rotation คือ การหมนุ ออกนอก
-Internal (medial) rotation คือการหมนุ เขา้ ใน
9. Eversion คอื การพลิกออกทางด้านนอก โดยหนั ด้านฝา่ เทา้ หงายออกไปทางด้านนอก
10. Inversion คือการพลกิ เข้าด้านใน โดยหนั ด้านฝา่ เทา้ หงายเข้ามาทางดา้ นใน
11. Protraction คือ การเคล่อื นไหวไปขา้ งหนา้
12. Retraction คอื การเคล่อื นไหวไปขา้ งหลงั
13. Elevation คอื การยกขน้ึ

5

CELL AND
SKIN

6

Cell / Tissue structure and function

Structure of cell
PROKARYOTIC CELL VS EUKARYOTIC CELL

Structure of cell

ทุกเซลลจ์ ะมีโครงสร้างพน้ื ฐาน 3 อย่างเหมอื นกนั คือ
✓เยือ่ หุ้มเซลล์ (Cell Membrane/Plasma membrane)
✓ไซโตพลาสซมึ (Cytoplasm) ภายในยงั มีโครงสร้างพื้นฐานขนาดเล็ก ทที่ ำใหเ้ ซลลส์ ามารถดำรงชวี ติ
เรียกวา่ ออร์แกเนลล(์ Organelle)
✓นวิ เคลียส (Nucleus)

7

Cell structure and function

เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane/plasma membrane)

-เปน็ เสมือนร้วั บ้าน กนั เซลลอ์ อกจากกัน ประกอบด้วยสาร
โปรตีนมมี ากถงึ รอ้ ยละ 70
หน้าที่
-คดั เลือกสารทีผ่ า่ นเข้า-ออกเซลล์ มคี ณุ สมบัติเปน็ เยอื่ เลอื ก
ผา่ น
-รกั ษาสมดลุ ของสภาพแวดลอ้ มภายในเซลล์

ไซโทพลาสซมึ (Cytoplasm)

• ไซโตซอล (cytosol) มีลกั ษณะเปน็ ของเหลวคลา้ ยวนุ้

• ออร์แกเนลล(์ organelle) เป็นองค์ประกอบของเซลล์ท่ีมี
โครงสรา้ ง (Structure) และหนา้ ท่ี(Function)

8

ออร์แกเนลล(์ Organelles)
➢ไมโทคอนเดรยี (mitocondria)

ร่างแหเอนโดพลาสซมึ (Endoplasmic Reticulum, ER)

➢Rough Endoplasmic Reticulum, RER

•ม(ี Ribosome) เกาะทผ่ี วิ ดา้ นนอกมผี ิวขรขุ ระ

•เชื่อมต่อกบั เยอ่ื ห้มุ นิวเคลยี ส

•ลำเลยี งโปรตนี ที่สร้างจากไรโบโซม ส่งออกไปเซลล์

➢Smooth Endoplasmic Reticulum, SER
•ไม่มีไรโบโซมเกาะ มผี วิ เรยี บ

•สรา้ งไขมนั ฮอร์โมน steroid และกำจัดสารพิษใน

ไรโบโซม (ribosome) เซลล์ตบั

- เปน็ ออรแ์ กเนลลท์ ม่ี ขี นาดเลก็ ทส่ี ุด

✓ กล่มุ ไรโบโซม เกาะตดิ กบั สาร mRNA (Free Polyribosome)
หนา้ ที่สร้างโปรตนี เพอ่ื ใช้เปน็ เอนไซมใ์ นเซลล์

✓ จับกันเป็นสายโพลีไรโบโซม (Poly Ribosome)เกาะติดกบั ผนัง
ดา้ นนอกของ RER ทำหน้าทสี่ ังเคราะห์โปรตีนเพอื่ สง่ ออกภายนอก
เซลล์

ไลโซโซม (Lysosome) 9
เซนทริโอล (Centriole)
✓เปน็ ถุงขนาดเลก็ มเี ยอ่ื ช้ันเดียว
✓ภายในจะบรรจุเอนไซม์ซึ่งย่อยสลายดว้ ยน้ำ
(Hydrolytic Enzyme)
✓ยอ่ ยออร์แกเนลล์ของเซลลท์ ี่หมดอายุ
✓ทำลายเชอื้ โรคหรือสงิ่ แปลกปลอมท่เี ขา้ สู่รา่ งกาย

✓ ประกอบดว้ ยหลอดเลก็ ๆ เรยี กว่า microtubuleเรียงตวั กันเปน็
กลุม่ ๆ
✓ทำหน้าทส่ี ร้างเสน้ ใย(Spindle Fiber) เพ่อื ยึดตดิ กบั โครโมโซม

นวิ เคลียส (nucleus)

ควบคุมการแสดงลักษณะทางพนั ธุกรรม
– เยอ่ื หมุ้ นวิ เคลียส (Nuclear Membrane/Nuclear
envelope)Membrane 2 ชั้น ซึ่งเช่อื มตดิ กันเป็นช่วง ๆ ทำให้
เกดิ เป็นหลุม(Nuclear Pore) ทำใหแ้ ลกเปลย่ี นสารระหวา่ ง
นวิ เคลียสกับไซโตพลาสซมึ เชน่ mRNA rRNA
– นิวคลโี อลสั (Nucleolus) เปน็ เสน้ ใยเป็นโมเลกุลของ DNA ขด
ตัวเป็นกอ้ น ทำหนา้ ทส่ี ังเคราะห์ RNA โดย DNA
– เสน้ ใยโครมาติน (Chromatin) คอื เสน้ ใย DNA ท่จี ับอยู่กบั
โปรตีน ซึ่งในระยะทเี่ ซลล์แบง่ ตวั DNA กบั โปรตีนจะรวมตัวกนั
แนน่ ปรากฏใหเ้ ห็นเปน็ แท่งโครโมโซม (Chromosome)

10

SKIN

ระบบปกคลุมรา่ งกาย (Integumentary system)

➢ผิวหนงั (skin) ผวิ หนังเปน็ หนงึ่ ในอวัยวะทม่ี ีขนาด
ใหญ่ท่ีสุดของรา่ งกาย โดยคดิ เป็น 16% ของ
น้ำหนกั ตวั เปน็ ตัวแบ่งกน้ั อวัยวะ ภายในออกจาก
สิ่งแวดล้อมภายนอก
➢อวยั วะทมี่ ตี น้ กำเนดิ มาจากผวิ หนงั (เล็บ ผม/ขน
และรขู มุ ขน ตอ่ มไขมัน ตอ่ มเหง่ือ)

Epidermis (หนงั กำพรา้ )

เปน็ เยอ่ื บุผวิ ชนดิ stratified squamous keratinized
epithelium ชนั้ นี้ไม่มีหลอดเลอื ด

➢ Thick skin คอื ผวิ หนงั ท่ีมีชนั้ epidermis หนา
พบบรเิ วณฝา่ มอื ฝ่าเทา้ ไมม่ รี ูขุมขนแตจ่ ะมีตอ่ มเหงื่อ

➢ Thin skin คือ ผวิ หนังทมี่ ชี ้นั epidermis บางพบได้
ทัว่ ร่างกาย ผวิ หนงั ชนดิ น้ีจะมีรูขุมขนตอ่ มไขมัน ตอ่ มเหงื่อ

Epidermis ประกอบดว้ ยเซลล์ 4 ชนิด คือ
- Keratinocyte เป็นเซลล์ทีเ่ ป็นองค์ประกอบหลักของ epidermis ประมาณ 85 % ทำหน้าทส่ี ร้าง
keratin โดยขบวนการ keratinization จนไดเ้ ซลลช์ ั้นบนทีต่ ายแลว้
- Melanocyte ทำหน้าทสี่ รา้ งเมลานนิ ซงึ่ เป็นสารทท่ี ำให้เกดิ เม็ดสี
- Langerhans cell เกย่ี วขอ้ งกบั ระบบภูมคิ ุม้ กนั ของรา่ งกาย
- Merkel cell เป็นเซลล์เกยี่ วกบั การรับความรู้สึก

11

Epidermis ประกอบด้วย 5 ช้ัน

✓Stratum basale
✓Stratum spinosum
✓Stratum granulosum
✓Stratum lucidum
✓Stratum corneum

Dermis (หนงั แท้)

➢ เป็นช้นั อยใู่ ต้ชั้นหนงั กำพรา้
connective tissue ระบบเส้นเลอื ด เสน้ ประสาท
ต่อมไขมนั และตอ่ มเหงอ่ื มสี ว่ นของหนังแท้
แทรกอยู่เรียกว่า Dermalpapillae
➢ เปน็ ทีอ่ ยขู่ อง collagen และ elastin

Hypodermis หรือ Subcutaneous fattytissues
➢อยูใ่ ตช้ ั้นหนงั แท้ ประกอบด้วย เน้ือเยื่อเก่ียวพันทีอ่ ยกู่ ัน หลวมๆ
(looseconnective tissues) และไขมนั (Adiposetissues)
ทำหนา้ ทีส่ ะสมไขมนั ใตผ้ ิวหนงั
เกบ็ สะสมพลงั งานความร้อนรา่ งกาย

12

อวัยวะท่ีมตี น้ กำเนดิ มาจากผวิ หนัง

ตอ่ มไขมัน (Sebaceous glands)
ต่อมไขมนั จะพบอยู่ร่วมกบั hair follicle ทัว่ ร่างกาย
มีหนา้ ทีเ่ คลือบผวิ หนังและเสน้ ผม ทำใหม้ คี วามชมุ่ ชน้ื
ต่อมเหง่ือ (Sweat glands)
➢ ECCRINE SWEAT GLAND
➢ APOCRINE GLANDS
➢ Sweat pore

เล็บ (Nails)
➢Nail plate คอื แผน่ เลบ็
➢Nail matrix เป็นเซลลเ์ ยื่อบทุ อ่ี ยใู่ ต้ชัน้ lanula
➢Nail bed คอื เนื้อเยอื่ ที่อยใู่ ต้nail plate

ระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึกของผวิ หนัง (Nerves and Receptors of the skin)

➢Free nerve ending รับความรูส้ กึ ตาง ๆ
➢Meissner’s corpuscle รับสัมผัสเบาๆ
➢Pacinian corpuscle รับแรงกดการส่นั สะเทือน
➢Artery ขนสง่ เลือดท่มี อี อกซิเจนสูง
➢Vein ขนสง่ เลือดทมี่ อี อกซิเจนต่ำ

13

ANATOMY OF
FEMALE

REPRODUCTIVE
SYSTEM

14

โครงสร้างและหนา้ ที่ของระบบสบื พนั ธ์เุ พศหญงิ

โครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องระบบสบื พนั ธุเ์ พศหญงิ

-External genitalia
-Vagina
-Uterus
-Ovary
-Uterine tube or fallopian tube
-Mammary glands
-Perineum
-Pelvis

15

External genitalia or vulva or pudendum

vagina

- เปน็ muscular
- Tube
- มี hymen
- Cervical canal
- Internal os
- External os
- Cervix
- Rugae มีชนั้ mucous ,
membrane สรา้ งสารทเ่ี ปน็ กรด

16

uterus

โครงสร้างของผนังมดลกู UTERUS อยทู่ ่ี lesser pelvis

แบง่ ออกเป็น 4 ส่วนได้แก่

สว่ นท่ี 1 Fundus

ส่วนที่ 2 body of uterus

สว่ นท่ี 3 isthmus ทีแ่ คบอยูร่ ะหวา่ งตวั มดลกู
กับปากมดลกู

สว่ นที่ 4 cervix ส่วนล่างสดุ ที่ติดอย่กู บั ชอ่ ง
คลอด

Uterine cavity เปน็ ช่องวา่ งสามเหลี่ยมใน
ชอ่ ง cervix

เป็นรปู กระสวย เรยี กว่า cervical canal

ชั้นนอก perimetrium หรอื serosa
ช้ันกลาง myometrium เปน็ ชัน้ ของกลา้ มเน้ือทเ่ี รยี งตัวท้งั แบบตามยาว
วงกลม และแบบเฉียง
ช้นั ใน endometrium มีเยื่อบผุ วิ ชนิด simple columnar epithlium
มี cilia มีตอ่ ม uterus gland มีเนื้อเยอื่ เกี่ยวพันที่อยู่กบั แบบหลวมๆ

17

Ovary

Ovary มี 2 ข้าง ในองุ้ เชงิ กรานตอนบน
ภายในรังไข่ มี 2 ช้นั คือ cortex และ medulla
- ชั้น cortex เปน็ บรเิ วณรอบ ๆ ใตช้ ้นั tunica albuginea
- ชั้น medulla อยบู่ รเิ วณทอี่ ย่ตู อนกลาง มี stroma
ที่เปน็ elastic fibers และหลอดเลือด หลอดน้ำเหลือง
เสน้ ประสาท
- ทำหน้าทส่ี ร้าง ฮอร์โมนเพศหญิงและผลติ ไข่

Uterine tube or fallopian tube

มี2 ขา้ งอย่ขู อบบนของ broad ligament ยาว 10 ซม.
ทำหนา้ ทน่ี ำ ovum จาก ovary ไปยงั uterus มีปลาย
2 ข้าง รปู คล้ายกรวย

Fallopian tube แบง่ ออกเปน็ 4 ส่วน
- Infundibulum
- Ampulla
- Isthmus
- Intramural segment

18
การทำงาน ของ Fallopian มี 3 ชัน้
ชน้ั ใน mucosa ทำหนา้ ทีใ่ ห้ mucoid
secretion เปน็ อาหารให้แก่ ovum
ชัน้ กลาง lamina propria มเี ซลล์กลา้ มเนื้อ
เรยี บ การหดรดั ตัวของกล้ามเน้ือเรียบจงึ ทำให้
ovum เคลื่อนตัวลงสู่ uterus
ชน้ั นอก serosa

Mammary glands

ทำหน้าทขี่ บั นำ้ นมเลย้ี งทารก
- ขนาดโตเมื่อเขา้ สู่วัยรุ่น เพราะ connective tissue และ fat เพิม่ มาก
- ขนาดขนึ้ อยกู่ ับปริมาณไขมัน แต่จำนวนน้ำนมนั้น ไม่ตา่ งกนั
- ตรงกลางของเต้านมจะมี nipple รอบๆ จะมี areola มีสีคลำ้ เพราะมี pigment
- ส่วนประกอบ ไดแ้ ก่ compound alveoli glands 15-20 lobes แต่ละ lobes มี lactiferous duct
- ระยะไมต่ ้งั ครรภ์ พบภาวะ resting or inactive พบ duct จ านวนมาก alveoli ขนาดเลก็
- ระยะปลาย menstrual cycle มเี ลือดมาเลยี้ งมาก เตา้ นมโตขน้ึ
- ระยะตัง้ ครรภ์ มี alveoli เพ่ิมขน้ึ glandular tissue มากขึ้นและขยายใหญข่ น้ึ
- ระยะปลายการต้งั ครรภ์ พบ colostrum ประกอบดว้ ยโปรตนี lactose และมีantibodies ชว่ ย
ตา้ นทานโรค

19

perineum

ส่วนประกอบของกล้ามเน้อื อ้งุ เชงิ กราน
Levator ani ประกอบดว้ ย กลา้ มเนอ้ื ยอ่ ย
- Pubovisceral muscle
- Puborectalis muscle
- Iliococcygeus muscle
coccygeus (ischiococcygeus)

Pubovisceral muscle

- สำคญั ท่ีสุด
- เคลื่อนไหวมากที่สุด
- มีการหย่อนตัวและฉีกขาดได้บอ่ ยสุดมดลูกปล้ิน ปสั สาวะเลด็
- ทำหน้าท่ี ในการควบคุมการเปิด/ปิด ของชอ่ งปัสสาวะ และทวารหนกั ร่วมกับ กล้ามเน้อื หูรูด

Puborectalis muscle

- เหมอื นแถบรบิ บ้นิ วางซ้อนใตก้ ล้ามเนอื้ pubovisceral muscle และ Iliococcygeus muscle จะมอง
ไม่เหน็ ถ้ามองจากบนกล้ามเนือ้ เชงิ กราน
- มีหน้าที่หลกั ควบคุมการเคลื่อนของอจุ จาระใหช้ ้า ท าหน้าท่ีเหมอื นเปน็ กลา้ มเน้ือหูรดู

20

Iliococcygeus muscle

กลา้ มเน้อื น้มี ีจดุ ต้ังแต่ตน้ มาจาก white line ของ pelvic fascia ซง่ึ อยู่หลงั ตอ่ obturator
canal กลา้ มเนอื้ นจี้ ะเชื่อมกบั pubovisceral muscle และไปเกาะทขี่ อบด้านขา้ งของกระดกู coccyx
ร่วมกบั กลา้ มเน้อื นี้ไม่ค่อยมกี ารเคล่อื นไหวท าหน้าทีเ่ หมือนกระดกู เชงิ กรานทอ่ี ยตู่ า่ ง ๆ

กระดูกเชิงกราน Pelvic bone

ประกอบด้วยกระดูก 4 ชิ้น
- sacrum , coccyx และ innominate bone 2 ชิ้น อุ้งเชิงกรานประกอบด้วย false pelvic และ true
pelvic
ซีง่ แบ่งกนั ที่ lamina terminalis โดย false pelvic จะอยู่ใตต้ ่อเส้นนี้
- True pelvic คลา้ ยกับรปู ถว้ ยน้ำทีด่ า้ นบนสงู กวา่ ดา้ นหนา้ มขี อบเขต ดา้ นบน คอื lamina terminalis
และขอบเขตดา้ นล่างคอื ทางเปดิ ของอุง้ เชงิ กราน (pelvic outlet)

21

การแบง่ เซลลแ์ บบ Mitosis

การแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ

การเพ่ิมจำนวนเซลลใ์ นสง่ิ มชี ีวิต ทีม่ คี วามซับซ้อนและมีข้นั ตอนมากขน้ึ เพื่อการสรา้ งเซลล์
สบื พนั ธเ์ุ ปน็ การเพิม่ จำนวนเซลลจ์ ากเซลล์ดงั้ เดมิ 1 เซลล์กอ่ กำเนดิ เซลลใ์ หม่ 4 เซลล์โดยภายในเซลล์
เหลือจำนวนไมโครโซมเพยี งคร่งึ เดียว ซึง่ เซลล์เหล่านเี้ มอ่ื เกิดการปฏสิ นธหิ รือเข้ากระบวนการผสมพันธ์ุจะ
ก่อใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงภายในสารพนั ธกุ รรมหรือการแปรผนั ทางพันธุกรรม ซ่ึงเปน็ จดุ กำเนดิ ของการ
พัฒนาความหลากหลายทางชีวภาพและววิ ัฒนาการของสง่ิ มีชีวติ

22

การกำเนิดไข่

เมื่อแรกเกดิ ผูห้ ญิงจะมไี ขท่ ง้ั หมดประมาณ 2 ล้านฟอง
และจะคอ่ ยๆลดลงเมื่อเข้าสู่ระยะกอ่ นหมดประจำเดือน
จำนวนไขจ่ ะลดลงอย่างรวดเรว็ นเ่ี ปน็ สาเหตุที่ทำให้อตั ราการปฏิสนธิ
ของผหู้ ญงิ ทม่ี อี ายุลดลงอยา่ งฉับพลนั
ในขณะที่ฝ่ายชายยงั คงประสทิ ธภิ าพ
ในการสืบพันธ์ุได้แม้จะสงู วยั แลว้ กต็ ามเมอ่ื เขา้ สวู่ ัยรนุ่
และรอบของประจำเดือนจะมีไขห่ ลายฟองเตบิ โต
ในระยะเวลา 2-3สปั ดาห์ ในจำนวนนนั้ มกั จะมีเพยี งฟองเดยี ว
ทเ่ี จรญิ เตบิ โตไดเ้ ตม็ ท่ใี นขณะทฟี่ องอนื่ ๆจะเสอ่ื มสลายไป
เมื่อไขฟ่ องนั้นเจริญเตบิ โตทจ่ี ะถกู ปลอ่ ยออกจากรงั ไข่
พรอ้ มกบั เซลลพ์ เ่ี ลยี้ งกระบวนการดังกล่าวเรียกว่าการตกไข่
ไขน่ จ้ี ะพรอ้ มทำการปฏสิ นธใิ นช่วง 12-24 ช่วั โมง หลงั จากการตกไข่
ถ้าไมม่ ีการปฏิสนธเิ กิดขนึ้ ในชว่ งดงั กล่าวไข่ก็จะเส่อื มสลายไป

23

การปฏสิ นธิ

เชอื้ อสจุ ิของผชู้ ายผสมกับไขข่ องผหู้ ญงิ ไขจ่ ะพบกับอสจุ ิเกิดการปฏิสนธขิ น้ึ ในท่อนำไขก่ ลายเปน็
ตัวอ่อน ทจ่ี ะฝงั ตวั ในมดลกู ซง่ึ จะเกดิ ขน้ึ ใน สปั ดาหท์ ี่ 3 ของการตั้งครรภเ์ ม่อื มกี ารปฏิสนธิเกดิ ขึ้นไข่ท่ีผสม
แลว้ เรียกวา่ ไซโกต จะเคลอื่ นทจี่ ากทอ่ นำไขล่ งไปยงั มดลกู ผนงั มดลกู จะหนาตวั ขนึ้ เพอื่ รองรบั การฝังตัว
ของใครระหวา่ งน้ไี ซโกตเรมิ่ แบง่ อย่างรวดเร็วเปน็ เซลลเ์ ล็ก ๆ จำนวนมาก

หลงั การปฏสิ นธิไขแ่ ละอสจุ จิ ะรวมกันแปรสภาพเปน็ ตวั ออ่ นระยะต้นไซโกตและจะอย่ใู นท่อนำไข่
ประมาณ 3-4 วนั ในระหวา่ งน้นั จะมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งเมือ่ ตวั อ่อนเคล่ือนไปถงึ มดลกู จะมขี นาด 20-
40 เซลล์ตวั ออ่ นจะรออยูใ่ นมดลูกอกี ประมาณ 2-3 วันกอ่ นทจ่ี ะฝังตวั กับผนังมดลกู ขบวนการนีเ้ รียกวา่ การ
ฝังตวั ของตัวออ่ น

24

การเจริญเติบโตของมนษุ ย์

คือการรวมตวั กันของอสจุ ิกบั เซลล์ไขใ่ นรา่ งกายของสตรีเกดิ เป็น ไซโกต จากน้ันไซโกตเจริญไป
เปน็ เอม็ บรโิ อ เมื่อเขา้ สู่ 3 เดือนของการตงั้ ครรภเ์ รยี กว่า fetus เมื่อครบ 38 ถงึ 40 สัปดาห์ทารกจะ
คลอดเปน็ infant

25

Endocrine
system

26

ต่อมไร้ทอ่ ทส่ี ำคญั ในมนุษย์

1.Hypothalamus
2.Pituitary gland
3.Pineal gland
4.Thyroid gland
5.Parathyroid gland
6.Adrenal gland
7.Pancreas
8.Thymus
9.Gonads; ovary,testis

ชนิดของการกระตนุ้ ตอ่ มไรท้ อ่

27

โครงสร้างท่วั ไปของตอ่ มไรท้ อ่

ประกอบดว้ ย 2 ส่วน คอื

1.Parenchyma คือ สว่ นเน้อื ต่อมSecretory cell เซลลท์ ่สี รา้ ง
และหล่ังฮอรโ์ มน มีการเรียงตัวแบบเกาะกลมุ่ (clumps), สาย
(cord), แผน่ (plates)

ㆍFenestrated capillary มีหลอดเลือดฝอยชนิดมีรู หรอื
sinusoid

ㆍ Lymph vessels แทรกอยู่จำนวนมาก เพ่ือลำเลียงฮอรโ์ มน
ออกจากเนอ้ื ต่อมเข้าสูร่ ะบบไหลเวยี น ไปกระตนุ้ อวัยวเปา้ หมาย
2.Stroma คือ สว่ นโครงรา่ งพยุงConnective tissue
ประสานกันเปน็ โครงร่างให้เซลลข์ องเน้ือตอ่ มเกาะ ต่อมไร้ทอ่ ท่มี ี
แคปซูลหมุ้ บางชนดิ มสี ่วนของแคปซลู ยื่นเข้าไปในเนอ้ื ตอ่ ม แบ่ง
เนอื้ ตอ่ มออกเปน็ สว่ นๆ

Hypothalamus

- เป็นโครงสรา้ งของสมองอยู่ใต้ Thalamus แตเ่ หนือกา้ นสมอง
- เปน็ ศูนยค์ วบคุมการเต้นหวั ใจ อณุ หภูมิ ความสมดลุ ของน้ำ เกลอื แร่ การนอนหลบั ความหวิ หรอื
อารมณ์ความรูส้ ึกตา่ ง ๆ
- มหี น้าที่กระตนุ้ การหลง่ั ฮอร์โมนของ ตอ่ มใต้สมอง (Pituitary gland)

Pituitary gland

28

ตอ่ มใต้สมอง
แบง่ ออกเปน็ 2 ส่วนคอื
- Anterior Pituitary สว่ นหน้า
- Posterior Pituitary สว่ นหลงั

Anterior Pituitary (สมองสว่ นหนา้ ) -FSH รังไข่ อัณฑะ
ชาย จะทำหน้าท่ีกระตนุ้ การเจรญิ เตบิ โตของ
-Growth Homone GH หลอดอสุจแิ ละกระตนุ้ การสร้างอสจุ ิ
ควบคมุ การเจริญเติบโตของรา่ งกายให้เปน็ ปกติ หญิง จะทำหนา้ ที่กระตุน้ การเจรญิ เติบโตของ
ฮอร์โมนมากเกนิ ไป ทำใหร้ า่ งกายสงู ใหญผ่ ิดปกติ ฟอลิเคลิ ในรังไข่
ฮอร์โมนนอ้ ยเกนิ ไป ทำให้รา่ งกายเต้ยี หรอื วา่ แคระ

-TSH ตอ่ มไทรอยด์ -ACTH ต่อมหมวกไตชั้นนอก
กระตุ้นใหต้ อ่ มไทรอยดม์ กี ารสรา้ งและหลั่งฮอร์โมน กระตนุ้ ให้ต่อมหมวกไตชัน้ นอกมกี ารสร้างและหลง่ั
ฮอรโ์ มน
-Porlactin นำ้ นม
พบมากในหญงิ ต้งั ครรภ์ -MSH
กระตนุ้ ในต่อมน้ำนมสรา้ งนำ้ นม กระตุ้นการสรา้ งเม็ดสที ี่ผิวหนัง
ยบั ย้งั การตกไขใ่ นชว่ งตงั้ ครรภ์

Posterior Pituitary (สมองสว่ นหลัง)

-ADH หนว่ ยไต 29
ควบคมุ การดดู กลบั ของนำ้ ท่ที อ่ ไต จะหลั่งมาก
เม่อื ร่างกายขาดน้ำ เครยี ด มคี วามดันเลือดสูง -Oxytocin
กระตนุ้ ใหเ้ กิดการหลง่ั น้ำนม
กระตนุ้ ใหม้ ดลกู บีบตวั ขณะกำลังคลอดลกู

Thyroid gland

เป็นต่อมท่ีมลี กั ษณะเปน็ พูทอี่ ยตู่ ดิ กับกลอ่ งเสียง
และหลอดลม มหี นา้ ท่หี ลงั่ ฮอรโ์ มน 2 ชนดิ
1.ไทรอกซิน(Thyroxin)ซึง่ มสี ว่ นสำคญั ตอ่ การ
ควบคมุ การเจริญเตบิ โตของรา่ งกายให้ดำเนนิ ไป
ไดอ้ ย่างเหมาะสม
2.แคลซโิ ทนนิ (Calcitonin)ทำหน้าทลี่ ดระดับ
แคลเซยี มในเลือด โดยนำไปเกบ็ ไว้ที่กระดกู

ภาวะฮอรโ์ มนไทรอยดท์ ำงานเกนิ (hyperthyroidism)

ภาวะฮอรโ์ มนไทรอยดท์ ำงานเกนิ ㆍ ต่อมมขี นาดใหญข่ ึ้นมาก

ㆍทำให้มกี ารเผาผลาญพลงั งานมากขน้ึ

ㆍGraves' disease โรค autoimmune ทเ่ี ป็น
สาเหตุหลกั ของต่อมไทรอยด์ทำงานเกนิ แบบเปน็
พิษท่ีพบมากท่สี ุดในโลก ผปู้ ว่ ยมีนำ้ หนักลดลง ตา
โปน(exophthalmos) บวมนำ้ กดไมบ่ ๋มุ
(non-pittingedema) เหนอ่ื ยงา่ ย เหงื่อออกมาก
ข้ีร้อน หัวใจเตน้ เรว็ กลา้ มเนื้อออ่ นแรง รบั ประทาน
อาหารเกง่ แต่น้ำหนักลด มกี ้อนโตทีค่ อ

30

ในภาวะฮอรโ์ มนไทรอยดข์ าด/มนี ้อย ตอ่ มใตส้ มองจะหลั่ง
TSH ออกมา เพอ่ื กระตุน้ ใหต้ อ่ มไทรอยดท์ ำางานมากขนึ้
เมอ่ื มกี ารกระตุ้นช้า ๆ แต่ตอ่ มไทรอยด์กย็ งั สร้างฮอร์โมน
ออกมาไม่ไดต้ ามความต้องการ ทำให้ตอ่ มไทรอยดโ์ ตขึน้
เรยี ก คอพอก (goiter)

Pancreas(ตบั อ่อน)

อวยั วะท่ีประกอบดว้ ยตอ่ มมที อ่ และต่อมไรท้ อ่ อยรู่ ่วมกนั ต่อมไร้
ท่อในตบั อ่อนประกอบดว้ ยกลมุ่ เซลล์กระจัดกระจายอยรู่ ะหวา่ ง
กระเปาะของต่อมมีทอ่ เรยี กวา่ Islets of Langerhans

ต่อมมที อ่ ตอ่ มไรท้ ่อ
สร้างนำ้ ย่อยทลี่ ำไสเ้ ล็ก สร้างฮอร์โมนและหลง่ั ฮอร์โมนอนิ ซูลนิ
และกลูคากอน

31

Islets of Langerhans

เป็นโครงสร้างทอี่ ยูใ่ นตบั ออ่ นมเี ซลล์ 3 ชนิด
ทำหน้าทส่ี รา้ งฮอร์โมน

Alpha cell สร้างฮอร์โมน กลูคากอน ทำหนา้ ทเ่ี พ่ิมระดบั น้ำตาลในเลอื ด
Bate cell สร้างฮอรโ์ มน อนิ ซลู นิ ทำหน้าที่ ลดระดับน้ำตาลในเลือด

Adrenal gland (ตอ่ มหมวกไต)

เป็นตอ่ มทอี่ ยเู่ หนอื ไตแบง่ ออกเปน็ 2 ชน้ั

-ส่วนใน สรา้ งฮอรโ์ มนอะดรนี าลนิ ซ่งึ กระตุ้นร่างกายทกุ สว่ น
ให้เตรยี มพรอ้ ม หลอดเลือดทั่วไปหดตวั และทำให้ความดันเลอื ดสูงขึ้น

-ส่วนนอก สรา้ งฮอร์โมน
ส่วนนอกก็จะแบ่งอีก 3 ชัน้

Adrenal cortex

-Zona glomerulosa ชน้ั นอกสดุ

ติดกบั เปลอื กหมุ้ ตอ่ ม เป็นชน้ั บาง ๆ
สรา้ งและหลง่ั ฮอรโ์ มนพวก mineralorticoidsและaldosterone
ทำหนา้ ทคี่ วบคุมสมดลุ ของน้ำและเกลือแรใ่ นรา่ งกาย

-Zona fasciculata ชั้นกลาง
หลงั่ ฮอร์โมนกลโู คคอร์ทคิ อยด์ ได้แก่ คอร์ทซิ อล คอร์ทิโซน
และ คอร์ทิโคสเตอโรนมคี วามจำเป็นตอ่ ชวี ิตขาดไมไ่ ดค้ วบคุมเมแทบอลซิ ึมของโปรตนี
คารโ์ บไฮเดรตและไขมัน

-Zona reticularis ชนั้ ทต่ี ิดกบั ต่อมหมวกไตสว่ นในหลัง่ ฮอร์โมนเพศชาย
เช่น DHEAมผี ลต่อกระบวนการสบื พนั ธน์ุ ้อยกวา่ ฮอร์โมนท่ีได้จาดอณั ฑะในเพศหญิง
อตั ราการหลงั่ แอนโดรเจนจะต่ำกวา่ เพศชาย

32

Parathyroid glands

เป็นต่อมขนาดเลก็ มี 2 คู่ อยูต่ ดิ ต่อมไทรอยดท์ างด้านหลงั
ทำหนา้ ทสี่ ร้างฮอรโ์ มนพาราไทรอยด์

-เพ่มิ ระดบั แคลเซยี มในเลอื ด โดยสลายแคลเซยี มทเ่ี กบ็ ไวใ้ นกระดูกออกมาใช้
-รกั ษาความเปน็ กรดเป็นดา่ งในรา่ งกายใหอ้ ย่ใู นระดับทเี่ หมาะสม

ตอ่ มไพเนียล (Pineal Gland)

ลักษณะของตอ่ มไพเนยี ล
เปน็ ตอ่ มเลก็ ๆ รปู ไข่ หรือรปู กรวย คล้ายๆลูกแพรลกั ษณะค่อนขา้ งแขง็ สนี ำ้ ตาลแดง
ขนาดยาวจากหนา้ ไปหลงั 5-10 มิลลเิ มตร กวา้ ง และสูง 3-7 มลิ ลเิ มตร
หนกั 0.2 กรมั วางอยู่เหนือสมองสว่ นกลาง (midbrain) อยู่ใต้ spleniun ของ corpus callosum

หนา้ ที่ของตอ่ มไพเนียล
ตอ่ มไพเนยี ลเป็นตอ่ มอยเู่ หนอื สมอง เป็นต่อมทมี่ คี วาม สำคญั เป็นเหมือน
ผู้บัญชาการ ตอน กลางวนั เขาจะสรา้ งเซโรโตนินกระตนุ้ ใหเ้ ราลุกต่ืนขึน้ ทำงาน
กลางคนื ก็สรา้ ง เมลาโตนิน ใหเ้ รารสู้ กึ งว่ งเหงาหาวนอนอยากพกั ผอ่ น

33

Thymus gland

- เปน็ ต่อมทีม่ รี ูปรา่ งคลา้ ยพรี ะมิดแบนทางขา้ ง มี 2 กลบี ขนาดและรปู รา่ งแตกตา่ งกนั ไปตามอายุ
- มีขนาดใหญ่ในทารกแรกเกิด และจะเล็กลงเม่อื เรม่ิ เข้าสู่วยั ผู้ใหญ่
- ทำหนา้ ที่สรา้ ง ฮอร์โมนไทโมซนิ กระตุ้นการผลิตของเม็ดเลือดขาว T cell

34

Muscular
system

35

Muscular system

กล้ามเน้อื ในร่างกายมีท้ังหมด 792 มดั
กล้ามเนื้อแบง่ ออกเป็น 3 ชนดิ

36

กลา้ มเนอ้ื ลาย

กลา้ มเนือ้ ลายในร่างกายมที งั้ หมด 792 มัด ทำงานภายใต้
อำนาจจิตใจเซลลเ์ สน้ ใยกลา้ มเน้ือ Muscle Fiberมรี ปู เป็น
ทรงกระบอกมนี ิวเคลยี สหลายอนั เคลอื่ นไหวได้

กล้ามเนื้อเรียบ

Smooth Muscle อย่ภู ายในหลอดอาหาร หลอดอาหาร
ทำงานภายนอกอำนาจจติ ใจ กลา้ มเนอื้ ชนดิ น้สี ่วนมากจะมี
เสน้ ใยประสาทอัตโนมตั ิควบคุมด้วย เชน่ ผนังหลอดเลอื ด
มา่ นตา , มดลกู , กระเพาะอาหาร , ผนังทอ่ ทางเดนิ อาหาร
, ผนังทอ่ ระบบขับถา่ ยปสั สาวะ

กลา้ มเนื้อหัวใจ

Cardiac Muscle คลา้ ยกลา้ มเน้ือ คอื เสน้ ใยจะมีลายตามขวาง
เหมือนกันแตส่ จี างกวา่ เส้นใยกลา้ มเนือ้ หวั ใจจะคอ่ นข้างส้ันมแี ขนง
แยกออกไปเชือ่ มติดกนั มากเรยี กว่า syncytium

สว่ นประกอบท่ีสำคญั ของกลา้ มเน้ือ

1. โปรตนี

37

2. คาร์โบไฮเดรต
3. ไขมนั

สารที่ทำให้กล้ามเน้อื หดตัวมี ATP and ADP

Origin and insertion (จุดเกาะของกลา้ มเน้ือทย่ี ึดเกาะ)กลา้ มเน้อื มี 2 ชนดิ
-Origin เป็นจดุ เกาะแรกหรอื ตายตัวหรือเป็นจุดเกาะของกลา้ มเน้อื ท่มี กี ารเคลอื่ นไหวน้อยมากเม่อื
กลา้ มเน้อื หดตวั
-Insertion เป็นจดุ เกาะปลายตำแหนง่ ทีเ่ กาะของกลา้ มเนอ้ื และเป็นจดุ ที่มกี ารเคลื่อนไหวมากเมือ่
กล้ามเนอ้ื หดตวั

38

Muscle of head

Muscle of Head • Muscle of facial
Expression • Muscle of
Mastication • Floor of mouth

39

กล้ามเน้อื แสดงสหี นา้ Muscle of facial expression

Orbicularis oculi หน้าท่หี ลบั ตา

Origin กระดกู frontal,กระดูกขากรรไกรล่างและเอน็ รอบ ๆ
เข้าตาInsertion เนอ้ื เยือ่ ทว่ี งรอบตา

Frontal Muscle หนา้ ทย่ี ักค้ิวหนา้ ผากยน่

Origin กระดกู ท้ายทอย
insertion Aponeurosis ศรี ษะ

Frontal Muscle หนา้ ทย่ี กั ค้ิวหนา้ ผากย่น

Origin กระดกู ท้ายทอยinsertion Aponeurosis ศรี ษะ

40

กล้ามเนือ้ เกี่ยวกบั การเคยี้ วอาหาร Muscular of mastication

Masseter หน้าทยี่ กขากรรไกรลา่ งข้ึนหบุ ปาก

Origin zygomatic arch
Insertion พน้ื นอกของ ramus ของขากรรไกรลา่ ง

Temporalis ทำหน้าทยี่ กขากรรไกรล่างขึน้ ทำใหห้ ุบปากและถอยไปข้างหลัง

Origin temporalis fossa ของกระดูก temporal,mandible
Insertion coronoid process ของ mandible

Buccinator หนา้ ท่ชี ว่ ยในการดูดการเค้ยี วอาหารการกลืนผิวปาก

Origin alveolar process ของ maxilla and mandible
Insertion ตดิ กบั กล้ามเน้อื orbicularis oris

41

กลา้ มเน้ือคอ Muscles of the Neck

Sternocleidomastoid ทำหน้าท่ี ถา้ 2 มัดทำงานจะกม้ ศีรษะลง ถา้ 1 มดั

ทำงานจะเอียงศีรษะไปข้างท่หี ด
Origin มี 2 หวั สว่ นบนของ Sternum และรมิ ในของ clavicle
Insertion Mastoid process ของ Temporal

Platysma ทำหนา้ ท่ีดงึ รมิ ฝปี ากล่างและมมุ ปากลง ถา้ 1 มัดทำงานเอยี งศีรษะไปขา้ งท่หี ดตัว

Origin Superficial fascia ของ Pectoralis major และ Deltoid
Insertion ริมฝีปากล่างของกระดกู Mandible

42

Sternocleidomastoid

ทำหนา้ ท่ี งอส่วนคอของกระดกู สันหลังท่ยี ดึ ศรี ษะ

Superficial muscle

-platysma
-sternocleidomastoid

Deep muscle

-กล้ามเนื้อ prevertebral
-กล้ามเนือ้ lateral

Medial muscle

-กล้ามเนื้อเหนอื กระดูก hyoid
-กล้ามเนอื้ ใตก้ ระดกู hyoid

43

กล้ามเน้ือของหลัง Muscle of back

ช้ันตน้ื มกี ล้ามเน้อื 2 มัดใหญ่ และชนั้ ลกึ กว่ามี 1 มดั

Trapezius หนา้ ท่ี รั้งสะบักมาขา้ งหลัง รง้ั ศรี ษะไปขา้ งหน้า
Latissimus dorsi หนา้ ที่ ดึงแขนลงมาขา้ ล่าง ไปข้างหลังและเขา้ ข้างใน
Elector spinae หนา้ ที่ ดึงกระดกู สนั หลงั ให้ตรง

44

กล้ามเน้อื ของทรวงอกดา้ นหน้า Muscle of Chest

Pectoralis Major หนา้ ท่หี ุบ งอ และหมนุ แขนขา้ งในมาข้างหน้า
Pectoralis minor หน้าท่ี ดงึ ไหลล่ ง หมุนกระดูกสะบักทางด้านหน้า
Serratus anterior หนา้ ที่ ยึดสะบกั อยู่กบั ที่ ดกึ สะบกั ไปข้างหนา้ และข้างๆ

45

กลา้ มเนอื้ ทีช่ ่วยในการหายใจ Muscle of Respiration

Diaphragm หนา้ ท่ี ทำให้ช่องอกขยายโตขึน้ และชว่ ยดนั ปอดใหล้ มออกมา
External intercostal หน้าท่ี ยกซ่ีโครงขนึ้ ทำให้ช่องอกขยายขน้ึ
Internal intercostal หน้าที่ ทำให้ชอ่ งอกลดลง

46

กลา้ มเน้อื ของท้อง Muscle of Abdomen

rectus abdominis ทำหนา้ ทเ่ี มือ่ หดตัวจะกดอวัยวะตา่ ง ๆ ในช่องทอ้ งช่วยในการคลอดบตุ รถ่าย

ปสั สาวะอาเจยี น

External oblique มดั นอกหนา้ ที่ช่วยกดอวัยวะในช่องทอ้ งช่วยในการหายใจออกช่วยป้องกัน

อวยั วะภายในให้ไม่เกินทีช่ ว่ ยงอและหมุนกระดูกสนั หลงั

Internal obligue หนา้ ทช่ี ว่ ยกดอวยั วะในช่องทอ้ งชว่ ยในการหายใจออกช่วยป้องกันอวยั วะภายใน

ใหไ้ มเ่ คลือ่ นทชี่ ว่ ยงอและหมนุ กระดกู สนั หลังการ

Transverse domains หน้าที่ช่วยกดอวัยวะในชอ่ งทอ้ งช่วยในการหายใจออกช่วยปอ้ งกันอวัยวะ

ภายในให้ไมเ่ คล่อื นที่ช่วยงอและหมุนกระดูกสนั หลงั

47

กลา้ มเนื้อสว่ นหัวไหล่และแขน Muscle of the upper limb

กลา้ มเนอ้ื ส่วนหัวไหล่
Deltoid เป็นกลา้ มเนอ้ื คลายขนนกหลาย ๆ อนั มารวมกันเป็นมัดใหญ่หนารปู สามเหลี่ยมจดุ เกาะอยู่ท่ไี ห

ปลารา้ และกระดูกสะบกั แลว้ ไปเกาะท่ตี อนกลางของกระดูกตน้ แขน ท าหนา้ ท่ยี กไหลแ่ ละยกต้นแขน เปน็
สว่ นทีบ่ ่งบอกลกั ษณะเพศชายได้อยา่ งชดั เจน

Supraspinatus เรม่ิ เกาะจากกระดกู สะบักไปยังกระดูกตน้ แขน ทำหนา้ ทช่ี ว่ ยกล้ามเนอื้ Deltoid ในการยก หรือ

กางแขน

Infraspinatus เรม่ิ เกาะจากกระดูกสะบักไปยังกระดูกต้นแขน ทำหนา้ ที่หมุนตน้ แขนออกดา้ นนอก และดึงแขนไป

ดา้ นหลัง

Teres minor และ Teres major เกาะทก่ี ระดกู สะบกั แล้วมาเกาะท่ีกระดูกต้นแขนโดย Teres minor

ทำหน้าที่หมุนแขนออกด้านนอก Teres major ทำหนา้ ทีห่ มุนแขนเข้าดา้ นใน

Subscapularis มจี ุดเกาะทก่ี ระดูกสะบักและกระดกู ต้นแขน ทำหน้าท่ีหมุนตน้ แขนเข้าด้านใน


Click to View FlipBook Version