The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siriam, 2019-10-24 04:04:13

T-SAR

T-SAR

Keywords: T-SAR

รายงานการประเมนิ ตนเองของครูผู้สอน

(Teacher’s Self Assessment Report : T-SAR)

ของ
นางสาวสิเรียม ลวดไธสง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ

โรงเรียนพทุ ไธสง อาเภอพทุ ไธสง จังหวดั บุรรี ัมย์
สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 32

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา

รายงานการประเมินตนเองของครูผู้สอน (Teacher’s Self Assessment Report : T-SAR)
เป็นการประเมินตนเองเก่ียวกับการปฏิบัติหน้าท่ีตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542
และแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545 ตลอดจนฉบับท่ี 3 พุทธศักราช 2553 รวมทั้งมาตรฐาน
การศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ีโรงเรียนพุทไธสง อาเภอพุทไธสง จังหวัดบุรีรัมย์ นามาประยุกต์ใช้โดยอนุโลม เพ่ือ
การพัฒนาตนเองและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของข้าพเจ้า โดยได้จัดทาข้ึนเพ่ือรายงานผลการจัดการเรยี น
การสอนและการปฏิบัติหน้าที่ตาม กลุ่มงาน / กลุ่มสาระการเรียนรู้ / งาน ตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีได้
สง่ เสริมให้นกั เรยี นมีคุณภาพและคณุ ลกั ษณะตามระดบั มาตรฐานคุณภาพการศึกษา

ท้ังน้ี เพ่ือเป็นการรายงานพร้อมประเมินผลการทางานของข้าพเจ้า ว่าได้ปฏิบัติหน้าท่ีบรรลุ
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรสถานศึกษา มาตรฐานคุณภาพการศึกษาโรงเรียนพุทไธสง ตัวบ่งช้ีที่เกี่ยวข้อง
รายงานดังกล่าวได้จัดทาขึ้นเพ่ือรายงานการประเมินตนเองเก่ียวกับการปฏิบัติหน้าท่ีต่อผู้บังคับบัญชา
ตามลาดับสายงาน ตลอดจนเผยแพร่ให้กับผ้ปู กครองนักเรียน ชุมชนในสงั คมได้ทราบผลการปฏิบัติงานของ
ขา้ พเจา้ และคุณลักษณะของผู้เรียนตามเกณฑม์ าตรฐานคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นพุทไธสง

ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินในการประเมินตนเอง (T-SAR) ในคร้ังน้ีข้าพเจ้าจะได้นาไปใช้เป็น
แนวทางในการปรับปรุงเพ่ือพัฒนาการปฏิบัติงานท่ีได้รับมอบหมาย เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของ
ผ้เู รียนให้สงู ขึ้นในทุก ๆ ดา้ นต่อไป

ลงช่ือ
(นางสาวสเิ รยี ม ลวดไธสง)

ครู คศ.1

............./.................../..............

สารบัญ

หน้า

รายงานการประเมินตนเองของครูผสู้ อน (Teacher’s Self Assessment Report : T-SAR) 1
ส่วนที่ 1 ข้อมลู พน้ื ฐาน 7
ส่วนท่ี 2 ผลทเ่ี กิดจากการปฏิบัติงาน 11
ส่วนที่ 3 ผลการดาเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน 15

ภาคผนวก

รายงานการประเมนิ ตนเองของครผู สู้ อน
(Teacher’s Self Assessment Report : T-SAR)

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐาน

1.1 ข้อมูลทั่วไป

ชื่อ นางสาวสเิ รียม สกลุ ลวดไธสง

วฒุ กิ ารศกึ ษา

ปรญิ ญาตรี กศ.บ. วิชาเอก ภาษาอังกฤษ จาก มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ปรญิ ญาโท................ วชิ าเอก จาก....................................

อนื่ ๆ ระบ.ุ ................ วิชาเอก จาก...................................

ตาแหนง่ ครู อายุ 26 ปี ปฏบิ ตั ิราชการ 2 ปี 5 เดอื น

เลขท่ีตาแหน่ง 76963 เงินเดือน 17,910 บาท เงินวิทยฐานะ - บาท

วนั / เดือน / ปี เกดิ 29 ตลุ าคม 2535

วัน / เดือน / ปี บรรจเุ ข้ารบั ราชการ 25 ตลุ าคม 2559

ปฏบิ ตั กิ ารสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ปฏิบตั ิงานพิเศษ เจ้าหน้าทก่ี ารเงิน

สังกดั ฝา่ ยแผนงานและงบประมาณ โรงเรียนพทุ ไธสง สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษาเขต32

สรปุ จานวนวนั ลา ประจาปกี ารศึกษา 2561 (1 เมษายน 2561 – 31 มีนาคม 2562)

วนั เดือน ปี ลาปว่ ย ลากิจ ลาอปุ สมบท ลาคลอด มาสาย
ทลี่ า ครงั้ วัน ครัง้ วัน คร้ัง วัน ครั้ง วนั คร้งั วนั

รวม - - - - - - - - - -

รวมทั้งส้นิ จานวน.........-.........คร้ัง จานวน.........-........วนั

1.2 ข้อมูลการปฏบิ ัติหน้าท่ี

1) ปฏิบัตกิ ารสอนตลอดปีการศกึ ษา 2561
ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561
ปฏิบัตกิ ารสอน รวมจานวน 3 รายวชิ า รวมจานวน 5 หอ้ ง รวมจานวน 13 คาบ

ท่ี รายวิชา (รหัส/ชื่อวิชา) ช้ัน /ห้อง จานวน จานวน
1 ภาษาอังกฤษพืน้ ฐาน อ21101 นกั เรียน คาบ
1/1, 1/2, 9
2 ภาษาเสริมทักษะ อ20219 1/12 117
3 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร อ30207 3/12 2
4/9 32 2
30

ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2561
ปฏบิ ตั ิการสอน รวมจานวน 3 รายวชิ า รวมจานวน 5 หอ้ ง รวมจานวน 13 คาบ

ที่ รายวิชา (รหสั /ชื่อวิชา) ชนั้ /หอ้ ง จานวน จานวน
1 ภาษาอังกฤษพน้ื ฐาน อ21102 นักเรยี น คาบ
1/1, 1/2, 9
2 ภาษาเสรมิ ทักษะ อ20220 1/12 117
3 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร อ30208 3/12 2
4/9 32 2
30

2) กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รยี น ท่ปี ฏบิ ัติการพัฒนาผ้เู รยี นตลอดปีการศึกษา 2561

ท่ี กจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น และชุมนุม ชนั้ /ห้อง จานวน จานวน
นักเรยี น คาบ
1 ลกู เสอื ม.1 1
2 โฮมรมู ม.4/10 35 1
3 ชุมนมุ Kahoot ม.2 17 1
4 สวดมนต์ ม.4/10 16 1
5 ลงพื้นที่ PLC ม.4/10 17 5
17

3) ปฏิบัตหิ น้าที่ครูที่ปรึกษา
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2561

ชน้ั / หอ้ ง (ครูท่ปี รกึ ษา) จานวนนักเรียน รวมท้งั สิน้ (คน)
ม.4/10 ชาย (คน) หญิง (คน) 20
9 11

ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2561

ชั้น / ห้อง (ครทู ป่ี รึกษา) จานวนนกั เรยี น รวมทงั้ สิ้น (คน)
ม.4/10 ชาย (คน) หญงิ (คน) 17
7 10

4) งานพิเศษที่ได้รบั มอบหมาย ฝ่าย หน้าที่
ท่ี กิจกรรม/ชื่องาน วชิ าการ เลขาฯ
1. เลขาฯห้องเรียนพเิ ศษ วทิ ย์ฯ-คณติ ฯ งานอ่ืนๆตามที่ได้รับ
แผนงานและ มอบหมาย
2. เจา้ หน้าทีก่ ารเงิน งบประมาณ ทาสลิปเงนิ เดอื นงานอน่ื ๆ
ตามที่ได้รับมอบหมาย

1.3 การพฒั นาตนเอง

1) การจัดทาแผนการจัดการเรยี นรู้ ดงั นี้

ท่ี รหัสวิชา สาระการเรียนรู้/รายวิชา ระดับชนั้ จานวน/แผน
1 อ21101 ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน ม.1 6
2 อ21102 ภาษาอังกฤษพ้นื ฐาน ม.1 6

2) การผลิตส่ือ/นวตั กรรม จานวน ชิน้ จานวน (ชน้ิ )
12
ที่ ช่อื ส่ือ/นวตั กรรม 30
1 Power Point New New world M.1 : Unit 1-12 10
2 Vocabulary card
3 True/False stick 2 (x 50)
4 English Alphabets

3) การจดั ทาวิจัยในช้ันเรยี น จานวน 1 เรอ่ื ง ระดบั ชน้ั
ม.1
ท่ี เรอื่ ง
1 การใชว้ ิดีโอเกมเพื่อพัฒนาความสามารถในการจดจาคาศัพทภ์ าษาองั กฤษของ

นกั เรียน ชน้ั ม.1

4) การนานักเรียนไปศึกษาคน้ ควา้ /การใช้แหลง่ เรียนร้ภู ายในและภายนอกโรงเรยี น

ท่ี ชอ่ื แหล่งเรยี นรู้ ช้นั จานวนนกั เรยี น
1 เพลา เพลิน บูติค รสี อร์ท บุรีรมั ย์, พระเจ้าใหญว่ ดั หงส์ ม.4/10 17

5) รูปแบบ / วธิ กี ารจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนที่ครูใช้ คอื ข้อใดบา้ ง (ตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ)

การอธบิ าย การสบื สวนสอบสวน

การสาธิต / ทดลอง กลุ่มสบื คน้ ความรู้

การใชเ้ กมประกอบ กล่มุ สัมพันธ์

สถานการณจ์ าลอง การเรียนรู้แบบร่วมมือ

กรณตี ัวอยา่ ง ความคดิ รวบยอด

บทบาทสมมุติ อริยสจั 4

การแก้ไขสถานการณ์ การศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง

โปรแกรมสาเรจ็ รูป การทศั นะศึกษานอกสถานท่ี

ศูนย์การเรยี น การเรยี นรูจ้ ากห้องสมดุ

ชดุ การสอน การพัฒนากระบวนการคดิ

คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน การใช้ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น

โครงงาน การอภปิ รายกลุ่มย่อย

การถามตอบ การแก้ปญั หา

อื่น ๆ ระบ.ุ ........... อนื่ ๆ ระบุ……………………...…

สรปุ จานวนรูปแบบ / วิธกี ารจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนทคี่ รใู ช้ 11 วิธี

6) การเขา้ ร่วมกจิ กรรมทางวชิ าการ/การเข้ารว่ มอบรม/ประชุมสัมมนา /ศกึ ษาดงู าน ฯลฯ)

ท่ี วนั /เดอื น/ ปี เรอ่ื ง สถานที่ หน่วยงานทจี่ ัด หลกั ฐาน

Teaching and Learning in โรงแรม เดอ ศิตา สานักพิมพ์ วทพ. &

1 14 / 01 / 62 the 21st Century ปร้ินเซส บุรีรัมย์ mcgraw hill เกยี รติบตั ร

education

2 12-13/01/62 Everyday English Camp as ชุดดาปาร์ด รีสอรท์ Dragonfly เกยี รตบิ ัตร
an Assistant Trainer

3 15-16/12/61 วทิ ยากรคา่ ยอนุรกั ษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ศูนยศ์ กึ ษา หอ้ งเรียนพเิ ศษวทิ ย์- เกียรติบัตร
ธรรมชาตแิ ละสัตว์ คณติ รร.พทุ ไธสง
ป่าห้วยกุม่ ชัยภมู ิ

4 15-16/09/61 Workshop on best หอประชมุ ศรสี ว่าง สพม.32 เกียรตบิ ตั ร
practices from Boot Camp รตั น์ สพม.32

SESAO 32

5 21-23/08/61 กิจกรรมตอบปัญหาทางวิชาการ โรงเรียนพุทไธสง กลุม่ สาระ เกยี รติบตั ร
ภาษาตา่ งประเทศ

อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การ หอประชุม

6 09/ 05/ 61 ปลูกฝงั คุณลักษณะอนั พงึ เอนกประสงค์ สหวทิ ยาเขตพทุ ไธสง เกยี รติบตั ร

ประสงคข์ องผเู้ รยี น โรงเรียนพุทไธสง

สรุป การพัฒนาตนเอง จานวน 6 ครัง้ จานวน 11 วนั คดิ เป็น 66 ชั่วโมง

7) การไดร้ ับรางวัล/ประกาศเกียรตคิ ุณ /ผลงานดเี ด่น /เกียรตปิ ระวัตทิ ่ีปรากฏต่อสาธารณชนด้าน
สถานศึกษา/ ครู /นกั เรยี น

ที่ วนั /เดอื น/ปี รางวลั /เกยี รตคิ ุณ หน่วยงานทีม่ อบ หลกั ฐาน

8) การไดร้ ับเชญิ เปน็ วิทยากร/กรรมการตัดสินภายในและภายนอกสถานศกึ ษา

ท่ี วนั / เดือน / ปี รายการ / เรือ่ ง หน่วยงานทเี่ ชญิ

ส่วนที่ 2 ผลที่เกิดจากการปฏิบัตงิ าน

1) ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของผเู้ รียน
ภาคเรยี นที่ 1

ท่ี รายวชิ า ชน้ั จานวน 0 ร ผลการเรียน (คน)
ผู้เรยี น มผ มส 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4
1 ภาษาอังกฤษ 0 0 0 3 4 8 22 28 52
พืน้ ฐาน อ21101 1/1, 118 1 0
0 0 0 2 4 6 4 6 10
2 ภาษาเสริมทกั ษะ 1/2, 000315886
อ20219
1/12 0 0 0 8 9 19 34 42 68
3 ภาษาองั กฤษเพื่อ
การส่อื สาร 3/12 32 0 0
อ30207
รวม 4/9 31 0 0

181 1 0

ภาคเรียนท่ี 2

ท่ี รายวชิ า ช้นั จานวน 0 ร ผลการเรียน (คน)
ผูเ้ รยี น มผ มส 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4
1 ภาษาอังกฤษ 0 0 3 2 8 14 17 17 55
พื้นฐาน อ21102 1/1, 117 1 0
0 0 1 1 4 3 1 4 18
2 ภาษาเสรมิ ทักษะ 1/2, 0 0 1 4 6 2 3 4 10
อ20220
1/12 0 0 5 7 18 19 21 25 83
3 ภาษาอังกฤษเพื่อ
การส่อื สาร 3/12 32 0 0
อ30208
รวม 4/9 30 0 0

179 1 0

2) ผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน

ชน้ั กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน/ชมุ นุม จานวน จานวน/ร้อยละ
นักเรียน ของนักเรียนตามระดับคุณภาพ
ม. 1 ทั้งหมด
ม. 2 Kahoot ผ่าน ไม่ผา่ น
ม. 3 จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ
ม. 4
ม. 5 16 2 12.5 14 87.5
ม. 6
รวม

3) คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

จานวน จานวน/ร้อยละของนกั เรยี นตามระดับคณุ ภาพ

ระดบั ชนั้ นักเรยี น ดเี ยี่ยม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน

ท้งั หมด จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ

ชนั้ ม. 1

ช้นั ม. 2

ชน้ั ม. 3

ชั้น ม. 4/10 17 11 64.7 6 35.3 0 0 0 0

ชั้น ม. 5

ชนั้ ม. 6

รวม

4) ผลการประเมนิ สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 5 ดา้ น ของผูเ้ รียน

1. ดา้ นความสามารถในการสื่อสาร

จานวน จานวน/รอ้ ยละของนักเรียนตามระดบั คณุ ภาพ

ระดับชน้ั นกั เรียน ดเี ยี่ยม ดี ผา่ น ไมผ่ า่ น

ทัง้ หมด จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ

ช้นั ม. 1

ช้นั ม. 2

ชั้น ม. 3
ชั้น ม. 4
ชน้ั ม. 5
ชั้น ม. 6

รวม

2. ดา้ นความสามารถในการคิด

จานวน จานวน/ร้อยละของนกั เรียนตามระดับคุณภาพ

ระดับชน้ั นกั เรียน ดเี ยย่ี ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น

ทงั้ หมด จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ

ชน้ั ม. 1

ชั้น ม. 2

ชั้น ม. 3

ชั้น ม. 4

ชั้น ม. 5

ชั้น ม. 6

รวม

3. ดา้ นความสามารถในการแกป้ ญั หา

จานวน จานวน/ร้อยละของนกั เรยี นตามระดบั คุณภาพ

ระดบั ช้นั นักเรยี น ดีเย่ียม ดี ผา่ น ไม่ผ่าน

ทัง้ หมด จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ

ชน้ั ม. 1

ชน้ั ม. 2

ชน้ั ม. 3

ชน้ั ม. 4

ชั้น ม. 5

ชน้ั ม. 6

รวม

4. ด้านความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ

จานวน จานวน/ร้อยละของนกั เรียนตามระดับคุณภาพ

ระดบั ชนั้ นกั เรียน ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน

ทั้งหมด จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

ชน้ั ม. 1

ชั้น ม. 2

ช้ัน ม. 3

ช้นั ม. 4

ชั้น ม. 5

ชน้ั ม. 6

รวม

5. ด้านความสามรถในการใชเ้ ทคโนโลยี

จานวน จานวน/รอ้ ยละของนกั เรียนตามระดบั คณุ ภาพ

ระดบั ชัน้ นักเรยี น ดีเยยี่ ม ดี ผ่าน ไมผ่ ่าน

ชน้ั ม. 1 ทง้ั หมด จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ
ชนั้ ม. 2
ชน้ั ม. 3
ชั้น ม. 4
ชั้น ม. 5
ชั้น ม. 6

รวม

5) ผลการประเมนิ การสอนของครู (นกั เรียนเปน็ ผปู้ ระเมนิ )

ระดบั การประเมิน

กิจกรรม มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ที่สดุ กลาง ท่สี ดุ
1. ครูแจง้ ผลการเรียนรูใ้ ห้นกั เรียนทราบอย่างชัดเจน
2. ครูจดั กจิ กรรมการเรยี นร้สู นุกและนา่ สนใจ
3. เน้ือหาทสี่ อนทนั สมยั เสมอ
4. ครูใช้สื่อประกอบการเรยี นการสอนทเี่ หมาะสมและหลากหลาย
5. ครใู ชค้ าถามซักถามนกั เรียนบ่อย ๆ
6. ครูประยุกตส์ าระที่สอนเข้ากับเหตกุ ารณ์ปจั จุบัน/สภาพแวดล้อม
7. ครูสง่ เสรมิ นักเรียนไดฝ้ กึ ปฏิบตั ิจรงิ มีการจัดการ และ

การแกป้ ญั หา
8. ครูใหน้ ักเรยี นฝึกกระบวนการคดิ คดิ วิเคราะห์ คดิ สรา้ งสรรค์
9. ครสู ่งเสรมิ ให้นกั เรียนทางานรว่ มกนั ทั้งเป็นกลมุ่ และรายบคุ คล
10. ครใู หน้ กั เรียนแสวงหาความรู้จากแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ
11. ครูมีการเสรมิ แรงให้นกั เรียนท่รี ว่ มกจิ กรรมการเรยี นการสอน
12. ครูเปดิ โอกาสให้นักเรียนซักถามปญั หา
13. ครคู อยกระตุน้ ให้นกั เรยี นตนื่ ตัวในการเรยี นเสมอ
14. ครูสอดแทรกคุณธรรมและค่านยิ ม 12 ประการในวชิ าทสี่ อน
15. ครยู อมรบั ความคิดเหน็ ของนกั เรยี นทต่ี ่างไปจากครู
16. นักเรยี นมสี ่วนร่วมในการวัดและประเมินผลการเรียน
17. ครูมกี ารประเมนิ ผลการเรียนดว้ ยวธิ ีการทีห่ ลากหมายและ

ยตุ ิธรรม
18. ครูมีความตัง้ ใจในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน
19. บุคลิกภาพ การแตง่ กายและการพดู จาของครูเหมาะสม
20. ครูเขา้ สอนและออกชั้นเรียนตรงตามเวลา

จากผลการประเมินการสอนของครูโดยนักเรยี น พบวา่ อยใู่ นระดบั

มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยที่สุด

ส่วนที่ 3 ผลการดาเนินงานตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

1. มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยรวม ระดับคุณภาพ ยอดเย่ยี ม
2. วธิ ีการพัฒนา/กระบวนการ ขอ้ มลู หลกั ฐาน เอกสารเชิงประจกั ษ์ ท่สี นบั สนนุ ผล
การประเมินตนเอง

2.1 นกั เรยี นอา่ นออกเขียนได้ทุกคนและมีความสามารถในการสอื่ สารรู้
2.2 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนผ่านเกณฑต์ ามท่ีสถานศึกษาได้กาหนด
2.3 ผลการทดสอบระดบั ชาติ 3 ปยี อ้ นหลังเป็นไปตามเกณฑ์สถานศึกษา (O-NETสงู กว่าค่าเฉล่ยี
ระดับชาตทิ ุกวิชาและระดบั ชั้นทส่ี อบ)
2.4 นักเรียนทุกคนจัดทาโครงงานคุณธรรม และร่วมกิจกรรมจติ อาสา
2.5 มีนักเรยี นสามารถสอบเข้าเรยี นในโรงเรยี นแขง่ ขนั สงู จานวนมาก
2.6 มโี ครงงาน/ ผลงานประดิษฐใ์ หมๆ่ ของนักเรียน
2.7 มกี ารสอนงานอาชีพใหน้ ักเรยี น ทาให้มีโครงการผลงานหนงึ่ ผลิตภัณฑข์ องนักเรียน
2.8 ไม่มีอตั ราความเส่ียงการติดสารเสพตดิ มีโครงการระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นอย่างเขม้ แข็ง
2.9 ไม่มีการทะเลาะววิ าทในโรงเรียน
2.10 มรี ะบบเทคโนโลยีและสารสนเทศท่ีพร้อมใช้งาน และมรี ะบบอินเทอรเ์ นต็ ความเรว็ สูงเพ่ือใช้
ในการจัดการเรียนการสอนทุกห้องเรยี น
2.11 มคี รคู รบข้ัน และครูสอนตรงวชิ าเอก
2.12 ครจู ัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเพ่อื ส่งเสริมการคิดวิเคราะหน์ ักเรียน
และจดั กจิ กรรม Active Learning เพอื่ สง่ เสริมการคิดและปฏบิ ัติจรงิ ทุกชั้นเรยี น
2.13 ครไู ดร้ ับการพัฒนาตามโครงการคูปองครูทุกคน และนาความร้มู าจัดทาแผนการเรยี นรู้ ส่ือ
การเรียนการสอน และเครื่องมือวดั และประเมินผลผู้เรียน
2.14 ผบู้ รหิ ารมสี ัมพนั ธภ์ าพท่ีดกี ับชุมชน และมีการแสวงหาความร่วมมือในการใชท้ รัพยากรจาก
ชมุ ชนเป็นอย่างไร มีกองทุนศิษย์เก่า มีงบประมาณหมนุ เวียนอย่างต่อเนอ่ื ง
2.15 โรงเรียนได้รบั รางวัล OBEC Award ด้านการบรหิ ารจัดการดี และได้รบั รางวัลโรงเรียน
พระราชทาน ประเภทสถานศึกษาขนาดกลาง ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

3.จดุ เดน่ จุดทตี่ ้องพฒั นา และแผนการพฒั นาคุณภาพเพอ่ื ยกระดับใหส้ ูง

จดุ เดน่ จุดที่ควรพัฒนา

1. ผเู้ รยี นมีคุณธรรม จติ อาสา 1.การพัฒนาความสามารถในการคดิ วิเคราะหข์ อง

2.ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี นเขม้ แข็งเปน็ ระบบ นกั เรียน

3.ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสูตรและผล 2.การพฒั นาความสามารถด้านการสอ่ื สารภาษาองั กฤษ

การสอบ O-NET ช้นั ม.3 สงู กว่าระดับชาติในทุก ของนักเรียน

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 3. ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของ

4. การบรหิ ารจัดการศึกษาและการมีสว่ นรว่ มของ ครผู สู้ อน

ผู้เก่ียวขอ้ ง 4. คลงั ขอ้ สอบท่เี ป็นระบบสามารถนาไปใชไ้ ด้อยา่ ง

รวดเรว็

แผนการพัฒนาคุณภาพเพื่อยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานใหส้ งู ข้นึ

1.สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมือกบั สถาบนั อุดมศึกษาในท้องถิ่น พฒั นาการสอน STEM
2.จัดจา้ งพนักงานธุรการประจาโรงเรยี น
3.จัดระบบแนะแนวนกั เรียน และสรา้ งความเขา้ ใจกบั ผู้ปกครองของนักเรยี น
4.จัดหาครภู าษาอังกฤษเพื่อพัฒนาความสามารถภาษาอังกฤษของนักเรียนอยา่ งเขม้ ข้น
5.จัดทาแผนการพัฒนาครใู หเ้ ปน็ ครูมอื อาชีพ

ภาคผนวก

สรปุ ประเด็นแนวทางการเขียนรายงานและนาเสนอผลการประเมิน
คณุ ภาพภายในที่มปี ระสิทธภิ าพ

การนาเสนอผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประกอบด้วย 1) การนาเสนอผลการประเมิน
คุณภาพภายในสถานศึกษาเปน็ รายมาตรฐานและ2) การสรปุ ผลการประเมนิ ของสถานศึกษา ในภาพรวม มี
รายละเอียดแต่ละประเด็น ดงั น้ี

1. การนาเสนอผลการประเมนิ คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาเป็นรายมาตรฐาน
การเขียนผลการประเมินคุณภาพภายในให้นาเสนอเป็นรายมาตรฐาน อาจเขียนเป็นรายข้อ
หรือความเรียงให้ครอบคลุมทุกประเด็นพิจารณาของแต่ละมาตรฐาน ประกอบด้วย5หัวข้อ คือ 1) ระดับ
คณุ ภาพ 2) กระบวนการพัฒนา 3) ผลการดาเนนิ งาน 4) จุดเดน่ และ5) จดุ ควรพัฒนา

1. ระดับคุณภาพ การตัดสินระดับคุณภาพตามมาตรฐานให้สรุปผลการประเมินโดยใช้
การ

พิจารณาผลการดาเนินงานจากความสาเร็จตามประเด็นพิจารณาของแต่ละมาตรฐานแบบองค์รวม
(holistic) โดยอาศยั ผู้ประเมินทีม่ ีความเช่ียวชาญ (expertjudgement)และมีการตรวจทานผลการประเมิน
โดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดียวกัน (peer review)มีเกณฑ์การตัดสินคุณภาพมาตรฐาน 5 ระดับ
คือ ระดบั 5 ยอดเยย่ี มระดบั 4ดเี ลศิ ระดับ 3 ดี ระดับ 2พอใชแ้ ละระดบั 1กาลังพฒั นา

ทงั้ น้ี ผลการสรุประดบั คณุ ภาพต้องสอดคลอ้ งกับความสาเรจ็ ท่ีเกิดขึน้
2. กระบวนการพัฒนาให้นาเสนอวิธีการดาเนินงานของสถานศึกษาตามประเด็น
พิจารณา

ของแต่ละมาตรฐาน ทั้งด้านการจัดการเรียนการสอน การบริหารและการจัดการศึกษา ผลท่ีเกิดข้ึนกับ
ผู้เรียนท้ังด้านผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมทั้งโครงการ และกิจกรรมต่างๆที่
โรงเรยี นจัดทาขึ้นตามสภาพทป่ี รากฏจริงและสง่ ผลให้การดาเนนิ งานตามมาตรฐานน้นั ๆ มคี ุณภาพ ดงั นี้

มาตรฐานท่ี 1 ดา้ นคุณภาพผ้เู รียน นาเสนอวธิ ีการและผลการเรยี นรทู้ ่ีเปน็ คุณภาพของผู้เรยี นประกอบด้วย
ความสามารถในการอ่านการเขียน การสื่อสาร การคิดคานวณ การคิดประเภทต่างๆ การสร้างนวัตกรรม
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนตามหลักสูตร พัฒนาการจากการสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) การมีความรู้ทักษะพ้ืนฐานและเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ ด้าน
คณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ท่ีเป็นค่านิยมที่ดตี ามทส่ี ถานศกึ ษากาหนด ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
ก า ร ย อ ม รั บ ที่ จ ะ อ ยู่ ร่ ว ม กั น บ น ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ร ว ม ทั้ ง ก า ร มี สุ ข ภ า ว ะ ท า ง ร่ า ง ก า ย แ ล ะ จิ ต สั ง ค ม

มาตรฐานท่ี 2 กาหนดเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ อยา่ งชดั เจน นาเสนอวิธีการจัดระบบบรหิ ารและการจัด
การศึกษาของสถานศึกษาที่ครอบคลุมด้านการพัฒนาวิชาการ ท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน ดาเนินการ
พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุน
การบรหิ ารจัดการและการเรยี นรู้พฒั นาด้านข้อมูลสารสนเทศ และดา้ นสภาพแวดล้อมทส่ี อดคล้องกบั ความ

ต้องการของชุมชนและท้องถิ่น โดยเปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาชอง
สถานศึกษาใหม้ คี ณุ ภาพและได้มาตรฐาน
มาตรฐานที่ 3 นาเสนอกระบวนการ/วิธีการจัดการเรียนรู้ตามศักยภาพของผู้เรียนหลักสูตรสถานศึกษาท่ี
สร้างโอกาสให้ผเู้ รียนทุกคนมีสว่ นร่วมในการเรยี นรู้ตามความถนัด และความสนใจด้วยวิธกี ารท่ีหลากหลาย
ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง มีการบริหารจัดการเรียนรู้เชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดีร่วมกัน
แลกเปล่ียนเรียนรู้ ท่ีสอดคล้องกับบริบทของชุมชนและท้องถ่ิน เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ
รวมท้ังมีการประเมินผลการเรียนรู้และนาข้อมูลท่ีได้จากการประเมินผลมาใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่าง
ตอ่ เน่ือง

3. ผลการดาเนินงาน ให้นาผลท่ีเกิดจากการดาเนินงานของสถานศึกษาตามท่ีได้กล่าวไว้ใน
กระบวนการพัฒนามาเขียนเป็นผลการดาเนินงานของแต่ละมาตรฐาน ให้ชัดเจนครอบคลุมตามประเด็น
พจิ ารณาแต่ละประเดน็ เพื่อสนบั สนุนผลการตดั สินคุณภาพของมาตรฐาน

4. จุดเด่น ให้นาเสนอความสาเร็จของการดาเนินงานที่ส่งผลให้แต่ละมาตรฐานของโรงเรียน
ประสบความสาเร็จ เช่น ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนทุกระดบั ชัน้ สูงกว่าเกณฑ์ทโี่ รงเรียนกาหนดไว้
ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านการเขียนการสื่อสารและการคิดคานวณเป็นไปตามเกณฑ์ของแต่ละ
ระดับช้ันตามท่โี รงเรยี นกาหนด เปน็ ต้น

5. จุดควรพัฒนา ให้นาเสนอผลการดาเนินงานท่ีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด
หรือประเด็นท่ีคาดว่าหากนามาดาเนินงานแล้วจะส่งผลให้การจัดการศึกษาของโรงเรียนแต่ละมาตรฐาน มี
คุณภาพเพิ่มขึ้น เช่น ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารไม่เป็นไปตามเกณฑ์ของ
ระดับช้ันที่สถานศึกษากาหนด สถานศึกษายังไม่มีการจัดกิจกรรมที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้และ
ภูมิปัญญาท้องถ่ินสถานศึกษายังไม่ดาเนินงานให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมแสดงคว ามคิดเห็นหรือร่วมจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ เปน็ ตน้
2. สรุปผลการประเมนิ ของสถานศกึ ษาในภาพรวม
ประกอบด้วย 1) การตัดสินผลระดับคุณภาพในภาพรวมของสถานศึกษา2) การนาเสนอผลการดาเนินงาน
ของสถานศกึ ษาในภาพรวมและ3) การปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practices) ดังนี้

1. การตัดสินผลระดับคุณภาพในภาพรวมของสถานศึกษา ให้พิจารณาจากผลการประเมิน
ทั้ง 4

มาตรฐาน มีเกณฑ์การตัดสินคุณภาพของสถานศึกษา 5 ระดับ คอื ระดบั 5ยอดเยีย่ ม ระดบั 4 ดีเลิศ ระดับ
3 ดี ระดับ 2 พอใช้ และระดับ 1 กาลงั พัฒนา

ท้ังน้ี การตัดสินผลการประเมินในภาพรวมไม่ใช้วิธีการตดั สินโดยการนาผลการประเมินท้งั
3 มาตรฐานมาหาค่าเฉล่ีย ใช้การตัดสินจากผลการประเมินของมาตรฐานที่มีระดับคุณภาพต่าสุด เช่น
มาตรฐานที่ 1 อยู่ในระดับดี มาตรฐานท่ี 2 อยู่ในระดับยอดเย่ียม มาตรฐานที่ 3 อยู่ในระดับยอดเยี่ยม

การตัดสินสรุปผลการประเมินในภาพรวมอยู่ในระดับดีหรือมองเห็นแนวโน้มการพัฒนาท่ียั่งยืนอาจอยู่
ในระดับยอดเยยี่ ม ขนึ้ อย่กู บั คณะกรรมการจะตกลงร่วมกนั

2. การนาเสนอผลการดาเนินงานของสถานศึกษาในภาพรวมให้นาเสนอผลการดาเนินงานที่สนับสนุนผล
การประเมินตามระดับคุณภาพท่ีสถานศึกษาได้รับ โดยนาผลการดาเนินงานทั้ง 3 มาตรฐาน มาสังเคราะห์
และนาเสนอผลงานท่ีแสดงให้เห็นว่าสถานศึกษาได้รับผลการประเมินในระดับยอดเย่ียม ดีเลิศดี หรือกาลัง
พัฒนา เปน็ เพราะเหตุใดอาจนาเสนอเป็นความเรยี ง ตาราง แผนภมู ิ หรือกราฟ ฯลฯ ตามความเหมาะสมมี
ข้อมลู สนบั สนุนใหช้ ัดเจน

3. การปฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) ให้นาเสนอผลการดาเนนิ งานท่ีเปน็ เลิศท่ีสถานศึกษา
เห็นวา่ ประสบผลสาเร็จเปน็ ท่ยี อมรบั ของผ้ปู กครองชุมชนผู้ท่ีเกย่ี วขอ้ ง และสงั คม

3. สรปุ ผล แนวทางการพฒั นาและความต้องการช่วยเหลอื
1. สรุปผล การสรุปผลให้นาเสนอจุดเด่นที่เป็นความสาเร็จของการดาเนินงานและจุดควร

พัฒนาให้สถานศึกษามีคุณภาพย่ิงข้ึน โดยนาจุดเด่นและจุดควรพัฒนาในแต่ละมาตรฐานมาสังเคราะห์และ
ประมวลผลแลว้ นาเสนอเปน็ รายประเด็นประกอบด้วย จดุ เด่น และจดุ ควรพัฒนา

2.แนวทางการพัฒนา ให้นาจุดเด่น และจุดควรพัฒนา มานาเสนอวิธีการดาเนินงานในปีต่อไป
ดังน้ี

2.1 นาจุดเด่นที่ต้องการต่อยอดให้มีความสาเร็จสูงย่ิงขึ้น มานาเสนอแนวทางการพัฒนาในปี
ตอ่ ไป โดยคาดหวังว่าแนวทางดังกลา่ วจะส่งผลใหก้ ารดาเนินงานในเรอ่ื งน้ันในปีถัดไปมีความสาเรจ็ สงู ย่ิงขึ้น
จนพัฒนาเป็นการปฏิบัติท่ีดี (Good Practices) และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ (Best Practices) ของ
สถานศกึ ษา

2.2 นาจดุ ท่ตี อ้ งการพัฒนา มานาเสนอวธิ ีการ/แนวทางการแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องตามบริบท
สถานศึกษาโดยคาดหวังว่าแนวทางดังกล่าวจะส่งผลให้การดาเนินงานในปีถัดไปมีผลเป็นไปตามเกณฑ์ท่ี
สถานศกึ ษากาหนด

2.3 ความต้องการช่วยเหลือ ให้นาเสนอส่ิงท่ีโรงเรียนต้องการความช่วยเหลือจากผู้ท่ี
เกย่ี วขอ้ ง ไดแ้ ก่ หนว่ ยงานต้นสังกดั องคก์ รทั้งภาครัฐและเอกชน ผู้ปกครอง ชุมชน ฯลฯ โดยระบใุ หช้ ัดเจน
ว่าในแตล่ ะเรือ่ งต้องการความช่วยเหลือจากภาครัฐหรอื หน่วยงานใด

4. ภาคผนวก
ให้นาเสนอหลักฐานข้อมูลสาคัญ หรือเอกสารอ้างอิงต่างๆ โดยสังเขปเช่น ผลการประเมิน
ภายนอกรอบสาม มาตรฐานและคา่ เป้าหมายของสถานศึกษา คาสัง่ แตง่ ตั้งคณะกรรมการจดั ทารายงานการ
ประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา หนังสือใหค้ วามเหน็ ชอบรายงานการประเมินคณุ ภาพภายใน เป็นต้น


Click to View FlipBook Version