The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-19 13:25:24

โควิด-19dwa

โควิด-19dwa

เพื่อหยุดการแพร่กระจายของการติดเชื้อ เราขอแนะนำให้
นักเรียนที่สามารถเรียนจากระยะไกลได้ให้

เรียนออนไลน์ที่บ้าน

โรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019
(COVID-19)

สารบัญ

-ต้นกำเนิด


-อาการ
-การเเพร่เชื้อ

-กลุ่มเสี่ยง

-การตรวจ

-การรักษา

-ชนิดของโควิด

-ชนิดของวัคซีน

-เเอนนิเมชั่น

โควิด 19 คืออะไร

• โรคโควิด 19 คือโรคติดต่อซึ่ง
เกิดจากไวรัสโคโรนาชนิดที่มี
การค้นพบล่าสุด
• ไวรัสและโรคอุบัติใหม่นี้ ไม่
เป็นที่รู้จักเลย
ก่อนที่จะมีการ
ระบาดในเมืองอู่ฮั่นประเทศจีน
ในเดือนธันวาคมปี2019
• ขณะนี้ โรคโควิด19 มีการ
ระบาดใหญ่ไปทั่ว ส่งผลกระทบ
แก่หลายประเทศทั่ วโลก

ต้นกำเนิด

-ต้นตอของไวรัสน่าจะมาจากการที่ไวรัสจากสัตว์
ตัวกลางระบาดมาสู่คน

-ผู้ป่ วยรายแรกเท่าที่ทราบกันเริ่มมีอาการตั้งแต่วัน
ทีี่ 1 ธันวาคมและไม่มีความเชื่อมโยงกับตลาดต้อง
สงสัยในเมืองอู่ฮั่นประเทศจีนแต่ผู้ป่ วยหลายราย
อาจมีมาตั้งแต่ช่วงกลางเดือนพฤศจิกายนหรือก่อน
หน้ านั้น

-มีการเก็บตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมในตลาดไปส่ง
ตรวจและพบเชื้อไวรัสและพบมากที่สุดในบริเวณที่ค้า
สัตว์ป่ าและสัตว์เลี้ยงในฟาร์ม

-ตลาดอาจเป็ นต้นกําเนิดของไวรัสหรืออาจมีบทบาท
ในการขยายวงของ การระบาดในระยะเริ่มแรก

อาการ

อาการทั่วไปมีดังนี้
-มีไข้
-ไอแห้ง
-อ่อนเพลีย

อาการที่พบไม่บ่อยนักมีดังนี้
-ปวดเมื่ อยเนื้ อตัว
-เจ็บคอ
-ท้องเสีย
-ตาแดง
-ปวดศีรษะ
-สูญเสียความสามารถในการดมกลิ่นและรับรส
-มีผื่นบนผิวหนัง หรือนิ้วมือนิ้วเท้าเปลี่ยนสี

อาการรุนแรงมีดังนี้
-หายใจลำบากหรือหายใจถี่
-เจ็บหน้ าอกหรือแน่นหน้ าอก
-สูญเสียความสามารถในการพูดและเคลื่อนไหว

การเเพร่เชื้อ

-โรคโควิด19นี้โดยหลักแล้วแพร่จากคนสู่คนผ่าน
ทางฝอยละอองจาก จมูกหรือปากซึ่งขับออกมา
เมื่อผู้ป่วยไอหรือจามเรารับเชื้อได้จากการ หายใจ
เอาฝอยละอองเข้าไปจากผู้ป่วย หรือจากการเอา
มือไปจับพื้นผิวที่มีฝอยละอองเหล่านั้นแล้วมาจับ
ตามใบหน้ า
-ระยะเวลานับจากการติดเชื้อและการแสดง
อาการ (ระยะฟักตัว) มีตั้งแต่ 1-14 วันและมีค่า
เฉลี่ยอยู่ที่ 5-6 วัน เกิน 97% ของผู้ป่วยเริ่มมี
อาการภายใน 14 วัน

กลุ่มเสี่ยง เสี่ยงสูง

เสี่ยงตํ่า ความเสี่ยงต่ออาการ
รุนแรงของโรคเพิ่ ม
งานวิจัยระบุว่าเด็ก ขึ้นตามอายุและในผู้
และคนหนุ่มสาวติด ที่มีโรคประจําตัวเช่น
เชื้อและแพร่เชื้อได้ ความดันโลหิตสูง
อย่างไรก็ตามเด็ก โรคเบาหวาน โรค
มักจะไม่มีอาการ หลอดเลือดหัวใจ โรค
รุนแรง ระบบทางเดินหายใจ
เรื้อรังและโรคมะเร็ง

การตรวจ

ไม่มีการตรวจโควิด19 ชนิดใดได้รับการขึ้นทะเบียนยกเว้น
ภายใต้ข้อกําหนดการใช้ในสภาวะฉุกเฉินเท่านั้นทุกประเภทกํา
ลังอยู่ระหว่างการประเมิน

-Nucleic Acid Amplification Test (NAATs)ใช้เพื่อตรวจ
วินิจฉัยการติดเชื้อ(ว่าตรวจพบไวรัสหรือไม่)ในระยะ
เฉียบพลันของโรคการตรวจเทคนิคนี้ใช้เวลาระหว่าง 13
นาทีถึง 3 ชั่วโมงและจําต้องมีอุปกรณ์เครื่องมือเฉพาะ

-การตรวจหาแอนติบอดี้ด้วยการสร้างภูมิคุ้มกันจะใช้ตรวจ
หาแอนติบอดี้IgM และ IgG ที่สร้างขึ้นมาต้านไวรัสไม่มี
ประโยชน์ในการวินิจฉัยโรคเนื่ องจากการตอบสนองของ
ร่างกายไม่สามารถตรวจพบได้ในสัปดาห์แรกของการเจ็บ
ป่วยการตวจใช้เวลา 15 นาทีและสามารถใช้ตรวจว่าใครเคย
ติดเชื้อมาก่อนการศึกษาในระดับประชากรด้วยเทคนิคตรวจ
แอนติบอดี้ขณะนี้ทําอยู่ใน 6 ประเทศ

-การตรวจหาแอนติเจนใช้ตรวจหาแอนติเจนของไวรัส
และอาจเป็ นประโยชน์ในการวินิจฉัยการติดเชื้ อ
เฉียบพลันการพัฒนาชุดตรวจทําอยู่ในหลายประเทศ

การรักษา

หลังจากสัมผัสกับผู้ที่ติดเชื้อโควิด-19 โปรดทำตามขั้นตอนต่อ
ไปนี้
-โทรหาผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพหรือสายด่วนโควิด-19
เพื่อหาสถานที่และเวลาเพื่อรับการตรวจ
-ให้ความร่วมมือตามขั้นตอนการติดตามผู้สัมผัสเพื่อหยุดการ
แพร่กระจายของไวรัส
-หากยังไม่ทราบผลตรวจให้อยู่บ้านและอยู่ห่างจากผู้อื่ นเป็ นเวลา
14 วัน
-ขณะที่กักตัวอย่าออกไปที่ทำงานโรงเรียนหรือสถานที่สาธารณะ
ขอให้ผู้อื่นนำของอุปโภคบริโภคมาให้
รักษาระยะห่างจากผู้อื่นอย่างน้ อย 1 เมตรแม้จะเป็นสมาชิกใน
ครอบครัวก็ตาม
-สวมหน้ ากากอนามัยเพื่อป้ องกันการแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น รวมถึงใน
กรณีที่คุณต้องเข้ารับการรักษา

-ล้างมือบ่อยๆ
-กักตัวเองในห้องแยกจากสมาชิกครอบครัวคนอื่นๆ หาก
ทำไม่ได้ ให้สวมหน้ ากากอนามัย
-จัดให้ห้องมีอากาศถ่ายเทสะดวกหากใช้ห้องร่วมกับผู้อื่น
ให้จัดเตียงห่างกันอย่างน้ อย1เมตร
-สังเกตอาการตนเองเป็นเวลา 14 วัน
-โทรหาผู้ให้บริการด้านการดูแลสุขภาพทันทีหากพบ
สัญญาณอันตรายต่อไปนี้ได้แก่ หายใจลำบาก สูญเสีย
ความสามารถในการพูดและเคลื่อนไหว แน่นหน้ าอกหรือ
มีภาวะสับสน
-ติดต่อกับคนที่คุณรักด้วยโทรศัพท์หรือทางออนไลน์ รวม
ถึงออกกำลังกายที่บ้านเพื่อให้คุณมีสภาพจิตใจที่ดีอยู่
เสมอ

ชนิดของโควิด

*มีสายพันใหม่เข้ามาคือโควิด-19 สายพันธุ์ B.1.621
(โคลอมเบีย) พร้อมมอบชื่อกรีกเป็น “สายพันธุ์มิว” ชี้
เสี่ยงดื้อวัคซีน-หนีภูมิคุ้มกัน

ชนิดของวัคซีน

แอนมิเนชั่น


Click to View FlipBook Version