The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เสกสรรอักษรศิลป์ ณัฐวุฒิ สำลี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nattawut2810, 2021-03-31 11:52:18

เสกสรรอักษรศิลป์ ณัฐวุฒิ สำลี

เสกสรรอักษรศิลป์ ณัฐวุฒิ สำลี

หนงั สือเรยี นรายวิชาเพ่ิมเติม กลม่ ุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

ผ้เู รียบเรยี ง นายณฐั วฒุ ิ สาลี
รหัสนสิ ิต 611011496
หลักสูตรศลิ ปศาสตร์บัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั ทักษณิ
ภาพประกอบ : นายณฐั วุฒิ สาลี
ออกแบบ : นายณฐั วุฒิ สาลี
พิมพค์ ร้งั ท่ี ๑
พ.ศ. ๒๕๖4

คานา

เสกสรรอกั ษรศิลป์ ท่องถิน่ ควนขนุน เป็นหนังสือเรยี นในรายวิชาเพิ่มเตมิ กลมุ่ สาระการเรียนรู้

ภาษาไทย เหมาะสาหรบั ใช้ประกอบการเรียนการสอนในเรอ่ื งการเขยี นและผ้ทู ี่สน หนงั สือเลม่ มีจุดมุ่งหมายในการ
นาเสนอมรดกทางภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นของ อ.ขวนขนุน จ.พทั ลุง และเสริมทักษะเก่ียวกับเขียน ซึ่งมีความสาคัญเป็น
อยา่ งยง่ิ ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั ทัง้ ใชใ้ นการตดิ ตอ่ ส่ือสาร การเรยี น การทางาน เปน็ ตน้ เน้ือหาในหนงั สือเรียน
ได้ให้ความร้เู ก่ียวกบั การเขยี น กระบวนการเขยี น และแนวทางการคิด วิเคราะห์จากเรื่องท่ีเขียน จุดประสงค์ของ
การเขียน หลักการเขียน โวหารในการเขยี น และเสริมทกั ษะการเขียนร้องกรอง คือ กาพยย์ านี 11

รูปแบบของหนังสือมีส่วนประกอบท่ีสาคัญ 2 ส่วน ในส่วนแรก เสกสรรอักษรศิลป์ คือ การให้ความรู้
เกี่ยวกับการเขียน แนวทางในการเขียนอย่างมีศิลปะ และส่วนท่ีสอง คือ ท่องถ่ินควนขนุน คือ การนาผู้เรียนหรือ
ผูอ้ า่ นไปท่องเทย่ี วเพอ่ื สมั ผัส มรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินของ อ.ขวนขนุน อันเป็นสมบัติของท้องถ่ินท่ีคนรุ่นหลัง
ควรอนุรกั ษ์ ผา่ นตวั ละครในเร่อื งส้นั แตบ่ ท ภายใตแ้ นวคิด เรยี น รู้ รกั ษ์ ล่อง ท่องเทยี่ ว โดยตวั อยา่ งที่ปรากฏในแต่
ในหนงั สอื เลม่ น้ีได้นาขอ้ มลู มาจากพื้นที่ อ.ควนขนุน และนางานบางส่วนของผูเ้ ขยี นมาประกอบการอธิบายหรือทา
แบบฝกึ หัด เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนหรือผอู้ ่านไดเ้ หน็ งานเขยี นอย่างหลากหลาย นอกจากน้ียังได้บันทึกภาพจากสถานท่ีจริง
เพ่อื ใชเ้ ปน็ ภาพประกอบในแตล่ ะบทอกี ดว้ ย

ผู้เขียนหวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือเรียนเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีสนใจในเรื่องการเขียน รวมถึงช่วย
เสรมิ สร้างความตระหนกั ความหวงแหน และจติ สานกึ ในการอนุรักษ์มรดกทางภูมิปัญญาท้องถ่ินให้คงอยู่สืบนาน
เท่านาน หากมคี วามผิดพลาดประการใด ต้องขออภยั มา ณ ท่นี ้ดี ้วย

ณฐั วฒุ ิ สาลี

สารบญั

เรือ่ ง หนา้

บทนำ มำรจู้ ักควนขนุน ...............................................................................................1
บทที่ 1 เทย่ี วหลำดนักเขียน........................................................................................2

การเขียนและหลกั การเขยี น...................................................................................7
เพ่มิ เติมเสรมิ ทักษะ...............................................................................................13
แบบฝกึ หดั ลับปญั ญา............................................................................................15

บทท่ี 2 แวะเวยี นเลนอ้ ย.............................................................................................18

โวหารในการเขยี น.................................................................................................22
เพมิ่ เติมเสริมทกั ษะ...............................................................................................25
แบบฝึกหดั ลับปญั ญา............................................................................................26

บทที่เรยี งร้อยตำนำนพนมวังก์...................................................................................30

กาพยย์ านี 11.......................................................................................................35
เพ่มิ เตมิ เสริมทักษะ...............................................................................................37
แบบฝึกหดั ลบั ปัญญา............................................................................................41
บรรณำนุกรม

1

มารจู้ กั

ถ่ินพระดงั เมอื งคนดี ประเพณลี อื เลื่อง เฟือ่ งฟกู ารศึกษา ผ้าทอแพรกหา
ทะเลงามตา นกน้าเพลินใจ

อำเภอควนขนนุ เดิมเรยี กว่า อาเภออุดร จัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2439 หรือ ร.ศ. 115 มีพระพล

สงคราม (โต ศริ ิธร) เป็นนายอาเภอคนแรก ต่อมาภายหลงั เป็นพระยาศิริธรเทพสัมพันธ์ เจ้ากรมเสมียนตรา
อาเภอต้งั อยทู่ ่ีหมทู่ ี่ 5 ตาบลควนขนุน และไดย้ า้ ยท่ตี งั้ อีกจานวน 4 คร้ัง ครง้ั แรกเมื่อปี พ.ศ. 2445 ยา้ ยทีว่ ่า
การอาเภอไปต้งั ทบี่ ้านมะกอกใต้ เรยี กวา่ อาเภอปากประ คร้งั ท่ี 2 เมอ่ื ปี พ.ศ. 2450 ยา้ ยไปท่ีบ้านพนางตุง
รมิ ทะเลนอ้ ย เรียก อาเภอทะเลน้อย ครง้ั ท่ี 3 พ.ศ. 2460 เรียก อาเภอพนางตงุ และครง้ั สดุ ท้าย เมื่อปี พ.ศ.
2466 ย้ายกลบั มาต้งั ท่ีเดิมคอื ที่บ้านควนขนุน เรียกว่า อาเภอควนขนุน มาจนถึงปัจจุบัน (ถนอม พูนวงศ์,
2558:9-10)

อาเภอควนขนุนเป็นอาเภอที่มีขนาดใหญ่ท่ีสุดของจังหวัด
พทั ลงุ ต้ังอยู่ทางทิศเหนือของจงั หวัด มอี าณาเขตตดิ ต่อกับเขตการ
ปกครองข้างเคยี งดงั ต่อไปน้ี

ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอป่าพะยอมและอาเภอชะอวด
(จงั หวดั นครศรีธรรมราช)

ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกับอาเภอระโนด(จังหวัดสงขลา)
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับอาเภอเมอื งพัทลุงและอาเภอศรีบรรพต
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอศรีบรรพตและอาเภอป่าพะยอม
ทศิ เหนือ
อาเภอควนขนนุ แบง่ พนื้ ท่กี ารปกครองออกเปน็ 12 ตาบล ได้แก่

1. ควนขนนุ 7. โตนดดว้ น

2. ทะเลน้อย 8. ดอนทราย

3. นาขยาด 9. มะกอกเหนือ

4. พนมวังก์ 10. พนางตุง

5. แหลมโตนด 11. ชะมวง

6. ปันแต 12. แพรกหา

2

บทท่ี ๑ เที่ยวหลาดนกั เขียน

มโนทัศน์

ทั ก ษ ะ เ ก่ี ย ว กั บ เ ขี ย น มี ค ว า ม ส า คั ญ เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ใ น ก า ร ด า เ นิ น
ชีวิตประจาวัน ทั้งใช้ในการติดต่อส่ือสาร การเรียน การทางาน เป็นผลผลิต
ของกระบวนการคิด ดงั นน้ั ผู้ทจี่ ะเขยี นไดด้ ียอ่ มต้องรูจ้ กั คิด มวี จิ ารณญาณ

เน้ือหำ วตั ถปุ ระสงค์

- การเขียนและหลกั การเขียน 1. ผ้อู า่ นเขา้ ความหมายของการเขยี น
- จดุ ประสงค์ของการเขียน 2. ผ้อู า่ นเขา้ ใจจุดประสงคแ์ ละรปู แบบของการเขยี น
- รูปแบบของการเขียน เพ่อื ใหผ้ ู้อ่านสามารถเขียนไดถ้ ูกต้องตามเจตนา
- การเขียนย่อหนา้ 3. ผ้อู า่ นเข้าใจเร่อื งการเขยี นย่อหนา้ และลกั ษณะการ
- ลักษณะของย่อหนา้ ทด่ี ี เขียนยอ่ หนา้ ที่ดี

จำนวนชัว่ โมงเรียน 2 ชั่วโมง

3

เท่ียวหลาดนกั เขียน

กุกกกั กกุ กัก กุกกัก!! เสียงตะหลวิ กระทบกบั กระทะดงั ไปถงึ ชั้นสองของบา้ น กลิ่นหอมหอมของผัด
ผกั บุ้งทีก่ าลงั โลดแล่นตามแรงการผัดในกระทะบนเตาอ้ังโล่อบอวนไปท่ัวไปบริเวณ วันนี้เป็นวันอาทิตย์พ่อ
เฒา่ กับแมเ่ ฒ่าตืน่ เชา้ เป็นพเิ ศษ มาทาอาหารใส่บาตร เช่นเดียวกับลูกไม้หรือท่ีพ่อเฒ่าเรียกว่า ไข่นุ้ย กับลูก
ตาลน้องสาวทอี่ ายหุ า่ งกันเพียงหนึ่งปี ก็ตื่นมาเขา้ ครวั แต่เช้าด้วย

ตอนน้ที ั้งสีก่ าลงั เตรียมของใส่บาตรและสารบั อาหารเช้า พ่อเฒ่ากาลังขูดมะพร้าวด้วยเหล็กขูดคู่ใจ
ไข่นยุ้ รบั หน้าทเ่ี ป็นคนเก็บผักสดในสวนมาลวกจม้ิ กับนา้ ชุบ แม่เฒ่านาผัดผกั บงุ้ มาใส่จาน ลูกตาลตักข้าวสาร
ในถังเพอื่ นาไปหงุ แตน่ ี่ไมใ่ ช่ข้าวสขี าวทว่ั ไป

“แมเ่ ฒา่ คะ ทาไมข้าวบ้านเราถึงไม่เป็นสีขาวหรอคะ” ลูกตาลกาลังตักข้าวสีแดงเข้มใส่หม้อ ด้วย
ความสงสัย จึงหันไปถามแมเ่ ฒ่าท่ียืนล้างปลาสาหรบั นาไปแกงอยู่ เม่อื ผทู้ ถี่ กู เรียกไดย้ ินก็อมยิ้มเล็กน้อยแล้ว
ตอบกลับไปว่า

“นี่เรียกว่าข้าวสังข์หยด เป็นพันธุข้าวพื้นเมืองที่ปลูกกันในจังหวัด
พัทลุง ถึงข้าวจะมีสีแดงเข้มแบบนี้แต่ก็มีคุณค่าทางอาหารสูงมาก
เลยนะ อีกอย่างขา้ วที่เรากินกันทุกวนั เน่ีย ก็เป็นข้าวในนาท่ีพ่อเฒ่า
ของนยุ้ ปลูกมาด้วยความรกั ข้าวท่ีนจ่ี ึงเป็นข้าวที่ดสี ุดเลย”

“แบบนี้ข้าวน้ีต้องเป็นข้าวที่อร่อยท่ีสุดในโลกแน่ ๆ เลย”
ไขน่ ุ้ยทก่ี าลงั ฟังอยู่หนั มาตอ่ บทสนทนาดว้ ยรอบยย้ิม พ่อเฒ่าท่นี ่ังฟงั
ก็มีรอยย้ิมเปื้อนหน้าตามไปด้วย

“แลว้ ทพี่ ่อเฒ่าบอกวา่ วนั น้ีจะพาผมกับลูกตาลไปเทยี่ ว เราจะไปท่ไี หนกนั หรอครบั ” ไข่นุ้ยเปิดเรื่อง
สนทนาทช่ี วนต่ืนเตน้ ทาใหล้ ูกตาลทยี่ ืนอยูข่ า้ ง ๆ ตื่นเต้นไปดว้ ย

“เดย๋ี วกร็ ้เู องแหละ เราสองคนช่วยแมเ่ ฒ่าทากบั ข้าวใหเ้ สรจ็ จะได้ไปใสบ่ าตร กนิ ขา้ วแลว้
แต่งตวั ไปเท่ยี วกนั ” พอ่ เฒา่ ไม่ยอมบอก ด้านสองพีน่ อ้ งกย็ งั คงต่ืนเต้นรีบชว่ ยแม่เฒา่ ทากบั ขา้ วจน
เสร็จ

หลังใส่บาตรเสรจ็ ทง้ั สีก่ นิ ข้าวด้วยกันบนโตะ๊ ไมใ้ ต้ตน้ มะมว่ งหนา้ บา้ น
พ่อเฒา่ ปลกู พืชผกั ผลไมไ้ วจ้ านวนมากทงั้ ขนุน นอ้ ยหน่า ชะอม มองไป
ทางหลังบา้ นเห็นทิวเขาและผืนนา ทีต่ อนนี้ยงั มหี มอกบาง ๆ เป็น
เคร่ืองประดบั ทาให้ภเู ขาดูสวยงามในยามเชา้ เมอ่ื อาหารหมดจานสอง
พนี่ อ้ งไมร่ อชา้ เก็บจานไปลา้ งในครวั ชว่ งปดิ ดเทอมแบบนสี้ องพี่นอ้ ง
ช่วยแบ่งเบาภาระของพอ่ เฒา่ กบั แมเ่ ฒา่ ไปได้เยอะเลยทเี ดยี ว

4

“ไข่นุ้ย ลูกตาล ไปกันได้แล้ว” พ่อเฒ่าตะโกน

เรยี กหลานสองพน่ี อ้ งท่ีกาลงั แตง่ ตัวกันอยู่ ตอนนี้รถพร้อม
แล้ว สองพน่ี ้องวิ่งกุลกี ุจอมาข้ึนรถ แม้ว่าทั้งสองจะไม่รู้ว่า
จุดหมายปลายทางคอื ท่ไี หน แตน่ ่นั กไ็ ม่ได้ทาใหท้ ง้ั สองร้สู กึ
ตืน่ เต้นน้อยลงเลย

รถแล่นไปตามถนนที่สองข้างทางเต็มไปด้วยต้นไม้น้อยใหญ่สร้างความร่มร่ืนให้กับผู้ใช้รถใช้
ถนน พ่อเฒา่ กับหลานทีใ่ ฝร่ ้ใู ฝเ่ ห็นพดู คยุ กนั ไปตลอดทาง และแล้วไมน่ านทง้ั สามก็มาถึงจดุ หมาย

“ตลาดใต้โหนด เรามาเท่ียวหลาดกันหรอคะ่ พ่อเฒ่า” ลูกตาลเห็นป้ายชื่อตลาดท่ีตง้ั เดน่ อยู่ตรง
ทางเขา้

“โอโฮ! คนเยอะแยะเลย ของกนิ ก็น่าจะเยอะ พ่อเฒ่าพาไปกินเยอะ ๆ เลยนะ” ไข่นุ้ยท่ีกาลัง
มองหาร้านอาหารพูดออ้ นผ้เู ป็นพ่อเฒ่าทีก่ าลงั จอดรถ

“ฮึ กนิ แตพ่ อดีก็พอนะ เดย๋ี วจะท้องแตกตายแบบชชู กหรอก”
พ่อเฒา่ พูดหยอกไขน่ ุ้ย

“ทาไมถึงพามาท่ีนี่ละคะ” ลูกตาลถามข้ึนดว้ ยความสงสัย
“มาควนขนนุ ตอ้ งมาท่ีน่นี ะ เพราะตลาดธรรมดา” พอ่ เฒา่ ตอบ
“ไมธ่ รรมดายังไงหรอครบั ” ไข่นุ้ยถามเสรมิ
“เอา้ ไป เขา้ ไปดกู ัน” พอ่ เฒ่าจงู มือหลานทัง้ สองเขา้ ไปในตลาด

เมื่อถงึ หน้าตลาดทง้ั สามก็พบกบั วงดนตรที ี่มนี กั ดนตรีกว่าสามสิบคน ซึง่ ล้วนเปน็ นักเรยี นที่มีใจ
รักในเสยี งเพลงมารวมตวั กนั เพื่อหารายได้เสริม ถัดไปอีกนิดก็เป็นร้านค้าท่ีชาวบ้านนาของมาขาย ทั้ง
เสื้อผา้ ปัก ผลไม้ มองข้นึ ไปข้างบนกเ็ จอตน้ โหนดหรือต้นตาลโตนดยืนต้นเรยี งรายกันอย่างเปน็ ระเบียบ
นี่คงเป็นทม่ี าของชือ่ หลาดใตโ้ หลด

ตลาดแห่งน้เี ตม็ ไปดว้ ยเสยี งเพลงจากวงตรใี นมุมตา่ ง ๆ
คอยขบั กลอ่ ม บางมมุ ก็มกี ารแสดงมโนราห์หรือหนังตะลงุ โดย
เยาวชนทอี่ ยู่บรเิ วณน้ี ไข่นยุ้ และลกู ตาลต่ืนตาต่นื ใจกบั ทกุ มมุ
ของตลาด แตส่ ่งิ ท่ีท้ังสองชอบมากทสี่ ุดคงเป็นแกว้ น้าของทน่ี ี่
เพราะแก้วที่นท่ี าจากกระบอกไม้ไผ่ เม่อื ดมื่ นา้ เขา้ ไปจะได้กลิ่น
ไม้ไผอ่ ่อน ๆ ทาใหร้ ู้สึกสดช่ืนอยา่ งบอกไมถ่ กู ทัง้ สามเดนิ ดขู อง
ไปไดส้ กั พกั กม็ าถึงท่ที ห่ี นง่ึ เป็นบ้านไม้สองชั้น ชัน้ ลา่ งเป็นร้าน
กาแฟ มหี นงั สือตัง้ เรียงใหผ้ มู้ าเยอื นไดเ้ ลอื กซอ้ื ทุกดา้ นของฝา
ผนังเตม็ ไปด้วยคาคมและรูปชายคนหนง่ึ กลางห้องมีรปู ป้นั ชาย
คนเดียวกับในรูปดงึ ดดู ในทกุ สายตาหนั ไปมอง

5

ตลาดแหง่ นเ้ี ตม็ ไปดว้ ยเสยี งเพลงจากวงตรใี นมุมต่าง ๆ
คอยขับกลอ่ ม บางมมุ ก็มีการแสดงมโนราหห์ รือหนังตะลงุ โดย
เยาวชนทีอ่ ยู่บรเิ วณนี้ ไข่นยุ้ และลูกตาลต่ืนตาตนื่ ใจกบั ทกุ มมุ ของ
ตลาด แต่ส่งิ ท่ที ง้ั สองชอบมากที่สดุ คงเปน็ แก้วน้าของท่ีน่ี เพราะ
แก้วท่ีน่ีทาจากกระบอกไมไ้ ผ่ เมอ่ื ด่ืมน้าเขา้ ไปจะไดก้ ลิ่นไมไ้ ผ่อ่อน ๆ
ทาให้รู้สกึ สดชนื่ อยา่ งบอกไมถ่ ูก ทง้ั สามเดินดขู องไปได้สกั พกั กม็ าถงึ
ที่ท่ีหน่งึ เปน็ บา้ นไม้สองชนั้ ชนั้ ล่างเป็นรา้ นกาแฟ มีหนังสือตัง้ เรยี ง
ใหผ้ ู้มาเยอื นได้เลอื กซ้อื ทกุ ดา้ นของฝาผนงั เตม็ ไปดว้ ยคาคมและรปู
ชายคนหน่ึง กลางห้องมีรปู ปน้ั ชายคนเดียวกับในรปู ดงึ ดูดในทุก
สายตาหันไปมอง

“มานสี่ ิ เด๋ยี วพ่อเฒา่ พาไปดูอะไร” พ่อเฒา่ จูงมือหลานทง้ั สองเข้าไปท่รี า้ นกาแฟ

“กนกพงศ์ สงสมพันธุ์ ทาไมชอื่ น้ีคุ้นจังเลยครับ” ไข่น้ยุ เอ่ยถามเมอ่ื ไดเ้ หน็ ชอื่ คนุ้ ตากับรูปชายคนหนึ่งบน
ป้ายขนาดใหญ่

“ก็เหน็ ในหนังสอื บา้ นพอ่ เฒา่ ละสิ มตี ั้งหลายเล่ม” ลูกตาลตอบพี่ชายที่กาลงั สงสัย
“ใช่แล้วหละ พ่อเฒา่ นีเ่ ปน็ แฟนพันธแ์ุ ทเ้ ลยนะ” พ่อเฒา่ ชว่ ยเสริม
“แลว้ เขาเปน็ ใครกนั หรอคะ่ ” ลูกตาลจอมสงสัยหนั ไปถามพอ่ เฒา่ ทีก่ าลงั ดหู นงั สอื อยู่
“กนกพงศ์ สงสมพนั ธุ์ เขาเป็นนักเขยี น เคยไดร้ างวลั ซีไรตด์ ว้ ยนะ เขากเ็ กดิ ทคี่ วนขนุนนี่แหละ และก็ยัง
เป็นสมาชกิ กอ่ ต้ังของกลุ่มนาครอกี ดว้ ย เขาขยั นหนงั สือเกง่ มากเลยนะ แต่เสียดายที่เขาอย่สู ร้างสรรค์งานดี ๆ
ใหก้ บั พวกเราได้ไม่นาน และนที่ ี่หลานดอู ย่นู ้กี เ็ ปน็ ผลงานท่เี ขาเขียนไว้ไงละ”
“โห! เขาตอ้ งเป็นคนเก่งมาก ๆ เลยนะครบั หนังสอื ตั้งหลายเล่ม ไดร้ างวัลก็ต้งั เยอะ” ไขน่ ุ้ยพดู ดว้ ยแวว
ตาท่กี าลังช่ืนชมบคุ คลทีอ่ ยใู่ นรปู
“ก็เพราะการเขียนคือสงิ่ ทีเ่ ขารกั ไงละ การทเี่ ราได้เจอสิ่งทเี่ รารกั แลว้ ตงั้ ใจลงมอื ทามนั ใหเ้ ต็มที่ เราก็
อาจจะประสบความสาเรจ็ อยา่ งเขาไดน้ ะ” พ่อเฒ่าอธบิ ายเสริม
“แลว้ ทาไมถึงมเี ขาในหลาดนี้หรอครบั ” ไขน่ ุ้ยเอ่ยถาม
“กเ็ พราะหลาดแหง่ น้ี เกดิ จากแรงใจและแรงกายของ ยุติ-นิยตุ ิ สงสมพันธุ์ พ่ีชายของ กนกพงศ์ เขาอยาก
สรา้ งบ้านไมใ้ ตร้ ่มตน้ ตาลไว้ระลึกถงึ นอ้ งชายของเขา และใช้เป็นแหลง่ รวมตวั ของเหล่านกั เขียนเหมอื นครงั้ ทก่ี นก
พงศย์ ังมชี ีวิตไงละ” พอ่ เฒา่ อธิบาย

6

“แล้วรูปนน่ั คือใครหรอคะ” ลกู ตาลเดินออกมาดา้ นหน้าแล้วเจอกบั รูปทแี่ ผน่ ปนู เปน็ รอยมือตั้งเรยี งกนั
“รูปเหล่านคี้ ือเหลา่ ศลิ ปินแห่งชาตสิ าขาวรรณศลิ ปท์ ม่ี คี วามสาคญั ต่อวงการวรรณกรรมไงละ หลาด
แหง่ น้ีไม่ไดแ้ ค่รวบรวมวรรณกรรมหรอื คนทเ่ี กยี่ วข้องกับวรรณกรรมไว้เท่าน้นั นะ หลานเหน็ นน่ั ไหน ท่ีนีย่ ังรวม
ศิลปะ วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ ที่สืบทอดโดยคนรุ่นใหม่ และยังรวบรวมสนิ ค้าพน้ื บา้ นทเี่ ป็นผลผลติ จากภูมปิ ญั ญาของ
ชาวบา้ นแหง่ น้ี”
“หลาดแห่งน้ี ไมธ่ รรมดาจริง ๆ ด้วยนะคะพ่ไี ข่นุ้ย” ลูกตาลหนั มาคุยกบั ไข่นยุ้

“ถึงแมว้ า่ กนกพงศ์ จะจากพวกเราไปแล้วหลายปี แตส่ ่ิงที่

เขาสร้างไวไ้ ม่เคยหายไปตามกาลเวลาเลยนะครบั ” ไขน่ ุ้ยรสู้ กึ ต้นื ตนั
ใจไม่นอ้ ยทไ่ี ด้มีโอกาสมาเห็นผลงานของนกั เขยี นชือ่ ดงั

“กเ็ พราะวรรณกรรมไมม่ วี นั ตายนะสิ ไม่วา่ เวลาจะผา่ นไป
นานสกั แค่ไหน แตง่ านที่มีคุณคา่ กจ็ ะทรงคณุ ค่าเหนือกาลเวลา
สามารถก้าวผา่ นยคุ สมยั ต่าง ๆ ไปได้ หลาน ๆ กล็ องเขียนบ้างสิ
อาจจะเป็นบนั ทึกประจาวัน หรือเขียนสงิ่ ทไี่ ด้เรียนรู้ในแตล่ ะวนั ไม่
แน่วันหนึ่งงานของหลานอาจจะมคี นชนื่ ชอบและไดร้ บั รางวลั แบบ
งานของกนกพงศก์ ไ็ ด้นะ” พ่อเฒ่าพูดชวนหลานท้งั สองให้สนใจใน
การเขยี น

“แล้วพวกเราจะเรมิ่ ต้นยังไงกนั ดลี ะคะ” คาถามจากลกู ตาลผทู้ ี่
กาลงั เพลิดเพลนิ กับคาพดู ของพอ่ เฒ่า

“อะ เอาไปคนละเล่ม อยากเขยี นเป็นเรากต็ ้องอา่ นเสยี กอ่ น”
พ่อเฒ่าหยบิ หนังสือใหก้ บั หลานท้งั สอง

“ขอบคณุ ครับ ผมจะต้งั ใจอ่านนะครับ” ไขน่ ยุ้ รบั หนังสือดว้ ย
รอยยม้ิ แหง่ ความดใี จ

“อืม ป่านนแ้ี ม่เฒา่ คงคอยแลว้ เราไปซื้อของฝากแมเ่ ฒา่ แลว้
กลบั บา้ นกนั เถอะ” พอ่ เฒ่าเห็นว่าออกจากบ้านมานานพอสมควรแลว้
จึงชวนหลาน ๆ กลบั บ้าน

“ครบั ผมไปซ้ือบัวลอยนะครบั แม่เฒา่ ชอบ”
“ไปซ้ือกระเป๋ากระจดู ด้วยนะครบั สวยดแี มเ่ ฒา่ ตอ้ งชอบแน่
ๆ” แล้วทง้ั สามกไ็ ปเลอื กซอ้ื ของให้กับคนทร่ี ออย่ทู บี่ ้าน กอ่ นจะเดนิ ทาง
กลบั ด้วยรอยยิ้มแหง่ ความสขุ

7

กำรเขยี นและหลักกำรเขียน

การเขยี น หมายถึง การส่อื สารชนิดหนึ่งเปน็ การถา่ ยทอดความรสู้ กึ นกึ
คิด ความตอ้ งการ เร่อื งราว ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ โดยใช้สัญลกั ษณ์ คือ
ตวั อักษร เพ่อื ส่อื ความหมายใหผ้ ูอ้ ่ืนเข้าใจ

ปรชี า ช้างขวญั ยนื (2552:22) อธิบายว่า การเขียน มีความจาเป็น
อย่างย่ิงต่อการสื่อสารในชีวิตประจาวัน เช่น นักเรียน ใช้การเขียนบันทึก
ความรู้ ทาแบบฝกึ หัดและตอบข้อสอบ บุคคลท่ัวไป ใช้การเขียนจดหมาย ทา
สัญญา พินัยกรรมและค้าประกัน พ่อค้า ใช้การเขียนเพ่ือโฆษณาสินค้า ทา
บัญชี ใบสั่งของ ทาใบเสร็จ รับเงนิ แพทย์ ใชบ้ นั ทึกประวตั ิคนไข้เขียนใบสั่งยา
และอื่นๆ เปน็ ตน้

การเขียนนั้นเป็นผลผลิตของกระบวนการคิด การอ่าน การฟัง
เช่นเดยี วกับการพูด ดังนน้ั ผทู้ ่ีจะเขียนได้ดีย่อมต้องรู้จักคิด มีวิจารณญาณใน
การอา่ นและการฟงั

จดุ ประสงค์ของกำรเขยี น

1. เพ่ือบอกเลา่ เรอื่ งราว เช่น เหตกุ ารณ์ ประสบการณ์ ประวัติ ฯลฯ
2. เพอ่ื อธิบายความ เช่น การออกกาลังกาย การทาอาหาร คานิยามตา่ งๆ ฯลฯ
3. เพอ่ื โฆษณาจงู ใจ เชน่ โฆษณาสินค้า ภาพยนตร์ รายการโทรทศั น์ ฯลฯ
4. เพื่อปลกุ ใจ เช่น บทความ สารคดี เพลงปลกุ ใจ ฯลฯ
5. เพอ่ื แสดงความคิดเหน็
6. เพอ่ื สรา้ งจนิ ตนาการ เชน่ เรอื่ งส้นั นยิ าย นวนิยาย ฯลฯ
7. เพ่ือล้อเลยี น เช่น บทความการเมือง เศรษฐกจิ ฯลฯ
8. เพื่อประกาศแจ้งใหท้ ราบ เชน่ ประกาศของทางราชการ ประกาศรบั สมัครงาน ฯลฯ
9. เพ่อื วเิ คราะห์ เชน่ การเขยี นวิเคราะห์สถานการณ์บ้านเมอื ง วิเคราะห์วรรณกรรม ฯลฯ
10. เพอื่ วจิ ารณ์ เชน่ วจิ ารณ์การทางานของรัฐบาล วจิ ารณ์ภาพยนตร์ วจิ ารณห์ นงั สือ ฯลฯ
11. เพอื่ เสนอข่าวสารและเหตกุ ารณท์ ่ีนา่ สนใจ
12. เพื่อกิจธรุ ะตา่ ง ๆ เช่น จดหมาย ธนาณตั ิ การกรอกแบบรายการ ฯลฯ

จุดประสงค์ของการเขียนคือสิ่งที่ผู้เขียนต้องคานึงว่า ในการเขียนงานเขียนแต่ละคร้ังน้ัน
ต้องการเขียนเพ่ือสื่อเรื่องใด โดยผู้เขียนต้องใช้ความรู้และประสบการณ์ รวมทั้งหลักการเขียน
ประกอบการเขยี น เพือ่ ใหก้ ารเขยี นเพ่ือการสือ่ สารนัน้ ๆบรรลจุ ดุ ประสงคท์ ่ตี ั้งไว้

8

รปู แบบของกำรเขยี น

สนิท ตัง้ ทวี (2529:125) ได้แบง่ ประเภทของงานเขยี นไว้ 2 แบบ คอื

1 การเขียนที่เป็นแบบแผน เป็นการเขียนที่ต้องเขียนระเบียบแบบแผน เช่น การเขียน
เรียงความ การเขยี นบทความ รายงานทางวชิ าการ รายการประชุม เชน่

รำยงำนกำรประชมุ คณะกรรมกำรมลู นิธิเมธำอคั รกวี

ครงั้ ท่ี 8/2562

วนั พฤหัสบดี ท่ี 29 สงิ หาคม 2562

ณ ห้องประชุมมลู นธิ เิ มธาอัครกวี

……………………….

กรรมกำรทม่ี ำประชุม

๑. นายกชณฐั เหมรา ประธานกรรมการ

๒. นางสาวกรองมาลนิ บญุ ชัย รองประธานกรรมการ

๓. นางสาวกญั จนพร หนูประสงค์ รองประธานกรรมการ

4. นางสาวกลุ ณัฐ บางสขุ กรรมการ

5. นางสาวณัฐริกา ชูช่วย กรรมการ

6. นายณฐั วฒุ ิ สาลี กรรมการและเลขานุการ

กรรมกำรทีไ่ ม่มำประชุม

-

เปิดประชุมเวลำ 10.00 น.

ประธานกรรมการ กลา่ วเปิดประชมุ และดาเนินการประชมุ ตามระเบยี บวาระดงั ตอ่ ไปน้ี

วำระที่ 1 เรือ่ งแจ้งเพื่อทรำบ

1.1 สรปุ งบประมาณและยอดบรจิ าคของมลู นธิ ิ

1.2 สรุปจานวนสมาชกิ และจติ อาสาทสี่ มคั รเพ่มิ ในเดอื น กรกฎาคม

1.3 ความคบื หน้าการดาเนนิ งานของโครงการตา่ ง ๆ ในเดือนกรกฎาคม

9

วำระที่ 2 รบั รองกำรประชุมคร้งั ท่ี 7/2562 เมือ่ วนั ที่ 22 กรกฎำคม 2562

ประธานอนกุ รรมการ เสนอให้ที่ประชุมพิจารณารับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการมูลนิธิ
เมธาอัครกวี คร้ังที่ 7/2562 เม่ือวันที่ 22 กรกฎาคม 2562 ดังสาเนารายงานการประชุมท่ีเสนอต่อ
กรรมการแล้วนน้ั

มติ ท่ีประชุมกรรมการพิจารณามีมติรับรองโดยไมแ่ กไ้ ข

วำระท่ี 3 เรือ่ งสบื เน่อื ง

-

วำระท่ี 4 เรือ่ งเสนอเพ่อื พจิ ำรณำ

ประธานกรรมการเสนอให้ที่ประชุมพิจารณาการแก้ไขปัญหาเรื่อง ของหวานและเคร่ืองที่บริการ
ผปู้ ว่ ยโรคมะเรง็ ทม่ี าทาการรักษาฉายรังสี ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เนื่องจากของหวานและเครื่องท่ี
บริการผู้ปว่ ยโรคมะเรง็ นัน้ มญี าตผิ ู้ป่วยหลายทา่ นไดน้ าของหวานและเคร่อื งดม่ื เหล่านี้ไปรับประทาน จึงทา
ให้ของหวานและเคร่ืองดมื่ ไม่เพียงพอตอ่ ความตอ้ งการของผปู้ ว่ ย

มติ ท่ีประชุมกรรมการได้พิจารณาการแก้ไขปัญหาเรื่อง ของหวานและเคร่ืองที่บริการผู้ป่วย
โรคมะเรง็ ทม่ี าทาการรกั ษาฉายรงั สี ณ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โดยมมี ตใิ ห้จัดตงั้ โครงการธารนา้ ใจ เพ่ือ
รับบรจิ าคเงิน ของหวานและเคร่ืองดม่ื สาหรับผปู้ ่วยเพมิ่ โดยเพิ่มการประชาสัมพันธ์ทางสือ่ สื่อออนไลน์ และ
โทรทัศน์วิทยุกระจายเสียง กรรมการเห็นควรให้จัดตั้งกองทุนเพื่อบริการอาหารสาหรับญาติผู้ป่วยท่ีขาด
แคลน เพื่อทาตามอดุ มการณข์ องมูลนธิ ิในการชว่ ยเหลอื เพือ่ นมนุษย์อย่างเทา่ เทยี ม และรับสมคั รจติ อาสาทม่ี ี
ความร้ดู า้ นโรคมะเร็งและการฉายรังสี เพ่อื จัดทาขอ้ มูลประชาสมั พันธ์การรกั ษาโรคมะเรง็ และการรักษาโดย
การฉายรงั สี เพอ่ื ให้ญาติผปู้ ่วยเห็นถงึ ความจาเปน็ ในการรับประทานของหวานและเคร่อื งด่ืมหลังเข้ารับการ
รกั ษา และใหน้ าเสนอการดาเนนิ การตามโครงการดงั กลา่ วต่อโรงพยาบาลต่อไป

วำระท่ี 5 เรือ่ งอน่ื ๆ

ประธานกาหนดการประชุมคร้งั ตอ่ ไป ในวนั ที่ 30 กนั ยายน 2562 เวลา 10.00 น.

ปิดประชุมเวลำ 13.00 น.

10

2 การเขียนทีไ่ มเ่ ปน็ แบบแผน เปน็ การเขยี นที่ไม่มีระเบยี บแผนแนน่ อน เช่น การเขียนบันทึก
ส่วนตัว การจดคาบรรยาย การตรวจข้อสอบ การเขียนแนะนาหนังสือ การวิจารณ์วรรณกรรม การ
เขียนเรื่องสนั้ การเขยี นนวนิยาย การเขียนบทละคร บทวทิ ยุ บทโทรทัศน์, การเขียนเร่ืองสาหรับเด็ก
การเขยี นโฆษณา

ควำมเรียง หญ้ำแพรกกบั แสงนำทำง โดย ณฐั วฒุ ิ สำลี

คนหลายคนมักถูกตัดสินจากใครบางคนว่าภาระของสังคม เพียงเพราะเขาเชื่อจากสิ่งที่เขาเห็น
เพียงดา้ นเดยี วเทา่ นน้ั หลายคนโดนตดั สนิ เพียงเพราะชีวติ และโชคชะตาของเขาไม่ได้สวยงามเหมือนคนอื่น
ขาดโอกาสและความมั่นใจที่จะไดแ้ สดงศกั ยภาพและความเปน็ ของตวั ของตวั เองออกมา

ในโรงเรยี นเลก็ ๆ ประจาอาเภอแหง่ หนึง่ ท่ีแห่งนอี้ ยูไ่ ม่ไกลไม่ใกลจ้ ากตัวจงั หวดั หากแต่ในอดีตถ้า
จะมใี ครสกั คนอยากเดินทางไปทาธรุ ะในเมืองใชเ้ วลาเดินทางด้วยเรือเป็นวัน ๆ แต่เม่ือกาลเวลาเปลี่ยนไป
ทาให้ชีวิตคนเปลี่ยนแปลง ด้วยถนนหนทางและรถคันเล็ก ๆ เพียงแค่สามสิบถึงสี่สิบนาทีทาให้เราถึงใน
เมอื งไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และง่ายดาย โรงเรียนแหง่ น้ีอยตู่ ิดกบั ชายหาด อนั เปน็ สถานทพี่ กั ผอ่ นหย่อนใจสาหรับ
คนในพน้ื ทแี่ ละผมู้ าเยอื น รอบ ๆ เปน็ ป่าสนสลับกับบา้ นเรอื นและสถานที่ราชการ หากเดินออกมาขา้ งนอก
เพียงห้ารอ้ ยเมตรกจ็ ะพบกบั ตลาด ผู้คนอาศัยเนืองแน่น รถแล่นบนท้องถนนอย่างไม่หยุดน่ิง บ่งบอกถึง
ความเจริญของชมุ ชนแถวน้ี ในโรงเรียนมีคุณครูผู้ให้การดูแลและประสิทธ์ิประสาทสารพันความรู้ด้วยจิต
วิญญาณให้แก่นักเรียนที่มากกว่าเก้าร้อยชีวิต เสมือนแสงอาทิตย์ท่ีส่องนาทางต้นกล้าน้อย ๆ ให้ยืนต้น
เตบิ โตได้ ทกุ อยา่ งดูเหมือนจะปกตสิ ขุ และเหมอื นกบั ที่อนื่ ท่วั ๆ ไปแตจ่ รงิ ๆ แล้วไม่ไดเ้ ป็นอย่างนั้น เพราะ
ที่น่มี เี ร่ืองราวบางอยา่ งทเ่ี หมอื นว่าใครหลายคนมองไมเ่ ห็น

นักเรียนส่วนใหญ่ท่ีมีปัญหาครอบครัว บ้างพ่อแม่แยกทางกัน บ้างพ่อหรือแม่เสียชีวิต บ้างก็
เสียชีวิตไปท้ังคู่ หรือบ้างพ่อแม่ต้องไปทางานต่างจังหวัด จะด้วยเหตุผลอะไรก็ตามเด็กเหล่าน้ีประสบ
ความรู้สกึ เดียวกนั คอื ขาดความอบอ่นุ จากผูท้ ่ไี ด้ชือ่ ว่าผใู้ ห้กาเนิด เดก็ หลายคนอาศยั อย่กู ับปู่ย่า หรือตายาย
หรือญาติคนอืน่ ๆ แมว้ า่ บางคนจะมีความสัมพนั ธ์ทางสายเลือด คอยมอบความรัก ความอบอุ่น และสิทธิ
การหลบั นอนกนิ อยู่ในอาณาบรเิ วณท่เี รยี กบา้ น แตส่ ่งิ ท่เี รยี กวา่ บ้านหลังใหม่แห่งนี้จะทดแทนส่ิงท่ีเคยมีได้
หรือไม่ ? ก็ไมม่ ีใครรคู้ าตอบ

ครูทโ่ี รงเรียนเลา่ ถึงเด็กผู้หญงิ คนหน่งึ เธอเป็นเดก็ ผหู้ ญิงตัวเล็ก ๆ ย้ายมาเรียนที่นไี่ ดไ้ ม่นาน กาลัง
เรยี นอยใู่ นชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 หากมองดูเผนิ ๆ เดก็ คนนม้ี ีพฤติกรรมที่ทาใหค้ ุณครูหลายท่านไม่กล้า เข้า
ใกลเ้ สียเลย ด้วยชดุ นกั เรยี นทเี่ กา่ เหมือนวา่ จะใส่ซ้าทกุ วัน ไม่ต้งั ใจเรียน มาเรยี นสาย ไม่ค่อยส่งงาน เก็บตัว
เงยี บไมค่ ่อยจะสุงสิงกบั ใคร แมว้ า่ รา่ งกายจะเหมือนกบั เด็กปกติท่ัว ๆ ไป แต่แววตาของเขาน้ันไม่ได้แสดง
ถงึ ความร้สู กึ ปกตอิ อกมาเลย เธอเสยี พอ่ ไปต้งั แตอ่ ายยุ ังน้อย ต้องอาศัยอยู่กับแม่ผู้ที่ทาหน้าที่เป็นเสาหลัก
คนใหมข่ องเธอ เธออาศยั อย่กู ับแม่เพียงสองคน ด้วยฐานะทางการเงินทคี่ ่อนขา้ งฝดื เคือง ทุก ๆ วันเมื่อเธอ
ไปโรงเรยี นแม่ของเธอกจ็ ะไปรบั จา้ งทาความสะอาดตามบา้ น เพอ่ื นาเงนิ เพียงน้อยนิดมาหล่อเล้ียงชีวิตของ
ทั้งคู่

11

ในวันเสาร์ - อาทิตย์ เธอกจ็ ะตามแมไ่ ปเพ่อื ชว่ ยกนั ทางาน แตแ่ ล้ววันหน่ึงขณะที่เธอกาลังน่ังเรียน
ในห้อง เธอกลับได้ขา่ วร้ายทที่ าใหช้ วี ติ เธอเปล่ียนไป แม่ของเธอนอนจมกองเลือดบนท้องถนน นัยน์ตายัง
มองไปทางโรงเรยี นบ่งบอกว่าเขาเป็นห่วงคนท่กี าลังเรียนอยู่ในท่ีแห่งนั้นอย่างสุดหัวใจ น่ีเป็นเหตุผลท่ีเธอ
ยา้ ยมาอยูก่ ับน้าผเู้ ป็นทพ่ี ง่ึ ของเธอ และมาเรียนอยทู่ ีน่ ีแ่ ตเ่ หมอื นว่าเธอกาลังจะอยทู่ น่ี ่ีไดไ้ มน่ าน เพราะบ้าน
ท่เี ธออยูก่ ับน้ากาลังจะถูกเจ้าของที่แท้จรงิ แปลงสภาพเป็นอาคารพาณิชย์สาหรบั ธุรกิจใหม่

เชน่ เดยี วกับเด็กผชู้ ายอกี คนที่เร่ืองราวเหมือนจะคล้าย ๆ กัน แต่เขาพอจะโชคดีอยู่บ้าง เขาเป็น
เด็กผชู้ ายที่ซกุ ซน ดว้ ยชว่ งวัยท่ีกาลังแตกหนุ่มเข้าสู่ชีวิตวยั รนุ่ ทาให้อะไร ๆ กอ็ ยากรู้อยากลองไปหมด เขา
โดนคุณครูทาโทษอยูบ่ อ่ ยครัง้ จนคุณครหู ลายท่านกเ็ ออื มระอาและปล่อยผ่านไป อย่างไรก็ตามเขาก็ไม่เป็น
เด็กท่เี หลวไหลถึงขนาดทาอะไรทเ่ี สียหาย ชีวติ วยั เด็กเขาเกิดในครอบครัวที่อบอุ่น มีพ่อแม่คอยดูแลเอาใจ
ใส่ พอ่ แมเ่ ลีย้ งเขามาอยา่ งตามใจ อยากไดอ้ ะไรก็หาให้ จนวันหนึง่ แม่ของเขาพบว่าสามีทเี่ ขารกั และซ่ือสัตย์
กาลงั มใี ครอีกคน แมข่ องเขาเสยี ใจมากจึงตดั สินใจจบชีวิตลงด้วยเชือกที่ผูกกับต้นไม้เพียงเส้นเดียว แม้ว่า
พอ่ ของเขาจะรู้สึกผดิ ต่อการกระทาของตัวเอง แต่เขาก็จาเป็นจะต้องไปรับผิดชอบชีวิตน้อย ๆ ที่กาลังจะ
คลอดจากผู้หญงิ คนใหม่ ตอนนพ้ี ลเลยต้องมาอยกู่ ับยายทีอ่ าศยั ร่วมกับสมาชิกหลายคนท้ังลุง น้า อา และ
ลกู พีล่ กู น้อง ยายโกรธพอ่ ของพลมากทาใหค้ วามสัมพนั ธ์ระหวา่ งบ้านพอ่ กับบ้านยายไม่ค่อยดีมากนัก และ
พลกไ็ มเ่ จอพ่ออกี เลยนบั ตง้ั แต่วันทยี่ า้ ยมาอยู่ที่น่ี

นี่เปน็ เพยี งแค่ตวั อย่างเล็ก ๆ ของชวี ติ นกั เรียนทเ่ี รยี นอยทู่ ีน่ ี่ ดูเหมือนวา่ ปญั หาในครอบครัวต่าง ๆ
เหลา่ น้ีสามารเกดิ ขึ้นได้งา่ ยและมากข้ึนในทกุ ๆ วัน โดยอาจเกดิ จากหลายปัจจัย เช่น ความขัดแย้ง สภาพ
เศรษฐกจิ กับฐานะทางเงิน สภาพแวดล้อมทางสังคม การเลี้ยงดูของคนในบ้าน ส่งผลให้เด็กมีพฤติกรรม
บางอย่างเปลี่ยนไป จากเด็กท่ีร่าเริงไร้เดียงสา ก็อาจจะกลายเป็นเด็กท่ีซึมเศร้าได้ แม้ว่าบางปัญหาดู
เหมอื นว่าจะไมส่ ามารถแก้ไขอะไรได้ แตก่ ารประคบั ประคองด้วยความรกั ความเข้าใจของคนรอบข้างก็เป็น
สง่ิ ท่ีทาไดไ้ ม่ยาก

หากจะหาใครสักคนทอี่ ยใู่ กลช้ ิดเด็ก ๆ เหล่าน้ีก็คงหนีไม่พน้ คนท่มี ีอาชพี เป็นครู ในหนึง่ สัปดาหเ์ ดก็
ใช้เวลาถงึ หา้ วัน และในหนง่ึ วนั เด็กทกุ คนก็อยู่ท่ีโรงเรียนต้ังแต่เช้าจนเย็น ครูไม่ได้มีหน้าท่ีแค่สอนหนังสือ
เท่านั้น ครูมกั ได้รบั บทบาทเป็นอาชตี อน่ื ๆ ในโรงเรยี นทัง้ เปน็ พนักงานต้อนรับยามเชา้ เปน็ แมบ่ า้ นทาความ
สะอาดห้อง เป็นตารวจคอยดแู ลความเรียบร้อยของนกั เรยี น เป็นผพู้ ิพากษาตัดสินเม่ือนักเรียนมีปัญหากัน
เป็นยามรักษาความปลอดภัยตอนกลางคืน แน่นอนว่าเร่ืองราวต่าง ๆ ของเด็กท่ีเกิดขึ้นคงไม้พ้นไปจาก
สายตาของผูท้ ีไ่ ด้ชอื่ ว่าเปน็ พ่อแมค่ นที่สองอย่างครู เรอื่ งราวของเด็กท้งั สองก็เช่นก็เช่นกนั

12

หลกั กำรเขยี น

หลกั การเขียนเป็นทกั ษะทต่ี อ้ งเอาใจใสฝ่ ึกฝนอย่างจริงจัง เพื่อให้เกิดความรู้ความชานาญ
และปอ้ งกนั ความผิดพลาด ดงั นั้น ผู้เขยี นจึงจาเปน็ ตอ้ งใชห้ ลกั ในการเขยี น ดังตอ่ ไปน้ี

1. มีความถูกต้อง คอื ขอ้ มลู ถูกต้อง ใชภ้ าษาได้ถกู ต้องเหมาะสมตามกาลเทศะ
2. มีความชดั เจน คอื ใชค้ าท่มี คี วามหมายชัดเจน รวมถึงประโยคและถอ้ ยคาสานวน
เพอ่ื ให้ผู้อ่านเข้าใจไดต้ รงตามจดุ ประสงค์
3. มีความกระชับและเรียบง่าย คือ รู้จักเลือกใช้ถ้อยคาธรรมดาเข้าใจง่าย ไม่ฟุ่มเฟือย
เพื่อใหไ้ ดใ้ จความชดั เจน กระชับ ไม่ทาใหผ้ ู้อา่ นเกิดความเบือ่ หน่าย
4. มีความประทับใจ โดยการใช้คาให้เกิดภาพพจน์ อารมณ์และความรู้สึกประทับใจ มี
ความหมายลึกซ้ึงกินใจ ชวนติดตามให้อ่าน
5. มีความไพเราะทางภาษา คือ ใช้ภาษาสุภาพ มีความประณีตท้ังสานวนภาษาและ
ลกั ษณะเนื้อหา อา่ นแล้วไม่รสู้ กึ ขัดเขิน
6. มคี วามรับผดิ ชอบ คือ ตอ้ งแสดงความคิดเห็นอยา่ งสมเหตุสมผล มุ่งให้เกิดความรู้และ
ทัศนคตอิ นั เป็นประโยชน์แกผ่ ้อู ่ืน

13

เพม่ิ เตมิ เสริมทกั ษะ

กำรเขยี นยอ่ หน้ำ

ย่อหน้ำ หมายถึง ข้อความท่ีร้อยเรียงกันอย่างต่อเนื่องไปสู่

จดุ หมายเดียวกันเพ่ือแสดงความความคิดสาคัญเพียงประการเดียวและใช้
ประโยคขยายใจความสาคัญให้ชัดเจนย่งิ ขนึ้

การจัดแบ่งย่อหน้ามีความสาคัญอย่างยิ่งในงานเขียนเพราะการ
เขยี นย่อหน้า แต่ละคร้ังเปน็ การเปลย่ี นความคิดสาคัญ หากไม่มีการตัดแบ่ง
ย่อหน้าในงานเขยี น อาจทาใหเ้ กดิ ความสับสนแก่ผูเ้ ขยี นไดว้ า่ กาลังกล่าวถึง
เรือ่ งอะไร เรอ่ื งที่กาลงั เขียนนั้นกลา่ วไปแลว้ หรอื ไม่ และจะเช่อื มโยงเร่อื งราว
ใหต้ อ่ เน่ืองกนั ไดอ้ ย่างไร

หากจดั แบ่งยอ่ หน้าตามความคิดสาคญั แล้ว ย่อมทาให้ผู้เขียนส่ือเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างครบถ้วน
ท้ังน้ผี ู้อ่านก็ไดร้ บั ความสะดวกในการอ่าน เพราะมองเห็นเรือ่ งราวได้ชดั เจนอ่านแล้วสามารถพักสายตา หรือ
หยดุ คิดเรื่องราวแต่ละช่วงได้อีก ท้งั ยงั ทาใหง้ านเขยี นนน้ั เปน็ ระเบยี บสวยงาม

การเขียนย่อหน้าน้ันเริ่มจากการเว้นระยะเข้าไป 8-10 ตัวอักษร กาหนดใจความสาคัญเพียง
ประการเดียวเทา่ นั้นแล้ว ขยายความใจความสาคัญน้ันให้ชัดเจน ท้ังนี้ไม่กาหนดความยาวของย่อหน้า สิ่ง
สาคัญของการเขียนย่อหน้าคือเมื่อขยายความครอบคลุมใจความสาคัญ และชัดเจนแล้วหากต้องการจะ
กลา่ วถึงประเด็นใหมก่ ใ็ หข้ ึ้นยอ่ หนา้ ใหม่

ลักษณะของยอ่ หนำ้ ที่ดี

มาโนช ดนิ ลานสกลุ (2558:30-35) ไดอ้ ธิบายว่าย่อหนา้ ที่ดคี วรมีลกั ษณะ 4 ประการ ดังนี้

มเี อกภำพ

เอกภาพ หมายถึง ความเป็นหนึ่งเดียวความชัดเจนเพียงประการเดียว ย่อหน้าท่ีมี
เอกภาพเป็นย่อหน้าท่ีมีใจความสาคัญเพียงประการเดียวเท่าน้ัน หากต้องการรู้ว่าย่อหน้านั้นมี
เอกภาพหรือไม่ ให้ดทู ี่ใจความสาคญั ของยอ่ หนา้ นน้ั เป็นหลัก แล้วดปู ระโยคขยายความว่าเป็นส่วน
ขยายใจความสาคญั หรือไม่ การขยายความอยา่ งถกู ตอ้ งจะต้องสอดคล้องกับใจความสาคัญ หาก
ประโยคขยายความไม่เก่ยี วข้องกับใจความสาคัญ แสดงว่ามีความคิดสาคัญมากกว่าหน่ึงประการ
ถอื ว่ายอ่ หน้าน้นั ไมม่ ีเอกภาพ

14

มีสมั พนั ธภำพ
สมั พนั ธภาพ หมายถึง การเช่ือมโยงและสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ประโยคแต่ละประโยคในย่อหน้า

จะต้องเชื่อมโยงรอ้ ยเรียงเป็นเร่ืองเดยี วกัน ยอ่ หนา้ ทีด่ มี สี มั พนั ธภาพนี้จะต้องลาดับความคดิ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง
และสอดคล้องกันไปจนจบเรื่อง ทัง้ นอ้ี าจจัดลาดบั ความคดิ ตามความสาคัญตามเหตผุ ล ตามสถานท่ี ตาม
เหตุการณ์ ตามเวลา หรือตามทิศทาง หากย่อหน้านั้นมีสัมพันธภาพแล้วเช่ือมโยงได้ดี ผู้อ่านจะเข้าใจ
เรือ่ งราวและไม่เกดิ ความสบั สน

มสี ำรัตถภำพ
สารัตถภาพ หมายถงึ การเนน้ ย้าใจความสาคญั นัน้ ใหช้ ัดเจน โดยวางตาแหน่งใจความสาคัญไว้

ใหม้ นี ้าหนกั ในย่อหนา้ เพื่อให้ผู้อ่านรวู้ ่าส่ิงใดคือประเด็นสาคญั ที่ผู้เขียนตอ้ งการสอ่ื ใหผ้ ้อู า่ นรู้

มีควำมสมบูรณ์
ความสมบรู ณ์ หมายถึง ส่วนตา่ ง ๆ ประสานเขา้ ดว้ ยกนั การประสานส่วนสาคัญในย่อหน้า คือ

มีใจความสาคัญชัดเจน และเขียนประโยคขยายความครอบคลุมใจความสาคัญน้ัน การเขียนประโยค
ขยายความต้องไม่ออกนอกประเด็น ขยายความอย่างสมเหตุสมผล และสอดคล้องกับเนื้อหาสาระที่
นาเสนอ ท้ังน้คี วรเขียนใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การใชภ้ าษาจงึ จะนับได้ว่ายอ่ หนา้ นั้นสมบรู ณ์อยา่ งแท้จริง

15

แบบฝกึ หัด ลับปญั ญา

1. จงตอบคำถำมต่อไปนี้มำพอสงั เขป

1.1 การเขียน หมายถงึ

......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

1.2 การเขยี นมีความสาคัญอย่างไร
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

1.3 จงบอกจุดประสงคข์ องการเขียน

......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................

16

แบบฝกึ หดั ลับปญั ญา

2. จงยกตวั อย่ำงงำนเขยี นทเี่ ปน็ กำรเขยี นท่ีเปน็ แบบแผนและกำรเขยี นทไ่ี มเ่ ป็นแบบแผน

การเขยี นทเ่ี ปน็ แบบแผน การเขยี นท่ีไมเ่ ปน็ แบบแผน

.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................
.......................................................... ..........................................................

3. จงอธบิ ำยหลักกำรในกำรเขียนมำพอสงั เขป

....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

...................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

17

แบบฝึกหดั ลับปัญญา

4. จงตอบคำถำมต่อไปนม้ี ำพอสังเขป
4.1 ยอ่ หน้า หมายถงึ

...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................

4.2 ย่อหน่ีดคี วรมลี กั ษณะอย่างไร
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................

4.6 ย่อหน้าชว่ ยใหผ้ ้เู ขยี นและผ้อู ่านได้รบั ประโยชนอ์ ย่างไรบ้าง
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

18

บทที่ ๒ แวะเวียนเลนอ้ ย

มโนทศั น์

โวหารเป็นศิลปะท่ีสาคัญในการส่ือสารโดยใช้วิธีการเรียบเรียงเพ่ือใหผ้ ูอ้ ่าน
เขา้ ใจเร่อื งราวเกดิ จนิ ตนาการและความรูส้ กึ ตามท่ผี เู้ ขียนตอ้ งการ การสรุปความเป็น
ทกั ษะท่สี าคญั ท่ชี ่วยในการจดั ระบบการเขยี น

เนื้อหำ วัตถปุ ระสงค์

- โวหารในการเขยี น 1. ผูอ้ า่ นเขา้ ความหมายและรูจ้ ักโวหารประเภทต่าง ๆ
- การเขยี นสรปุ ความ 2. ผูอ้ า่ นสามารถบอกได้ว่าโวหารท่ีปรากฏในงานเขียน
เปน็ โวหารประเภทอะไร
3. ผู้อ่านเข้าใจเรื่องการเขียนสรุปความและสามารถ
เขียนสรุปความจากเรื่องท่อี ่านได้

จำนวนชั่วโมงเรียน 2 ช่วั โมง

19

แวะเวียนเลนอ้ ย

เอ๊กอีเอ๊กเอก๊ กก!! เสยี งนาฬกิ าปลกุ ธรรมชาติดงั ขึ้นโดยไม่ต้องมใี ครใสถ่ า่ นและต้ังเวลาไว้ ดวงอาทติ ย์ค่อย
ๆ ลอยตวั ขึน้ จากภเู ขาหลังบา้ น ทะยานขึน้ ไปเหนอื กอ้ นเมฆสีขาวฟู นกน้อย ๆ สี่ห้าบินว่อนออกหาอาหารขับร้อง
ส่งเสียงประสานกนั เกรียวกราว ไอดินยามเช้าส่งกล่ินรัญจวนชวนหลงใหล ลมอ่อนพัดผ่านทุ่งนาพอให้ต้นไม้ใบ
หญา้ ไดร้ ิงระบา ลกู ตาลกาลงั มองมหรสพตรงหน้าอย่างเพลิดเพลิน ในขณะทไี่ ขน่ ุ้ยกาลังหว่านข้าวเปลือกให้ไก่ใน
เล้ากิน “กินกันเยอะ ๆ จะได้โตไว ๆ” ไข่นุ้ยหวา่ นไปคยุ กับไกไ่ ป

“ลูกตาล มาช่วยแม่เฒ่าเก็บไข่หน่อย” หญิงสูงวัยเดินมาในมือถือ
ตะกร้ากระจูด มอื อกี ข้างก็กวักมือเรยี กหลานสาวท่กี าลงั วิ่งเล่นอยู่

“ได้ค่ะ หนูไปแลว้ นะ” ลกู ตาลไมร่ ีรอรบี สบั ขาพงุ่ มายังผเู้ ป็นแม่เฒ่า
“วนั นีไ้ ด้ไขเ่ ยอะจังเลยนะคะ” ลกู ตาลพดู ในข้นึ ในขณะท่ีมือค่อย ๆ
เกบ็ ไข่ทลี่ ะใบใสต่ ะกร้าอยา่ งทะนุถนอม
“ดเี ลย เด๋ยี วเราจะได้เอาไปฝากปา้ เล็กทพ่ี นางตงุ กนั ” แมเ่ ฒา่ เสนอ
ความคดิ นะทกี าลงั เกบ็ กวาดเล้าไก่
“วันนี้เราจะไปพนางตุงกันเหรอครับ” ไข่นุ้ยที่เพ่ิงเสร้จภารกิจวิ่ง
เข้ามาช่วยนอ้ ง
“ใชแ่ ลว้ จะ๊ พอดวี ันนพี้ อ่ เฒา่ ตอ้ งไปทาธุระท่ีน่ันนะ่ ”

“ท่ีแมเ่ ฒ่าเคยพาไปตอนเดก็ ๆ เหรอครบั ” ไขน่ ยุ้ ถามพรอ้ มส่งตะกร้าให้กับแม่เฒา่
“ใช่แล้วจ๊ะ เด๋ียวกนิ ข้าวเสรจ็ ก็รบี แตง่ ตัวนะ พ่อเฒา่ กลบั มาจากทาโคมไฟพรกแลว้ ไดอ้ อกเดนิ ทางกนั ”

แม่เฒ่าตอบกลับขณะทกี่ าลังรบั ตะกรา้ ไขไ่ ปในครัว
“โคมไฟพรกคอื อะไรเหรอคะ่ ” ลูกตามทก่ี าลงั เดินตามมาเอย่ ถาม
“พรกหรือกะลามะพรา้ วทีเ่ หลอื คนท่นี ี่ได้เอามาแปรรูปเปน็ ผลิตภณั ฑ์จากกะลามะพร้าว ทาเปน็ โคมไฟ

บา้ ง ของประดับตกแตง่ บ้าง เปน็ ผลิตภณั ฑ์ทส่ี ะท้อนถงึ ภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ เป็นสนิ คา้ ทีม่ เี อกลักษณ์เฉพาะตัว ป้า
เล็กแกชอบของทท่ี าจากธรรมชาติ พ่อเฒา่ ก็เลยอยากเอาไปฝาก” แมเ่ ฒา่ อธิบายพรอ้ มกบั จัดไขเ่ รยี งบนแผง

“มีของดี ๆ แลว้ เอามาแบง่ ปนั กนั น่ารกั จงั เลยนะคะ” ลูกตาลอมย้ิมซาบซง้ึ กับความมนี า้ ใจของพ่อเฒ่า
และแม่เฒ่า

“ตะกร้านป้ี ้าเล็กให้แมเ่ ฒา่ มานะ มนั ทามาจากกระจดู เป็นพชื ท่ขี ึ้นตามหนองตามบงึ น่ะ แถวรมิ ทะเล
นอ้ ยเยอะมาก เขาเลยเอามาทาเป็นสาด (เส่ือ) เด๋ยี วนกี้ ็พฒั นาตอ่ ยอดเอามาทากระเปา๋ บ้าง ตะกรา้ บา้ ง นอก
จจากจะใช้ทรัพยากรทมี่ ใี ห้เกดิ ประโยชน์แล้ว ยังสรา้ งรายไดใ้ ห้กับชาวบา้ นดว้ ยนะ” แมเ่ ฒา่ พูดอวดตะกร้าทไ่ี ด้รับ
จากปา้ เล็กมา

20

ไม่นานพอ่ เฒา่ กก็ ลับมาตอนนีห้ ลานตวั วนั ซนสองคนก็พรอ้ มทจี่ ะออกเดนิ ทางแลว้ ไขน่ ุ้ยไม่ลืมที่จะถือไข่
ไกส่ ด ๆ ไปฝากปา้ เลก็ สว่ นลูกตาลก็ถือผลไมจ้ ากสวนเอาไปใสใ่ นรถแล้วขึ้นไปน่ังประจาที่ ไม่ถงึ ชั่วโมงรถกระบะ
คันโตก็พาทุกคนมาทีบ่ ้านหลงั หน่งึ ที่ดา้ นหลงั ติดอย่กู ับทะเลนอ้ ย หน้าบา้ นเปน็ ร้านขายของฝากเลก็ ๆ ท่ที าจาก
กระจดู ของดีประจาถ่ิน ท่มี หี ญิงสาววยั 40 กาลงั เสนอขายลกู คา้ อยู่

“หนเู ล็ก” พ่อเฒ่าตะโกนเรียกแมค่ ้าทกี่ าลงั ทอนเงนิ ลูกค้า
“อา้ ว คุณอา มาถึงกันแลว้ ” แมค่ า้ ใหญเ่ บยี่ งความสนใจจากลกู ค้าทกี่ าลงั เดินออกจากรา้ นมาหาชายสงู วยั
ทมี่ ีศกั ดเ์ิ ปน็ อา
“สวัสดคี รับ/ค่ะ ปา้ เล็ก” หลานท้งั สอนไมร่ อชา้ รบี เข้าไปทกั ทายญาตผิ ้ใู หญโ่ ดยทนั ที
“สวสั ดีจะ๊ แหมมีของมาฝากเยอะเลยนะ” ปา้ เลก็ รบั ไหว้หลาน แลว้ รบั ของฝากทค่ี นมาเยอื นเอาตดิ มอื มา

“เดีย๋ วพ่อเฒา่ ไปดเู รอื กบั ลงุ โชคกอ่ นนะ อยกู่ บั ปา้ เลก็
อย่าซนกันละ่ ” พอ่ เฒ่าหนั มาบอกกบั หลานทงั้ สอง แลว้ เดินไปที่
ลุงโชค สามีของป้าเล็ก

“ไม่ต้องหว่ งหรอกจ๊ะอา เดก็ สองคนนี้นา่ รักจะตายไป”
ป้าเล็กตอบใหพ้ ่อเฒา่ คลายกงั วล

“มา เด๋ยี วปา้ จะทาอไรให้กิน” ปา้ เล็กพูดพลางเดินไปท่ี
เตาอ้ังโลท่ ีม่ ีกระทะแบน ๆ ตง้ั อยู่

“ทาอะไรเหรอครบั ” ไข่นุ้ยเอ่ยถามในขณะทกี่ าลังมอง
ของเหลวสเี หลืองท่ีอย่ใู นกะละมงั

“ไข่ปลาทอดจ๊ะ เราเคยกินกันไหม” ป้าใช้ทพั พีตักไข่ปลามาวางในกระทะเป็นดวง ๆ
“ไมเ่ คยเลยค่ะ มันเปน็ อยา่ งไรเหรอคะ” ลกู ตาลผไู้ ม่เคยเห็นและไม่เคยกนิ ยงั คงสงสัย
“เอา ลองชมิ ดสู ิ” ปา้ เล็กยนื่ ไข่ปลาท่ีทอดสกุ แลว้ ใหห้ ลานทง้ั สองลองชมิ
“อร่อยจังเลยนะครับ หอมดว้ ย” ไข่นุ้ยกินไปสองสามคากร็ สู้ กึ ตดิ ใจ
“ปา้ ใส่พวกสมันไพรไปนะ ใช้ดับกล่ินคาวแลว้ ยงั เป็นยาไดอ้ ีกนะ” ป้าเล็กยงั คงทอดต่อไป
“หนชู ว่ ยนะคะ” ลกู ตาลอาสาเข้าไปชว่ ยปา้ ทกี่ าลงั ใจจดใจจอ่ กับกันพลกิ ไข่ปลา

21

สามปา้ หลานน่งั ทอดไปกนิ ไป ถามไถส่ ารทุกข์สุขดิบกนั อยา่ งสนกุ สนาน ไม่นานไข่ปลาของเหลวทอ่ี ยูใ่ น
กะละมงั ก็เปลย่ี นเป็นไข่ปลาทอดสกุ สง่ กลน่ิ ชวนหิวไปทว่ั เด็ก ๆ ชว่ ยป้าเก็บของแล้วลา้ งจานกอ่ นทจี่ ะไปนงั่ ทห่ี ลงั
บา้ น

“หลังบ้านปา้ สวยจงั เลยนะครบั มที งั้ นา้ และดอกบัว อากาศกด็ สี ุด ๆ” ไข่นยุ้ สดู อากาศเขา้ ไปเตม็ ปอด
เปน็ การยืนยนั วา่ เขาทีน่ ีจ่ รงิ

“นง่ั กงั หันอะไรเหรอคะ” ลูกตาลมองเห็นกงั หนั ที่อยไู่ กลสดุ ลูกตาต้ังเรยี งรายกนั เป็นแถว
“อ๋อ นนั่ เปน็ กงั หันท่ผี ลิตกระแสไฟฟา้ ฝ่งั นนั้ เป็น อ.ระโนด ที่ติดกบั อ.หัวไทร จ.นครฯ เรานชี่ า่ งสงั เกต
จริง ๆ เลยนะ” ปา้ เอ่ยชมหลานสาวพร้อมชี้ไปยงั จุดทต่ี ัง้ ขงิ กังหนั
“ป้าสอนพวกเราสานกระจดู หนอ่ ยไดไ้ หมคะ” ลูกตาลร้องขอหลงั จากทเี่ หน็ ผเู้ ปน็ ป้าและมอื ช่วยใชม้ อื นา
เส้นกระจูดมาสานเป็นรปู ทรงตา่ ง ๆ
“ไดส้ ิ เข้ามาเลย มาไข่นยุ้ มาดูใกล้ ๆ” ปา้ เรียกหลานทั้งสองไปดกู ารสานใกล้ ๆ พรอ้ มทัง้ อธิบายทุก
ขัน้ ตอน หลานทงั้ สองต้งั ใจฟงั อย่างใจจดใจจ่อ แล้วเร่มิ ลงมอื สานเปน็ ของตวั เอง ไขน่ ยุ้ สานเปน็ กระเปา๋ ดนิ สอ
สว่ นลูกตาลสานเปน็ กระเปา๋ สตางค์ใบเลก็ จากเสน้ กระจูดเลก็ ๆ ก็กลายเป็นรูปทรงทใ่ี ชไ้ ด้

“ฝมี อื ดที ัง้ คเู่ ลยนะ ถา้ ทาขายต้องขายดแี น่ ๆ เลย” ปา้ หยบิ

ผลงานของหลานทัง้ สองมาดูอย่างภาคภูมใิ จ
“ขายได้จริง ๆ เหรอครับ”
“ได้สิ ลูกคา้ ต้องชอบมากแน่ ๆ แตส่ องใบน้ี ปา้ ให้

พวกหนไู ปอวดพอ่ เฒา่ กบั แมเ่ ฒ่าเลยนะ” ปา้ หยิบของทง้ั สอง
ชนิ้ ใสถ่ ุงกระดาษแล้วสง่ ใหก้ บั เจา้ ของผลงาน ไม่นานพ่อเฒา่
กบั ลุงโชคก็กลบั มา เด็กทงั้ สองรีบวิ่งเอาผลผลติ ทไี่ ด้จากการมา
เย่ยี มป้าไปอวด

“เก่งจงั เลยนะหลานพอ่ เฒา่ ”

“พ่ีโชคพาอามากินข้าวกินน้าก่อนสิ มาเหนื่อย ๆ กัน” ป้าเชิญชวนสามีและอาไป
พกั ผอ่ นทานข้าวทานปลาให้หายเหน่ือย ก่อนจะหยิบไข่ปลาทอดมาให้กับหลานทั้งสองก่อน
กลบั “ฝากไปให้แมเ่ ฒา่ ด้วยนะ”

“ครับผม” ไข่นยุ้ ไหวข้ อบคณุ แล้วยืน่ มอื ไปรับ

“วา่ ง ๆ กม็ าสานกระจดู กันอีกนะ” เดก็ ทงั้ สองยมิ้ รบั แลว้ พยกั หนา้

“ได้เลยครับ ไว้เจอกนั นะครบั ”

22

โวหำรในกำรเขียน

หมายถงึ วธิ ีการเขยี นเรียบเรยี งข้อความให้สอดคล้องกับเนื้อเร่ือง
พรทิพย์ วรรัฐิกาล (2553:90) ได้อธิบายไว้ว่า โวหาร คือ ถ้อยคาที่ใช้ใน
การสอื่ สารโดยใชว้ ธิ ีการเรยี บเรียงอยา่ งมชี ้ันเชิงมศี ิลปะเพอ่ื ให้ผู้อ่านเข้าใจ
เรือ่ งราวเกิดจนิ ตนาการและความรสู้ ึกตามท่ีผเู้ ขยี นต้องการการใช้โวหารใน
งานเขยี นนัน้ แบ่งได้เป็น 5 ประเภทดังนี้

1. บรรยำยโวหำร การเขยี นอธิบายเร่ืองราวตามลาดับเหตกุ ารณ์
2. พรรณนำโวหำร การเขียนจากความรูส้ ึกเชิงอารมณแ์ ละจนิ ตนาการ
3. เทศนำโวหำร การเขยี นทานองสง่ั สอนหรือช้ีแจงเหตุผลเป็นสาคัญ
4. สำธกโวหำร การเขยี นโดยยกตัวอย่างหรอื เรือ่ งราวเขา้ มาประกอบ
5. อปุ มำโวหำร การเขียนเปรยี บเทียบโดยใช้อุปมาอุปไมย
งานเขียนแต่ละประเภทมักใช้โวหารต่าง ๆ เหล่านี้อาจจะใช้โวหารอย่างใดอย่างหนึ่งหรือ
ผสมผสานโวหารหลายประเภทเขา้ ด้วยกันตามลกั ษณะงานเขียนและช้นั เชงิ ของนักเขียนแต่ละคนท้ังนี้
การใช้โวหารทีด่ ีควรเหมาะสมกับเนอื้ เร่อื งนั้น ๆ

พรรณนำโวหำร หมายถึง การเรียบเรยี งข้อความโดยใหร้ ายละเอยี ดเกย่ี วกับบุคคล สิ่งของ

ธรรมชาติ สภาพแวดลอ้ ม ตลอดจนความร้สู ึกต่างๆของผูเ้ ขียน โดยเน้นให้ผู้อ่านเกิดอารมณ์ความรู้สึก
ร่วมกับผ้เู ขียน ตัวอย่างเช่น

แสงสีทองอ่อน ๆ จากดวงอาทติ ยอ์ ันใหญ่โตสาดสอ่ งลงมายงั ผืนนา้ ทกี่ าลงั เรงิ
ระบาดว้ ยแรงลมทพ่ี ัดผา่ น ท่นี ี่คือทะเลนอ้ ย ตอนนเี้ ป็นเวลาเช้าจดุ เรมิ่ ต้นของชีวติ ในวนั
ใหมเ่ รม่ิ ข้ึน นกน้อย ๆ หลายร้อยตัวหลากหลายสายพนั ธ์ุ บนิ รวมกนั เป็นกลมุ่ ออกจากรงั
ไปสโู่ ลกกว้าง เพอ่ื หาอาหารมาประทังชวี ติ บนพน้ื ดินบรรดาควายตัวสดี าสนทิ ทเ่ี ดินเดนิ
เรียงรายกันเป็นฝงู ก็กาลงั ออกไปหาหญา้ เพอ่ื กนิ เปน็ อาหารให้มลี มหายใจตอ่ ไป พวกมนั
แยกยา้ ยกันหาทท่ี ีเ่ หมาะสมเพือ่ กนิ ทที่ ี่มหี ญ้าและนา้ เพยี งพอทจ่ี ะเกลอื กกลว้ั กับโคลน
อันจะช่วยบรรเทาความร้อนในระหว่างวัน

23

บรรยำยโวหำร หมายถึง การเขียนอธบิ ายหรือบรรยายเหตุการณ์ท่ีเป็นข้อเท็จจริงตามลาดับ

เหตกุ ารณ์ เป็นการเขยี นตรงไปตรงมา ไมเ่ ยิน่ เยอ้ มุง่ ความชัดเจน เพื่อให้ผู้อ่านได้รับความรู้ ความเข้าใจ
เชน่ การเขยี นเล่าเรอื่ ง เล่าเหตกุ ารณ์ การเขยี นรายงาน เขียนตาราและเขยี นบทความ ตวั อย่าง

ทะเลนอ้ ยหรืออุทยานนกน้าทะเลนอ้ ย เป็นส่วนหนงึ่ ของทะเลสาบสงขลา ที่มีพ้ืนท่ี
ประมาณ 17,500 ไร่ ตงั้ อยูใ่ นตาบลนางตุงและตาบลทะเลน้อย อาเภอควนขนุน จังหวัด
พทั ลงุ มีชุมชนกว่า 2,000 ครวั เรือนอาศัยอยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของทะเลสาบ ทะเลสาบแห่ง
นี้มีความอุดมสมบูรณ์จึงได้ข้ึนทะเบียนเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย เมื่อวันที่ 18
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518 ถือเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าแห่งแรกของประเทศไทยและพื้นที่ริม
ทะเลสาบทเี่ ปน็ ป่าพรุ นาขา้ ว ทงุ่ หญ้า พชื น้า ได้แก่ ผักตบชวา กระจูด บัวแดง และพืชน้า
อีกหลายชนดิ นอกจากนี้ยังเปน็ ทอี่ าศัยของสัตว์ปา่ ได้แก่ นกน้ากว่า 287 ชนิด รวมถึงนก
ท้องถ่ินและนกที่อพยพมาตามฤดูกาล ได้แก่ นกกาบบัว นกกระสาแดง นกเป็ดน้า นก
นางนวล และนกหายาก 9 ชนิด ได้แก่ นกกาบบัว นกตะกรุม นกกระสาแดง นกยางกรอก
พันธ์ุชวา นกกระสาแดง นกกาน้าเลก็ นกหวั โตหลงั จุดสที อง นอกจากน้ียังมีควายน้าที่ปกติ
หากนิ อยูบ่ นบกแต่เมือ่ น้าขน้ึ ก็สามารถปรบั ตวั โดยอยู่ในน้าได้จนเรียกว่า “ควายน้า” ในแต่
ละช่วงเดือนของทะเลสาบแห่งนี้จึงมีสีสันท่ีสวยงามและเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล
กลายเปน็ สถานทีท่ ่องเท่ยี วทางธรรมชาตทิ ่นี กั ท่องเทย่ี วท่สี าคญั ของจังหวัดพัทลงุ

อุปมำโวหำร หมายถึง การเขียนเป็นสานวนเปรียบเทียบที่มีความคล้ายคลึงกันเพ่ือทาให้

ผอู้ า่ นเกิดความเข้าใจลกึ ซง้ึ ยงิ่ ขนึ้ โดยการเปรยี บเทียบส่ิงของท่เี หมือนกนั เปรยี บเทียบโดยโยงความคิด
ไปสอู่ กี สิ่งหน่งึ หรือเปรยี บเทยี บข้อความตรงกันข้ามหรอื ขอ้ ความที่ขัดแย้งกัน ตัวอย่าง

ทะเลน้อยเปรียบเสมอื นบ่อขมุ ทรพั ยข์ นาดใหญ่ ท่ีผลิตทรพั ยากรธรรมชาติอันสมบัติ
ลา้ ค่าให้แก่มนษุ ย์ไดใ้ ช้สอยอยา่ งไมส่ น้ิ สุด สร้างรายได้ สรา้ งอาชพี เปน็ บา้ นใหม้ นษุ ยแ์ ละสตั ว์
ได้อยู่อาศัย เป็นท่ีพักผ่อนหย่อนใจให้ได้บรรเทาความเหน่ือยล้า เป็นแหล่งภูมิปัญญาที่
สร้างสรรค์การเรียนรู้อย่างหลากหลาย ที่แห่งน้ีจึงไม่ใช่แค่สถานท่ีท่องเที่ยวธรรมดา แต่ยัง
เป็นด่ังลมหายใจของชาวบ้านท่นี ี่อกี ดว้ ย

24

เทศนำโวหำร แปลว่า โวหารท่ีมุ่งสั่งสอน หมายถึง การเขียนอธิบาย ช้ีแจงให้ผู้อ่านเข้าใจ

ชีใ้ หเ้ ห็นประโยชน์หรือโทษของเร่อื งทกี่ ล่าวถึง เปน็ การชักจูงให้ผู้อื่นคล้อยตาม เห็นด้วยหรือเพื่อแนะนา
สัง่ สอนปลกุ ใจหรือเพ่อื ใหข้ ้อคดิ คตเิ ตอื นใจผู้อ่าน การเขียนเทศนาโวหารต้องใช้โวหารประเภทต่าง ๆ มา
ประกอบ กลา่ วคือท้งั ใชบ้ รรยายโวหาร พรรณนาโวหาร รวมทั้งอุปมาโวหาร และ สาธกโวหารด้วย ท้ังนี้
เพอื่ ใหใ้ จความชัดเจนแจ่มแจง้ มที ั้งความหลกั และความรองเป็นที่เข้าใจจนเกิดความร้สู ึกนึกคิดคล้อยตาม
ผเู้ ขียน ตวั อยา่ ง

การอบรม ส่ังสอนลูกเคร่งครัดมากมายเกินไป ก็อาจเป็นผลร้ายได้เหมือนกัน
เพราะฉะนน้ั วิธีเลยี้ งลกู ทีด่ ีก็คือ เดนิ ตามทางสายกลาง อย่าใหต้ ึงหรือหย่อนเกินไป ควรเปิด
โอกาสให้เด็กหรอื ลกู ไดใ้ ช้ความคดิ ได้ทดลอง ได้มีประสบการณ์ต่างๆได้รู้วิธีช่วยตัวเอง ได้
ฝึกแก้ปัญหาของตวั เองใหม้ ากส่วนท่จี ะควบคมุ กนั ควรเปน็ แต่เรอ่ื งกรอบของ กฎหมายและ
ศีลธรรมเท่าน้ันการสอนให้เขาไดท้ ากจิ กกรมท่ีเป็นประโยชน์ทีเ่ ขาพอ ใจให้มากยอ่ มกี ว่าการ
ตงั้ แตข่ อ้ ห้าม หรือการใหท้ าตามคาสงั่ แต่ฝา่ ยเดียว

สำธกโวหำร หมายถงึ การหยบิ ตัวอยา่ งมาอา้ งอิงประกอบการอธบิ ายเพื่อสนับสนนุ ขอ้ ความ

ทีเ่ ขียนไว้ใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจ และเกิดความเชอ่ื ถอื ตวั อยา่ ง

ใน เรื่องนา้ เรามองวา่ ประเทศไทยมีน้าเยอะแยะ เราไม่เคยคิดประหยัดว่าจะใช้น้า
คุ้มค่าที่สุดอย่างไร เช่น น้าท่ีเหลือจากการซักล้าง เราก็ควรจะเอาไปรดน้าต้นไม้ ความ
ประหยดั เป็นจุดหนึ่งของการลดความตอ้ งการที่เพมิ่ ขึน้ การทเ่ี ราจะต้องการพื้นท่ีการเกษตร
ปลกู ผลติ ผลการเกษตรใหม้ ากขึ้น ถ้าเรารูจ้ กั ประหยัด เราก็จะไม่ตอ้ งการเพ่ิมพื้นท่ีเพาะปลูก
มากขึ้น เรอ่ื งอาหารกจ็ ะลดลงไป อย่างเช่นการดม่ื กาแฟในการประชุมหลายแห่ง แม้แต่การ
ประชมุ นานาชาติ ผมไมร่ ้วู า่ กาแฟเททิง้ กนั เท่าไหร่ แลว้ กาแฟมาจากไหน ก็มาจากป่าเขตร้อน
ปา่ เขตรอ้ นท่ีโดนทาลายไปเพราะคนพื้นเมืองต้องการทาลายป่า เพ่ือขยายพ้ืนท่ีปลูกกาแฟ
เพราะกาแฟราคาดี มันมผี ลถงึ กันหมด

สุรพล ดวงแข : นิตยาสาร “สาระคดี”
ฉบบั ที่ ๖๕ ปที ่ี ๖ กรกฎาคม ๒๕๓๓

25

เพิ่มเติมเสริมทักษะ

กำรเขยี นสรุปควำม

วรวรรธน์ ศรียาภยั (2557:43) กลา่ วว่า การเขียนสรุปความ คือ การเขียนโดยหยิบยก
เอาความคดิ หลกั หรอื ประเดน็ สาคัญของเร่อื งมากลา่ วย้าใหเ้ ด่นชัด โดยใชป้ ระโยคสั้น ๆ แล้วเรียบ
เรยี งใหเ้ ป็นระเบยี บ

ป า า ลาดับ ั

า ัด ด

1. ขน้ั อ่าน ฟัง และดู
- อา่ น ฟงั และดใู หเ้ ขา้ ใจอย่างน้อย ๒ เที่ยว เพอ่ื ให้ไดแ้ นวคดิ ทีส่ าคัญ

2. ขน้ั คิด
- คิดเปน็ คาถามว่าอะไรเปน็ จดุ สาคญั ของเร่ือง
- คดิ ต่อไปว่า จุดสาคญั ของเรื่องมีความสัมพนั ธ์กับสิง่ ใดบา้ ง จดสง่ิ น้ันๆไว้เปน็ ข้อความส้ันๆ
- คดิ วิธีท่จี ะเขยี นสรุปความให้กะทัดรัดและชัดเจน

3. ขัน้ เขียน
- เขยี นรา่ งขอ้ ความส้นั ๆท่ีจดไว้
- ขัดเกลาและตบแตง่ รา่ งข้อความที่สรปุ ใหเ้ ปน็ ภาษาท่ีดสี อ่ื ความหมายไดแ้ จม่ แจง้ ชัดเจน

26

แบบฝกึ หัด ลับปัญญา

1. จงตอบคำถำมต่อไปน้พี อสังเขป

1.1 โวหาร หมายถงึ
..........................................................................................................................................
1.2 พรรณนาโวหาร หมายถงึ
...........................................................................................................................................
1.3 บรรยายโวหาร หมายถงึ
...........................................................................................................................................
1.4 อปุ มาโวหาร หมายถึง
...........................................................................................................................................
1.5 เทศนาโวหาร หมายถึง
...........................................................................................................................................
1.6 สาธกโวหาร หมายถึง
..........................................................................................................................................

2. จงพิจำรณำว่ำประโยคต่อไปนมี้ ีกำรใช้โวหำรแบบใด

วดั เขาอ้อเป็นสถานที่ทม่ี ชี ือ่ เสยี งของ อ.ควนขนุน เปน็ ทรี่ วบรวมภูมิปัญญาเรอ่ื งยาที่ทา
จากสมนุ ไพร และเป็นศนู ยร์ วมความศรทั ธาในเรอ่ื งของไสยศาสตรท์ สี่ าคญั ของภาคใต้
....................................................................................................................................................................
..

ข้าวสังข์หยด เปน็ พันธขุ า้ วพื้นเมืองของจังหวัดพทั ลงุ มีลกั ษณะพเิ ศษ คือ ขา้ วกลอ้ งมีสี
แดงเขม้ นยิ มบรโิ ภคในรปู แบบขา้ วซอ้ มมอื จมกู ขา้ ว เปน็ ขา้ วทมี่ ีคุณค่าทางอาหารสูง พันธ์ขุ ้าวสงั ขห์ ยด
ถกู เกบ็ รกั ษาไว้โดยวฒั นธรรมและภมู ปิ ัญญาของชาวเมอื งพทั ลุง
....................................................................................................................................................................

27

แบบฝึกหัด ลับปญั ญา

ชีวิตในวันใหม่เร่ิมขึ้น ณ ทะเลน้อยแห่งนี้ ภาพตรงหน้าเป็นผืนน้าสุดลูกหูลูกตาท่ีกาลังเริง
ระบากับสายลม บนท้องฟ้าครามตัดสีแสดมีนกน้อย ๆ หลายร้อยตวั หลากหลายสายพันธุ์ บินรวมกันเป็นกลุ่ม
ออกจากรงั ไปสโู่ ลกกวา้ ง เพอ่ื หาอาหารมาประทัง อนั เปน็ ภาพค้นุ ตาของชาวบ้านที่นี่
............................................................................................................................................................................

หญ้าแพรกเป็นพชื ท่มี คี วามอดทน เกดิ และเติบโตไดท้ กุ ท่ีไม่ว่าจะท้องทุ่ง สนาม หรือคนั นา ไม่
ว่าจะแหง้ แลง้ แค่ไหนกส็ ามารถดารงอยู่ได้ แต่ถ้าหากมองวา่ หญา้ แพรกเปน็ แค่หญ้า มนั ก็คงเปน็ แคว่ ชั พชื ทีส่ ร้าง
ความราคาญใจให้แก่ผู้ท่ีพบเห็น ทง้ั ทค่ี วามจรงิ แลว้ หญ้าแพรกมีประโยชนใ์ นด้านอ่นื ๆ อีกมาก เหมือนกับคนที่
ไมค่ วรมองแต่เพยี งดา้ นเดียว ทุกคนที่ควรไดร้ ับโอกาสท่ีจะเรียนรู้และเติบโต ไม่ควรยอมแพ้ต่อโชคชะตาและ
มองหาโอกาสให้กบั ตัวเองเสมอ เหมอื นกับหญา้ แพรกต้นเลก็ ๆ ตน้ น้ี ท่ีวันหนงึ่ จะกลายเป็นทงุ่ หญา้ ท่สี วยงาม
............................................................................................................................................................................

หลายครงั้ ท่คี นเรามักมีอารมณ์ขนั บนความทุกข์ของคนอื่น หัวเราะอย่างมีความสุขเม่ือเห็น
อาการหวาดกลวั มีคราบน้าตา คิดแตว่ ่ามันเปน็ เรื่องสนุก สะใจ จนทาใหใ้ ครหลายคนตอ้ งได้รับผลกระทบดา้ น
จิตใจอยา่ งรุนแรง
...........................................................................................................................................................................
.

เมื่อผมได้ยินเรื่อง พ.ร.บ.คู่ชีวิต ก็ไม่ได้รู้สึกสนใจอะไรมากนัก เพราะคิดว่าในตอนน้ีการ
สมรสยงั เป็นเรอื่ งที่ไกลตัว แต่ก็ทาให้คิดถึงเร่ืองของคนใกล้ตัวคนหน่ึง เขาเป็นชายรักชาย อยู่กินกันมานาน
กวา่ สิบปี ท้ังสองเกบ็ หอมรอมรอมรบิ จนสามารถสรา้ งเนือ้ สรา้ งตัว มีบา้ นหลังใหญ่ มรี ถคนั โต แนน่ อนว่าละคร
รักไม่ได้มีตอนจบทส่ี วยงามเสมอไป วนั หน่ึงเม่ือท้ังสองคนหมดรักกัน ทาให้เขาสองคนต้องแยกทางกัน แล้ว
บา้ น รถ ทรพั ย์สนิ ท่รี ่วมกันสร้างจะเปน็ ของใคร แบง่ กันอย่างไร เพราะทง้ั สองกไ็ ม่ไดม้ ีทะเบียนสมรสท่ียืนยัน
การเปน็ สามีภรรยา และรองรับการดาเนนิ การทางกฎหมาย
..........................................................................................................................................................................
..

28

แบบฝกึ หัด ลับปญั ญา

3. จงพจิ ำรณำบทควำมตอ่ ไปนวี้ ำ่ มีกำรใชโ้ วหำรแบบใดบำ้ ง พรอ้ มทัง้ ยกตัวอยำ่ ง

ไข่ปลำทอดสมุนไพรทะเลนอ้ ย โดย ณัฐวุฒิ สำลี

หากจะพูดถงึ ของข้ึนช่ือของอาเภอควนขนุน จ.พัทลุง นอกจากผลิตภัณฑ์จักรสานกระจูด สิ่งหนึ่งที่
หลาย ๆ คนนกึ ถึงจะตอ้ งเป็นไข่ปลาทอดสมุนไพรร้อน ๆ ท่ีส่งกล่ินหอมอบอวนชวนหิว ของเด่นของดีที่อยู่คู่กับชุมชน
ทะเลน้อยมาชา้ นาน เปน็ ส่งิ หนึง่ ท่ีดึงดูดนักทอ่ งเท่ียวจากทวั่ สารทิศให้เดินทางมาลองชิมไข่ปลาท่ีได้ช่ือว่า อร่อยที่สุดใน
โลก

ไข่ปลาทอดสมุนไพร เป็นอาหารพ้ืนบ้านชนิดหน่ึงท่ีสามารถพบเห็นได้ทั่วไปในภาคใต้ ปัจจุบันเป็น
สินค้าโอทอปและเปน็ เอกลักษณข์ อง ต.ทะเลน้อย โดยใช้ไขป่ ลาทไี่ ด้จากทะเลสาบทะเลน้อยที่มีความอุดมสมบูรณ์และ
ความหลากหลายทางชีวภาพ ดง่ั ขุมทรัพยท์ ีห่ ล่อเลยี้ งชวี ติ ของคนในชุมชนทะเลนอ้ ย มสี ตั วห์ ลากหลายชนดิ มาอาศัย เป็น
แหล่งอาหารทีส่ าคัญและความอดุ มสมบูรณท์ กี่ ลา่ วมานน้ั ทาให้ไข่ปลาของท่นี ี่มีความอร่อยไมเ่ หมือนใคร

หากไมส่ ามรถเดินทางไปชมิ ไข่ปลาทอดสมุนไพรที่ทะเลนอ้ ย กส็ ามรถทารบั ประทานได้เองทบ่ี ้าน โดย
การนาไข่เฉพาะส่วนที่เปน็ ไข่ (ควรเป็นไขป่ ลาทีม่ ีขนาดเลก็ เช่น ปลายสี่ ก ปลาตะเพยี น) ไมเ่ อารกมาลา้ งน้าให้สะอาด ตัก
ตะไครใ้ ส่เครือ่ งปั่น ตามดว้ ยหอมแดง กระเทยี ม พริกแดง และน้าสะอาด ปน่ั ให้สว่ นผสมละเอียดเนียนเป็นเน้ือเดียวกัน
จากนัน้ นาส่วนผสมเทลงในไข่ปลาท่ีเตรียมไว้ ปรุงรสด้วยเกลือ น้าตาลทราย พริกไทยป่น ใส่ใบมะกรูด คนเบา ๆ ให้
สว่ นผสมเขา้ กนั ดี เทใสภ่ าชนะมีฝาปิด นาเขา้ แชเ่ ยน็ 1 ชั่วโมง จากน้นั ตงั้ กระทะ ใส่นา้ มนั พืชพอประมาณไม่มากเกินไป
ใชไ้ ฟออ่ น รอใหน้ ามนั รอ้ นดี นาไข่ปลาปรงุ รสแชเ่ ยน็ ออกมาทอด โยตกั ทีละชอ้ น ทาให้เปน็ แผน่ ขนาดตามชอบทอดใหส้ ุก
ดที ั้ง 2 ดา้ นกจ็ ะได้ไข่ปลาทอดสมนุ ไพรทีอ่ รอ่ ย

................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

29

แบบฝกึ หดั ลับปญั ญา

4. จงสรุปควำมจำกบทควำมตอ่ ไปนี้

พ.ร.บ.คชู่ วี ติ เพื่อชวี ติ ทีเ่ ทำ่ เทียม โดย ณฐั วุฒิ สำลี

พ.ร.บ.คู่ชีวิต เป็นรา่ งกฎหมายทรี่ องรบั การสมรสระหว่างคนเพศเดยี วกนั ให้ความคุม้ ครองอยา่ ง
เปน็ ธรรมเทา่ เทยี ม ไมเ่ ลือกปฏบิ ัติ ใหส้ ามารถดารงชวี ิตได้อยา่ งมีศกั ดิ์ศรี ซง่ึ มสี าระสาคญั ในเรอ่ื งของ ค่ชู ีวิต ที่
หมายถงึ บคุ คลสองคนซ่งึ เป็นเพศเดียวกันโดยกาเนิดและไดจ้ ดทะเบยี นคูช่ ีวติ ตาม พ.ร.บ.นี้ กาหนดให้คู่ชีวติ มี
อานาจจดั การแทนผเู้ สยี หาย เชน่ เดยี วกับสามีหรือภรรยา และมีอานาจ ดาเนินคดีตา่ งผตู้ ายตอ่ ไปเชน่ เดยี วกนั กับ
สามีหรือภรรยา ตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา กาหนดบทบัญญตั เิ ก่ียวกับทรพั ย์สนิ ระหวา่ งคชู่ วี ิต
โดยแบง่ เป็นสนิ ส่วนตวั และสินทรัพยร์ ่วมกนั ฯลฯ

เม่อื ร่าง พ.ร.บ. คชู่ ีวิตฉบบั บน้ีออกมาก็เกิดเสยี งวพิ ากษ์วิจารณม์ ากมายในสังคม ซง่ึ มีทั้งกลมุ่ ท่ี
เห็นดว้ ย ท่มี องว่าเปน็ เรื่องของสทิ ธิทบ่ี คุ คลพึงจะไดร้ บั การสรา้ งความเสมอภาคในสงั คม และกลมุ่ ที่ไม่เห็นดว้ ย
โดยเฉพาะในกล่มุ ผ้นู าทางศาสนาทม่ี องว่า ร่าง พ.ร.บ. ฉบับนี้ ขดั ต่อหลกั ศาสนาและจารตี อันดงี ามของสงั คมไทย
บา้ งก็อา้ งวา่ อาจก่อใหเ้ กดิ ปัญหาต่าง ๆ ขึน้ มาภายหลังถ้าหากคนเพศเดยี วแต่งงานกนั พ.ร.บ.คูช่ วี ิต จงึ เปน็ เรือ่ งท่ี
คอ่ นขา้ งละเอียดอ่อน แมว้ ่าเร่ืองความหลากหลายทางเพศจะไมใ่ ชเ่ รื่องใหมใ่ นบา้ นเรา แต่ก็ถือวา่ ร่างกฎหมาย
ฉบับนี้เป็นเรื่องที่หลาย ๆ คนตามไม่ทนั

................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................

30

บทท่ี ๓ เรยี งรอ้ ยตานานพนมวงั ก์

มโนทศั น์

กาพย์ยานี 11 เป็นคาประพันธ์พ้ืนฐานที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย
เนอื่ งจากมีฉันทลกั ษณ์ที่ไม่ยากจนเกนิ ไป ภาษาพูดและภาษาเขียนมีรูปแบบและการ
ใช้ในกาลเทศะที่ต่างกัน ผู้ท่ีจะเขียนควรมีความรู้ สามารถวิเคราะห์และสามารถ
เลอื กสรรมาใช้ไดต้ ามโอการส

เนื้อหำ วัตถปุ ระสงค์

- กาพย์ยานี 11 1. ผู้อ่านเขา้ ใจความหมายและฉนั ทลกั ษณ์ของกาพย์ยานี
- ภาษาพูดและภาษาเขียน 2. ผอู้ า่ นเข้าใจความหมายของภาษาพูดและภาษาเขียน
- ความแตกต่างระหวา่ งภาษาพูด 3. ผู้อ่านสามารถวอเคราะห์ และเปล่ียนคาที่เป็นภาษาให้
และภาษาเขยี น เป็นภาษาพดู ได้

จำนวนชั่วโมงเรยี น 2 ช่วั โมง

31

เรยี งรอ้ ยตานานพนมวงั ก์

บา่ ยคล้อยวนั หนง่ึ พอ่ เฒา่ พาหลานทัง้ สองมาทคี่ ลองในสวนหลังบา้ น ข้างคลองมีกอกล้วยสีเขยี วสด
สลบั กอตะไคร้ และพชื ผักตน้ เล็ก ๆ ถดั ไปสักหน่อยมบี รรดาต้นเงาะ ลอกอง และมังคุด ยนื ต้นกนั อยา่ งเป็น
สัดเป้นส่วน ไข่นยุ้ เดนิ ตามพอ่ เฒา่ ไปทโี่ ครงไม้อะไรสกั อยา่ ง

“พ่อเฒา่ ครบั นน่ั คืออะไรเหรอครับ” ไขน่ ้ยุ เดนิ อยทู่ ่ีรมิ คลองกับน้องสาวเอย่ ถาม ขณะทต่ี าก็กาลัง
จอ้ งไปทโ่ี ครงไมอ้ นั นั้น

“อันน้ีเขาเรยี กว่า ยอ เขาเอาไว้จับปลานะ่ ” พอ่ เฒา่ ตอบพลางชีไ้ ปท่ียอแลว้ อธบิ ายต่อว่า
“การยกยอ คือ วิธีการจับปลาอย่างหนึ่ง ยอ คือ เคร่ืองมือจับปลา ลักษณะเป็นร่างแห ผืน
สี่เหลย่ี ม มมุ ทั้งสี่จะผูกตดิ กับคนั สาหรบั ยก ยอมที ง้ั ขนาดเลก็ และใหญ่ ถ้าเป็นยอขนาดเล็กที่ยกได้คนเดียว
จะใช้ไม้ไผผ่ ่าซกี หรอื ใชไ้ ม้ไผ่ ลาเล็ก ๆ ไขว้กันเปน็ กากบาท ปลายท้งั ส่ีผูกติดกับมุมร่างแห ตรงกลางจะผูก
ตดิ กบั ไมค้ านสาหรับยก ซ่งึ เปน็ ท่อนไม้ไผ่ขนาดพอเหมาะสาหรับยกขน้ึ ลงได้” พอ่ เฒา่ อธิบายพร้อมกับเดิน
ไปสาธติ วธิ ีการยกยอให้หลาน ๆ ดู

“ยอขนาดเลก็ จะใช้จับปลาตามแหล่งน้านิ่งและไม่ลึก แต่ถ้า
เป็นยอขนาดใหญ่ คนั ยอจะทาด้วยไมไ้ ผ่ทั้งลาผกู ไขวก้ ันอยา่ งม่ันคง ใช้
ลาไมไ้ ผ่หรือไม้จรงิ ทาเปน็ โครง มเี ครอ่ื งถ่วงนา้ หนกั ทามุมฉาก กับคาน
ยอคลา้ ยป้ันจ่ัน ยอขนาดใหญน่ ิยมใช้ดักปลาในนา้ ลกึ บริเวณแม่น้า ลา
คลองใน เชน่ ปลาสร้อย ปลาเค้า ปลากด” พ่อเฒ่าเสรมิ

“แล้วจับได้เยอะไหมคะ” ลูกตาลเอย่ ถาม
“กล็ องดูสิ” พ่อเฒา่ ใช้มือยกไม้ไผข่ ้ึนมาทาใหส้ ่วนที่เปน็ แห
โผลจ่ ากน้า ปลาตัวเล็กตวั น้อยกระโดด้นิ สรา้ งความตนื่ ตาตนื่ ใจใหก้ บั
เด็ก ๆ ไมน่ ้อย
“ไปจับปลากนั เถอะลกู ตาล” พ่ีชายชักชวนนอ้ งสาวใหไ้ ปจบั
ปลาทอ่ี ยตู่ รงหน้า

32

สามคนพ่อเฒา่ หลานจับปลากันสนุกสนาน วันนี้
มีอาหารเยน็ แลว้ ทบ่ี ้านของพ่อเฒ่ามักไมค่ ่อยด้ใช้เงนิ มาก
นกั ขา้ วปลาอาหารกเ็ กบ็ เอาจากไร่จากสวน แม้ว่าจะมีท่ี
ทางไม่มาก แต่พ่อเฒ่ากับแม่เฒ่าก็บริหารจัดการอย่างดี
ทาให้มพี อกนิ พอใชห้ รือแบ่งขายอกี ดว้ ย

กอ่ นกลบั ตาไปเกบ็ พริกสดเพ่ือนาไปทาเครอ่ื งแกง วนั นี้ได้ปลากดตวั ใหญ่ ไข้นุ้ยกบั ลกู ตาลจงึ ไดเ้ กบ็
ดอกแคไปด้วย ในขณะท่ีเกบ็ อยู่ไขน่ ุย้ ก็มองไปทีภ่ เู ขาสองลูกท่ีอยตู่ ิดกนั พอดี

“พ่อเฒ่าครับ นนั่ เขาอะไรเหรอครับ” ไข่นุ้ยไม่รอชา้ ทจี่ ะหนั ไปถามผทู้ ีอ่ ยทู่ นี่ ่ีมาแต่เดก็
“อ๋อ น่ันเขาเรียกเขาสองเกลอ” พ่อเฒา่ ตอบ
“เกลอ คืออะไรเหรอคะ” ลูกตาลทต่ี ้ังใจฟังอยขู่ ้าง ๆ เอ่ยถาม
“เกลอ ก็หมายถึงเพ่ือนรัก หรือเพอื่ สนทิ ไง คนสมัยกอ่ นเขาจะผกู เกลอกันไว้ เวลามีอะไรจะได้
ช่วยเหลอื กนั ”
“พอ่ เฒา่ มีเกลอไหม” ไขน่ ยุ้ ถาม
“มีสิ เกลอพอ่ เฒ่าอย่แู ถวทา่ มิหราโน่นนะ่ ”
“กไ็ มไ่ กลมากนิคะ”ลูกตาลเสนอความเห็น
“ตอนน้ถี นนหนทางสะดวก มนั เลยไมไ่ กล แต่เมือ่ กอ่ นเน่ีย เดนิ กันเปน็ วันเลยนะ เออนี่ เขาสอง
เกลอทเี่ ราเหน็ กันเนยี่ มนี ทิ านด้วยนะ อยากฟังกนั ไหม”
“อยากครบั / คะ่ ” หลานท้งั สองตอบด้วยน้าเสยี งที่แสนตนื่ เตน้
“งน้ั ระหวา่ งท่ีเราเดนิ กลบั บา้ นกม็ าฟงั นทิ านกนั ดีกว่านะ”

33

ทนี่ ่มี ีเรอ่ื งเลา่ ครงั้ ก่อนเกา่ เขาขับขาน
ฝากไว้คอื ตานาน เปน็ นิทานไว้สอนคน
ความวา่ มีสองเฒา่ คอื ตาเสาร์และยายฝน
มลี กู สาวหน่ึงคน หนุ่มปองลน้ ทัง้ ธานี
ตาเสาร์อยากได้เขย ยายกเ็ ลยบอกนอ้ งพ่ี
ใครมีลกู ชายดี ทรัพย์ม่ังมีให้มาคุย
ชายหนุ่มกแ็ ย่งกัน จะขอหมนั้ กับสาวนุย้
ตาให้ไปลักทุย ใครไดล้ ุยกแ็ ต่งพลัน
ไอ่เดชแลไอ่ศักด์ิ สองเพ่ือนรกั ก็หนุ หัน
วนั นีต้ ้องแข่งกัน เพอ่ื จอมขวัญไม่มียอม
ไอ่เดชเรง่ ลกั ควาย ของตาหมายทีผ่ ่ายผอม
เสียควายตาหมายตรอม เดชจายอมคนื ควายไป
ไอศักด์ิเห็นเพ่อื นเกลอ บอกว่าเบลอ้ เกนิ สงสยั
คืนควายทาไดไ้ ง แล้วไฉไลใครจะครอง
ฝา่ ยเดชเห็นเพือ่ นวา่ จึงรีบทา้ สองตอ่ สอง
ใหแ้ ขง่ ขนั ประลอง วถิ ีของลูกผชู้ าย
ใครเก่งใครแน่จริง ไดค้ รองหญงิ ท่ีปองหมาย
ใครแพ้ใหห้ ลกี กาย อยา่ ระคายให้ข่นุ เคือง
ไอศักดิ์ลุกขนึ้ ต่อย เดชไมค่ อยรบี ตอ่ ยสวน
ศักดิถ์ บี เดชถบี ทวน ลม้ บนควนเป็นควนนอน
เดชซดั ลูกมะปลงิ เปน็ ท่งุ ปลงิ อยขู่ า้ งเขา
เดอื ดรอ้ นสาวแสนเศร้า ต้องมาเรา้ ใหด้ กี ัน

34

สองเพอ่ื นต่างไมย่ อม สาวก็ตรอมแสนโศกสนั ต์
ทีเ่ พอื่ นต้องเลาะกัน เพราะสาวนนั้ เป็นตัวการ
จงึ เอย่ สตั ยว์ าจา ชาตนิ ้หี นาอย่าสมหวงั
ขอตายอยา่ งลาพงั ไม่อาจฟังคานินทา
จงึ กล้ันใจนอนตาย ไม่อยากอายใหส้ งสาร
นอนอยู่เปน็ ตานาน เขาเรยี กขานวา่ เขานม
สองเกลอกเ็ สียใจ เห็นไฉไลไม่ได้สม
เกดิ ความทกุ ขร์ ะทม ความมัวหมน่ ในจติ ใจ
สองเพือ่ นนอนกอดคอ จติ เฝา้ รอให้สาวหวน
นานวันยงั ไม่ทวน สองเพ่ือนผวนเป็นหนิ ไป
เกดิ เป็นเขาสองเกลอ ใครทเี่ จอจงเตือนใจ
อย่าเอาอารมณร์ ้าย มาทาลายความเปน็ คน

“โห สนกุ จังเลยนะคะ แถมจงั ลงจงั หวะเพราะดว้ ย” ลกู ตาลเอย่ ชม
“นเ่ี ขาเรียกกาพย์ยานนี ะ่ ใชม้ าแตง่ นทิ านใหจ้ างา่ ยข้นึ ” พอ่ เฒา่ อธิบาย
“ถา้ เขาไมใ่ จรอ้ นกนั ก็คงไมม่ ีใครตายใชไ่ หมครับ” ไขน่ ุ้ยเปิดประเด็นขน้ึ
“ลูกคดิ ว่าไงล่ะ” พ่อเฒ่าอยากใหห้ ลานลองคิด
“ผมว่าเขานา่ จะใจเยน็ สกั นดิ นะครับ ไม่เหน็ ตอ้ งใชก้ าลงั กันเลย”
“นทิ านเน่ีย เขาไว้เปน็ อุทาหรณ์ เราจะไดไ้ ปหลงไปทาแบบนน้ั ถา้ หลานท้งั สองคิดวา่ การใชก้ าลงั
มนั ไม่ดี เรากไ็ มค่ วรใชน้ ะ”
“ค่ะ มีเวลามปี ัญหาอะไร หนจู ะคอ่ ย ๆ คิด ไมใ่ จรอ้ นและไมใ่ ชก้ าลัง”
“ดีมากจะ”
ทั้งสามกเ็ ดินมาถึงบา้ นที่มีแมเ่ ฒา่ เตรยี มน้ารออยู่ ไมน่ านแมเ่ ฒา่ ก็เข้าครวั ลงมอื ปรงุ อาหาร โดยมี
ผู้ชว่ ยเชฟตัวนอ้ ย อยขู่ า้ ง ๆ กอ่ นท่ที กุ คนจะออกมาทานอาหารเย็น้วยกนั

35

กำรประพนั ธ์

คำประพันธ์ หมายถึง ถ้อยคาท่ีเรียบเรียงข้ึนโดยมี
ข้อบังคับมีบมีการ จากัด คาและวรรคตอนต้องสัมผัสกันอย่างไพเราะ
ตามท่วี างกฎเกณฑ์ไว้

ฉันทลักษณ์ หมายถึง ตาราไวยากรณ์ท่ีเรียบเรียง
ถ้อยคาใหเ้ ปน็ ระเบียบตามลักษณะการบงั คบั ที่มีผู้บญั ญัตวิ างไว้

วันเพญ็ เทพโสภา (2550:85)

ลักษณะกำรบงั คบั ของคำประพนั ธ์

1. คณะ คือ จานวนคาท่ีกาหนดไว้ในคาประพันธ์แบบต่าง ๆ แต่ละชนิดจะต้อง
ประกอบดว้ ยพยางคค์ าวรรคบาทและบทเช่นโคลงสี่สภุ าพกาหนดคณะวา่ บทหน่ึงมที ้งั หมด 30 คา
แบง่ เปน็ 5 บาทบาทหน่ึงมี 2 วรรค

2. พยำงค์ คอื จังหวะเสียงของคาในคณะท่ีคาประพันธ์ แต่และชนิดกาหนดเอาไว้ว่าจะ
ออกเสียงได้กี่พยางค์ ในแต่ละวรรคเพ่ือจะได้อ่านถูกต้องเช่นกาพย์ฉบัง 16 บาทหนึ่งมี 16 ค่า
แบ่งเปน็ 3 วรรควรรคแรก 5 พยางคว์ รรคท่ีสองมี 4 พยางคว์ รรคทสี่ ามมี 5 พยางค์

3. สมั ผัส คือ คาคล้องจองกันในคาประพนั ธ์ซ่งึ แบ่งได้ดังน้ี
สมั ผสั นอก คือ คาสัมผสั ท่อี ยรู่ ะหว่างวรรคซงึ่ เป็นสมั ผสั สระทจ่ี ะขาดไม่ได้เพราะเป็น

สัมผสั บังคับ
สมั ผัสใน คอื สมั ผสั ทีอ่ ยู่ในวรรคเดียวกนั ไมไ่ ดเ้ ป็นสมั ผัสทีบ่ งั คบั ในบทประพันธต์ า่ ง ๆ

ซึ่งจะมีหรอื ไมม่ กี ไ็ ด้ แต่ถ้ามจี ะทาใหไ้ พเราะขึ้นสัมผสั ในนีม้ ที ง้ั สัมผสั สระสัมผัสอักษร
สมั ผัสสระ คือ คาทม่ี ีรูปสระเดยี วกันสัมผัสกัน เชน่ มากบั ตา ดีกบั ปี เสือ้ กบั เนื้อ
สัมผัสอกั ษรหรือพยัญชนะ คอื คาทมี่ อี ักษรตัวเดียวกันหรอื ออกเสียงใกล้เคียงกันและ

อยู่ตดิ กัน

36

กำพย์ยำนี 11

กำพย์ เป็นศลิ ปะการประพันธ์ร้อยกรองชนิดหน่ึง ซึ่งเกิดข้ึนยาวนาน

นับพนั ปี โดยไมป่ รากฏแนช่ ัดว่าเปน็ ของชาติใด แต่มกี ารสันนิษฐานว่าน่าจะเป็น
บทสวดของพราหมณ์ในพิธีกรรมทางศาสนา เช่น พิธีตรียัมปวาย คือ พิธีที่
พราหมณป์ ระกอบขึน้ เพ่อื รบั พระอิศวร เพอื่ ความเป็นศิริมงคลหรือที่รู้จักกันคือ
พิธีโลช้ ิงช้าน่ันเอง กาพย์เป็นคาสันสกฤตมาจากรากศัพท์ กาวย (กา-วะ-ยะ ออก
วะเพียงครึง่ เสียง) แลว้ แปลงเป็น พ ใสต่ วั ทณั ฑฆาตท่ี พ สาเรจ็ รปู เปน็ กาพยห์ รอื
อีกรปู หนง่ึ คอื กวี + อย (อย- ของ ... เอง) ดังนัน้ คาวา่ กาพยจ์ ึงแปลว่า ของกวีเอ
งกาพย์มมี ากชนิดเชน่ กาพย์ยานี กาพย์ฉบัง กาพยห์ ่อโคลง กาพย์ขับไม้ เป็นต้น
แตท่ ม่ี รี ปู ชัดเจนและรู้จกั คนุ้ หนา้ คนุ้ ตากค็ อื กาพยย์ านี ๑๑ (ยุทธ โตดเิ ทพย์ และ
สุธี พมุ่ กมุ าร,2548:105)

กาพย์ยานนี ัน้ มักนาไปแตง่ เป็นบทพรรณนาตา่ ง ๆ และยงั นิยมแต่งสลับกบั โคลงสส่ี ภุ าพจะกลายเปน็ กาพย์
เหเ่ รือ และกาพยห์ อ่ โคลง เนอื่ งจากกาพย์ยานมี ลี ีลาไพเราะอ่อนหวาน แผนผังฉันทลักษณ์ กาพยย์ านี 11 มดี งั นี้

ที่นีม่ ีเรื่องเล่า คร้งั ก่อนเก่าเขาขับขาน
ฝากไว้คือตานาน เป็นนิทานไว้สอนคน
ความวา่ มีสองเฒา่ คอื ตาเสาร์และยายฝน
มลี ูกสาวหน่ึงคน หนมุ่ ปองลน้ ทัง้ ธานี

กาพยย์ านี ๑ บท ย่อยออกเปน็ บาท และ วรรค บาทท่ี ๑ มี 2 วรรค วรรคแรกมี ๕ พยางค์ วรรค
หลงั มี ๖ พยางค์ (หนา้ ๕ หลัง 5) ดงั น้ัน เมื่อนับวรรคจึงได้ ๔ วรรค แต่ถ้านับบาทก็ได้ ๒ บาท ในแต่ละ
บาท นับคาได้ 11 คา จึงเรยี กว่ำยำนี ๑๑

กาพยย์ านี ๑๑ ถือวา่ เปน็ กาพย์ครูเพราะเป็นแบบฝึกหดั เบอื้ งต้นกอ่ นจะก้าวไปเขียนกาพยช์ นิดอื่น
ตอ่ ไปอีกทง้ั แบบแผนการสมั ผสั เชือ่ มวรรคเช่อื มบาทก็คล้ายคลงึ กบั กลอนแปดสภุ าพมากท่สี ุด

37

เพมิ่ เตมิ เสรมิ ทกั ษะ

ภำษำพูดและภำษำเขยี น

ภาษา เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมทม่ี นุษยส์ ร้างข้นึ เป็นเคร่ืองมือในการสื่อสารความคิด ความต้องการ
และอารมณ์ต่าง ๆ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจระหว่างกัน และมนุษย์ยังใช้ภาษาจดบันทึกเร่ืองราวเหตุการณ์
ความเชือ่ ต่าง ๆ

ภำษำพูด คือ ภาษาที่ใช้ในการสนทนาระหว่างกัน ไม่เคร่งครัดในหลักภาษา บางคร้ังฟังแล้วไม่

สุภาพมักใชพ้ ูดระหวา่ งผูส้ นิทสนม ใชใ้ นภาษาเขียนบนั เทิงคดหี รอื เรอ่ื งสน้ั ผู้แตง่ นาภาษาปากไปใช้เป็นภาษา
พูดของตัวละครเพ่ือความเหมาะสมกับฐานะตัวละคร อาจใช้เป็นภาษาเฉพาะกลุ่มเรียกว่า ภาษาปาก เช่น
พวกภาษากลุ่มวัยรนุ่

ภำษำเขยี น คือ ภาษาท่ีใช้ในการเขียนท่ีแบบแผน มีลักษณะเคร่งครัดในหลักทางภาษา เรียกว่า

ภาษาแบบแผน ระดับไมเ่ ครง่ ครดั มากนัก เรยี กวา่ ภาษากึ่งแบบแผน หรือ ภาษาไมเ่ ป็นทางการ

ควำมแตกต่ำงระหวำ่ งภำษำพดู และภำษำเขยี น

คาใดเปน็ ภาษาพดู คาใดเป็นภาษาเขียน ข้ึนอยู่กับกาลเทศะในการใชค้ าน้นั ๆ บางคาก็ใช้เปน็ ภาษา
เขยี นอย่างเดียว บางคากใ็ ช้พดู อยา่ งเดยี ว และบางคาอยู่ตรงกลางคอื อาจเปน็ ทั้งภาษาพดู และภาษาเขียนก็
ได้ ความแตกต่างระหว่างภาษาพูดกบั ภาษาเขียนพออธบิ ายได้ดงั นี้

๑. ภาษาเขยี นไมใ่ ชถ้ ้อยคาหลายคาที่เราใช้ในภาษาพูดเท่าน้ัน เช่น เยอะแยะ โอ้โฮ จมไปเลยแย่
ฯลฯ

๒. ภาษาเขยี นไมม่ สี านวนเปรยี บเทยี บหรอื คาสแลงทยี่ ังไมเ่ ป็นที่ยอมรบั ในภาษาเช่น ชกั ดาบ พลิก
ลอ็ ค โดดรม่

๓. ภาษาเขียนมีการเรียบเรียงถ้อยคาท่ีสละสลวยชัดเจน ไม่ซ้าคาหรือซ้าความโดยไม่จาเป็น ใน
ภาษาพูดอาจจะใช้ซ้าคาหรือซา้ ความได้ เชน่ การพูดกลบั ไปกลบั มา เป็นการย้าคาหรือเน้นขอ้ ความน้นั ๆ

38

๔. ภาษาเขยี น เมอื่ เขียนเสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ ผเู้ ขียนไมม่ ีโอกาสแกไ้ ขเปลีย่ นแปลงได้ แตถ่ า้ เปน็
ภาษาพูด ผู้พูดมโี อกาสชแ้ี จงแกไ้ ขในตอนท้ายได้ นอกจากน้ยี ังมีข้อแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษา
เขียนอกี หลายประการ คอื

๑) ภาษาเขียนใชค้ าภาษามาตรฐาน หรือภาษาแบบแผน ซึ่งนิยมใช้เฉพาะในวงราชการ
หรือในข้อเขียนท่ีเป็นวิชาการทั้งหลายมากกว่าภาษาพูด เช่น สุนัข - หมา สุกร - หมู แพทย์ - หมอ
เครอื่ งบิน - เรือบิน ภาพยนตร์ - หนัง ฯลฯ

๒) ภาษาพดู มกั จะออกเสียงไม่ตรงกับภาษาเขียน คือ เขียนอย่างหนึ่งเวลาออกเสียงจะ
เพ้ียนเสียงไปเล็กน้อย ส่วนมากจะเป็นเสียงสระ เช่น ฉัน – ช้ัน เขา – เค้า แมลงวัน – แมงวัน น่ี –
เน่ียะ ฯลฯ

๓) ภาษาพดู สามารถแสดงอารมณ์ของผ้พู ูดไดด้ กี วา่ ภาษาเขยี น คอื มีการเน้นระดับเสียง
ของคาให้สูง-ตา่ -สัน้ -ยาว ได้ตามต้องการ เชน่ ตาย - ต๊าย ใช่ – ช่าย เปลา่ - ปล่าว

๔) ภาษาพูดนิยมใชค้ าชว่ ยพูดหรอื คาลงท้าย เพ่อื ชว่ ยให้การพูดน้ันฟังสุภาพและไพเราะ
ย่งิ ข้ึน เช่น ไปไหนคะ ไปตลาดคะ่ รีบไปเลอะ ไมเ่ ปน็ ไรหรอก นงั่ น่งิ ๆ ซจิ ๊ะ

๕) ภาษาพูดนยิ มใช้คาซา้ และคาซ้อนบางชนิด เพือ่ เน้นความหมายของคาให้ชัดเจน
ยิ่งขึน้ เช่น คาซ้า ด๊ดี ี เก๊าเก่า ไปเปย อา่ นเอิ่น ผ้าหม่ ผา้ เห่ิม กระจกกระเจิก อาหงอาหาร คาซ้อน มือไม้
ขาวจั้ะ ดามดิ หมี แข็งเป็ก เดินเหิน ทองหยอง

ภาษามี 2 อย่าง คอื วัจนภาษา กบั อวจั นภาษา วัจนภาษา สาหรับภาษาพูดกับภาษาเขียน ให้สังเกต
จากชีวติ ประจาวัน ภาษาเขยี น ก็คือ เปน็ ภาษาท่เี ราใชเ้ ขยี นอย่างเดยี ว จะเป็นแค่วัจนภาษา หมายความว่า ผู้
ท่ีอา่ นจะไม่สามารถมองเห็นอารมณ์ ความรู้สึก ของผู้เขียน หรือตัวละครท่ีผู้เขียนส่ือสารไปได้ และจะเป็น
ภาษาที่สือ่ สารอย่างถกู ตอ้ งตามไวยากรณ์ แต่ภาษาเขียนก็มีหลายประเภทเ ข้ึนอยู่กับว่าเราเขียนอะไร และ
เขยี นถงึ ใครด้วย ตวั อย่างเชน่ การเขยี นขอขอ้ มลู กบั ทางราชการ เรากต็ ้องเขียนให้เป็นแบบแผนหน่อย แต่ถ้า
เปน็ เขยี นอย่างเช่น เขียนโน้ตใหเ้ พอื่ นหรือว่าโนต้ ย่อใหต้ วั เอง ความเป็นแบบแผนก็จะน้อยลง ภาษาเขียน ไม่
แตกตา่ งจากภาษาพูดเท่าไหร่ ส่วนต่างอยู่ตรงทภี่ าษาพดู เราสามารถจะสอื่ สารโดยภาษากายได้ และอีกจุดท่ี
แตกต่างคือ ภาษาพูดจะไม่เน้นแบบแผนในไวยากรณ์เหมือนกับภาษาเขียน แต่ไม่ได้หมายความว่าจะไม่มี
ไวยากรณ์ เพราะ ไวยากรณ์ จะตอ้ งเอาไว้ใชใ้ นทุกทกั ษะของการฟงั พูด อ่าน และเขียน ดังน้นั การพดู ก็ต้องให้
ถกู ต้องตามหลกั ไวยากรณด์ ้วย

39

ลักษณะของภำษำพดู

1. ภาษาพูดมกั เป็นภาษาเฉพาะกลมุ่ หรอื เฉพาะวัย มกี ารเปลยี่ นแปลงคาพูดอย่เู สมอ เช่น

ภำษำพดู ภำษำเขยี น
วัยโจ๋ วัยรนุ่
เดยี๊ น ดิฉนั
เจง๋
ปัง เยี่ยมมาก
แหว้ เย่ยี มมาก
ผดิ หวงั

2. ภาษาพดู มกั เป็นภาษาไทยแท้ คอื เปน็ ภาษาชาวบ้าน เข้าใจง่าย แตภ่ าษาเขียนมกั ใช้
ภาษาบาลแี ละภาษาสนั สกฤต เป็นภาษาแบบแผน หรอื กึ่งแบบแผน เชน่

ภำษำพดู ภำษำเขยี น
ในหลวง พระมหากษัตริย์

พอ่ บิดา
แม่ มารดา
ผวั เมีย สามีภรรยา
เมียนอ้ ย อนุภรรยา
ค่อยยงั ช่ัว อาการดขี ึ้น ,อาการทเุ ลาขึน้
วัว
เกอื ก โค
รองเท้า

40

3. ภาษาพูดมกั เปล่ยี นแปลงเสียงสระและเสียงพยัญชนะ รวมท้ังนิยมตัดคาให้ส้ันลง แต่ภาษา
เขยี นคงเคร่งครัดตามรปู คาเดิม เชน่

ภำษำพดู ภำษำเขียน
มหาลัย มหาวิทยาลัย

เพ่ พ่ี
ใช่มะ ใชม่ ั้ย ใช่ไหม
ตะลุย
ลยุ

4. ภาษาพูด ยืมคาภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ และมักตัดคาให้ส้ันลง รวมทั้ ง
ภาษาจีน เปน็ ตน้ ภาเขียนใชค้ าแปลภาษาไทยหรือทบั ศัพท์ เชน่

ภำษำพูด ภำษำเขยี น
แอ๊บ (abnomal) ผิดปกติ
ซรี อ็ ก (xerox) ถา่ ยสาเนาเอกสาร
ก็อบ (copy) สาเนา ต้นฉบบั
เอน็ (entrance) สอบเขา้ มหาวทิ ยาลัย
กนุ ซือ (ภาษาจนี ) ทีป่ รึกษา
บว๊ ย (ภาษาจีน) สุดทา้ ย

ภาษาพดู และภาษาเขียนใช้ในอากสทีต่ ่างกัน อยา่ งไรกก็ ต็ ามเราควรเลอื กใชภ้ าษาให้ถูกตอ้ งตาม
กาลเทศะ และระดบั บุคคล เพ่ือความถกู ตอ้ งในการส่อื สาร และเป็นการสบื ทอดวัฒนธรรมที่ดงี ามทางภาษา
ซึ่งเปน็ เอกลักษณ์ท่แี สดงถึงความเปน็ ไทยอีกดว้ ย

41

1 จงเขียนแผนผังฉันทลักษณ์และอธบิ ำยลกั ษณะของกำพยย์ ำนี 11 มำพอสังเขป

....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................

42

2. จงเขียนกำพย์ยำนี 11 โดยมเี นือ้ หำเก่ียวกับทอ้ งถน่ิ ทผ่ี ู้เขยี นอำศยั พรอ้ มทง้ั เขยี นกำกบั สัมผัสตำม
ฉันทลักษณใ์ หช้ ดั เจน

....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

3.. จงตอบคำถำมตอ่ ไปนี้

3.1 ภาษาพดู คือ
....................................................................................................................................................................................

3.2 ภาษาเขียน คอื
....................................................................................................................................................................................

3.3 จงบอกความแตกต่างระหว่างภาษาพูดกบั ภาษาเขยี นพอสงั เขป
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

43

4. ใหเ้ ขยี นคำท่ีเป็นภำษำเขยี นจำกคำทก่ี ำหนดใหต้ อ่ ไปน้ี ภำษำเขียน

ภำษำพดู
กบดาน
ขรัว
เคา้ (สรรพนามบุรษุ ที่ 3)
ตาย
หัว
ตีน
เปน็ ไง
ราหอู มจันทร์
มุดสงั (ภาษาถิ่น)
หมู
หมา
คนไข้
ผาศพ

44

5. ให้พิจำรณำคำตอ่ ไปนวี้ ำ่ เปน็ ภำษำพูดหรือภำษำเขยี น

หมอ ............................................ ผปู้ ว่ ย ............................................
กฬี าลกู หนงั ............................................. ข้ตี ืด .............................................
ทันสมัย ............................................. พนักงานขบั รถ .............................................
ห 5 กิโล ............................................. หลาด (ภาษาถนิ่ ).............................................
รถประจาทาง ............................................. รถเครอื่ ง ..............................................
งานศพ ............................................. งานอุปสมบท ..............................................
มหาลัย ............................................. วทิ ยาลยั ..............................................
ตตี ัว๋ ............................................ ดูหนัง ..............................................

45

5.ให้เขยี นนทิ ำนพื้นบ้ำนของตำบลพนมวงั ก์ ท่กี ำหนดให้เป็นภำษำเขียน

ทา ื่ ไชชา ถา ปล
มีผัวเมียคู่หนึ่งมฐี านะยากจนมากทาอะไรกไ็ ม่พอกนิ จงึ นงั่ คุยกันวา่ จะไปถางปา่ ท่ีใกลบ้ า้ นเพ่ือจะปลกู พืชต่าง
ๆ และทานา เม่ือคิดไดด้ งั นัน้ ในวันตอ่ มากเ็ รม่ิ ถางปา่ ท่ใี กล้ โดยผวั เปน็ คนไปถาง ฝา่ ยเมยี อยู่บ้านคอยหุงอาหารไว้ให้
ผวั ก็ไปถางปา่ ทกุ วันจนปา่ โลง่ เตยี นจงึ เดอื ดร้อนถงึ เจา้ เปลว เพราะท่ีแห่งนนั้ เป็นที่อยู่ของพวกผีเจ้าเปลว จึงออกมา
ปรากฏตัวให้ไชชายเหน็ แลว้ พูด “เจ้าจงหยดุ ถางปา่ เดยี๋ วนเี้ ราจะใหล้ กู แก้ววิเศษกบั เจา้ ลกู แก้วนี้ขออะไรกไ็ ด้ แต่เพียง
สามข้อเทา่ น้นั ” ไชชายเมอ่ื ได้ลกู แก้วก็กลับบ้านไปบอกเมียแล้วก็พรสามข้อ หนึ่งขอพรให้มีบ้านมีเงินทองและมีลูก
จากนนั้ ครอบครวั น้ีกอ็ ยูก่ ันอยา่ งมคี วามสขุ

นติ ยา โศภษิ ฐกิ ุล (2556:27)

....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ถนอม พูนวงศ์. (2558). ประวัตศิ ำสตร์เมืองพทั ลุง. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร์
นิตยา โศภิษฐิกุล. (2556). ศึกษำคุณค่ำของนิทำนพ้ืนบ้ำนในตำบลพนมวังก์ อำเภอควน

ขนนุ จังหวดั พัทลงุ . สงขลา : มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ.
พรทิพย์ วนรฐั กิ าล. (2553). ศลิ ปะและกลวิธีกำรเขยี น. กรงุ เทพฯ :มหาวิทยาลัยรามคาแหง.
ปรชี า ชา้ งขวัญยืน. (2552). ศิลปะกำรเขียน. กรุงเทพฯ. กรมวิชาการ.
มาโนช ดนิ ลานสกุล. (2558). ร้อยแก้ว. พิมพ์คร้ังที่ 2 .สงขลา : มหาวิทยาลยั ทักษณิ
ยทุ ธ โตอดิเรกและสธุ ีร์ พมุ่ กุมาร. (2548). คู่มอื เรียนเขยี นกลอน. กรงุ เทพฯ : แม่โพสพ
วันเพ็ญ เทพโสภา. (2550). หลกั ภำษำไทย ฉบบั นักรยี น นกั ศกึ ษำ. กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา
วรวรรธน์ ศรยี าภัย. (2557). กำรเขียนเพกื่ ำรสื่อสำร. พิมพ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ. จุฬาลงกรณ์

มหาวทิ ยาลัย


Click to View FlipBook Version