The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ภานุมาศ โพธิราช, 2019-10-25 02:55:56

1

1

หนังสือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน

สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม. 2

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 2
กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551

ผูเรยี บเรยี ง
รศ. ดร.สมหมาย แตงสกุล B.S., M.S., Ph.D.

ผศ.เชาวลติ ภูมภิ าค กศ.บ., กศ.ม.
วชิ ดุ า คงสุทธิ์ ค.บ., ค.ม.
ผูต รวจ

พ.อ. ดร.สมนึก แสงนาค กศ.บ., ค.ม., ค.ด.
สมาน ถวลิ กจิ กศ.บ.

พัฒน อุตตโมบล กศ.บ., กศ.ม.
บรรณาธกิ าร

สมาพร ยง่ิ คณุ ธนา ศษ.บ., ศษ.ม.
ทวิ าวลี บญุ ญดิษฐ วท.บ., วท.ม.

ผลิตและจัดจำหนายโดย บริษทั สำนักพมิ พวัฒนาพานิช จำกดั

วฒนาพานิช สำราญราษฎร

216–220 ถนนบำรุงเมือง แขวงสำราญราษฎร เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
โทร. 02 222 9394 • 02 222 5371–2 FAX 02 225 6556 • 02 225 6557

email: [email protected]

หนังสอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน

2สุขศึกษาและพลศึกษา ม.

ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2
กลุมสาระการเรยี นร้สู ขุ ศึกษาและพลศึกษา
ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

B สงวนลิขสิทธติ์ ามกฎหมาย
หามละเมดิ ทำซำ้ ดดั แปลง เผยแพร
สว นหนึง่ สวนใด เวนแตจะไดร บั อนญุ าต

ผเู้ รียบเรยี ง รศ. ดร.สมหมาย แตงสกุล
ผศ.เชาวลติ ภูมิภาค
วิชดุ า คงสทุ ธ์ิ

ผู้ตรวจ พ.อ. ดร.สมนกึ แสงนาค
สมาน ถวิลกจิ
พฒั น อุตตโมบล

บรรณาธกิ าร สมาพร ยงิ่ คุณธนา
ทวิ าวลี บญุ ญดษิ ฐ์

ISBN 978-974-18-6228-3
พมิ พท่ี บริษทั โรงพิมพวฒั นาพานิช จำกดั นายเริงชยั จงพพิ ฒั นสุข กรรมการผูจ้ ัดการ

คาํ นาํ

หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1–3 ชุดน้ี
จดั ทำขน้ึ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 สำหรบั นกั เรียนระดบั
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ โดยมเี ปา หมายใหน้ กั เรยี นและครใู ชเ้ ปน สอ่ื ในการจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื พฒั นา
นกั เรยี นใหม้ คี ณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ทก่ี ำหนดไวใ้ นหลกั สตู ร และสาระการเรยี นรู้
แกนกลาง พัฒนานักเรียนให้มีสมรรถนะสำคัญตามที่ต้องการทั้งในด้านการส่ือสาร การคิด
การแก้ปญหา การใช้ทกั ษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนานักเรียนให้มีคณุ ลกั ษณะ
อันพึงประสงค์ ทำประโยชน์ให้สังคม เพ่ือให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมไทยและสังคมโลก
ได้อยา่ งมคี วามสุข

ในการจัดทำหนังสือเรียนชุดน้ี คณะผู้จัดทำซ่ึงเปนผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาและการพัฒนา
สื่อการเรียนรู้ ได้ศกึ ษาหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 อย่างลึกซ้ึง
ท้ังด้านวิสัยทัศน์ หลักการ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญของนักเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
สาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ของสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แลว้ จงึ
นำองค์ความรู้ท่ีได้มาออกแบบหน่วยการเรียนรู้ แต่ละหน่วยการเรียนรู้ประกอบด้วยตัวชี้วัดช้ันป
ผังมโนทัศน์สาระการเรยี นรู้ ประโยชนจ์ ากการเรียน ลองคิด ลองตอบ (คำถามนำสูก่ ารเรียนร)ู้
เน้ือหาสาระแต่ละเรอื่ งแตล่ ะหัวขอ้ รู้ไหมว่า (เรอ่ื งน่าร/ู้ ความรู้เสรมิ หรอื เกร็ดความรู)้ แหล่งสืบค้น
ความรู้ เรยี นร้.ู ..ส.ู่ ..ปฏิบัติ (กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรู้) บทสรุป กจิ กรรมเสนอแนะ โครงงาน
การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั คำถามประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ นอกจากนที้ า้ ยเลม่ ยงั มบี รรณานกุ รม
และอภธิ านศพั ท์ ซง่ึ องคป์ ระกอบของหนังสอื เรียนเหลา่ นจี้ ะช่วยสง่ เสรมิ ให้นกั เรียนเกดิ การเรยี นรู้
อย่างครบถว้ นตามหลกั สูตร

การเสนอเน้ือหาและออกแบบกิจกรรมในหนังสือเรียนชุดนี้ ได้จัดทำขึ้นโดยยึดแนวคิด
การจัดการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นผู้เรียนเปนสำคัญ โดยคำนึงถึงศักยภาพของนักเรียน เน้นการเรียนรู้
แบบองค์รวมบนพ้ืนฐานของการบูรณาการแนวคิดทฤษฎีทางการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
เช่น การเรียนรู้โดยใช้สมองเปนฐาน พหุปญญา การใช้คำถามแบบหมวกความคิด 6 ใบ การ
เรียนรู้แบบประสบการณ์และที่เน้นการปฏิบัติ การเรียนรู้แบบโครงงาน เปนต้น จัดการเรียนรู้
แบบบูรณาการ เน้นให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง มุ่งพัฒนาการคิด และพัฒนาการ
เรียนรู้ท่สี อดคล้องกับพัฒนาการทางสมองและพัฒนาการทางร่างกายของนักเรียน อันจะช่วยให้
นกั เรยี นเกิดการเรียนรูอ้ ยา่ งสมบรู ณ์และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวันได้

หวงั เปนอย่างยิง่ ว่า หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ช้ันมัธยมศกึ ษา
ปท่ี 1–3 ชุดน้ีจะช่วยสนับสนุนให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้ด้านทักษะกระบวนการทางสุขศึกษา
และพลศกึ ษาไดเ้ ปน อยา่ งดี และสนบั สนนุ การปฏริ ปู การเรยี นรตู้ ามเจตนารมณข์ องพระราชบญั ญตั ิ
การศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทีแ่ กไ้ ขเพ่มิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545

คณะผจู้ ัดทำ

คาํ ชี้แจง

หนงั สือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1–3 แตล่ ะเลม่
ได้ออกแบบหน่วยการเรยี นรู้ให้แตล่ ะหนว่ ยการเรยี นร้ปู ระกอบดว้ ย

1. ตวั ชวี้ ดั ชั้นปี เปน เปาหมายในการพัฒนานกั เรียนแตล่ ะช้นั ป ซึง่ สอดคล้องกับมาตรฐาน
การเรียนรู้ มรี หัสของมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชวี้ ดั ชนั้ ปก ำกับไวห้ ลังตวั ชี้วัดช้ันป เชน่ พ 1.1
ม. 2/1 (รหสั แต่ละตวั มคี วามหมายดังน้ี พ คอื กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา 1.1
คือ สาระที่ 1 มาตรฐานการเรียนรู้ข้อท่ี 1 ม. 2/1 คือ ตัวช้ีวัดช้ันมัธยมศึกษาปท ่ี 2 ขอ้ ท่ี 1)

2. ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู้ เปนการจัดระเบียบและรวบรวมเน้ือหาแต่ละหน่วย
พรอ้ มแสดงความเชอ่ื มโยงของเนือ้ หาในสาระนัน้ ๆ ไว้ดว้ ย เพื่อส่ือให้เกดิ ความเขา้ ใจชดั เจนขึ้น
นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย เปนผังมโนทัศน์ที่แสดงขอบข่ายเน้ือหาในแต่ละหน่วย
การเรียนรู้ โดยมีช่ือหน่วยการเรียนรู้ หัวข้อหลักและหัวข้อรองของเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้
นน้ั ๆ

3. ประโยชนจ ากการเรียน นำเสนอไว้เพื่อกระตุน้ ให้นักเรยี นนำความรู้ ทกั ษะจากการเรยี น
ไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวัน

4. ลองคิด ลองตอบ (คำถามนำสูการเรียนรู้) เปนคำถามหรือสถานการณ์เพ่ือกระตุ้น
ใหน้ กั เรยี นเกดิ ความสงสัยและสนใจท่ีจะค้นหาคำตอบ

5. เนอ้ื หา เปน เนอ้ื หาทต่ี รงตามสาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป และสาระการเรยี นรู้
แกนกลาง โดยแบง่ เนอ้ื หาเปน ชว่ ง ๆ แลว้ แทรกเรยี นร.ู้ ..ส.ู่ ..ปฏบิ ตั ทิ พ่ี อเหมาะกบั การเรยี น รวมทง้ั
มกี ารนำเสนอดว้ ยภาพ ตาราง แผนภมู ิ คำสำคญั หรอื คำหลกั ในหนว่ ยการเรยี นรนู้ น้ั จะแทรกอยใู่ น
เน้ือหาโดยการเน้นสีและรูปแบบอักษรให้แตกต่างจากตัวพื้น คำสำคัญนี้จะใช้ตัวเน้นเฉพาะคำ
ท่ีปรากฏคำแรกในเน้ือหา ไม่เน้นคำท่ีเปนหัวข้อและแผนท่ีความคิด เพ่ือเปนส่ือให้นักเรียนสร้าง
ความคดิ รวบยอดและเกดิ ความเข้าใจทค่ี งทน

6. รู้ไหมวา (เร่อื งนารู้/ความรเู้ สริมหรอื เกร็ดความรู้) เปน ความรเู้ พอื่ เพ่มิ พนู ใหน้ ักเรียนมี
ความรู้กวา้ งขวางข้ึน โดยคดั สรรเฉพาะเรอื่ งท่นี กั เรยี นควรรู้

7. แหลง สบื คน้ ความรู้ เปน แหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ตามความเหมาะสม เชน่ เวบ็ ไซต์ หนงั สอื
สถานท่ี หรือบคุ คล เพือ่ ให้นักเรียนศึกษาค้นควา้ เพ่มิ เติมให้สอดคลอ้ งกับเร่ืองท่เี รียน

8. เรยี นร.ู้ ..ส.ู ..ปฏบิ ตั ิ (กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นร)ู้ เปน กจิ กรรมทกี่ ำหนดไวเ้ มอื่ จบเนอ้ื หา
แต่ละตอนหรอื แต่ละหัวข้อ เปน กจิ กรรมท่ีหลากหลาย ใช้แนวคิดทฤษฎตี ่าง ๆ ทสี่ อดคล้องกบั
เนื้อหา เหมาะสมกับวัยและพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของนักเรียน สะดวกในการปฏิบัติ กระตุ้น
ให้นักเรียนได้คดิ และสง่ เสริมให้ศกึ ษาคน้ ควา้ เพิม่ เติม มีคำถามเปน การตรวจสอบผลการเรียนรู้
ของนักเรียน ได้ออกแบบกิจกรรมไว้อย่างหลากหลาย และมีมากเพียงพอท่ีจะพัฒนาให้นักเรียน
เกิดการเรียนร้ตู ามเปา หมายของหลักสูตร

9. บทสรุป ได้จัดทำบทสรุปไว้เปนผังมโนทัศน์เพ่ือเปนการทบทวนความรู้หรือการเรียนรู้
กว้าง ๆ อยา่ งรวดเร็ว

10. กิจกรรมเสนอแนะ เปนกิจกรรมบูรณาการทักษะท่ีรวมหลักการและความคิดรวบยอด
ในเรอื่ งต่าง ๆ ทน่ี กั เรียนได้เรยี นรไู้ ปแล้วมาประยุกตใ์ ช้ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม

11. โครงงาน เปนข้อเสนอแนะในการกำหนดให้นักเรียนปฏิบัติโครงงาน โดยเสนอแนะ
หัวข้อโครงงานและแนวทางการปฏิบัติโครงงานที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด
ชนั้ ปข องหนว่ ยการเรยี นรนู้ น้ั เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการคดิ การวางแผน และการแกป้ ญ หาของนกั เรยี น

12. การประยกุ ตใ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั เปน กจิ กรรมทเ่ี สนอแนะใหน้ กั เรยี นไดน้ ำความรู้ ทกั ษะ
ในการประยุกตค์ วามรู้ในหน่วยการเรียนรนู้ ั้นไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั

13. คำถามประจำหนวยการเรียนรู้ เปนคำถามแบบอัตนัยท่ีมุ่งถามเพื่อทบทวนการเรียนรู้
ของนกั เรียน

14. ท้ายเลม ประกอบดว้ ยบรรณานกุ รมและอภิธานศพั ท์
14.1 บรรณานกุ รม เปน รายชอ่ื หนงั สอื เอกสาร หรอื เวบ็ ไซตท์ ใี่ ชค้ น้ ควา้ อา้ งองิ ประกอบ

การเขยี น
14.2 อภิธานศัพท เปนการนำคำสำคัญที่แทรกอยู่ตามเนื้อหามาอธิบายให้ความหมาย

และจัดเรียงตามลำดับตัวอักษร เพื่อความสะดวกในการค้นควา้

ตารางวิเคราะหส าระ มาตรฐานการเรียนรู และตัวชว้ี ดั ชั้นปก บั หนว ยการเรยี นรู กลมุ สาระการเรียนรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ม. 2

ความสอดคล้องกับสาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ชว้ี ัดชั้นปี

สาระการเรียนรู้ชั้นปี มาตรฐาน มาตรฐานกลมุ ฯ มาตรฐานกลมุ่ ฯ มาตรฐานกลุม่ ฯ มาตรฐานกลุม่ ฯ มาตรฐาน
กลมุ ฯ พ 2.1 พ 3.1 พ 3.2 พ 4.1 กลุมฯ
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1: เรียนร้ตู วั เรา พ 1.1 พ 5.1
1. การเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของวัยรุ่น
2. ปจ จัยทีม่ ีอทิ ธพิ ลตอการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของวัยรนุ 1 212341234123451234567123
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2: ชีวติ และครอบครัว
1. วัยรนุ่ กบั เจตคตใิ นเรอ่ื งเพศ 
2. วยั ร่นุ กับปญั หาและผลกระทบจากการมเี พศสมั พนั ธใ์ นวัยเรยี น 
3. วัยรนุ กบั การปอ งกนั และหลีกเลี่ยงโรคตดิ ตอทางเพศสมั พนั ธ
4. วัยรนุ กับการตัง้ ครรภโ ดยไมพึงประสงค 
5. ความเสมอภาคทางเพศและการวางตัวให้เหมาะสม 
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 3: ใสใ่ จสขุ ภาพ 
1. บริการทางสขุ ภาพ 
2. เทคโนโลยกี ับสุขภาพ 
3. ความเจรญิ กา วหนา ทางการแพทยแ ละสาธารณสขุ
4. ความสมดุลระหว่างสุขภาพกายและสุขภาพจติ 
5. การจดั การกบั อารมณ์และความเครียด 
6. การพฒั นาสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน 




ความสอดคลอ้ งกับสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวดั ช้ันปี

สาระการเรียนรูช้ น้ั ปี มาตรฐาน มาตรฐานกลมุ ฯ มาตรฐานกลมุ่ ฯ มาตรฐานกลุ่มฯ มาตรฐานกลุ่มฯ มาตรฐาน
กลมุ ฯ พ 2.1 พ 3.1 พ 3.2 พ 4.1 กลุมฯ
พ 1.1 พ 5.1

1 21234123412345123456 7123

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 4: ชวี ิตปลอดภยั 

1. การช่วยเหลอื ผูต้ ดิ สารเสพตดิ 

2. การหลีกเล่ียงพฤตกิ รรมเสี่ยงและสถานการณเส่ยี ง

3. ทักษะชวี ิตในการปอ งกันภยั อนั ตรายและสถานการณทค่ี บั ขัน

หนวยการเรยี นรูท ี่ 5: เพิม่ พนู ทักษะการเคลื่อนไหว

1. วทิ ยาศาสตรก ารเคลอ่ื นไหวกบั การสรา งเสรมิ ประสทิ ธภิ าพของการเลน กฬี า 
และการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในชวี ติ ประจำ�วนั

2. การเปลยี่ นแปลงของสขุ ภาพจากการออกกำ�ลังกายและเลน่ กีฬา 

3. การออกกำ�ลงั กายดว้ ยกจิ กรรมกายบรหิ าร 

4. กิจกรรมนันทนาการกบั การพฒั นาคุณภาพชวี ติ 

5. กฬี าเพื่อพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ  

สารบญั

หนวยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรียนรตู้ วั เรา........................................................................................................... 1–19
a ตวั ชวี้ ดั ช้นั ปี.....................................................................................................................................1
a ผังมโนทศั นส าระการเรยี นรู้ .................................................................................................................2
a ประโยชนจากการเรียน .......................................................................................................................2
a ลองคิด ลองตอบ...............................................................................................................................2

1. การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวัยรุน.................................................................................... 3–10
1.1 ความหมายและความสำคัญของวยั รนุ่ ................................................................................................... 3
1.2 ลกั ษณะการเจริญเตบิ โตทางร่างกายของวยั รุ่น........................................................................................ 4
1.3 พัฒนาการของวยั รุ่น ........................................................................................................................... 7

2. ปจ˜ จัยทมี่ ีอิทธพิ ลตอการเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวัยรนุ ......................................................... 11–16
2.1 ปจจัยภายใน....................................................................................................................................11
2.2 ปจจัยภายนอก................................................................................................................................ 14

a บทสรุปหนวยการเรยี นรู้ท่ี 1............................................................................................................... 17
a กจิ กรรมเสนอแนะ........................................................................................................................... 18
a โครงงาน ................................................................................................................................... 18
a การประยกุ ตใ ช้ในชวี ติ ประจำวัน.......................................................................................................... 19
a คำถามประจำหนวยการเรียนรู้ที่ 1 ....................................................................................................... 19
หนวยการเรยี นรู้ท่ี 2 ชีวติ และครอบครัว................................................................................................. 20–52
a ตวั ชวี้ ัดชัน้ ปี................................................................................................................................... 20
a ผังมโนทัศนสาระการเรียนรู้ ............................................................................................................... 21
a ประโยชนจากการเรยี น ..................................................................................................................... 21
a ลองคดิ ลองตอบ............................................................................................................................. 21

1. วยั รนุ กบั เจตคติในเรอื่ งเพศ.................................................................................................. 22–28
1.1 ความหมายและความสำคญั .............................................................................................................. 22
1.2 การแบง่ ประเภทของเจตคตใิ นเร่อื งเพศ .............................................................................................. 23
1.3 ปจจัยทม่ี อี ทิ ธพิ ลในเรื่องเพศของวยั รนุ่ ............................................................................................... 25

2. วัยรุนกับป˜ญหาและผลกระทบจากการมเี พศสัมพันธใ นวัยเรยี น...................................................... 28–34
2.1 ความหมายและความสำคัญของการมีเพศสมั พนั ธ์............................................................................... 28
2.2 สาเหตขุ องการมีเพศสัมพนั ธ์ ............................................................................................................. 29
2.3 ปญ หาและผลกระทบจากการมีเพศสัมพนั ธ์ในวัยเรยี น ......................................................................... 30
2.4 แนวทางในการปองกนั การมเี พศสัมพันธ์ในวัยเรียน ............................................................................. 31

3. วยั รนุ กับการปอ‡ งกันและหลกี เลย่ี งโรคตดิ ตอทางเพศสมั พันธ.......................................................... 34–41
3.1 ความหมายและความสำคญั .............................................................................................................. 34
3.2 โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ์ .................................................................................................................35
3.3 แนวทางการปองกันและหลกี เลีย่ งโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์..................................................................40

4. วัยรุนกบั การต้ังครรภโ ดยไมพ งึ ประสงค.................................................................................... 41–44
4.1 ความหมายของการตั้งครรภโ์ ดยไม่พึงประสงค์.....................................................................................41
4.2 ผลกระทบของการต้ังครรภ์โดยไม่พงึ ประสงค์ ......................................................................................42
4.3 แนวทางการปองกนั และหลีกเลยี่ งการต้งั ครรภโ์ ดยไม่พงึ ประสงค์ ...........................................................43

5. ความเสมอภาคทางเพศและการวางตัวให้เหมาะสม ...................................................................... 44–48
5.1 ความหมายและความสำคัญ.............................................................................................................. 45
5.2 ลักษณะการวางตัวให้เหมาะสมกบั เพศและการวางตัวต่อเพศตรงขา้ ม..................................................... 46

a บทสรุปหนว ยการเรียนรูท้ ่ี 2............................................................................................................... 49
a กิจกรรมเสนอแนะ........................................................................................................................... 50
a โครงงาน ................................................................................................................................... 51
a การประยุกตใชใ้ นชวี ิตประจำวัน.......................................................................................................... 51
a คำถามประจำหนว ยการเรยี นรู้ที่ 2 ....................................................................................................... 52

หนวยการเรยี นรูท้ ี่ 3 ใสใจสุขภาพ .......................................................................................................53–113
a ตัวช้วี ดั ชัน้ ปี................................................................................................................................... 53
a ผงั มโนทศั นส าระการเรียนรู้ ............................................................................................................... 54
a ประโยชนจากการเรียน ..................................................................................................................... 55
a ลองคิด ลองตอบ............................................................................................................................. 55

1. บริการทางสุขภาพ............................................................................................................... 55–69
1.1 ความหมายของบริการทางสุขภาพ...................................................................................................... 56
1.2 การใหบ้ ริการทางสขุ ภาพ................................................................................................................... 56
1.3 แนวทางการเลือกใชบ้ รกิ ารทางสขุ ภาพ................................................................................................ 61
1.4 ปญหาและแนวทางแก้ไขปญหาจากการใช้บรกิ ารทางสขุ ภาพ ................................................................. 61
1.5 โครงการสร้างหลกั ประกันสขุ ภาพถว้ นหน้า.......................................................................................... 63

2. เทคโนโลยกี บั สขุ ภาพ .......................................................................................................... 70–75
2.1 ความหมาย ความสำคญั และประเภทของเทคโนโลยีเกี่ยวกบั สขุ ภาพ .................................................... 70
2.2 เทคโนโลยกี บั ผลกระทบต่อสขุ ภาพ.................................................................................................... 71
2.3 แนวทางการปองกนั ผลกระทบของเทคโนโลยกี ับสุขภาพ....................................................................... 73

3. ความเจรญิ ก้าวหน้าทางการแพทยแ ละสาธารณสุข ....................................................................... 75–81
3.1 ความเจริญก้าวหนา้ ทางการแพทย์ดา้ นอายุรกรรม................................................................................ 75
3.2 ความเจรญิ ก้าวหน้าทางการแพทยด์ ้านศลั ยกรรม................................................................................. 76
3.3 ความเจรญิ กา้ วหน้าทางการแพทยใ์ นการใช้รังสีและแสงเลเซอร์ ............................................................. 77
3.4 ความเจรญิ ก้าวหน้าทางการแพทย์โดยการนำเครื่องมืออเิ ล็กทรอนกิ ส์ทางการแพทย์มาใช.้ ..........................79
3.5 ความเจริญกา้ วหนา้ ทางการแพทย์ในการวจิ ยั คน้ ควา้ ทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข...................................80

4. ความสมดุลระหวา งสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิต............................................................................ 81–86
4.1 ความหมายของคำที่เก่ียวขอ้ ง............................................................................................................ 81
4.2 ความสำคัญของภาวะความสมดุลระหวา่ งสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ...................................................... 82
4.3 การประเมนิ ภาวะสุขภาพกายและสขุ ภาพจิต........................................................................................ 84

5. การจดั การกับอารมณและความเครียด...................................................................................... 87–97
5.1 ความรู้เบอื้ งตน้ เกี่ยวกับอารมณ์และความเครยี ด ................................................................................. 87
5.2 แนวทางในการจัดการกับอารมณแ์ ละความเครยี ด ............................................................................... 94
5.3 การฝกบรหิ ารจติ ............................................................................................................................. 95

6. การพฒั นาสมรรถภาพทางกายตามเกณฑมาตรฐาน ....................................................................97–109
6.1 ความสำคัญของการพฒั นาสมรรถภาพทางกาย ................................................................................... 97
6.2 การทดสอบและเกณฑม์ าตรฐานของสมรรถภาพทางกาย .......................................................................98
6.3 การพฒั นาสมรรถภาพทางกายจากการวิเคราะหผ์ ลการทดสอบ ............................................................105

a บทสรุปหนวยการเรียนรู้ท่ี 3............................................................................................................. 110
a กิจกรรมเสนอแนะ......................................................................................................................... 111
a โครงงาน ................................................................................................................................. 112
a การประยกุ ตใ ชใ้ นชีวิตประจำวัน........................................................................................................ 112
a คำถามประจำหนวยการเรยี นรู้ท่ี 3 ..................................................................................................... 113
หนว ยการเรียนรู้ที่ 4 ชวี ติ ปลอดภัย ....................................................................................................114–144
a ตัวช้วี ดั ชั้นปี................................................................................................................................. 114
a ผังมโนทัศนส าระการเรยี นรู้ ............................................................................................................. 115
a ประโยชนจากการเรยี น ................................................................................................................... 115
a ลองคิด ลองตอบ........................................................................................................................... 115

1. การชว ยเหลอื ผตู้ ิดสารเสพตดิ .............................................................................................116–120
1.1 ความหมายของสารเสพตดิ ............................................................................................................... 116
1.2 ปจ จัยที่ชว่ ยเหลือฟน ฟูผู้ตดิ สารเสพติด.............................................................................................. 116
1.3 แนวทางในการชว่ ยเหลอื ฟน ฟูผตู้ ดิ สารเสพติด.................................................................................... 117
1.4 แหล่งขอรับความช่วยเหลือฟน ฟูผ้ตู ดิ สารเสพตดิ ..................................................................................119

2. การหลกี เลย่ี งพฤตกิ รรมเสีย่ งและสถานการณเสีย่ ง ...................................................................120–128
2.1 ความหมายของคำที่เกี่ยวขอ้ ง.......................................................................................................... 121
2.2 พฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณเ์ สยี่ งทค่ี วรหลกี เลีย่ งท่จี ะกระทำหรอื เขา้ ไปเก่ยี วขอ้ ง ...............................121
2.3 แนวทางในการปฏิบตั ติ นเพอ่ื หลีกเล่ยี งพฤติกรรมเสี่ยงและสถานการณเ์ สยี่ ง..........................................125

3. ทักษะชวี ติ ในการปอ‡ งกนั ภยั อันตรายและสถานการณท ี่คบั ขัน ......................................................128–140
3.1 ความหมายของคำทเ่ี ก่ียวขอ้ ง.......................................................................................................... 128
3.2 แนวทางการใช้ทักษะชีวิตเพอื่ แกไ้ ขปญหาและผลกระทบท่เี กดิ จากภัยอนั ตรายและสถานการณ์ท่ีคับขัน.... 129
3.3 แหลง่ ขอรบั ความชว่ ยเหลอื เมือ่ ประสบภัยอันตรายและสถานการณท์ ี่คับขัน........................................... 139

a บทสรปุ หนว ยการเรียนร้ทู ี่ 4............................................................................................................. 141
a กิจกรรมเสนอแนะ......................................................................................................................... 142
a โครงงาน ................................................................................................................................. 143
a การประยกุ ตใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ........................................................................................................ 143
a คำถามประจำหนวยการเรียนรทู้ ่ี 4 ..................................................................................................... 144
หนวยการเรียนรู้ที่ 5 เพมิ่ พูนทักษะการเคล่อื นไหว.................................................................................145–238
a ตัวชี้วัดชั้นปี................................................................................................................................. 145
a ผงั มโนทัศนส าระการเรยี นรู้ ............................................................................................................. 146
a ประโยชนจ ากการเรยี น ................................................................................................................... 146
a ลองคิด ลองตอบ........................................................................................................................... 146

1. วิทยาศาสตรการเคลอ่ื นไหวกับการสร้างเสริมประสทิ ธภิ าพของการเลน กฬี าและการปฏิบัตกิ ิจกรรม
ในชวี ิตประจำวัน .............................................................................................................147–152
1.1 ทักษะกลไกและรูปแบบการเคลอ่ื นไหวในการเลน่ กีฬา........................................................................ 147
1.2 รูปแบบการเคลื่อนไหวท่สี ง่ ผลต่อการเลน่ กีฬาและการปฏบิ ัติกจิ กรรมในชวี ติ ประจำวนั ........................... 149

2. การเปล่ยี นแปลงของสุขภาพจากการออกกำลังกายและเลน กีฬา....................................................152–155
2.1 ความหมายของคำท่เี กี่ยวขอ้ ง.......................................................................................................... 153
2.2 ผลของการออกกำลงั กายและเลน่ กีฬากับการเปล่ยี นแปลงของสุขภาพ.................................................. 153

3. การออกกำลังกายดว้ ยกิจกรรมกายบรหิ าร...............................................................................155–165
3.1 คุณคา่ ของกิจกรรมกายบริหาร ........................................................................................................ 156
3.2 หลักปฏิบัติเก่ียวกับการออกกำลงั กายดว้ ยกิจกรรมกายบรหิ าร............................................................ 156
3.3 การจดั ทา่ ทางเบอ้ื งตน้ ในการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมกายบริหาร ...................................................................... 157
3.4 ประเภทและรปู แบบการฝก กิจกรรมกายบรหิ าร................................................................................. 162

4. กิจกรรมนนั ทนาการกับการพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต .......................................................................165–168
4.1 หลกั เกณฑใ์ นการเลือกกจิ กรรมนนั ทนาการ .......................................................................................165
4.2 ตวั อยา่ งของกจิ กรรมนนั ทนาการและการนำไปปรบั ใชใ้ นชวี ิตประจำวัน................................................. 167

5. กีฬาเพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ิต ..............................................................................................169–235
5.1 กีฬาไทย....................................................................................................................................... 169
5.1.1 กฬี ากระบี่............................................................................................................................169
5.1.2 กีฬาตะกรอ้ ลอดหว่ ง .............................................................................................................201
5.2 กฬี าสากล..................................................................................................................................... 207
5.2.1 กฬี าบาสเกตบอล..................................................................................................................207
5.2.2 กีฬากรฑี า............................................................................................................................222
5.3 ความปลอดภยั และมารยาทในการเลน่ กฬี า ........................................................................................234

a บทสรปุ หนวยการเรยี นรู้ท่ี 5............................................................................................................. 236
a กจิ กรรมเสนอแนะ......................................................................................................................... 237
a โครงงาน ................................................................................................................................. 237
a การประยุกตใ ช้ในชีวติ ประจำวนั ........................................................................................................ 238
a คำถามประจำหนว ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 ..................................................................................................... 238
a บรรณานกุ รม............................................................................................................................... 239
a อภิธานศัพท ................................................................................................................................ 241

1 เรยี นรูตัวเรา

ตัวชวี้ ัดช้นั ป

1. อธิบายการเปลยี่ นแปลงดา นรา งกาย จติ ใจ
อารมณ ์ สงั คม และสตปิ ญญาในวยั รุน (พ 1.1 ม. 2/1)

2. ระบุปจจยั ทมี่ ีผลกระทบตอ การเจริญเติบโตและ
พฒั นาการดานรา งกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คม
และสตปิ ญ ญาในวัยรนุ (พ 1.1 ม. 2/2)

2 หนังสือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม. 2

ผังมโนทัศนส าระการเรยี นรู

เรียนรตู ัวเรา

1. การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ 2. ปจ จยั ท่มี ีอทิ ธพิ ลตอการเจรญิ เตบิ โต
ของวัยรนุ และพฒั นาการของวัยรุน

1.1 ความหมายและความสำคัญของวยั รุน่ 2.1 ปจจัยภายใน
1.2 ลักษณะการเจรญิ เตบิ โตทางร่างกายของวัยร่นุ 2.2 ปจจยั ภายนอก
1.3 พฒั นาการของวัยรนุ่

ประโยชนจากการเรียน ลองคดิ ลองตอบ

เข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของ • ปจจัยใดบ้างท่ีส่งผลให้เพศหญิงเข้าสู่ช่วง
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น วยั รนุ่ เร็วกว่าเพศชาย
ตลอดจนปจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโต
และพัฒนาการของวัยรุ่น เพื่อน�ามาใช้เป็น • เมื่อเปรียบเทียบลักษณะการเจริญเติบโต
แนวทางในการพัฒนาตนเองใหเ้ จรญิ เตบิ โตและ ของรา่ งกายทางดา้ นสว่ นสงู ระหวา่ งเพศหญงิ
มีพัฒนาการทส่ี มวยั กับเพศชายจะพบลกั ษณะสำคัญอยา่ งไร

วัยรุน (adolescence) เปน็ วัยทก่ี า้ วผ่านช่วงของวยั เดก็ มาสูค่ วามเป็นผใู้ หญม่ ากขึ้น
และยังเป็นช่วงวัยท่ีมีการเปล่ียนแปลงท้ังทางด้านร่างกายและจิตใจท่ีมากกว่าทุกวัย ความ
เปลย่ี นแปลงทเ่ี กดิ ขน้ึ ลว้ นเปน็ ผลมาจากอทิ ธพิ ลของโครงสรา้ งทางดา้ นปจ จยั ภายในและปจ จยั
ภายนอกรา่ งกาย การศกึ ษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับวัยรุ่นและแนวทางในการปฏิบัติตน
ที่ถูกต้องจะช่วยให้นักเรียนซึ่งอยู่ในช่วงวัยรุ่นมีความเข้าใจในตนเองเพ่ิมมากข้ึน และ
ปฏิบตั ิตนไดถ้ ูกตอ้ งซึง่ จะส่งผลใหม้ ีสขุ ภาพดี

หนังสือเรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม. 2 3

1. การเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของวยั รุน

วัยรุ่นเป็นวัยท่ีมีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างร่างกายที่เห็นได้ชัดเจนมากกว่าในทุกวัย
ความเปล่ียนแปลงทเ่ี กิดขนึ้ ดังกล่าวมกั จะสง่ ผลใหว้ ยั ร่นุ เกดิ ความสงสัยและบางคร้ังอาจเกดิ ความ
กังวลใจ จนทำให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพจิตของวัยรุ่นได้ และเป็นท่ีน่าสังเกตว่า เพศหญิงจะมี
พฒั นาการ (development) ในการเข้าสคู่ วามเป็นวยั รุ่นโดยเฉลยี่ เร็วกวา่ เพศชายประมาณ 2 ปี
แต่ในทางตรงกันข้าม เมื่อสิ้นสุดช่วงวัยของวัยรุ่นกลับพบว่า เพศชายจะสิ้นสุดช่วงวัยรุ่นช้ากว่า
เพศหญงิ ถึง 1 ปี

นกั เรยี นเปน็ ผทู้ อ่ี ยใู่ นชว่ งของวยั รนุ่ หากไดศ้ กึ ษาและทำความเขา้ ใจเกย่ี วกบั ภาวะการเจรญิ
เตบิ โต (growth) ของรา่ งกายและพฒั นาการดา้ นตา่ ง ๆ ของวยั รนุ่ อยา่ งถกู ตอ้ งแลว้ ยอ่ มจะชว่ ยใหม้ ี
ความเข้าใจทง้ั ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับตนเองและผ้ทู ่อี ยใู่ นช่วงวยั เดียวกนั

1.1 ความหมายและความสำ คญั ของวัยรุน

วัยรุน� ในที่นี้จะหมายถึง บุคคลท่ีอยู่ระหว่างช่วงอายุตั้งแต่ 10–20 ปี1 ซึ่งเป็นวัยที่มี
การเปลีย่ นแปลงจากวัยเดก็ ก้าวยา่ งเข้าสู่วยั ผู้ใหญ่
จากความหมายดังกล่าวข้างต้นแสดงให้เหน็
ว่า วัยรุ่นเป็นช่วงวัยท่ีมีการเปล่ียนแปลงท่ีสำคัญ
ใน 2 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่เป็น
โครงสรางทางรางกาย (จากโครงสร้างร่างกายใน
วัยเด็กพัฒนามาสู่โครงสร้างร่างกายในวัยผู้ใหญ่)
และองค์ประกอบท่ีเป็นโครงสรางทางสภาพจิตใจ
(เปล่ียนจากสภาพจิตใจเด็กพัฒนามาสู่ความเป็น
ผู้ใหญ่ขึ้น) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอาจท�าให้
วัยรุ่นเกิดปญหาในการปรับตัวเข้ากับสังคมและ
ส่ิงแวดล้อมตา่ ง ๆ ที่อยรู่ อบตัว ซงึ่ หากวัยรุน่ ได้รบั วัยรุนเปนวยั ท่ีกำ�ลงั กาวยางสวู ัยผูใหญ

ความรู้ ตลอดจนคำแนะนำท่ีดีและมีความเหมาะสม จะช่วยให้วัยรุ่นดำเนินชีวิตและพัฒนาไปสู่
การเป็นผู้ใหญ่ที่เป็นก�าลังท่ีมีคุณภาพของสังคมและประเทศชาติในอนาคตต่อไป ในทาง
ตรงกันข้าม การขาดความรู้และการใช้วิธีการปรับตัวของวัยรุ่นท่ีไม่เหมาะสมท้ังต่อผู้ใกล้ชิดและ
สังคม การกระทำดังกล่าวย่อมส่งผลให้สังคมและประเทศชาติเกิดความวุ่นวายและเกิดปญหา
ทางสงั คมตามมาได้

1นักจิตวิทยาและนักการศึกษาได้ใช้อายุเฉลี่ยเป็นตัวกำหนดช่วงวัยรุ่นออกเป็น 3 ช่วง ประกอบด้วยวัยรุ่นตอนต้น
อายุระหว่าง 10–13 ปี วยั รุ่นตอนกลาง อายรุ ะหว่าง 14–16 ปี และวยั รนุ่ ตอนปลาย อายรุ ะหว่าง 17–20 ปี

4 หนงั สือเรียน รายวิชาพ้นื ฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม. 2

1.2 ลักษณะการเจรญิ เตบิ โตทางรา งกายของวัยรุน

ลกั ษณะการเจรญิ เตบิ โตทางรา่ งกายของวยั รนุ่ เพศชายและเพศหญงิ มขี อ้ สงั เกตทส่ี ำคญั ดงั น้ี
1. ลักษณะโดยทว่ั ไปของวยั รนุ เพศหญงิ เด็กหญงิ จะเข้าสชู่ ่วงของวัยรนุ่ เมอ่ื อายุประมาณ
10–12 ปี ดงั น้ัน เม่ือเปรยี บเทยี บความสูงและนำ้ หนักตวั ที่เพิ่มข้ึนโดยเฉล่ยี ของเด็กทั้งสองเพศ
ในวัยเดียวกันจะพบว่า เพศหญิงจะมีอัตราการเพิ่มของความสูงและน้ำหนักตัวมากกว่าเพศชาย
และเมอ่ื อายรุ ะหวา่ ง 13–15 ปี ความสงู ของรา่ งกายจะเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ ลกั ษณะการเจรญิ เตบิ โต
เตา้ นมเร่ิมมกี ารขยายตวั สะโพกเรม่ิ มไี ขมนั มาสะสมมากขน้ึ สง่ ผลใหส้ ะโพกผายออก เอวคอดกว่ิ
ซ่ึงเริ่มแสดงให้เห็นลักษณะความเป็นหญิงสาวมากขึ้น และยังพบว่าเริ่มมีขนขึ้นบริเวณใต้รักแร้
และบริเวณหวั หนา่ ว ปรมิ าณไขมนั ใต้ผิวหนงั จะเพิ่มมากข้ึน พบว่ามปี รมิ าณมากกวา่ วยั รุ่นเพศชาย
โดยเฉล่ียร้อยละ 10
2. ลกั ษณะโดยทว่ั ไปของวยั รนุ เพศชาย เดก็ ชายจะเขา้ สชู่ ว่ งของวยั รนุ่ ชา้ กวา่ เดก็ หญงิ ดงั นน้ั
ระหวา่ งอายุ 10–12 ปี จงึ มสี ่วนสูงและน้ำหนกั นอ้ ยกวา่ แต่เมื่ออายุ 15 ปีข้นึ ไปจะพบว่า เดก็ ชาย
มีอัตราการเพ่ิมของความสูงมากเช่นเดียวกับเด็กหญิง ปริมาณไขมันท่ีพอกอยู่ตามลำตัวจะลดลง
ทำให้ดูว่าผอม ขณะเดียวกันกล้ามเน้ือของเพศชายจะมีอัตราการเจริญเติบโตมากกว่าเพศหญิง
ท�าให้กล้ามเนื้อมีขนาดโตและความแข็งแรงเพิ่มขึ้น กล้ามเนื้อของเพศชายจึงแข็งแรงกว่า
เพศหญงิ ซง่ึ ความแขง็ แรงของกลา้ มเนอ้ื ดงั กลา่ วทำใหว้ ยั รนุ่ เพศชายมลี กั ษณะคลา้ ยผใู้ หญม่ ากขนึ้
3. นำ้ หนักและสวนสูง นำ้ หนักและส่วนสูงเป็นตัวช้ีวัดถึงภาวะและความเจริญเติบโตของ
ร่างกายท่ีเป็นปกติหรือไม่ปกติของวัยรุ่น ดังน้ัน นักเรียนซ่ึงเป็นผู้ที่อยู่ในช่วงของวัยรุ่นจึงควร
หมั่นตรวจสอบถึงภาวะดังกล่าว โดยให้ปฏิบัติตามแนวทางการชั่งนำ้ หนัก การวัดส่วนสูง และ
การคำนวณอายุโดยละเอียด1 ที่ถูกต้อง และเมอ่ื ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับนำ้ หนกั สว่ นสงู และผลจากการ
คำนวณแล้ว ให้นำมาเปรียบเทียบกับเกณฑมาตรฐานการเจริญเติบโตของรางกาย (criteria of
growth) หรือเกณฑ์อ้างอิงน้�าหนักส่วนสูงเพื่อประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็กไทย
ที่กองโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ได้จัดทำข้ึน โดยมรี ูปแบบการนำเสนอข้อมูล
เพ่ือใช้เป็นเกณฑ์อ้างอิงเปรียบเทียบภาวะการเจริญเติบโตของคนไทยใน 2 รูปแบบ คือ ข้อมูล
เกณฑ์อ้างอิงมาตรฐานท่ีเป็นตัวเลขและข้อมูลเกณฑ์อ้างอิงมาตรฐานในรูปกราฟ ซึ่งในระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปที ี่ 1 นกั เรียนไดศ้ ึกษาผา่ นมาแลว้ และเพอ่ื เปน็ การทบทวนความรู้ดังกล่าวในระดับ

1 การค�านวณอายุโดยละเอียดของผู้ท่ีถูกชั่งน้�าหนักและวัดส่วนสูง อายุโดยละเอียดหรืออายุที่แท้จริงท่ีค�านวณได้
จะใช้เป็นข้อมูลเพื่อนำไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์อ้างอิงมาตรฐานการเจริญเติบโต ซึ่งเม่ือเปรียบเทียบกับนำ้ หนักและ
สว่ นสงู ตามเกณฑอ์ ายจุ ะได้ข้อมลู ทีล่ ะเอียดและเดน่ ชัดมากขึน้

การคำนวณอายดุ งั กลา่ วจะคำนวณ ณ วนั ทที่ ำการบนั ทกึ นำ้ หนกั และวดั สว่ นสงู โดยนำเอาปี เดอื น และวนั ทท่ี ำการ
บันทึก ลบด้วยปี เดือน และวันที่เกิดของผู้ถูกวัด ผลท่ีได้จะคิดอายุเป็นปีและเดือน หากเศษของเดือน (วัน)
มากกว่า 15 วนั ใหป้ ด เปน็ 1 เดอื น ถ้าไม่ถึงไมต่ ้องปด

หนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ม. 2 5

ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 จึงทบทวนวิธีการอ่านและการแปลผลข้อมูลโดยใช้เกณฑ์อ้างอิงมาตรฐาน
ทเี่ ป็นตวั เลขประกอบ ดังน้ี

ตวั อยาง จากขอ มูลของเดก็ หญงิ แดง คำ�นวณอายุ ณ วันที่ทำ�การช่ังนำ้ �หนักและวดั
สวนสูง คือ 14 ป 4 เดือน 10 วัน มีสวนสูง 147.2 เซนติเมตร
มีน้ำ�หนักตัว 56.0 กิโลกรัม ขอมูลเบ้ืองตนดังกลาวแสดงวา ภาวะการ
เจริญเตบิ โตของเดก็ หญงิ แดงมลี ักษณะและแนวโนมเปน อยางไร

แนวทางในการประเมินขอมูล มีขัน้ ตอนดงั นี้
ขนั้ ตอนท่ี 1 นำ� ข้อมลู เกยี่ วกบั อายุและส่วนสูงของเด็กหญงิ แดงมาพิจารณาเปรยี บเทยี บ
ประกอบเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตของเพศหญิงโดยใช้น้�ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์อายุ
เป็นเกณฑ์ ดงั แสดงในตารางที่ 1
ตวั อยา่ ง: ตารางที่ 1 แสดงเกณฑอ์ า้ งอิงการเจรญิ เตบิ โตของเพศหญงิ โดยใช้นำ้ �หนกั และส่วนสงู

ตามเกณฑ์อายเุ ป็นเกณฑ์

อายุ นำ้ �หนักตามเกณฑอ์ ายุ (กโิ ลกรัม) ส่วนสงู ตามเกณฑ์อายุ (เซนตเิ มตร)

ปี เดือน นำ้ �หนัก นำ้ �หนกั นำ้ �หนกั ตาม นำ้ �หนัก น้ำ�หนัก เต้ีย คอ่ นข้างเตยี้ สวนสูงตาม ค่อนขา้ งสงู สงู
นอยกวา ค่อนขา้ งน้อย เกณฑ คอนขางมาก มากเกนิ เกณฑ
เกณฑ เกณฑ

14 0 33.3 33.4–36.2 36.3–55.2 55.3–58.6 58.7 144.3 144.4–146.9 147.0–162.3 162.4–164.8 164.9
14 1 33.5 33.6–36.4 36.5–55.3 55.4–58.7 58.8 144.5 144.6–147.0 147.1–162.4 162.5–164.9 165.0
14 2 33.8 33.9–36.7 36.8–55.4 55.5–58.8 58.9 144.6 144.7–147.2 147.3–162.5 162.6–165.0 165.1
14 3 34.0 34.1–36.9 37.0–55.5 55.6–58.9 59.0 144.8 144.9–147.3 147.4–162.7 162.8–165.2 165.3
14 4 34.3 34.4–37.1 37.2–55.6 55.7–59.0 59.1 144.9 145.0–147.4 147.5–162.8 162.9–165.3 165.4
14 5 34.5 34.6–37.3 37.4–55.8 55.9–59.1 59.2 145.1 145.2–147.6 147.7–162.9 163.0–165.4 165.5
14 6 34.7 34.8–37.5 37.6–55.9 56.0–59.2 59.3 145.2 145.3–147.7 147.8–163.0 163.1–165.5 165.6
14 7 34.9 35.0–37.7 37.8–56.0 56.1–59.3 59.4 145.3 145.4–147.8 147.9–163.1 163.2–165.6 165.7
14 8 35.1 35.2–37.9 38.0–56.1 56.2–59.4 59.5 145.4 145.5–147.9 148.0–163.1 163.2–165.6 165.7
14 9 35.2 35.3–38.0 38.1–56.2 56.3–59.5 59.6 145.5 145.6–148.0 148.1–163.2 163.3–165.7 165.8
14 10 35.4 35.5–38.2 38.3–56.3 56.4–59.6 59.7 145.6 145.7–148.1 148.2–163.4 163.5–165.8 165.9
14 11 35.7 35.8–38.4 38.5–56.4 56.5–59.7 59.8 145.7 145.8–148.2 148.3–163.4 163.5–165.9 166.0
15 0 35.7 35.8–38.5 38.6–56.5 56.6–59.7 59.8 145.8 145.9–148.3 148.4–163.5 163.6–166.0 166.1

ท่ีมา: กองโภชนาการ, กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสุข. คมู อื แนวทางการใชเ กณฑอ างอิงน้ำ�หนักสว นสูงเพ่อื ประเมิน�
ภาวะการเจริญเติบโตของเด็กไทย, กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการทหารผานศึกในพระบรมราชูปถัมภ, 2543,
หนา 60–65.

– จากข้อมูลภาวะการเจริญเติบโตของเด็กหญิงแดง เมื่อนำ�มาเปรียบเทียบกับตาราง
ที่ 1 จะพบวา่

6 หนงั สอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ม. 2

1) นำ้ หนักตามเกณฑอ์ ายขุ องเพศหญงิ ชว่ งอายุ 14 ปี 4 เดอื น อยรู่ ะหว่าง 37.2–55.6
กิโลกรัม จากข้อมูลเด็กหญิงแดงมีนำ้ หนักตัว 56 กิโลกรัม แสดงว่ามีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน
ซงึ่ น้ำหนกั ตวั ของเดก็ หญงิ แดงดงั กลา่ วจดั อยใู่ นชว่ งนำ้ หนกั ตวั คอ่ นขา้ งมาก (55.7–59.0 กโิ ลกรมั )

2) สว่ นสงู ตามเกณฑอ์ ายขุ องเพศหญงิ ชว่ งอายุ 14 ปี 4 เดอื น อยรู่ ะหวา่ ง 147.5–162.8
เซนติเมตร จากข้อมูลเด็กหญิงแดงมีส่วนสูง 147.2 เซนติเมตร แสดงว่ามีรูปร่างค่อนข้างเตี้ย
(145.0–147.4 เซนตเิ มตร)
ขน้ั ตอนท ่ี 2 นำขอ้ มลู เกย่ี วกบั นำ้ หนกั ของเดก็ หญงิ แดงมาพจิ ารณาเปรยี บเทยี บประกอบ
เกณฑอ์ า้ งองิ และการแปลผลลกั ษณะการเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกาย โดยใชน้ ำ้ หนกั ตามเกณฑส์ ว่ นสงู
เป็นเกณฑ์ ดงั แสดงในตารางท่ี 2
ตวั อยาง: ตารางที่ 2 แสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตทางร่างกายของเพศชายและเพศหญิง

โดยใชน้ ำ้ หนักตามเกณฑ์สว่ นสูงเป็นเกณฑ์

ส(วซนมส.)งู ผอม เพศชาย: นำ้ หนัก (กิโลกรมั ) อว น ผอม เพศหญงิ : น้ำ หนกั (กโิ ลกรัม) อวน
คอผนอขมาง สมสวน ทว ม เรม่ิ อวน คอผนอขมา ง สมสว น ทวม เร่ิมอวน

140 26.5 26.6–28.1 28.2–41.2 41.3–44.1 44.2–49.8 49.9 25.7 25.8–27.5 27.6–42.4 42.5–45.5 45.6–51.8 51.9

141 27.0 27.1–28.6 28.7–42.0 42.1–44.9 45.0–50.7 50.8 26.1 26.2–28.1 28.2–43.4 43.5–46.6 46.7–52.9 53.0

142 27.5 27.6–29.1 29.2–42.8 42.9–45.7 45.8–51.5 51.6 26.7 26.8–28.7 28.8–44.3 44.4–47.5 47.6–53.8 53.9

143 28.0 28.1–29.6 29.7–43.5 43.6–46.5 46.6–52.5 52.6 27.3 27.4–29.4 29.5–45.2 45.3–48.4 48.5–54.7 54.8

144 28.5 28.6–30.2 30.3–44.3 44.4–47.3 47.4–53.4 53.5 28.0 28.1–30.1 30.2–46.1 46.2–49.3 49.4–55.7 55.8

145 29.1 29.2–30.8 30.9–45.2 45.3–48.2 48.3–54.4 54.5 28.6 28.7–30.7 30.8–47.0 47.1–50.3 50.4–56.8 56.9

146 29.6 29.7–31.3 31.4–45.9 46.0–49.0 49.1–55.3 55.4 29.3 29.4–31.5 31.6–47.9 48.0–51.2 51.3–57.7 57.8

147 30.2 30.3–31.9 32.0–46.7 46.8–49.9 50.0–56.2 56.3 30.1 30.2–32.3 32.4–48.8 48.9–52.1 52.2–58.6 58.7

148 30.8 30.9–32.5 32.6–47.6 47.7–50.8 50.9–57.2 57.3 30.8 30.9–33.0 33.1–49.7 49.8–53.1 53.1–59.5 59.6

149 31.4 31.5–33.2 33.3–48.4 48.5–51.6 51.7–58.0 58.1 31.4 31.5–33.8 33.9–50.5 50.6–53.8 53.9–60.3 60.4

150 32.0 32.1–33.8 33.9–49.1 49.2–52.4 52.5–58.9 59.0 32.2 32.3–34.6 34.7–51.4 51.5–54.7 54.8–61.2 61.3

151 32.7 32.8–34.5 34.6–49.9 50.0–53.2 53.3–59.7 59.8 33.0 33.1–35.4 35.5–52.2 52.3–55.5 55.6–62.0 62.1

152 33.2 33.3–35.1 35.2–50.7 50.8–54.0 54.1–60.5 60.6 33.7 33.8–36.1 36.2–53.0 53.1–56.3 56.4–62.8 62.9

153 33.9 34.0–35.9 36.0–51.5 51.6–54.8 54.9–61.3 61.4 34.5 34.6–36.9 37.0–53.8 53.9–57.1 57.2–63.6 63.7

154 34.5 34.6–36.5 36.6–52.3 52.4–55.6 55.7–62.1 62.2 35.2 35.3–37.6 37.7–54.6 54.7–57.9 58.0–64.4 64.5

155 35.2 35.3–37.2 37.3–53.1 53.2–56.4 56.5–62.9 63.0 35.9 36.0–38.3 38.4–55.4 55.5–58.7 58.8–65.2 65.3

156 35.9 36.0–38.0 38.1–54.0 54.1–57.2 57.3–63.6 63.7 36.6 36.7–39.1 39.2–56.2 56.3–59.4 59.5–65.8 65.9

157 36.6 36.7–38.7 38.8–54.8 54.9–58.0 58.1–64.3 64.4 37.3 37.8–39.8 39.9–56.9 57.0–60.1 60.2–66.4 66.5

158 37.3 37.4–39.5 39.6–55.6 55.7–58.8 58.9–65.1 65.2 38.0 37.8–39.8 40.6–57.6 57.7–60.8 60.9–67.1 67.2

159 38.0 38.1–40.2 40.3–56.5 56.6–59.7 59.8–66.0 66.1 38.7 38.8–41.2 41.3–58.3 58.4–61.4 61.5–67.7 67.8

160 38.6 38.7–41.0 41.1–57.3 57.4–60.4 60.5–66.7 66.8 39.4 39.5–41.9 42.0–59.0 59.1–62.1 62.2–68.4 68.5

161 39.4 39.5–41.8 41.9–58.2 58.3–61.2 61.3–67.4 67.5 40.0 40.1–42.6 42.7–59.7 59.8–62.7 62.8–68.8 68.9

162 40.1 40.2–42.5 42.6–59.0 59.1–62.0 62.1–68.1 68.2 40.7 40.8–43.3 43.4–60.3 60.4–63.3 63.4–69.3 69.4

163 40.8 40.9–43.3 43.4–59.8 59.9–62.8 62.9–68.8 68.9 41.4 41.5–44.1 44.2–61.1 61.2–64.0 64.1–69.8 69.9

164 41.5 41.6–44.0 44.1–60.6 60.7–63.6 63.7–69.6 69.7 42.0 42.1–44.8 44.9–61.7 61.8–64.6 64.7–70.3 70.4

หนังสอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม. 2 7

ส(วซนมส.)งู ผอม เพศชาย: น้ำ หนัก (กโิ ลกรมั ) เพศหญงิ : น้ำ หนกั (กโิ ลกรมั )
คอผนอขมาง สมสวน ทวม เริ่มอวน
คอนขาง สมสวน ทวม เร่มิ อว น อวน ผอม อวน
ผอม

165 42.2 42.3–44.8 44.9–61.5 61.6–64.4 64.5–70.2 70.3 42.7 42.8–45.5 45.6–62.3 62.4–65.1 65.2–70.6 70.7

166 43.0 43.1–45.6 45.7–62.3 62.4–65.2 65.3–71.0 71.1 43.5 43.6–46.3 46.4–63.0 63.1–65.6 65.7–71.0 71.1

167 43.7 43.8–46.3 46.4–63.1 63.2–66.0 66.1–71.7 71.8 44.2 44.3–47.1 47.2–63.6 63.7–66.2 66.3–71.4 71.5

168 44.4 44.5–47.1 47.2–63.9 64.0–66.8 66.9–72.5 72.6 45.0 45.1–47.9 48.0–64.2 64.3–66.7 66.8–71.6 71.7

169 45.0 45.1–47.8 47.9–64.7 64.8–67.6 67.7–73.3 73.4 45.8 45.9–48.7 48.8–64.9 65.0–67.3 67.4–72.1 72.2

170 45.7 45.8–48.5 48.6–65.5 65.6–68.3 68.4–73.8 73.9 46.7 46.8–49.7 49.8–65.5 65.6–67.7 67.8–72.3 72.4

ทม่ี า: กองโภชนาการ, กรมอนามัย, กระทรวงสาธารณสุข. คูม ือแนวทางการใชเกณฑอา งอิงน้ำ�หนักสวนสงู เพอ่ื ประเมนิ
� ภาวะการเจริญเติบโตของเด็กไทย, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์, 2543,

หนา้ 70–75.

– จากการนำขอ้ มูลน้ำหนกั ของเดก็ หญิงแดงมาเปรยี บเทยี บกับตารางที่ 2 พบวา่ ในชว่ ง
ส่วนสูง 147 เซนติเมตร น้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน (สมส่วน) จะอยู่ระหว่าง 32.4–48.8
กิโลกรัม เด็กหญิงแดงมีน้ำหนักตัว 56.0 กิโลกรัม ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานโดยอยู่ในช่วง
เรม่ิ อ้วน (52.2–58.6 กโิ ลกรัม)

ดงั นน้ั เมอ่ื นำขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากขนั้ ตอนที่ 1 และขน้ั ตอนท่ี 2 มาประกอบการพจิ ารณาในการ
ประเมนิ ผลจะสรปุ ได้ว่า เดก็ หญิงแดงเปนผูทมี่ ีรปู รา งคอ นขางเต้ยี และเริม่ อวน

เรียนรู...ส.ู ..ปฏิบัติ

• นกั เรียนนำข้อมูลเกย่ี วกบั อายุ นำ้ หนกั และส่วนสูงของตนเองมาวเิ คราะหแ์ ละแปลผลเพ่อื ใหท้ ราบ
ถึงภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายและลักษณะแนวโน้มการเจริญเติบโต โดยนำข้อมูลดังกล่าว
มาเปรียบเทียบกับตารางแสดงเกณฑ์อ้างอิงและการแปลผลลักษณะการเจริญเติบโตทางร่างกาย
โดยใช้น้ำหนักและส่วนสูงเป็นเกณฑ์ และตารางแสดงเกณฑ์อ้างอิงและการแปลผลลักษณะการ
เจรญิ เตบิ โตทางรา่ งกายโดยใชน้ ำ้ หนกั ตามเกณฑส์ ว่ นสงู มาประกอบการวเิ คราะห์ บนั ทกึ และแปลผล
ลงในแบบบนั ทกึ นำผลมาอภิปรายเพือ่ วิเคราะหแ์ ละระดมความคดิ เหน็ ร่วมกันในชนั้ เรยี น

1.3 พฒั นาการของวยั รนุ

พัฒนาการท่ีสำคัญของวัยรุ่นจำแนกออกได้ 4 ด้าน ได้แก่ พัฒนาการทางด้านร่างกาย
พฒั นาการทางด้านจติ ใจและอารมณ์ พัฒนาการทางด้านสังคม และพัฒนาการทางดา้ นสติปญ ญา
ซ่ึงแต่ละด้านมลี กั ษณะสำคัญดงั น้ี

8 หนังสือเรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ม. 2

1.3.1 พัฒนาการทางดานรา งกาย

พัฒนาการทางด้านร่างกายของวัยรุ่น
เพศหญงิ และเพศชายมีลกั ษณะสำคัญดงั นี้
1. พฒั นาการทางดา นรา งกายของวยั รนุ
เพศหญิง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของ
เพศหญิงนั้นจะเกิดก่อนเพศชายประมาณ
2 ปี และจะเป็นไปอย่างรวดเร็วเช่นเดียวกับ
เพศชาย โดยร่างกายจะสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว
เมอื่ อายุประมาณ 14 ปี และอาจสงู อกี เลก็ นอ้ ย 12�ป� ���������14�ป� �����������20�ป
หลังจากอายุ 15 ปี และไม่สูงอีกเม่ืออายุ แสดงการเปลี่ยนแปลงทางรา งกายของวัยรนุ เพศหญงิ
ประมาณ 17–18 ปี ส่วนน�้าหนักตัวคงเพ่ิมข้ึนช้า ๆ ซ่ึงขึ้นอยู่กับภาวะทางโภชนาการ อัตรา
การเจริญเติบโตจะช้าลงเม่ือเข้าสู่วัยรุ่นตอนปลาย สภาพร่างกายโดยทั่วไปจะมีลักษณะเช่นเดียว
กับผู้ใหญ่ โดยเฉพาะอวัยวะเพศจะเจริญเติบโตขึ้น นอกจากน้ียังมีการเปล่ียนแปลงอ่ืน ๆ เช่น
มเี สยี งแหลม ขนรกั แรแ้ ละขนบรเิ วณอวยั วะเพศมมี ากขนึ้ สะโพกขยายกวา้ งขนึ้ และมคี วามสมบรู ณ์
หน้าอกโตขึน้ ใบหน้าเริ่มมกี ารเปลีย่ นแปลง และมสี วิ ขนึ้ ตามใบหน้า กล้ามเนอ้ื และกระดกู แข็งแรง
และสามารถใช้อวัยวะต่าง ๆ ได้ดีและมีประสิทธิภาพ ส่วนพัฒนาการของอวัยวะภายในนั้น
ตอ่ มเพศจะหลง่ั ฮอรโ์ มนออกมากระตนุ้ ใหม้ กี ารตกไข่ มเี ลอื ดประจา� เดอื นหรอื ระดู รงั ไขเ่ จรญิ เตบิ โต
เตม็ ที่ ต่อมน้า� นมมขี นาดใกล้เคียงกบั ผ้ใู หญ่ และเพศหญิงจะสน้ิ สุดระยะวยั ร่นุ เม่ืออายปุ ระมาณ
18 ปี
2. พฒั นาการทางดา นรา งกายของวยั รนุ
เพศชาย จะเร่ิมมีการเปล่ียนแปลงเม่ือมีอายุ
ประมาณ 13–15 ปี และเม่ือเพศชายย่าง
เขา้ สวู่ ยั รนุ่ แลว้ การเจรญิ เตบิ โตทางดา้ นรา่ งกาย
จะเพม่ิ ข้ึนอย่างรวดเร็ว แต่จะคอ่ ย ๆ ลดอตั รา
การเจริญเติบโตช้าลงเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นตอนปลาย
และค่อย ๆ มีลักษณะเช่นเดียวกับผู้ใหญ่
โดยเฉพาะอวัยวะเพศจะเจริญเติบโตเต็มท่ี
มีหนวดเครา มีขนรักแร้ มีขนตามแขนขาและ
บริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ เนื่องจากการหลั่งของ
� 12�ป� 14�ป� 20�ป ฮอรโ์ มนเพศชาย ขนาดของรา่ งกายอาจเลก็ หรอื
แสดงการเปลี่ยนแปลงทางรางกายของวัยรุนเพศชาย ใหญ่ข้ึนอยู่กับความสมบูรณ์ของร่างกายและ

หนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม. 2 9
พนั ธกุ รรม (heredity) ใบหนาเร่มิ มสี วิ เสยี งจะหา วขน้ึ กลา มเนอื้ และกระดูกจะแขง็ แรง สามารถ
ใชอวัยวะตาง ๆ ไดอยางดีและมีประสิทธิภาพ โดยท่วั ไปแลวรูปรางจะมีขนาดใหญโตขึ้นมาก
แขนขายาว บางคร้ังดูแลวเกงกาง เมื่อเขาสูวัยรุนตอนปลาย หนวดเคราจะเริ่มหยาบและแข็งข้ึน
อวัยวะเพศมีขนาดเทาผูใหญ เพศชายจะมีขนาดของรางกายโตกวาเพศหญิงท้งั ดานสวนสูงและ
นำ้ �หนกั ตวั และสามารถผลติ เซลลส บื พนั ธหุ รอื อสจุ ไิ ด โดยระยะวยั รนุ นจ้ี ะสิ้นสุดเมื่ออายุประมาณ
19–21 ป

1.3.2 พฒั นาการทางดานจติ ใจและอารมณ
จิตใจ (mind) และอารมณ์ (emotion) มีความสัมพันธ์กนั จติ ใจเป็นความรู้สึกท่เี กิดขึน้
จากการท่ีร่างกายได้รับส่ิงเร้าต่าง ๆ เข้ามากระทบทำ�ให้เกิดการเปล่ียนแปลงของสภาพจิตใจหรือ
เรียกว่าการเกิดอารมณ์ขึ้น ซ่ึงการตอบสนองต่อสิ่งเร้าท่ีเกิดเป็นอารมณ์น้ันจะเป็นไปในระดับใด
ก็ข้ึนอยู่กับความมั่นคงของสภาวะจิตใจของแต่ละบุคคล ท้ังท่ีเป็นผลที่เกิดจากช่วงวัยหรือจาก
ประสบการณ์การศึกษาอบรมทสี่ ง่ั สมมา
อารมณข องวยั รนุ โดยทว่ั ไปมกั พบวา มคี วามเปลย่ี นแปลงและมอี ารมณท อี่ อ นไหวไดง า ย ซงึ่
อาจเปลย่ี นแปลงจากอารมณห นง่ึ ไปสอู ารมณห นง่ึ อยา งไมค อ ยมเี หตผุ ลนกั บางครง้ั อาจมกี ารแสดง
พฤตกิ รรมออกมาในลกั ษณะทไี่ มเ หมาะสม และพบวา บางลกั ษณะของอารมณอ าจแสดงออกมาใน
รูปของความรูสึกท่ีมีพฤติกรรมท่ีเก็บกด ซ่ึงพฤติกรรมในแตละลักษณะก็ข้ึนอยูกับวุฒิภาวะและ
ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพัฒนาการทางดานอารมณของแตละบุคคล จากลักษณะทางอารมณท่ีวัยรุน
แสดงออกมาดังกลาว แกรนวิลล์ สแตนเลย ฮอลล (Granville Stanley Hall) นักจิตวิทยา
คนสำ�คัญไดเรียกวัยรุนตามลักษณะการแสดงออกทางอารมณวาเปนวัยพายุบุแคม (storm and
stress)1 ซ่ึงเมื่อวิเคราะหลักษณะอารมณระหวางวัยรุนเพศหญิงและวัยรุนเพศชายจะพบลักษณะ
เดน ๆ ดังน้ี
1. พฒั นาการทางดานอารมณของวัยรนุ เพศหญิง เมือ่ เขาสูชวงวัยรนุ เพศหญงิ สว นใหญ
มักจะมีความสนใจในรูปรางหนาตาและการแตงกายที่เปนเอกลักษณของตนเอง เพื่อใหเปนท่ี
ยอมรับของเพ่ือนฝูงและเพศตรงขาม และมักพบวาวัยรุนเพศหญิงมักจะใหความสนใจตอเพศ
ตรงขา มทม่ี อี ายมุ ากกวา ชว งอายเุ ดยี วกนั แตจ ะไมแ สดงออกชดั เจนเทา กบั วยั รนุ เพศชาย เนอื่ งจาก
การถูกจำ�กัดดวยประเพณีและวัฒนธรรมทางสังคม สวนอารมณในเรื่องความกลัว ความโกรธ
และความวติ กกงั วลจะมสี ูงเชนเดียวกับวัยรุนเพศชาย

1 มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช, เอกสารการสอนชดุ วชิ าพัฒนาการวัยรุนและการอบรม หนวยที่ 1–8, (กรุงเทพฯ:
โรงพิมพชวนพิมพ, 2537), หนา 192.

10 หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม. 2

2. พัฒนาการทางดา นอารมณข์ องวัยรนุ เพศชาย วัยรุ่นเพศชายมักมอี ารมณ์รุนแรงในการ
แสดงออกไมว่ า่ จะเป็นความโกรธ ความกลวั ความวติ กกงั วล ความดีใจ ความอยากรอู้ ยากเห็น
และมกั จะแสดงความรสู้ กึ ตอ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ ออกมาอยา่ งเปด เผย ตรงไปตรงมา ความพอใจหรอื ไมพ่ อใจ
ตอ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ จะแสดงออกมาอยา่ งรนุ แรง มคี วามเชอ่ื มน่ั ในตนเอง ตอ้ งการพสิ จู นใ์ หผ้ อู้ น่ื รวู้ า่ ตนเอง
เปน็ ผู้ใหญแ่ ล้ว มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและการงานท่ไี ดร้ ับมอบหมายมากข้ึน ไม่ยอมใหผ้ อู้ ื่น
บังคับและมักจะขัดแย้งกับผู้ใหญ่ ต้องการช่วยเหลือตัวเองมากขึ้น มีความสนใจเพศตรงข้าม
และเมอ่ื ยา่ งเขา้ สวู่ ยั ผใู้ หญ่ (20 ปขี น้ึ ไป) อารมณว์ วู่ ามจะคอ่ ย ๆ ลดลงเรอ่ื ย ๆ จนมอี ารมณเ์ ปน็ ปกติ

1.3.3 พัฒนาการทางดา นสงั คม
สังคมของวัยรุ่นทั้งเพศหญิงและเพศชาย
การปฏบิ ัติกิจกรรมที่มปี ระโยชนร วมกนั
เปน พัฒนาการทางสงั คมท่ีดขี องวัยรนุ จะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคมจากการ
ร่วมกลุ่มเฉพาะเพศเดียวกัน ไปสู่การร่วมกลุ่ม
เพอื่ นทมี่ ที งั้ เพอื่ นเพศหญงิ และเพศชาย จงึ ถอื ไดว้ า่
สังคมของวยั นเ้ี ป็นสงั คมทม่ี กี ารขยายตัว ลักษณะ
การปฏิบัติตัวทางด้านสังคมที่เห็นได้อย่างชัดเจน
ในสังคมวยั ร่นุ ไดแ้ ก่ การปฏิบตั ิกิจกรรมร่วมกนั
เป็นหมู่คณะ การแต่งกาย หรือการปฏิบัติตัวเพ่ือ
ให้เหมือนกับเพ่ือน ๆ หรือแปลกไปกว่าคนอ่ืน
เพอ่ื ให้มคี วามเดน่ หรือใหผ้ ู้คนสนใจ

1.3.4 พัฒนาการทางดานสติปญ ญา
วัยรุ่นท้ังเพศหญิงและเพศชายจะมีพัฒนาการทางด้านสติปญญาท่ีดีมากขึ้นกว่าในช่วงท่ี

เป็นวัยเด็ก พัฒนาการทางด้านสติปญญาจะมีพัฒนาการที่ต่อเน่ืองเร่ือยมาตั้งแต่วัยเด็ก โดยจะ
รวดเร็วมากข้ึนเมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่น และจะพัฒนาเจริญจนถึงขีดสุดเม่ืออายุได้ประมาณ 16 ปี
แลว้ จงึ ค่อย ๆ ลดลงหลังจากอายุ 19–20 ปี

ในภาพรวม พัฒนาการทางดา้ นสตปิ ญญาของวยั รุ่นสรปุ ได้วา่ วยั รุน่ จะมีความเข้าใจในเรื่อง
การใช้สัญลักษณ์และส่ิงที่เป็นนามธรรมได้มากกว่าวัยเด็ก มีการพัฒนากระบวนการคิดโดยใช้
เหตผุ ลตอ่ เหตกุ ารณ์และสง่ิ แวดลอ้ มต่าง ๆ ตามความคิดและจนิ ตนาการของตนเอง

แหลงสืบคน ความรู

• นักเรียนสามารถสืบค้นความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุน เพ่ิมเติม
ไดจ้ ากการสอบถามครอู าจารย์ เจา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ ในชมุ ชน และทเ่ี วบ็ ไซต์ http://www.childthai.
org หรอื http://www.thaiparents.com

หนังสือเรียน รายวิชาพนื้ ฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ม. 2 11

2. ปจจัยทม่ี อี ทิ ธิพลตอ การเจรญิ เติบโตและพฒั นาการของวัยรนุ

การเจริญเติบโตทางรางกายและพัฒนาการของวัยรุน จะเปนไปอยางปกติหรือมีขอบกพรอง
ยอมขน้ึ อยูกับอิทธิพลของปจ จยั ทส่ี ำ�คัญ 2 สวน ไดแก ปจ จัยภายในและปจจัยภายนอก

2.1 ปจจัยภายใน

ปจจัยภายในท่ีสำ�คัญท่ีมีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตทางรางกายและพัฒนาการของวัยรุน
มีดงั น้ี
1. พันธุกรรม พันธุกรรมเปนลักษณะตาง ๆ ท่ีถูกถายทอดมาจากบรรพบุรุษ ลักษณะ
ดังกลาวถูกกำ�หนดไวในยีนซึ่งอยูภายในโครโมโซม ลักษณะตาง ๆ จะเห็นไดชัดเจนมากยิ่งข้ึน
เม่อื เดก็ ยางเขา สูวยั รนุ เชน ลกั ษณะของรปู รางหนา ตา ความสงู ของรางกาย สผี ิว รวมท้ังลกั ษณะ
และอาการที่ผิดปกติ ตลอดจนโรคบางโรคที่สามารถถายทอดทางพันธุกรรมได ซึ่งเมื่อเกิด
ความผิดปกติขึ้น พอแม ผูปกครอง ตลอดจนผูใกลชิดควรเปนผูท่ีคอยใหกำ�ลังใจ รวมท้ัง
ชวยเหลือนำ�สงแพทยผ เู ชย่ี วชาญเพือ่ รับการดแู ลบำ�บดั รกั ษาอยางถูกวิธตี อไป
2. ระบบการทำ�งานของตอ มไรท อ ตอ มไรท อ (endocrine gland) เปน ตอ มทผ่ี ลติ ฮอรโ มน
ตา ง ๆ ทม่ี คี ณุ สมบตั พิ เิ ศษเฉพาะเขา สรู ะบบไหลเวยี นโลหติ เพอ่ื ใหฮ อรโ มนดงั กลา วไหลผา นเขา ไป
สูอ วัยวะตาง ๆ เพื่อกระตนุ ใหอ วยั วะเหลานัน้ มีการเจริญเติบโตและทำ�งานไดต ามปกติ
ตอ มไรทอ ที่มอี ิทธิพลตอการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการของวยั รุนทสี่ ำ�คญั ไดแก ตอม
ใตส มองหรอื ตอ มพทิ อู ทิ ารี (pituitary gland) ตอ มเพศ (gonad) ตอ มไทรอยด (thyroid gland)
และตอมหมวกไต (adrenal gland) ซ่ึงตอมไรทอแตละตอมจะสงผลตอการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของวยั รนุ ที่สำ�คัญดังนี้

ต่อมใตส้ มอง
(pituitary gland)

(thyroiตdอ่ gมlไaทnรdอaยnดdแ์ ละพpาaรrาaไtทhรyอroยidด์ gland)

ต่อมไทมัส
(thymus gland)
ต่อมหมวกไต
(adrenal gland)

(isตleอ่ tมsทo่ีอfยlaใู่ นnตgeับrอh่อaนns)

รงั ไข่ (อteณั sฑtisะ)
(ovary)

แสดงตำ�แหนง่ ตอ่ มไร้ทอ่ ที่มอี ิทธพิ ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตทางรา่ งกายและพัฒนาการของวยั รุ่น

12 หนงั สอื เรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม. 2
1)�ตอ มใตส มองหรอื ตอ มพทิ อู ทิ าร�ี เปน็ ตอ่ มไรท้ อ่ ทม่ี คี วามสำคญั ทสี่ ดุ ในรา่ งกาย เพราะ

ฮอร์โมนท่ีต่อมน้ีผลิตจะมีคุณสมบัติพิเศษในการเป็นผู้ควบคุมการสร้างฮอร์โมนของต่อมไร้ท่อ
อนื่ ๆ ในร่างกาย ฮอรโ์ มนสำคัญทีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การเจริญเติบโตและพัฒนาการทางเพศของวยั รุ่น
ได้แก่ ฮอรโมนกระตุนการเจริญเตบิ โต (growth hormone) และฮอร์โมนควบคุมการเจริญเติบโต
ของต่อมเพศ (gonadotropic hormone) อิทธิพลของต่อมใต้สมองท่ีเห็นได้ชัดเจนมากท่ีสุด
ในวยั รนุ่ พบวา่ ถา้ ตอ่ มนผี้ ลติ ฮอรโ์ มนกระตนุ้ การเจรญิ เตบิ โตมากเกนิ ไป จะสง่ ผลใหว้ ยั รนุ่ มรี า่ งกาย
ท่ีใหญ่โตผิดปกติ และในทางตรงกันข้าม ถา้ ผลติ ออกมานอ้ ยเกนิ ไป จะส่งผลให้วยั รนุ่ มรี ่างกาย
ทเ่ี ตย้ี แคระแกรน็ ได้ ซงึ่ บคุ ลกิ ลกั ษณะทงั้ สองจะทำใหว้ ยั รนุ่ เกดิ ปมดอ้ ย และมสี ขุ ภาพจติ ทม่ี คี วาม
บกพรอ่ งได้ ในสว่ นของฮอรโ์ มนควบคมุ การเจรญิ เตบิ โตของตอ่ มเพศทตี่ อ่ มนผ้ี ลติ ออกมาจะพบวา่
ในเพศชายจะช่วยกระตุ้นให้ลูกอัณฑะผลิตตัวอสุจิ ส่วนในเพศหญิงจะมีฮอร์โมนช่วยกระตุ้น
และเรง่ การตกไขจ่ ากรงั ไข่ ถา้ ขาดฮอรโ์ มนทค่ี วบคมุ การเจรญิ เตบิ โตของตอ่ มเพศในเพศชายจะสง่ ผล
ทำให้อัณฑะไม่มีการผลิตตัวอสุจิ ถ้าขาดในเพศหญิงจะทำให้การตกไข่ผิดปกติ (การมีรอบเดือน
ผิดปกติ) นอกจากนี้ฮอร์โมนดังกล่าวยังช่วยกระตุ้นให้ต่อมนำ้ นมขับนำ้ นมออกมาหลังจากท่ี
เพศหญงิ มีการคลอดบตุ ร

� 2)�ตอมเพศ ในเพศชาย คอื ลูกอณั ฑะ�สว่ นในเพศหญิง คอื รังไข� ตอ่ มทัง้ สองนจี้ ะ
ควบคุมและกระตุ้นให้มีการเจริญเติบโต และพัฒนาคุณลักษณะความเป็นเพศชายและเพศหญิง
ใหเ้ ห็นอยา่ งชัดเจน โดยมีหน้าท่สี ำคญั 2 ประการ คือ

(1) สร้างเซลล์สืบพันธุ์ ในเพศชายจะสร้างตัวอสุจิ และในเพศหญิงจะสร้างไข่
เพอื่ ประโยชน์ต่อการรกั ษาและดำรงไวซ้ งึ่ เผา่ พันธต์ุ ่อไป

(2) สรา้ งฮอรโ์ มนตา่ ง ๆ เพอื่ ควบคมุ และกระตนุ้ ใหม้ กี ารเจรญิ เตบิ โตและมพี ฒั นาการ
ทางเพศที่เปน็ ไปตามปกติ
ฮอรโมนเพศชาย� เป็นฮอร์โมนท่ีสร้างจากกลุ่มเซลล์เน้ือเย่ือของลูกอัณฑะ

ประกอบด้วยฮอร์โมนหลายชนิด ฮอร์โมนเหล่านี้จะถูกขับและหล่ังออกมามากมายและรวดเร็ว
ท่ีสำคัญคือ เทสโทสเทอโรน (testosterone) ซึ่งไปกระตุ้นทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเพศ
เมือ่ เดก็ ชายอายปุ ระมาณ 11–12 ปี จะสง่ ผลให้ลงึ ค์และถุงอณั ฑะเจรญิ เติบโตขึ้นหลายเทา่ จนถึง
อายุ 20 ปี และยงั ทำให้มคี ุณลกั ษณะความเปน็ เพศชายเกิดขนึ้ โดยเริม่ ต้งั แต่แตกเนอ้ื หนมุ่ และ
ส้นิ สุดระยะเปน็ ผู้ใหญเ่ ตม็ ที่ หรอื เรียกวา่ บรรลุวุฒภิ าวะ (mature defenses) และยังเปน็ ผลให้
ลกั ษณะเพศชายแตกตา่ งจากเพศหญิงไดช้ ัดเจนข้ึน คือ มขี นท่ีหัวหน่าว หรอื อาจเลยไปถึงใตฐ้ าน
สะดอื หรือที่ใบหนา้ และอก ผวิ หนังจะหนา มสี คี ลำ้ ใบหนา้ เป็นมัน และมกั จะเกดิ สิว มกี รามใหญ่
ไหล่กว้าง สะโพกแคบ เสียงจะเปล่ยี นไป ระยะแรก ๆ อาจแหบ แตต่ ่อมาเสียงจะใหญข่ น้ึ เน่อื งจาก
กล่องเสียงโตขึ้น และมีการเปล่ียนแปลงของเยื่อบุกล่องเสียงมากข้ึน กล้ามเนื้อเจริญเติบโตและ
แขง็ แรงมากขน้ึ มีการหลงั่ อสุจิ ตลอดจนมกี ารพัฒนาทางดา้ นจติ ใจท่ีเปน็ ชาย และมคี วามต้องการ
ทางเพศเกิดข้ึน ถ้าตัดลูกอัณฑะออกในวัยเด็กจะทำให้เกิดอาการผิดปกติขึ้น คือ อวัยวะเพศ

หนงั สอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ม. 2 13
จะไมเ จรญิ เตบิ โต ไมม คี ณุ ลกั ษณะความเปน เพศชาย มไี ขมนั เพม่ิ มากขน้ึ ทบ่ี รเิ วณใบหนา แขน หนา อก
รักแร กลอ งเสยี งมขี นาดเลก็ ทำ�ใหเ สยี งเหมอื นผหู ญงิ แขนขายาวผดิ ปกติ และเปน หมนั ถา ตดั
ลกู อณั ฑะออกในผใู หญจ ะทำ�ใหเ ปน หมนั ไมม คี วามรสู กึ ทางเพศ และมคี ณุ ลกั ษณะไปทางเพศหญงิ
ฮอรโมนเพศหญิง เพศหญิงจะเริ่มมีการเปล่ียนแปลงของรางกายเร็วกวา
เพศชายประมาณ 2 ป คอื ฮอรโ มนเพศจะเรม่ิ มมี ากขนึ้ กอ นเพศชาย การเปลยี่ นแปลงของฮอรโ มน
เพศหญงิ จะมอี ยเู ปน ชว งเวลา จะเพมิ่ มากขน้ึ เมอื่ โตเปน ผใู หญแ ละจะคงมอี ยใู นระดบั สงู โดยมกี าร
เปลี่ยนแปลงอยางสมำ่ �เสมอในรอบเดือนหน่ึง ๆ แลวจะลดลงจนหมดไปในท่ีสุดเมื่ออายุระหวาง
40–50 ป หรืออายุเฉลี่ย 45 ปสำ�หรับคนไทย รังไขเปนตอมเพศของเพศหญิง โดยจะผลิต
ฮอรโมนเอสตราดิโอล (estradiol) และฟอลลิคิวลาร (follicular) สำ�หรับควบคุมคุณลักษณะ
ความเปนหญิง โดยควบคุมและกระตุนใหอวัยวะเพศหญิงเปล่ียนแปลงจากลักษณะในวัยเด็ก
เปน วัยผูใ หญ เชน สงผลใหอวยั วะเพศภายนอกและเตานมเจริญเติบโต โดยจะเหน็ ไดชัดเจนจาก
ภายนอก และมีผลตอการเจรญิ เติบโตของกระดกู โดยเฉพาะความกวา งของกระดกู ชองเชิงกราน
มไี ขมนั เพม่ิ ขน้ึ ตามสว นตา ง ๆ ของรา งกาย เชน เตา นม บรเิ วณกน และตน ขา ทำ�ใหส ะโพกกวา งขน้ึ
มีรูปรางเปนผูหญิง มีขนข้ึนบริเวณเหนือกระดูกหัวหนาว มีการตกไข และมีประจำ�เดือน
ตลอดจนมกี ารพัฒนาทางดา นจติ ใจที่เปน หญงิ มีความตอ งการทางเพศท่คี วบคมุ ไดดกี วา เพศชาย
นอกจากน้ีรังไขยังผลิตฮอรโมนออกมาอีกชนิดหน่ึง คือ โพรเจสเทอโรน (progesterone)
ซง่ึ จะทำ�หนา ทกี่ ระตนุ ผนงั มดลกู ใหเ ตรยี มรอรบั ไขท ไ่ี ดร้ บั การผสมกบั ตวั อสจุ ิ แตถ่ า้ หากไขไ มไ ดร บั
การผสมก็จะฝอลงไป สวนผนังมดลูกก็จะหลุดลอกสลายตัวกลายเปนประจำ�เดือนตอไป ถา
ตดั รงั ไขอ อกทง้ั สองขา งจะพบวา คนคนนั้นจะไมแสดงคุณลักษณะความเปนหญิง คือ ไมมีเลือด
ประจำ�เดือน อวัยวะเพศหญิงไมเจริญเติบโต อวัยวะเพศภายนอกจะเหี่ยวและลีบ ประจำ�เดือน
จะหยดุ ไมมคี วามรูส กึ ทางเพศ ความดนั เลือดตำ่ � รูส ึกเหนด็ เหนอ่ื ย ออนเพลีย อารมณห งดุ หงดิ
และฉนุ เฉยี วไดงา ย
3) ตอมไทรอยด เปนตอมไรทอที่ผลิตฮอรโมนไทรอกซิน (thyroxin) ซ่ึงมีอิทธิพล
ในการควบคมุ การใชพ ลงั งานและการเผาผลาญอาหาร ถา ตอ มนที้ ำ�งานผดิ ปกติ จะสง ผลใหร า งกาย
แคระแกรน็ ตวั เตย้ี และมสี ตปิ ญ ญาต่ำ�สำ�หรบั เพศหญงิ ระหวา งมปี ระจำ�เดอื นและในระยะตง้ั ครรภ
ตอ มนจ้ี ะขยายตัวขน้ึ เลก็ นอยซึ่งไมถ ือวาเปน ความผิดปกติ แตถ า ตอ มน้ีทำ�งานผิดปกติ โดยผลติ
ฮอรโมนไดนอยกวาที่รางกายตองการเพราะขาดไอโอดีน จะสงผลใหตอมน้ีขยายโตข้ึนกลายเปน
โรคคอพอก
4) ตอ มหมวกไต เปน ตอ มไรท อ ทผ่ี ลติ ฮอรโ มนทเี่ กย่ี วขอ งกบั การเจรญิ เตบิ โตของรา งกาย
และฮอรโ มนท่เี กย่ี วของกับพัฒนาการทางเพศ ฮอรโ มนท่สี ำ�คญั ไดแ ก
(1) กลโู คคอรต คิ อยดฮอรโมน (glucocorticoid hormone) เปนฮอรโมนทท่ี ำ�หนาท่ี

ควบคมุ กระบวนการเผาผลาญพลงั งานของรา่ งกาย (metabolism) และสารอาหาร
ในรา งกาย

14 หนังสอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ม. 2
(2) มิเนราโลคอร์ติคอยด์ฮอร์โมน (mineralocorticoid hormone) เป็นฮอร์โมนที่
ทำหน้าทีใ่ นการสรา้ งความสมดลุ ของน้ำและแรธ่ าตุในร่างกาย
(3) ฮอร์โมนเพศ (sex hormone) ปกติต่อมหมวกไตจะผลิตฮอร์โมนเพศออกมา
เพียงเล็กน้อย เม่ือเปรียบเทียบกับฮอร์โมนเพศท่ีอวัยวะสืบพันธุ์ได้ผลิตออกมา
ฮอรโ์ มนเพศทตี่ อ่ มหมวกไตผลิตออกมาทส่ี ำคัญ เช่น แอนโดรเจน (androgen)
เอสโทรเจน (estrogen) และโพรเจสเทอโรน (progesterone) แต่ถ้าหากตอ่ ม
หมวกไตมีความผิดปกติ ผลติ ฮอร์โมนเพศออกมามากเกินไป จะทำให้เกดิ ความ
ผิดปกติทางเพศขึ้นได้ โดยเพศชายจะมีพัฒนาการทางเพศที่เร็วขึ้น มีขนขึ้น
ตามรา่ งกายมากกวา่ ปกติ สว่ นในเพศหญงิ จะมลี กั ษณะทางเพศคอ่ นไปทางเพศชาย
โดยจะมหี นวดเคราเกิดขึ้น
แม้พันธุกรรมและการทำงานของระบบต่อมไร้ท่อจะเป็นปจจัยภายในท่ี
มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของวยั รนุ่ ทค่ี วบคมุ ไดย้ าก และยงั สง่ ผลใหเ้ กดิ ความ
ผิดปกติท่ีเก่ียวข้องกับพัฒนาการของวยั รนุ่ ดงั ทก่ี ลา่ วมา แตต่ ้องเข้าใจวา่ สง่ิ ทเ่ี กดิ
ขน้ึ นน้ั เปน็ ความเปลย่ี นแปลงตามธรรมชาตขิ องคนเรา ซง่ึ จะสง่ ผลให้วยั รนุ่ ใชช้ ีวติ
ได้อย่างเป็นปกติ แต่ถ้าหากความผิดปกติที่พบมีระดับความผิดปกติที่รุนแรง
กค็ วรท่ีจะปรกึ ษาผ้ใู หญ่และใหแ้ พทยห์ รือผเู้ ช่ียวชาญไดต้ รวจสอบ ให้การบำบัด
รกั ษา ตลอดจนใหค้ ำแนะนำในการปฏิบตั เิ พื่อการแก้ไขความผิดปกติที่เกิดข้นึ

2.2 ปจจัยภายนอก

แมป้ จ จยั ภายในจะมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวยั รนุ่ แตป่ จ จยั ภายนอก
ซึ่งได้แก่ สภาพของครอบครัวและการอบรมเล้ียงดู สภาพของชุมชนและสิ่งแวดล้อม และภาวะ
ทางด้านลกั ษณะนิสยั และการปฏบิ ัติตนของวยั รุ่น กเ็ ปน็ อีกปจจัยหน่งึ ซง่ึ มอี ทิ ธพิ ลในเร่ืองดงั กล่าว
ได้เช่นกัน โดยแตล่ ะปจจัยมคี วามเกยี่ วเนือ่ งและมีแนวทางในการแกไ้ ขปรับปรงุ ใหด้ ขี ้ึน ดังนี้

1. สภาพของครอบครวั และการอบรมเลย้ี งด ู ครอบครวั เปน็ สงั คมหนว่ ยยอ่ ยทสี่ ดุ ทนี่ กั เรยี น
ซึ่งอยู่ในช่วงวัยรุ่นจะต้องเกี่ยวข้องด้วย ปกติโครงสร้างของสภาพครอบครัวแต่ละครอบครัวจะมี
ลกั ษณะทีแ่ ตกตา่ งกนั แต่โดยทว่ั ไปสงั คมไทยจะประกอบไปดว้ ยพอ่ แม่ ลูก พี่ นอ้ ง และญาติ
สภาพของครอบครัวและการอบรมเลี้ยงดูมีผลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น เช่น
ครอบครวั ทผี่ เู้ กยี่ วขอ้ งกบั วยั รนุ่ ใหค้ วามสนใจในเรอ่ื งของการจดั อาหารทเ่ี หมาะสมกบั วยั รนุ่ จะชว่ ย
ใหก้ ารเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการทางรา่ งกายของวยั รนุ่ มภี าวะสมบรู ณแ์ ละมสี ดั สว่ นทไ่ี ดม้ าตรฐาน
ซ่ึงจะตรงกนั ขา้ มกบั ครอบครัวที่ขาดความสนใจในการดูแลจดั การอาหารที่เหมาะสม จะสง่ ผลเสีย
ในเรอ่ื งของการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการทางดา้ นต่าง ๆ ทำให้เกิดปญหาข้นึ กบั วยั รนุ่ ได้

นอกจากนี้ การอบรมเลย้ี งดูของครอบครวั ยังสง่ ผลต่อพฒั นาการของวัยรุ่น โดยเฉพาะ
พฤติกรรมการแสดงออก ซ่งึ มักพบว่า วัยรุ่นท่ีมาจากสภาพครอบครัวที่มีการอบรมเลี้ยงดูอย่าง

หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน สุขศกึ ษาและพลศึกษา ม. 2 15

อบอุ่น มีประชาธิปไตย และมีการแลกเปลย่ี น รู ไหมวา
พดู คยุ กนั โดยใชเ้ หตแุ ละผล จะสง่ ผลให้วัยรุ่น การอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่นอกจากจะมี
เป็นคนที่มีเหตุมีผล มีความเช่ือมั่นในตนเอง ผลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการในดา้ นตา่ ง ๆ
และพฤติกรรมท่ีแสดงออกจะเป็นพฤติกรรมที่ ของวัยรุ่นแล้ว ยังเป็นปจจัยส�าคัญในการช่วย
สังคมยอมรบั ได้ แต่ในทางตรงกนั ขา้ ม วยั รนุ่ ท่ี พฒั นาความฉลาดในดา้ นตา่ ง ๆ ของวยั รนุ่ อกี ดว้ ย
มีครอบครัวเล้ยี งดูอย่างเข้มงวดเกินไปหรอื ขาด ไม่ว่าจะเป็นความฉลาดทางด้านสติปญญา (IQ)
การอบรมท่ีเหมาะสม ก็มักจะมีพฤติกรรมท่ี ความฉลาดทางด้านอารมณ์ (EQ) ความฉลาดใน
ก้าวร้าว หรอื บางครง้ั อาจเป็นเด็กทม่ี ีพฤติกรรม การรเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ (CQ) ความฉลาดทางศลี ธรรม
เก็บกด ไมก่ ลา้ แสดงออกได้ จริยธรรม (MQ) ความฉลาดท่ีเกิดจากการเล่น
(PQ) และความฉลาดในการแก้ปญหา (AQ) โดย
2. สภาพของชุมชนและส่ิงแวดลอม ทง้ั นพ้ี อ่ แมส่ ามารถทำไดโ้ ดยผา่ นการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
เปน็ ปจ จยั ภายนอกทอ่ี ยถู่ ดั ออกไปจากครอบครวั ต่าง ๆ ภายในครอบครัวร่วมกับลูก ซ่ึงต้องเป็น
โดยท่ัวไปชุมชนในสังคมไทยแบ่งออกได้เป็น กิจกรรมที่เหมาะสมกับวัยด้วย เพ่ือปลูกฝงให้
4 ลกั ษณะทีส่ ำคญั ประกอบดว้ ย ชมุ ชนชนบท วัยรุ่นเกิดการเรียนรู้และมีพัฒนาการท่ดี ีในทุก ๆ
ชมุ ชนเมอื ง ชมุ ชนแออดั และชมุ ชนชนกลมุ่ นอ้ ย ดา้ น
ซึ่งชุมชนแต่ละลักษณะมีอิทธิพลต่อการเจริญ ทีม่ า: http://www.bloggang.com/viewdiary.
php?id=ilovepoom&month

เติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น ดงั น้ี
1)�ชมุ ชนชนบท สภาพของชมุ ชนนีส้ มาชกิ ในชุมชนมกั จะรูจ้ กั หรอื เกย่ี วข้องกัน โดยอาจ
เปน็ เพอ่ื นหรอื เปน็ เครอื ญาตกิ นั การตดั สนิ ปญ หาตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในชมุ ชนมกั จะใชร้ ะเบยี บประเพณี
เป็นเกณฑ์ พฤติกรรมของวัยรุ่นส่วนใหญ่จึงมักคล้อยตามชุมชน ซ่ึงหากชุมชนใดขาดความ
กระตือรือรน้ กอ็ าจส่งผลให้วยั รุน่ ในชุมชนดังกลา่ วเปน็ คนท่ีขาดความกระตอื รือรน้ ไปดว้ ย
2)�ชุมชนเมือง�สภาพของชมุ ชนนมี้ กั จะมลี กั ษณะตรงกนั ข้ามกับชมุ ชนในชนบท สมาชกิ
ภายในกลุ่มไม่ค่อยรู้จักกัน การตัดสินปญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจึงต้องอาศัยระเบียบข้อบังคับของ
ชมุ ชนเปน็ เครอื่ งมอื การแขง่ ขนั กนั ระหวา่ งสมาชกิ มสี งู ทำใหส้ มาชกิ ในชมุ ชนคอ่ นขา้ งกระตอื รอื รน้
พฤติกรรมของวัยรุ่นท่ีอยู่ในชุมชนจะพบว่า มีพฤติกรรมการรวมกลุ่มเฉพาะคนท่ีอยู่ในระดับ
เดยี วกัน ดังนนั้ หากกลมุ่ ของวยั ร่นุ ทร่ี วมกลมุ่ กนั มพี ฤตกิ รรมการแสดงออกที่ถกู ต้อง พฤติกรรมที่
วยั รนุ่ แสดงออกมายอ่ มมพี ฤตกิ รรมทเี่ หมาะสมดว้ ย ในทางตรงกนั ขา้ มหากบางกลมุ่ มพี ฤตกิ รรมท่ี
ผดิ ไปจากสังคม กม็ ักจะส่งผลใหว้ ยั รุ่นแสดงพฤตกิ รรมทไี่ มเ่ หมาะสมดว้ ยเช่นกัน
3)�ชุมชนแออดั สภาพของชมุ ชนนี้เกิดจากการทผี่ ้คู นอพยพเขา้ มาอย่รู ่วมกัน เพอ่ื เข้ามา
ประกอบอาชีพ ทอ่ี ย่อู าศัยมักไมเ่ ป็นระเบยี บ ขาดเคร่ืองอำนวยความสะดวกตา่ ง ๆ ซ่ึงโดยมาก
จะพบว่าวัยรุ่นที่อยู่ในชุมชนแออัดมักประสบปญหาทางด้านสุขภาพ ซึ่งเป็นอุปสรรคส�าคัญ
ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของรา่ งกาย
4)�ชุมชนชนกลุมนอย สภาพของชุมชนอาจมีความแตกต่างไปจากชนกลุ่มใหญ่
ในด้านเชื้อชาติหรือศาสนา ชุมชนกลุ่มนี้มักมีระเบียบประเพณีและข้อบังคับของตนเองท่ีใน

16 หนงั สอื เรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ม. 2
บางลักษณะอาจแตกต่างหรือเหมือนกันกับชุมชนภายนอกก็ได้ ทำให้วัยรุ่นในชุมชนนี้รู้สึกมี
ปมดอ้ ยตอ่ การเข้าร่วมปฏิบัติกิจกรรมกบั บคุ คลทอ่ี ยใู่ นชมุ ชนแหล่งอื่น ๆ

จากลักษณะสภาพของชุมชนที่กล่าวมา ไมว่ ่าวยั รนุ่ จะมาจากชุมชนลักษณะใดกต็ าม วัย
รุ่นจะต้องเข้าใจตนเอง รู้จักสิทธิและหน้าท่ีของตน มีความเป็นระเบียบวินัย รู้จักปฏิบัติตาม
ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรมอันดี และหมั่นศึกษาหาความรู้ ตลอดจนเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
ในสังคมที่เหมาะสม สง่ิ ตา่ ง ๆ เหล่านี้จะชว่ ยใหว้ ยั รุ่นมกี ารเจริญเติบโตและมพี ฒั นาการท่ีดีต่อไป

3. ภาวะทางดานลักษณะนิสัยและการปฏิบัติตนของวัยรุน แม้วัยรุ่นจะอยู่ในช่วงชีวิตที่มี
การเจริญเติบโตและมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปญญาที่เจริญ
รวดเร็วกว่าทุกวัย แต่การเจริญเติบโตและการมพี ฒั นาการท่ีเหมาะสมกบั วยั นนั้ ลกั ษณะนิสยั และ
การปฏบิ ตั ติ นของวยั รนุ่ กเ็ ปน็ อกี ปจ จยั หนง่ึ ทม่ี คี วามสำคญั เพราะหากวยั รนุ่ มลี กั ษณะนสิ ยั และการ
ปฏบิ ตั ติ นทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง เชน่ ไมใ่ หค้ วามสนใจทจ่ี ะดแู ลรา่ งกาย ตลอดจนรกั ษาของใชส้ ว่ นตวั ใหม้ คี วาม
สะอาดเรยี บรอ้ ย ไมร่ จู้ กั วธิ กี ารดแู ลรกั ษาฟน ใหแ้ ขง็ แรงและแปรงฟน ไมถ่ กู วธิ ี ไมส่ นใจทจี่ ะลา้ งมอื
ให้สะอาดก่อนและหลังรับประทานอาหาร รวมท้งั หลังการขับถ่าย ลักษณะนิสัยและการปฏิบัติ
ดงั กลา่ วยอ่ มจะนำมาสกู่ ารเกดิ ปญ หาทางดา้ นสขุ ภาพในตวั ของวยั รนุ่ และในทส่ี ดุ ปญ หาดงั กลา่ วจะ
ส่งผลให้เกดิ ภาวะความชะงกั งันตอ่ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการท่ีควรจะเป็นไปของวัยรุ่น

ในทางตรงกันข้าม หากวัยรุ่นมีลักษณะนิสัยท่ีก่อให้เกิดสุขลักษณะ (สุขนิสัย) และนำ
ลักษณะนิสัยดังกล่าวมากระทำหรือปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง (สุขปฏิบัติ) ย่อมจะบังเกิดผลดีต่อการ
เจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของวยั รนุ่ เชน่ การรจู้ กั เลอื กรบั ประทานอาหารทป่ี รงุ สกุ สะอาด ปราศจาก
เช้ือโรค และมีคุณค่าทางโภชนาการ การรู้จักวิธีการและหมั่นออกกำลังกายอย่างสมำ่ เสมอ การ
ตระหนกั ในความสำคญั ของกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทส่ี ง่ เสรมิ สขุ ภาพ และนำกจิ กรรมดังกล่าวมาใชป้ ฏบิ ตั ิ
เป็นประจำ

เรยี นร.ู ..ส.ู ..ปฏิบัติ

• นักเรียนแบง่ กลุม่ เปน็ 2 กล่มุ แตล่ ะกลุ่มร่วมกนั ศกึ ษาค้นควา้ ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี
กลมุ่ ที่ 1 เรอื่ ง อารมณ์ของวยั ร่นุ กับพฤตกิ รรมการแสดงออก
กลมุ่ ท่ี 2 เร่อื ง อทิ ธพิ ลของครอบครวั ที่มตี ่อพฒั นาการของวยั ร่นุ

เขยี นสรปุ ประเดน็ ทส่ี ำคญั และขอ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากการศกึ ษาคน้ ควา้ บนั ทกึ แลว้ มานำเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น

แหลงสืบคน ความรู

• นักเรียนสามารถสืบค้นความรู้เกี่ยวกับเร่ือง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของวัยรุน เพิ่มเติมได้จากการสอบถามครูอาจารย์ เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุขในชุมชน
และท่ีเว็บไซต์ http://www.smartman-th.com หรือ http://www.cool-health.com หรือ
http://www.kidsquare.com/parent/care/teen/

บทสรุปหน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 วยั รนุ เปนผูท ่มี ีชว งอายุต้งั แต 10–20 ป โดยถอื วาเปน วยั ท่ีเปลยี่ นแปลง หนงั สือเรยี น รายวชิ าพ้นื ฐาน สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ม. 2 17
จากวัยเด็กกาวยางมาสูวัยผูใหญ เพศหญิงจะมีลักษณะของการเจริญเติบโตและ
การเจริญเติบโต พัฒนาการทางดานรางกายเขาสูชวงวัยรุนเร็วกวาเพศชายประมาณ 2 ป และเม่ือ
และพฒั นาการของวัยรนุ เปรียบเทียบความสูงและน้ำ�หนักตัวจะพบวา โดยเฉลี่ยเพศหญิงจะมีอัตราการเพ่ิม
ของนำ้ �หนักและสวนสูงมากกวาเพศชาย
เรยี นรตู้ วั เรา ในสวนพัฒนาการทางดานจิตใจและอารมณข องวัยรุนจะพบวา มีการเปลยี่ น
แปลงและออ นไหวไดง า ย พฒั นาการทางดา นสงั คมของวยั รนุ ถอื วา เปน พฒั นาการของ
สงั คมทม่ี กี ารขยายตวั สว นพฒั นาการทางดา นสตปิ ญ ญาจะมพี ฒั นาการจนถงึ ขดี สดุ
เมอ่ื อายปุ ระมาณ 16 ป โดยมีความเขา ใจในเร่ืองของการใชสญั ลกั ษณและส่งิ ท่ีเปน
นามธรรมไดดีข้นึ

ปจ จัยท่ีมีอทิ ธพิ ล การเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุนไดรับอิทธิพลมาจากปจจัยที่สำ�คัญ
ตอการเจรญิ เติบโต 2 สวน ไดแก ปจจัยภายใน ประกอบดวยพันธุกรรมและระบบการทำ�งานของ
และพฒั นาการของวัยรนุ ตอ มไรท อ และปจ จยั ภายนอก ประกอบดว ยสภาพของครอบครวั และการอบรมเลย้ี งดู
สภาพของชุมชนและส่ิงแวดลอม และภาวะทางดานลักษณะนิสัยและการปฏิบัติตน
ของวยั รุน

18 หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน สุขศึกษาและพลศึกษา ม. 2

กิจกรรมเสนอแนะ

1. นักเรียนแต่ละคนสังเกตและจดบันทึกภาวะการเจริญเติบโตและพัฒนาการในด้าน
ต่าง ๆ ของญาติพ่ีน้องหรือสมาชิกในชุมชนที่มีอายุต้ังแต่ 10–15 ปี หากพบว่า
ภาวะใดมีความผิดปกติใหเ้ สนอแนะแนวทางในการแกไ้ ข แลว้ จดั ทำเปน็ รายงานสรุป

2. นักเรียนสร้างแผนท่ีความคิดเร่ือง แนวทางในการปฏิบัติตนเพ่ือช่วยสร้างเสริมการ
เจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการให้เหมาะสมกบั ช่วงวัย

3. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มศึกษาค้นคว้ารายละเอียดร่วมกัน
โดยเนน้ กระบวนการทำงานกลมุ่ แลว้ นำผลทไ่ี ดอ้ ภปิ รายหนา้ ชน้ั เรยี นในประเดน็ ตอ่ ไปนี้
1) องคป์ ระกอบทีแ่ สดงถงึ ภาวะการเจรญิ เตบิ โตทางดา้ นรา่ งกายของวัยรุน่
2) แนวทางในการสง่ เสริมพฒั นาการของวยั รนุ่

โครงงาน

นกั เรยี นเลอื กทำโครงงานตอ่ ไปนี้ (เลอื ก 1 ขอ้ ) หรอื อาจเลอื กทำโครงงานอน่ื ตามความสนใจ
ตามรูปแบบโครงงานที่ครูกำหนด (ซึ่งอย่างน้อยต้องมีหัวข้อต่อไปนี้ เหตุผลที่เลือกโครงงานนี้
จุดประสงค� แผนการปฏบิ ัติการ)

1. โครงงานการศึกษาค้นคว้าเร่ือง ปจจัยท่ีทำ�ใหเกิดความผิดปกติดานการเจริญเติบโต
และพฒั นาการของวยั รุน

2. โครงงานการศกึ ษาคน้ ควา้ เรอื่ ง อทิ ธพิ ลของครอบครวั ตอ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการ
ของวัยรนุ

3. โครงงานการสำรวจเร่ือง ความวิตกกังวลใจตอการเปล่ียนแปลงทางดานรางกายของ
วยั รุน ในชุมชน

หมายเหตุ: โครงงานท่ีเลือกตามความสนใจควรได้รับคำแนะนำแก้ไขจากครู เม่ือได้รับ
ความเห็นชอบแล้วจึงดำเนินโครงงานน้ัน ๆ โดยครู/ผู้ปกครอง/กลุ่มเพ่ือน ประเมินลักษณะ
กระบวนการทำงาน และนกั เรียนควรมีการสรปุ แลกเปลี่ยนความรูซ้ ่งึ กันและกันก่อนพจิ ารณาเกบ็
ในแฟม สะสมผลงาน

หนงั สือเรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน สขุ ศึกษาและพลศึกษา ม. 2 19

การประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

นักเรียนน�าความรู้ที่ได้จากการศึกษาในหน่วยการเรียนรู้นี้ในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการ
เจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่นไปถ่ายทอดและแนะน�าแก่สมาชิกในครอบครัว ตลอดจนน�า
ความรู้ความเข้าใจดังกล่าวไปปรับใช้ในชีวิตประจ�าวันด้วยตนเองต่อไป เพ่ือเป็นการส่งเสริมการ
เจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของตนเองให้เหมาะสมตามวยั

คําถามประจําหนวยการเรียนรูที่ 1

ตอบคำ ถามตอ ไปน้ี
1. หากผลการประเมินด้านส่วนสูงตามเกณฑ์อายุของเด็กวัยรุ่นคนหนึ่งมีระดับส่วนสูงต่ำกว่า

เกณฑอ์ ายุ นักเรียนคดิ ว่าผลการประเมินดงั กล่าวจะเป็นเคร่อื งบง่ ช้ีถงึ ภาวะในเรอ่ื งใดได้บ้าง
และจะมีวธิ ีการแกไ้ ขปญ หาในเรื่องดงั กล่าวอย่างไร
2. หากนกั เรยี นตอ้ งจดั เรยี งลำดบั ของปจ จยั ทม่ี ผี ลกระทบตอ่ การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการของ
วยั รุ่นจากมากที่สดุ ไปหานอ้ ยท่สี ดุ จะจัดเรียงอย่างไรและมีเหตผุ ลประกอบอย่างไร
3. นักเรียนคิดว่าภาวะทางสังคมและวัฒนธรรมในปจจุบันมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการของวัยรุ่นอย่างไรบ้าง และจะมีวิธีการปรับตัวให้เข้ากับภาวะท่ีเกิดขึ้นดังกล่าวได้
อยา่ งไร
4. นกั เรยี นมคี วามคดิ เหน็ อยา่ งไรกบั คำกลา่ วทว่ี า่ “ชว งชวี ติ ของวยั รนุ เปน ชว งวยั ทม่ี คี วามสำ�คญั
ตอตนเองและตอ อนาคต�สังคม�และประเทศชาต”ิ
5. พฒั นาการทางดา้ นสงั คมของวยั รนุ่ มลี กั ษณะอยา่ งไร และนกั เรยี นจะมแี นวทางปฏบิ ตั อิ ยา่ งไร
เพ่ือการสรา้ งเสรมิ การเจริญเติบโตและพัฒนาการใหม้ คี วามเหมาะสมกบั วัย
6. เหตุใดต่อมใต้สมองหรือต่อมพิทูอิทารีจึงถือว่าเป็นต่อมไร้ท่อท่ีมีความสำคัญท่ีสุดในร่างกาย
และมคี วามเกี่ยวข้องกับการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการในวัยรุ่นอยา่ งไร
7. ถ้านกั เรียนมีความรู้สกึ หรอื เกดิ ความสงสัยวา่ ภาวะการเจริญเติบโตและพฒั นาการของตนเอง
มีความผดิ ปกติ จะมแี นวทางในการปฏิบตั ติ นตอ่ เรอื่ งดงั กลา่ วอยา่ งไร
8. หากต้องอาศัยอยู่ในชุมชนและส่ิงแวดล้อมที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
ของวยั รนุ่ เพอื่ ลดผลกระทบจากปจ จยั ดงั กลา่ ว นกั เรยี นจะมแี นวทางในการปฏบิ ตั ติ นอยา่ งไร

2 ชวี ติ และครอบครวั

ตัวชี้วัดชนั้ ป

1. วเิ คราะหป จ˜ จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ‹ เจตคตใิ นเรอื่ งเพศ
(พ 2.1 ม. 2/1)
2. วิเคราะหป ญ˜ หาและผลกระทบท่ีเกดิ จากการ
มีเพศสัมพันธในวยั เรียน (พ 2.1 ม. 2/2)
3. อธบิ ายวิธปี อ‡ งกนั ตนเองและหลีกเลี่ยงจาก
โรคติดต‹อทางเพศสัมพันธ เอดส และการ
ตง้ั ครรภโดยไมพ‹ งึ ประสงค (พ 2.1 ม. 2/3)
4. อธบิ ายความสำคญั ของความเสมอภาคทางเพศ
และวางตัวไดอŒ ย‹างเหมาะสม (พ 2.1 ม. 2/4)


Click to View FlipBook Version