สารบัญ บทน า ........................................................................................................................ 1 1.1 ที่มาและความส าคัญของโครงงาน.................................................................................. 1 1.2 วตัถุประสงค์ของโครงงาน.......................................................................................... 1 1.3 สมมตุ ฐิานของการศึกษา ........................................................................................... 1 1.4 ขอบเขตของการท าโครงงาน ....................................................................................... 1 1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ................................................................................................. 1 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง................................................................................................ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง............................................................................................. 2 2.1 ข้อมูลทเี่กยี่วกบัยุง.................................................................................................. 2 2.1.1 ชนิดของยุง................................................................................................... 3 2.1.2 เชื้อโรคของยุง ................................................................................................ 3 2.1.3 สิ่งทที่า ให้ยุงเข้าหา............................................................................................ 3 2.2 เชื้อโรคทมี่ากบัยงุ ................................................................................................... 4 2.2.1 โรคไข้มาลาเรีย ............................................................................................... 4 2.2.2 โรคไข้เลือดออก............................................................................................... 4 2.2.3. โรคไข้สมองอักเสบ .......................................................................................... 5 2.2.4 โรคเท้าช้างโรคเท้าช้าง........................................................................................ 5 2.3 หลอดไฟ Black Light....................................................................................... 6 2.3.1 คุณสมบัติหลอดไฟ Black Light..................................................................... 6 2.4 วงจรเรียงกระแส(Rectifier).................................................................................. 6 2.5 ค านวณค่าสิ้นเปลืองพลังงาน ....................................................................................... 7 ขั้นตอนการด าเนินการ....................................................................................................... 8 3.1 บลอ็กไดอะแกรมการทา งานของกล่องช็อตยุง DIY.............................................................. 8 3.2 ชิ้นส่วนประกอบของกล่องช็อตยุง DIY ......................................................................... 8 3.4 เครื่องมือทใี่ช้ในการประกอบทา กล่องช็อตยุงDIY ............................................................... 9 3.5 วิธีการด าเนินโครงงาน.............................................................................................. 9
3.5.1 ประชุมโครงงาน.............................................................................................. 9 3.5.2 สืบค้นข้อมูล.................................................................................................. 9 3.5.3 ข้ันตอนการประกอบเครื่องดกัยุง............................................................................. 9 3.5.4 ข้ันตอนการทดลองกล่องช็อตยุงDIY.....................................................................10 ผลการทดลอง...............................................................................................................11 4.1 ประโยชน์ของกล่องยุงDIY .....................................................................................11 4.2 ข้ันตอนการทดสอบประสิทธิภาพของกล่องช็อตยุงDIY........................................................11 ตารางแสดง จา นวนยุงทฆี่่าได้โดยใช้กล่องช็อตยุงDIY...............................................................11 สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะ................................................................................................12 5.1 สรุปผลการศึกษา ..................................................................................................12 5.1.1 การประดษิฐ์กล่องช็อตยุงDIY............................................................................12 5.1.2 การทดสอบประสิทธิภาพกล่องช็อตยุงDIY ..............................................................12 5.2 อภิปรายผล........................................................................................................12 บรรณานุกรม ...............................................................................................................13
1 บทที่ 1 บทน า 1.1 ที่มาและความส าคัญของโครงงาน จากการประสบปัญหาจากยุงน้นัซ่ึงยุงทา ให้แต่ละครัวเรือนรู้สึกร าคาญและแถมยังกลัวโรคที่มาจาก ยุงอีกมากมายและยงักลวัโรคที่มาจากยุงอีกมากมาย เช่นไขเ้ลือดออก โรคมาลาเรีย เป็นตน้จึงได้จดัทา โครงงานเรื่องกล่องช็อตยงุ DIY จากปัญหาดงักล่าวจึงได้แนวคิดการแก้ไขปัญหาจากยุง ซ่ึงไดป้ระดิษฐ์กล่องช็อตยุง DIY โดยใช้ หลอด BLACKLIGHT UVA (เป็นตวัล่อยุง) ซ่ึงมีคุณสมบตัิในการล่อแมลงบินทุกชนิด ที่มีปฏิกิริยาไวต่อ แสง UVA ไม่วา่จะเป็น แมลงกลางวัน หรือ แมลงกลางคืน 1.2วตัถุประสงค ์ของโครงงาน 1.2.1 เพื่อสร้างเครื่องกล่องช็อตยุงDIY 1.2.2 เพื่อช่วยป้องกนัการเป็นโรคที่มากบัยงุเช่น ไข้เลือดออก โรคมาลาเรีย เป็ นต้น 1.2.3 นา ไมช้็อตยงุที่พงัแลว้นา กลบัมาใชใ้หม่ซ่ึงเป็นการลดขยะ 1.3 สมมุติฐานของการศึกษา ยงุก็คือ สัตวจ์า พวกแมลง ดงัน้นัหลอด BLACKLIGHT UVA ซ่ึงมีคุณสมบตัิในการล่อแมลงบินทุก ชนิด ที่มีปฏิกิริยาไวต่อแสง UVA ไม่วา่จะเป็นแมลงกลางวนัหรือแมลงกลางคืนก็สามารถล่อยงุมายงักล่อง ช็อตยุงได้ 1.4 ขอบเขตของการท าโครงงาน 1.4.1 ท าการทดลอง 2 สัปดาห์ 1.4.2 สถานที่ในการทดสอบบริเวณ บ้านของนักศึกษา 1.5 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.5.1 สามารถดักฆ่ายุงในบริเวณที่ทดลองได้ 1.5.2 สามารถป้องกนัการเป็นโรคที่มากบัยงุเช่น ไขเ้ลือดออกโรคมาลาเรีย เป็ นต้นได้ 1.5.3 ลดขยะประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้า โดยการน าไม้ช็อตยุงที่พังแล้วน ามาดัดแปลงเพื่อใช้ใหม่
2 บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 สืบค้นข้อมูลยุง 2.2 เช้ือโรคที่มากบัยงุ 2.3 หลอดไฟ Black Light 2.4 วงจรเรียงกระแส(Rectifier) 2.6 ค านวณค่าสิ้นเปลืองพลงังาน 2.1 ข้อมูลที่เกยี่วกบัยุง ยุง (MOSQUITOES)ยุงเป็นแมลงที่พบไดท้วั่ โลกแต่พบมากในเขตร้อนและเขตอบอุ่น จากหลกัฐาน ทางฟอสซิลสามารถสันนิษฐานไดว้า่ยงุไดถ้ือกา เนิดข้ึนในโลกต้งัแต่ยุคดึกด าบรรพเ์มื่อประมาณ 38-54ล้าน ปี มาแล้วจากรายงานการส ารวจพบว่าทวั่ โลกมียุงอยู่มากมายหลายพนัชนิดประมาณการว่ามีมากถึง 3,500 ชนิด(species) ในประเทศไทยมีประมาณ 400 ชนิดยงุบางชนิดแค่ก่อความร าคาญโดยการดูดกินเลือดคนและ สัตวเ์ล้ียงเป็นอาหารเท่าน้นัแต่ก็มียงุอีกหลายชนิดซ่ึงนอกจากจะดูดกินเลือดเป็ นอาหารแล้ว ยังเป็ นพาหะน า โรคร้ายแรงต่างๆมาสู่คนและสัตวอ์ีกดว้ยซ่ึงนบัวา่เป็นอนัตรายอยา่งยงิ่
3 2.1.1 ชนิดของยุง - ทวั่ โลกมียงุ 4000ชนิด -ยุงที่เป็ นอันตราย100ชนิด - ในประเทศไทยบา้นเรามียงุท้งัหมด4สายพันธุ์ที่เป็ นพาหะน าโรคร้ายที่มีอันตรายถึงชีวติไดแ้ก่ ยงุกน้ ปล่องยงุร าคาญ ยุงลาย ยุงเสือ 2.1.2 เชื้อโรคของยุง -โรคมาลาเรีย(ยงุกน้ ปล่อง) -โรคเท้าช้าง (ยุงเสือ) -ไข้เลือดออก (ยุงลายบ้าน/ยุงลายสวน) -โรคไข้สมองอักเสบ (ยุงร าคาญ) 2.1.3 สิ่งทที่า ให้ยุงเข้าหา -อุณหภูมิ 37องศาเซลเซียส -ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ -กลิ่นเหงื่อของคน -ไฟล่อแมลง (Black Light)
4 2.2 เชื้อโรคที่มากบัยุง 2.2.1 โรคไข้มาลาเรีย โรคมาลาเรียน้นัเกิดจากยงุกน้ ปล่องเป็นโรคติดต่อที่พบในเขตร้อน โดยเฉพาะบา้นเราเองก็มีรายงานวา่ พบผปู้่วยมาลาเรียแต่พบเฉพาะในเขตป่าเขาบริเวณชายแดน 2.2.2 โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลาย (Aedes aegyti) ตวัเมีย บินไปกดัคนที่ป่วยเป็นไขเ้ลือดออกโดยเฉพาะ ช่วงที่มีไขสู้ง ทา ให้ไดร้ับเช้ือไวรัสเดงกี่เช้ือจะเพิ่มจา นวนในตวัยุงประมาณ 8-10วนัเช้ือไวรัสเดงกี่จะไปที่ ผนงักระเพาะและต่อมน้า ลายของยุง เมื่อยงุกดัคนก็จะแพร่เช้ือสู่คน เช้ือจะอยใู่นร่างกายคนประมาณ 2-7 วัน ในช่วงที่มีไข้
5 2.2.3. โรคไข้สมองอักเสบ โรคน้ีเกิดจากการที่ยุงน้นัพาเช้ือมาจากหมูพบมากในประเทศไทยโดยเฉพาะในจงัหวดัที่มีการเล้ียง หมูวา่กนัวา่ผไู้ดร้ับเช้ือ300คน จะเป็นโรคซกั1คน แมว้า่อตัราการป่วยจะนอ้ยแต่ก็อยา่ ประมาท อาการของ โรคน้ีคือ ปวดศีรษะ มีไขสู้งประมาณ 1-7วนัหลงัจากน้นัจะเริ่มคอแข็งเพอ้คลงั่ ไม่มีสติสัมปชัญญะ และผู้ ที่มีอาการรุนแรงอาจถึงตายไดเ้ลยทีเดียว โรคน้ียงัไม่มีทางรักษาแต่สามารถป้องกนัไดด้ว้ยการฉีดยา และพบ แพทยต์้งัแต่มีอาการ 2.2.4 โรคเท้าช้างโรคเท้าช้าง โรคเท้าช้างเป็ นอีกโรคยุงเป็ นพาหะ มักพบในทวีปเขตร้อน ส าหรับในประเทศไทยพบมากในภาคใต้ อาการที่เกิดน้นัจะเกิดจากพยาธิสภาพที่เกิดข้ึนจากพยาธิตวักลมที่ถูกปล่อยจากยงุน้นัจะไปทา ลายระบบ ไหลเวยีนของท่อน้า เหลืองและระบบภูมิคุม้กนัทา ใหเ้กิดการอกัเสบในท่อน้า เหลืองและอวยัวะส่วนต่างๆ ของร่างกายจะบวมข้ึน และอาจเกิดการติดเช้ือบริเวณดงักล่าวเพิ่มอีกแต่หากคนที่มีภูมิคุม้กนัดีโรคก็จะไม่ แสดงอาการ
6 2.3 หลอดไฟ Black Light 2.3.1 คุณสมบัติหลอดไฟ Black Light หลอดไฟ Black light เป็นหลอดไฟที่มีคุณสมบตัิพิเศษ ที่จะให้แสงในช่วงคลื่น UVA ซึ่งมีความยาว คลื่นประมาณ 380-400 นาโนเมตร ซ่ึงเป็นช่วงแสดงที่แมลงต่างๆสามารถมองเห็นไดด้ีเป็นหลอด UV ชนิด หน่ึง ซ่ึงมีลกัษณะภายนอกเช่นเดียวกบัหลอดฟลูออเรสเซนตท์วั่ ไป แต่มีความแตกต่างจากหลอดฟลูออเรส เซนตท์วั่ ไป ตรงที่ส่วนประกอบและชนิดของสารฟอสเฟอร์ที่น ามาใช้และมีการใชส้ารกรองแสงเคลือบทบั ที่หลอด เพื่อให้หลอดแกว้ใสส่งผา่นรังสีสีฟ้าที่มองเห็นไดบ้างส่วน เพื่อให้เกิดการแผ่รังสีอุลตร้าไวโอเล็ต หลอดแบล็คไลท์ขาวสามารถใช้อุปกรณ์ประกอบ(บัลลาสต์และสตาร์ทเตอร์) ได้เหมือนหลอดฟลูออเรส เซนต์ทวั่ ไปหลอด BLACKLIGHT UVA มีคุณสมบตัิในการล่อแมลงบินทุกชนิด ที่มีปฏิกิริยาไวต่อแสง UVA ไม่วา่จะเป็นแมลงกลางวนัหรือแมลงกลางคืน 2.4 วงจรเรียงกระแส(Rectifier) แปลงไฟกระแสสสับเป็นไฟกระแสตรงแต่ไฟกระแสตรงที่ไดย้งัไม่เรียบ มีความพริ้ว(ripple)สูง
7 2.5 ค านวณค่าสิ้นเปลืองพลังงาน หน่วยค่าไฟฟ้าบา้นเรือน 1 Unit = 4 บาท หลอดไฟ Back light 6 W = 0.006 kW จ านวน 1 หลอด = 0.006 kW x 1 หลอด = 0.012 kW ค านวณเป็ น หลอดไฟBack light 0.006 kW x 1 หลอด x 2 ชวั่ โมง=0.012 Unit =>0.012 Unit x 4 บาท = 0.048 บาท กล่องช็อตยุง ในหนึ่งวันของการใช้งานต่อ 2 ชั่วโมง หน่วยของหลอดไฟBack light หน่วยไฟใชเ้ครื่อง ใน 2 ชม./1วัน x จ านวนค่าหน่วย(Unit) = 0.07272Unit x 4 บ. = 0.29088บ./วัน ของท าการทดลอง คิดเป็ นรายเดือน = 9.01728 บาท/เดือน ในเวลา 2 ชวั่ โมง
8 บทที่ 3 ขั้นตอนการด าเนินการ 3.1 บลอ็กไดอะแกรมการทา งานของกล่องช็อตยุง DIY จากภาพที่ 3.1 เป็ นบล็อกไดอะแกรมการท างานกล่องช็อตยุงDIY มีส่วนประกอบดว้ย โมดุลตัว ควบคุมการแปลงไฟกระแสสลับให้เป็ นไฟกระแสตรง และให้OUTPUT ที่ออกมาเป็ นไปตามต้องการและ หลอดไฟแบล็คไลคท์า หนา้ที่เป็นสื่อล่อยงุให้บินมาชนตาข่ายลวดกล่องช็อตยุง สามารถอธิบายระบบโดยรวมของการใช้งานเครื่องดักยุง Mos-T ไดด้งัน้ีเมื่อเสียบปลกและกดั๊ เปิดสวชิท้งัหมดเริ่มทา งานพร้อมกนัหลงัจากน้นัก็น าเครื่องไปวางไว้ยังที่ที่ต้องการใช้งาน 3.2 ชิ้นส่วนประกอบของกล่องช็อตยุง DIY 1) กล่องพลาสติก 2) หลอดไฟแบล็กไลท์ 3) สายไฟ 4) ข้วัหลอดพร้อมสายไฟ 5)ไม้ช็อตยุงที่เสียแล้ว 6) กาวแท่ง 7) สติ๊กเกอร์สีดา ดา้น
9 8) สวิตซ์ปิ ดเปิ ด 3.4 เครื่องมือที่ใช้ในการประกอบท ากล่องช็อตยุงDIY 1) สว่านไฟฟ้า 2)จิ๊กซอว์ 3) คัตเตอร์ 4) เครื่องมือบดักรีและตะกวั่ 5) คีมปอกสายไฟออโต้ 3.5วิธีการด าเนินโครงงาน 3.5.1 ประชุมโครงงาน ทา การประชุมกนัภายในกลุ่มโครงงานโดยมีครูที่ปรึกษาคอยให้คา แนะนา และแจกแจงหนา้ที่แต่ละ คนที่จะต้องรับผิดชอบ 3.5.2 สืบค้นข้อมูล คน้หาขอ้มูลที่เกี่ยวขอ้งในการทา โครงงาน หาข้อมูลของพฤติกรรมของยุง และ เครื่องดักยุง จาก แหล่งขอ้มูลต่างๆ 3.5.3 ข้ันตอนการประกอบเครื่องดักยุง 1) ซ่อมวงจรไมช้็อตยงุที่พงัโดยต่อสายไฟจากสวติซ์เขา้กบัแบตเตอรี่ 2) น าไม้ช็อตยงุมาวดัฝากล่อง เพื่อนา มาติดต้งักบักล่อง 3) เจาะรูดา้นล่างกล่องและดา้นขา้ง เพื่อติดต้งัหลอดไฟแบล็กไลทแ์ละร้อยสายไฟเขา้กบัวงจรไมช้็อตยงุ 4) ต่อสายไฟเขา้กบัแบตเตอรี่กบัวงจรไมช้็อตยงุกบัสวติซ์ปิดเปิด
10 3.5.4 ขั้นตอนการทดลองกล่องช็อตยุงDIY ในการทดลองเครื่องดักยุง สถานที่ที่ใช้ท าการทดลองคือบ้านของนักศึกษา โดยการท าการทดลอง จะใช้เวลา 2 ชวั่ โมง ต่อ1วนัคือช่วงเวลา 20.00-22.00 น. ทดลองเป็ นเวลา 2 วัน
11 บทที่ 4 ผลการทดลอง 4.1 ประโยชน์ของกล่องยุงDIY 1.สามารถดกัยงุไดอ้ยา่งปลอดภยัโดยไม่ใชส้ารเคมี 2.สะดวกสบายในการใช้งาน 3.ช่วยป้องกนัการเป็นโรคที่มากบัยงุเช่น ไขเ้ลือดออกโรคมาลาเรียเป็นตน้ 4.2 ขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพของกล่องช็อตยุงDIY คณะผู้จัดท าได้ด าเนินการทดลองด้วยกล่องช็อตยุงจ านวน 2คร้ังคร้ังละ 2 ชวั่ โมง ต่อ1วนัเวลา 20.00-22.00 น. น าจ านวนยุงที่ดักได้มาบันทึกผล โดยการนับจ านวนยุงที่เครื่องดกัได้ว่าเราสามารถลด จ านวนยุงได้มากน้อยเพียงใด ตารางแสดงจ านวนยุงทฆ่า ี่ได้โดยใช้กล่องช็อตยุงDIY จากตารางขา้งตน้พบว่าเมื่อทา การช็อตยุงด้วยกล่องช็อตยุงDIY ในระยะเวลาที่กา หนด พบว่า มี จา นวนยงุที่ดกัไดเ้พิ่มข้ึน จากการใชส้ติ๊กเกอร์สีด ามาติดหุ้มเป็นสีกล่องและหลงัจากน้นได้ ั เนื่องจากต้องการ ให้แสงจากหลอดไฟBLACKLIGHT เป็นจุดที่ล่อยุงจุดเดียวเราจึงสรุปไดว้า่สีดา และไฟสีม่วงจากหลอดไฟ BLACKLIGHTมีผลต่อการล่อยงุมากกวา่แสงสีใส ครั้งที่ ระยะเวลา (ช่วงเวลา) สถานที่ทดลอง จ านวน (ยุงที่ฆ่าได้/ตัว) หมายเหตุ 1 20.00 -22.00 น. บ้านพักนักศึกษา 142 กล่องสีใสและมีไฟแบล็กไลท์ 2 20.00 -22.00 น. บ้านพักนักศึกษา 264 กล่องสีด าทึบและมีไฟแบล็กไลท์
12 บทที่ 5 สรุปปัญหาและข ้ อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา 5.1.1การประดิษฐ์กล่องช็อตยุงDIY ได้กล่องช็อตยงุที่มีลกัษณะเด่น คือ 1.สะดวกสบายในการใช้งาน 2.สามารถดกัยงุไดอ้ยา่งปลอดภยัโดยไม่ตอ้งใชส้ารเคมี 3.สามารถใช้งานได้จริง 5.1.2การทดสอบประสิทธิภาพกล่องช็อตยุงDIY โดยการทดสอบประสิทธิภาพกล่องช็อตยุงDIYพบวา่คร้ังที่1 สามารถดักฆ่ายุงได้142 ตวัคร้ังที่2 ได้ 264 ตวัเราจึงสรุปไดว้า่เราสามารถลดจา นวนยุงด้วยช็อตยุงDIYของเราได้ 5.2อภิปรายผล กล่องช็อตยงุ DIYประดิษฐข์้ึน โดยใชห้ลอดไฟ Black light เป็ นหลอดไฟที่มีคุณสมบัติพิเศษ ที่จะให้ แสงในช่วงคลื่น UVA ซึ่ งมีความยาวคลื่นประมาณ 380-400 นาโนเมตร ซ่ึงเป็นช่วงแสดงที่แมลงต่างๆ สามารถมองเห็นได้ดีหลอดBLACKLIGHT UVA มีคุณสมบตัิในการล่อแมลงบินทุกชนิด ที่มีปฏิกิริยาไวต่อ แสงUVA ไม่วา่จะเป็นแมลงกลางวัน หรือ แมลงกลางคืน จึงท าให้ยุงบินเข้าหา และเมื่อชนตาข่ายลวดก็จะ ถูกกระแสไฟฟ้าช็อตตายทันที 5.3 ข้อเสนอแนะ ผูป้ระดิษฐ์มีความเห็นว่าจะปรับปรุงกล่องช๊อตยุงให้มีแบตเตอรี่ที่ใหญ่ข้ึน และเพิ่มพอร์ตชาร์จ กระแสไฟฟ้าจากพลงังานแสงอาทิตย(์โซล่าเซลล์) ในกรณีมีการใช้งานกล่องช๊อตยุงในที่ที่ห่างไกลแหล่ง ไฟฟ้า
13 บรรณานุกรม [1] http://www.proteam2010.com/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=1http://www.btpct.com/%E0%B8%A7%E 0%B8%87%E0%B8%88%E0%B8%A3%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E 0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%87/ สืบค้นข้อมูลยุงวันที่15 ม.ค. 2565 [3]https://www.lnwsunshiro.com/article/33/%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B9%84%E0%B8 %A1%E0%B8%A B%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%A5%E0 %B9%8A%E0%B8 %84%E0%B9%84%E0%B8%A5%E0%B8%97%E0%B9%8C%E0%B8%96%E0%B8%B6%E 0%B8%87%E0%B 8%A5%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B9%84% E0%B8%94%E0% B9%89 สืบค้นข้อมูล หลอดไฟแบลค็ ไลด์วนัที่20 ม.ค. 2565 \ [4]http://www.kingbangkok.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0 %B8%B2%E0%B8%A 1%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0% B8%87%E0%B8%A1% E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%8A%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87/%E0%B9 %80%E0%B9%80%E0 %B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%96%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%99 %E0%B8%84%E0%B 8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%A3- %E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B 9%83%E0%B8%8A%E 0%B9%89%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B9% 88%E0%B8%B2%E0%
14 B8%87%E0%B9%84%E0%B8%A3- %E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B 8%99%E0%B8%84%E 0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A.html สืบค้นการแปรถ่าน วันที่5 ก.พ. 2560