The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by siripornka33017, 2021-09-21 12:26:46

วัฒนธรรมไทย

วัฒนธรรมไทย

ความเป็ นไทย

ความเป็นไทยแสดงถึงทุกอยา่ ง ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง กบั การดาํ เนินชวี ติ ของคนไทยเป็นสง่ิ ทดี่ ี
งามในหลายๆดา้ นไมว่ า่ จะเป็นมารยาทไทย ความออ็ เฟ้ือเผื่อแผ่ ความเสยี สละ
รวมถึงศิลปะและวฒั นธรรม และภมู ิปัญญาไทย สงิ่ เหลา่ น้ี คอื เอกลกั ษณอ์ นั โดดเดน่
ทคี่ วรอนุรกั ษแ์ ละสบื สานไว้ ในถานะทเี่ ราเป็นคนไทย เราจะตอ้ งหวงแหนและรกั ษษ
เอกลกั ษณข์ องความเป็นไทย ใหค้ งอยตู่ อ่ ไปเพื่อเป็ฯมรดกตกทอดใหค้ นรุน่ หลงั ได้

เกิดความภาคภมู ิใจ ในความป็นไทย

วฒั นธรรมไทย หมายถึง วถิ ีชวี ติ ของคนไทยในสงั คมไทย ซง่ึ เป็นแบบแผนของการ

ประพฤตปิ ฏิบตั ทิ ดี่ งี านและการแสดงออกถึงความรูส้ กึ นึกคดิ ในสถานการณต์ า่ งๆ ทสี่ มาชกิ ใน

สงั คมไทยสามารถรู้ เขา้ ใจ ซาบซ้งึ ยอมรบั และใชป้ ฏิบตั ริ ว่ มกนั ในสงั คมไทย ไดแ้ ก่
1. ภาษาและวฒั นธรรม หมายถึง ภาษาไทยทใี่ ชใ้ นการพดู และการเขียนรวมทง้ั งานประพนั ธ์
ทสี่ รา้ งสรรคท์ มี่ ีการบนั ทกึ ไวเ้ ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร

และไมเ่ ป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร
2. มารยาท หมายถึง การประพฤติ ปฏิบตั ริ ะหวา่ งบุคคลตอ่ บุคคลทส่ี งั คม

ยอมรบั ไดแ้ ก่ มารยาททางกาย และมารยาททางวาจา
3. การแตง่ กาย หมายถึง เครอื่ งนุ่งหม่ ทแ่ี สดงถึงความเป็นเอกลกั ษณข์ องชาตไิ ทย
4. ประเพณีและพิธที างศาสนา หมายถึง กิจกรรมทป่ี ฏิบตั ใิ นวนั สาํ คญั ตา่ งๆ

5. ศลิ ปกรรม หมายถึง งานศิลปหตั ถกรรม จติ กรรม สถาปัตยกรรม และประตมิ ากรรม

6. การแสดงและการละเลน่ หมายถึง การละเลน่ และของเลน่ ของไทย ดนตรไี ทย เพลงไทย

ประเภทตา่ งๆ และศลิ ปะการแสดงของไทย

ขนบธรรมเนยี มประเพณี หมายถึง ความประพฤตทิ คี่ นกลุม่ หนึ่งกาํ หนดถือเป็นแบบแผนกนั มาอยา่ งเดยี ว ปฏิบตั ิ

สบื เนื่องกนั มาชา้ นานจนเป็นลกั ษณะเฉพาะของคนกลุม่ นนั้ และยอมรบั ในสงั คมมาจนถึงปัจจบุ นั จาํ แนกออกไดด้ งั น้ี

จารตี ประเพณี ไดแ้ ก่ ประเพณีทเ่ี กี่ยวกบั ศลี ธรรมซง่ึ มีคา่ แกส่ ว่ นรวม เชน่ ลกู ตอ้ งเล้ียงดูพอ่ แมเ่ มื่อทา่ นแกเ่ ฒา่ ถา้ ไม่

เล้ยี งดูถือวา่ เนรคณุ หรอื อกตญั �ูตอ่ พอ่ แม่ คาํ วา่ จารตี น้ี ภาคอสี านเรยี กวา่ ฮตี ถา้ ทาํ ผิดประเพณีก็เรยี กวา่ ผดิ
ฮตี ขนบประเพณี หรอื เรยี กอกี อยา่ งหน่ึงวา่ ระเบียบประเพณี ขนบ แปลวา่ ระเบียบแบบแผน เป็นประเพณีทว่ี าง
ระเบียบพิธกี ารไวช้ ดั แจง้ หรอื รูก้ นั เองและไมไ่ ดว้ างระเบียบแบบแผนไวว้ า่ ควรประพฤติ ปฏิบตั อิ ยา่ งไร ไดแ้ ก่ บวชนาค
แตง่ งาน การตาย รวมทงั้ เทศกาลตา่ งๆ เชน่ ตรุษ สารท ทาํ บุญสวดมนตเ์ ล้ยี งพระ ทาํ บุญข้ึนบา้ นใหม่ การไหวค้ รู
เป็ นตน้

ธรรมเนยี มประเพณี ไดแ้ ก่ ประเพณีเกี่ยวกบั เรอื่ งธรรมดาสามญั ไมม่ ีผิดถูกเหมือนจารตี ประเพณี หรอื ไมม่ ีระเบียบ

แบบแผนอยา่ งขนบประเพณี ถา้ ไมป่ ฏิบตั ติ ามก็ไมผ่ ิดอยา่ งไร แตอ่ าจถูกตาํ หนิวา่ เป็นคนขาดการศึกษาหรอื ไมม่ ี
มารยาท ไดแ้ ก่ เรอ่ื งเกี่ยวกบั อริ ยิ าบถทง้ั 4 ยนื เดนิ นงั่ นอน การพูดจา มารยาทสงั คม การแสดงความเคารพ เชน่
เวลาเดนิ ผา่ นผใู้ หญค่ วรกม้ หลงั เล็กนอ้ ย หรอื ไมค่ วรพดู ขา้ มศีรษะผอู้ นื่ การแตง่ กายควรใหถ้ ูกกาลเทศะ เป็นตน้

ประเภทของประเพณี

ประเพณีนนั้ เราสามารถแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คอื
1. จารตี ประเพณี (Mores) คอื ประเพณีทตี่ อ้ งประพฤตเิ ป็นเรอื่ งเกี่ยวกบั ศีลธรรมและจรรยาของสงั คม ถือกนั วา่ มีคณุ คา่

ตอ่ บุคคลในสงั คมนน้ั ๆ ใครฝ่ าฝื นหรอื เฉยเมยถือวา่ เป็นการละเมิดกฎของสงั คม ผดิ ประเพณีของสงั คม ถือเป็นความผดิ
ความชวั่ มีโทษ เชน่ ประเพณีการแตง่ งาน เป็นตน้
2. ขนบประเพณี (Institution) คอื ประเพณีทวี่ างเป็นระเบียบไว้ จะเป็นโดยตรงหรอื โดยออ้ มก็ตาม โดยตรง เชน่ เขยี น

เป็นกฎหรอื ระเบียบใหก้ ระทาํ รว่ มกนั มีขอ้ อา้ งองิ เป็นตวั บทกฏเกณฑ์ โดยออ้ มหรอื โดยปรยิ าย คอื รูก้ นั เอง ถือสบื ๆกนั มา
คนในถ่ินนนั้ ปฎบิ ตั กิ นั อยา่ งนนั้ ๆ เชน่ ประเพณีทาํ บุณเล้ียงพระของไทย เป็นตน้
3. ธรรมเนยี มประเพณี (Convention) คอื เรอ่ื งเกี่ยวกบั ธรรมดาสามญั ของสามญั ชน ไมถ่ ือเอาผิดเอาถูก ไมม่ ีการ
ลงโทษ ปรบั ไหมเหมือนจารตี ประเพณี ไมม่ ีระเบียบเครง่ ครดั เหมือนขนบประเพณี ผูท้ าํ ผิดประเพณีน้ีไมถ่ ือเป็นเรอื่ ง
เสยี หายหรอื มีโทษมากนกั เพียงแตถ่ ือวา่ ผูผ้ ดิ ประเพณีเป็นผูไ้ รก้ี ารศกึ ษา ขาดคณุ สมบตั ผิ ูด้ ี เชน่ การแตง่ กายไมถ่ ูก
กาลเทศะ การยืน การเดนิ การนง่ั การนอน อนั ไมเ่ หมาะสม เป็นตน้

ลกั ษณะของประเพณไี ทย

ประเพณีไทยแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ลกั ษณะ คอื
1. ประเพณสี ว่ นบุคล ไดแ้ ก่ ประเพณีเกี่ยวกบั การแตง่ งาน ประเพณีการเกิด ประเพณีการตาย ประเพณี
การบวช ประเพณีการข้ึนบา้ นใหม่ ประเพณีทาํ บุญอายุ เป็นตน้
2. ประเพณสี ่วนรวม ไดแ้ ก่ ประเพณีทางศาสนาตา่ งๆ เชน่ ประเพณีการทาํ บุญเขา้ พรรษา ออกพรรษา
ประเพณีตรุษ สารท ลอยกระทง ประเพณีเทศกาลสงกรานตแ์ ละประเพณีวนั สาํ คญั ทางพระพุทธศาสนา
เป็ นตน้

ความสาํ คญั ของขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทย

วฒั นธรรมประเพณีของชาติ ลว้ นแสดงใหเ้ ห็นความคดิ ความเชอื่ ทสี่ ะทอ้ นถึงวธิ กี ารดาํ เนินชวี ติ
ความเป็นมา ความสาํ คญั ซง่ึ ลว้ นเป็นสว่ นหน่ึงของอารยธรรมไทย ดงั นนั้ ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยจงึ

มีความสาํ คญั พอสรุปไดด้ งั น้ี
1. ความเป็ นสริ มิ งคล ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยนนั้ ลว้ น เก่ียวขอ้ งกบั พระพุทธศาสนาและพราหมณ์

พิธีกรรมตา่ ง ๆ ทป่ี ฎิบตั สิ บื ทอดกนั มานนั้ เป็นความเชอื่ เรอื่ งของความเป็นมงคลแกช่ วี ติ
2. ความสามคั คี ความเสยี สละ ขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นเครอื่ งฝึ กจติ ใจใหร้ ูจ้ กั เป็นผูเ้ สยี สละจะเหน็ ไดจ้ าก

งานบุญตา่ ง ๆ มกั เกิดการรว่ มมือ

รว่ มแรง รว่ มใจกนั เชน่ พิธีขนทรายเขา้ วดั การกอ่ เจดยี ท์ ราย ทาํ ใหเ้ กิดความรกั ความสามคั คี
3. การมีสมั มาคารวะ ถือเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอยา่ งหนึ่ง แสดงถึงความนอ้ มนอ้ ม ออ่ นโยน

ความมีมารยาทไทย
4. ขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทย ชว่ ยทาํ ใหค้ นไทยอยใู่ นกรอบทดี่ งี าม ถือวา่ เป็นเครอื่ งกาํ หนด

พฤตกิ รรม ไดอ้ ยา่ งหนึ่ง
5. ขนบธรรมเนียมประเพณใี นแต่ละทอ้ งถน่ิ ถึงแมว้ า่ จะแตกตา่ งกนั แตท่ ุกคนก็มีความรูส้ กึ วา่ ทกุ คน

เป็นคนไทย มีความเป็นชาตเิ ดยี วกนั และสามารถแบง่ ออกถึงความเป็นมาของชาตไิ ด้

ภาษาไทย

ความสาํ คญั ของภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นเอกลกั ษณป์ ระจาํ ชาติ เป็นสมบตั ทิ างวฒั นธรรมอนั ก่อใหเ้ กิดความเป็นเอกภาพ
และเสรมิ สรา้ งบุคลิกภาพของคนในชาตใิ หม้ คี วามเป็นไทย เป็นเครอื่ งมือในการตดิ ตอ่ สอื่ สารความ
เขา้ ใจและความสมั พนั ธท์ ดี่ ตี อ่ กนั ทาํ ใหส้ ามารถประกอบกิจธุระการงานและดาํ รงชวี ติ รว่ มกนั ในสงั คม
ประชาชาตไิ ดอ้ ยา่ งสนั ตสิ ุข และเป็นเครอื่ งมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ จากแหลง่ ขอ้ มูล
สารสนเทศตา่ งๆ เพื่อพฒั นาความรู้ ความคดิ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และสรา้ งสรรคใ์ หท้ นั ตอ่ การ
เปลีย่ นแปลงทางสงั คม และความกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยตี ลอดจนนาํ ไปใชใ้ นการพฒั นา
อาชพี ใหม้ ีความมนั่ คง ทางสงั คมและเศรษฐกิจ นอกจากน้ียงั เป็นสอื่ ทแ่ี สดงภมู ิปัญญาของบรรพบุรุษ

ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี ชวี ทศั น์ โลกทศั น์ และสุนทรยี ภาพ โดยบนั ทกึ ไวเ้ ป็นวรรณคดแี ละ
วรรณกรรมอนั ลาํ้ คา่ ภาษาไทยจงึ เป็นสมบตั ขิ องชาตทิ คี่ วรคา่ แก่การเรยี นรู้ เพื่ออนุรกั ษแ์ ละสบื

สานใหค้ งอยคู่ ชู่ าตไิ ทยตลอดไป

การอนุรกั ษภ์ าษาไทย

-พูด อา่ น เขียน ภาษาไทยใหถ้ กู ตอ้ ง
-การรณรงคเ์ รอ่ื งการใชภ้ าษาไทยบนสอื่ อนิ เทอรเ์ น็ต
สง่ เสรมิ ใหเ้ ยาวชนเห็นคณุ คา่ ของภาษาไทย

มารยาทไทย หมายถึง กิรยิ า วาจาทสี่ ุภาพเรยี บรอ้ ย ทบี่ ุคคลพึงปฏิบตั ใิ นสงั คมโดยมี

ระเบียบแบบแผน อนั เหมาะสมตามกาลเทศะ ขอบขา่ ย มารยาทไทย
มารยาทไทยครอบคลุมถึงกิรยิ า วาจาตา่ ง ๆ เชน่ การยนื การเดนิ การนงั่ การนอน

การรบั ของสง่ ของ การทาํ ความเคารพ การแสดงกิรยิ าอาการ การรบั ประทานอาหาร การ
ใหแ้ ละรบั บรกิ าร การทกั ทาย การสนทนา การใชค้ าํ พูด การฟัง การใชเ้ ครอื่ งมือสอื่ สาร

รวมทง้ั การประพฤตปิ ฏิบตั ใิ นพิธกี ารตา่ ง ๆ

“การไหว”้ เป็นภาษาทา่ ทางทใ่ี ชแ้ สดงความเคารพ ทกั ทาย โดยการยกมือสอง

ขา้ งประนม พรอ้ มกบั ยกข้ึนไหวใ้ นระดบั ตา่ งๆ นอกจากน้ียงั แสดงออกถึง
ความหมายของ การขอบคณุ การขอโทษ การยกยอ่ ง การระลกึ ถึง และอกี หลาย
ความหมายสุดแทแ้ ตโ่ อกาส การไหวเ้ ป็นการแสดงมิตรภาพ มิตรไมตรี ทเี่ ป็น
ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็นวฒั นธรรมทงี่ ดงาม รวมทง้ั เป็นสงิ่ ทแี่ สดงถึง
เอกลกั ษณ์ และเป็นมรดกทางวฒั นธรรมของคนไทย

การไหวม้ ี ๓ ระดบั โดยใชน้ ้ิวหวั แมม่ ือและใบหนา้ เป็นตวั กาํ หนดตาํ แหนง่ ดงั น้ี
การไหวร้ ะดบั ท่ี ๑ ใชส้ าํ หรบั ไหวพ้ ระรตั นตรยั ไดแ้ ก่ พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์

รวมถงึ โบราณสถาน โบราณวตั ถุทางพทุ ธศาสนา ในกรณที ่ีเราไม่สามารถกราบแบบเบญจางคประ

ดษิ ฐไ์ ด้ โดยใหน้ ้ิวหวั แม่มอื จรดระหว่างค้วิ น้ิวช้สี มั ผสั สว่ นบนของหนา้ ผาก นยั วา่ พระรตั นตรยั เป็น
สงิ่ ทคี่ วรเคารพอยา่ งสูงสุด จงึ ยกมือทปี่ ระนมข้ึนใหส้ มั ผสั สว่ นทสี่ งู สุดของรา่ งกาย หรอื อกี นยั หนึ่งวา่
พระรตั นตรยั นน้ั เป็นดวงแกว้ มณีทปี่ ระเสรฐิ มีคา่ สูง คอยกาํ กบั และสอนใหเ้ รามีสตมิ ีปัญญาอยู่
ตลอดเวลา จงึ สมควรแกก่ ารเคารพกราบไหว้ การไหวใ้ นระดบั ท่ี ๑ น้ี จงึ ใหย้ กมือทป่ี ระนมข้ึนให้
น้ิวหวั แมม่ ืออยูร่ ะหวา่ งค้วิ ทง้ั สองขา้ งนนั่ เอง

การไหวร้ ะดบั ท่ี ๒ ใชส้ าํ หรบั ไหว้ บดิ า มารดา ป่ ู ย่า ตา ยาย ครู อาจารยแ์ ละผู้
ท่ีมีเราเคารพนบั ถอื อย่างสงู โดยใหน้ ้ิวหวั แม่มอื จรดปลายจมูก น้วิ ช้สี มั ผสั

ระหว่างค้วิ นยั วา่ บุคคลกลุม่ น้ีเป็นกลุม่ ทค่ี วรแสดงความเคารพอยา่ งสงู
รองลงมาจากพระรตั นตรยั มือทสี่ มั ผสั สว่ นของใบหนา้ จงึ ลดตาํ่ ลงมา หรอื อกี นยั
หนึ่งวา่ บุคคลกลุม่ น้ีทาํ ใหเ้ รามีลมหายใจเกิดข้นึ มาได้ และเป็นผูม้ ีพระคณุ ทที่ าํ ให้
เราดาํ เนินชวี ติ อยไู่ ดใ้ นสงั คม ควรแกก่ ารแสดงความเคารพการไหวใ้ นระดบั ท่ี ๒
จงึ ใหย้ กมือทปี่ ระนมข้ึนใหน้ ้ิวหวั แมม่ ืออยูบ่ รเิ วณปลายจมูก

การไหวร้ ะดบั ท่ี ๓ ใชส้ าํ หรบั ไหวบ้ คุ คลทวั่ ๆไป ที่มีวยั วุฒิสงู กว่าเราไม่มากนกั รวมถงึ ใชแ้ สดง
ความเคารพผูท้ ่ีเสมอกนั หรอื เป็ นเพอ่ื นกนั ไดด้ ว้ ย โดยใหน้ ้วิ หวั แม่มอื จรดปลายคาง น้ิวช้สี มั ผสั

บริเวณปลายจมูก นยั วา่ บุคคลกลุม่ น้ีควรแกก่ ารเคารพรองลงมาจากบิดา มารดา มือทส่ี มั ผสั
สว่ นของใบหนา้ จงึ ลดตาํ่ ลงมาตามลาํ ดบั หรอื อกี นยั หนึ่งวา่ บุคคลกลุม่ น้ี เป็นผทู้ เี่ ราจะตอ้ ง
พบปะพดู คยุ อยูด่ ว้ ยเป็นประจาํ การใชว้ าจาจงึ เป็นสง่ิ ทคี่ วรระมดั ระวงั เป็นพิเศษ การไหวร้ ะดบั ท่ี
๓ จงึ ใหย้ กมือทปี่ ระนมข้ึนใหน้ ้ิวหวั แมม่ ืออยบู่ รเิ วณปลายคาง

มารยาทการสนทนา การพดู กบั ผอู้ น่ื หรอื การสนทนากนั ในสงั คมนน้ั มคี วามสาํ คญั
มาก การสนทนาเป็นการพูดกบั ผอู้ น่ื แตกตา่ งไปจากการพดู คนเดยี ว กลา่ วคอื การ
สนทนายอ่ มมีการแลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ กนั มีการพูดจาระหวา่ งบุคคลซงึ่ อาจ
มากกวา่ สองคน ดงั นนั้ มารยาทในการสนทนาพึงปฏิบตั ดิ งั น้ี

1. ควรใชค้ าํ พูดทสี่ ุภาพออ่ นนอ้ ม
2. ในการพดู ถึงบุคคลอนื่ ๆ ไมค่ วรหยบิ ยกเอาความบกพรอ่ งเสยี หายของบุคคลนนั้ ๆ
ข้ึนมา วพิ ากษว์ จิ ารณ์ โดยการดถู ูกดูแคลน หรอื เยาะเยย้ เสยี ดสผี นู้ น้ั
3. ไมพ่ ูดไรส้ าระ หรอื พดู พลอ่ ยจบั ใจความไมไ่ ด้
4. ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะทม่ี ีการสนทนาเป็นกลุม่ นนั้
5. ไมพ่ ดู เสยี งดงั ในสถานทตี่ อ้ งการความเงียบสงบ เป็นตน้

ประเพณไี ทย มีความหมายรวมถึง แบบความเชอ่ื ความคดิ การกระทาํ คา่ นิยม ทศั นคติ ศลี ธรรม
จารตี ระเบียบ แบบแผน และวธิ กี ารกระทาํ สง่ิ ตา่ ง ๆ ตลอดจนถึงการประกอบพิธีกรรมในโอกาสตา่ ง
ๆ ทกี่ ระทาํ กนั มาแตใ่ น อดตี ลกั ษณะสาํ คญั ของประเพณี คอื เป็นสงิ่ ทปี่ ฏิบตั เิ ชอื่ ถือมานานจน
กลายเป็นแบบอยา่ งความคดิ หรอื การ กระทาํ ทสี่ บื ตอ่ กนั มา และยงั มีอทิ ธิพลอยูใ่ นปัจจบุ นั เกิดจาก
ความเชอ่ื ในสงิ่ ทมี่ ีอาํ นาจเหนือมนุษย์ เชน่ อาํ นาจของดนิ ฟ้ าอากาศ และเหตุการณท์ เ่ี กิดข้ึน โดยไม่
ทราบสาเหตตุ า่ ง ๆ ฉะนนั้ ประเพณี คอื ความประพฤตขิ องคนสว่ นรวมทถี่ ือกนั เป็นธรรมเนียม หรอื
เป็นระเบียบแบบแผน และสบื ตอ่ กนั มาจนเป็นพิมพเ์ ดยี วกนั และยงั คงอยูไ่ ดก้ ็เพราะมีสงิ่ ใหมเ่ ขา้ มาชว่ ย
เสรมิ สรา้ งสง่ิ เกา่ อยูเ่ สมอ และกลมกลืนเขา้ กนั ไดด้ ี คอื ระเบียบแบบแผนในการปฏิบตั ทิ เ่ี หน็ วา่ ดกี วา่
ถูกตอ้ งกวา่ หรอื เป็นทยี่ อมรบั ของคนสว่ นใหญใ่ น สงั คมและมีการปฏิบตั สิ บื ตอ่ กนั มา

การอนุรกั ษป์ ระเพณีไทย

สง่ เสรมิ ใหเ้ ห็นคณุ คา่ ของประเพณไี ทย
โดยเฉพาะประเพณใี นทอ้ งถ่ิน ใหค้ นในทอ้ งถิ่นตระหนกั ถึงเอกลกั ษท์ างวฒั ธรรม ซง่ึ จะทาํ ใหเ้ กิดความมนั่ ใจและสามารถปรบั ตวั เขา้ กบั ความเปล่ียนแปลง

จากวฒั ธรรมอนื่ ๆทเ่ี ขา้ มาได้
การรณรงคเ์ พิ่อปลูกฝังจติ สาํ นึก

ความรบั ผดิ ชอบในการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมใหก้ บั คนไทยทกุ คน เพ่ือใหต้ ระหนกั ถึงความสาํ คญั ของวฒั นธรรมวา่ เป็นเรอ่ื งทท่ี กุ คนตอ้ งรบั ผดิ ชอบรว่ มกนั
รวมทงั้ ภาคเอกชนตอ้ งรว่ มกนั ในการสง่ เสรมิ สนบั สนุน ประสานงานการบรกิ ารความรู้ วชิ าการ และทุนทรพั ยส์ าํ หรบั จดั กิจกรรมทางวฒั นธรรมใหก้ บั ชมุ ชน
สง่ เสรมิ ใหใ้ ชศ้ ิลปะวฒั นธรรมเป็นซอ่ื กลาง
ในการสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั ทงั้ วฒั นธรรมภายในประเทศ ระหวา่ งทอ้ งถ่ินตา่ งๆและระหวา่ งประเทศ
ปลูกฝังทศั นคตวิ า่ ทุกคนมหี นา้ ทเ่ี สรมิ สรา้ ง

ฟ้ืนฟู และการดูแลรกั ษาสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาตแิ ละทางวฒั นธรรมทเ่ี ป็นสมบตั ขิ องชาตใิ หท้ กุ คนเกิดความเขา้ ใจวา่ สง่ิ เหลา่ น้ีมผี ลโดยตรงของความ
เป็นอยูข่ องทกุ คน
สรา้ งศูนยก์ ลางในเผยแพร่

ประชาสมั พนั ธผ์ ลงานทางดา้ นวฒั นธรรม ดว้ ยระบบเครอ่ื ขา่ ยสารสนเทศ เชน่ เวบไซต์ เพื่อใหป้ ระชาชนเขา้ ถึงไดง้ ่าย สะดวกรวดเรว็ และ
สามารถปรบั เปล่ยี นใหเ้ หมาะสมกบั วฒั นธรรมมากย่งิ ข้ึนดว้ ย

ศลิ ปะกรรม

ชนชาตไิ ทยเป็นชนชาตทิ มี่ เี อกลกั ษณท์ างศลิ ปะกรรมสงู งานศิลปะเป็นงานทใ่ี หค้ วามรูส้ กึ ทางดา้ นสุนทรยี ์
ของมนุษยท์ มี่ จี ติ ใจสงู ซง่ึ ถา่ ยทอดความรูส้ กึ ทมี่ คี ณุ คา่ ทางจติ ใจ สง่ ผลใหค้ นไทยเป็นผมู้ ีวฒั นธรรมทางจติ ใจ
ทถี่ ่ายทอดทางอารมณไ์ ด้ 2 ลกั ษณะ คอื
1.ถา่ ยทอดออกมาเป็นรูปธรรม เชน่ สถาปัตยกรรม ประตมิ ากรรม จติ รกรรม และ ประณีตศลิ ป์
2.ถา่ ยทอดออกมาไมเ่ ป็นรูปธรรม เชน่ วรรณคดี ดนตรี และ นาฏศิลป์

ตวั อยา่ งศลิ ปะไทย

ภาพจติ รกรรมฝาผนงั วดั พระแกว้ สภาปัตยกรรมไทยสมยั อยุธยา

ประตมิ ากรรมนูนตาํ่

การละเลน่ ไทย ความหมายของคาํ วา่ "การละเลน่ ของไทย"
การละเลน่ ของไทย หมายถึง การเลน่ ดงั้ เดมิ ของเด็กและผใู้ หญ่ เพ่ือความบนั เทงิ ใจ ทง้ั ท่ี
เป็นการเลน่ ทมี่ ีกตกิ า หรอื ไมม่ ีกตกิ า ไมม่ ีบทรอ้ งประกอบ หรอื มีบทรอ้ งประกอบให้
จงั หวะ บางทกี ็มีทา่ เตน้ ทา่ ราํ ประกอบ เพ่ือใหง้ ดงาม และสนุกสนานยง่ิ ข้นึ ทงั้ ผูเ้ ลน่ และ
ผูช้ มมีสว่ นรว่ มสนุก (ไมค่ รอบคลุมไปถึงการละเลน่ ทเ่ี ป็นการแสดงใหช้ ม โดยแยกผเู้ ลน่

และผดู้ อู อกจากกนั ดว้ ยการจาํ กดั เขตผูด้ ู หรอื การสรา้ งเวทสี าํ หรบั ผูเ้ ลน่ เป็นตน้

การแสดงพ้ืนเมือง

การแสดงพ้นื เมือง เป็นการแสดงทแ่ี สดงออกถึงการสบื ทอดทางศิลปะและวฒั นธรรมของแตล่ ะทอ้ งถ่ินท่สี บื ทอดกนั ตอ่ ๆ มา
อยา่ งชา้ นาน ตง้ั แตส่ มยั โบราณจนถึงปัจจบุ นั การแสดงจะออกมาในรูปแบบใดนน้ั ข้ึนอยูก่ บั สภาพทางภูมิศาสตร์ สงิ่ แวดลอ้ ม
อาชพี และความจาํ เป็นทางเศรษฐกิจ ตลอดจนอุปนิสยั ของประชาชนในทอ้ งถิ่น จงึ ทาํ ใหก้ ารแสดงพ้ืนเมือง มีลีลาทา่ ทางทแ่ี ตกตา่ ง
กนั ออกไป แตก่ ็มีจดุ มุง่ ห มายอยา่ งเดยี วกนั คอื เพื่อความสนุกสนานรน่ื เรงิ และพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ
การแสดงพ้ืนเมืองของไทย แบง่ ออกเป็นภาคตา่ ง ๆ ไดด้ งั น้ี

1) ภาคเหนอื จากสภาพภูมิประเทศที่อดุ มไปดว้ ยป่ า มีทรพั ยากรมากมาย มีอากาศหนาวเย็น ประชากรมีอุปนิสยั เยอื ก
เย็น นุ่มนวล งดงาม รวมทง้ั กิรยิ า การพูดจา มีสาํ เนียงนา่ ฟัง จงึ มีอทิ ธพิ ลทาํ ใหเ้ พลงดนตรแี ละการแสดง มีทว่ งทาํ นองชา้ เนิบ
นาบ นุ่มนวล ตามไปดว้ ย การแสดงของภาคเหนือเรยี กวา่ ฟ้ อน เชน่ ฟ้ อนเล็บ ฟ้ อนเทยี น ฟ้ อนเง้ียว ฟ้ อนสาวไหม เป็นตน้

2) ภาคกลาง โดยธรรมชาตภิ มู ิประเทศเป็นทรี่ าบ เหมาะสาํ หรบั อาชพี ทาํ นา ทาํ ไร่ ทาํ สวน และเป็นศูนยร์ วมของ
ศิลปวฒั นธรรม การแสดงจงึ ออกมาในรูปแบบของขนบธรรมเนียมประเพณี และการประกอบอาชพี เชน่ เตน้ กาํ ราํ เคยี ว เพลง
เกี่ยวขา้ ว เพลงเรอื เพลงฉอ่ ย เพลงอแี ซว ลิเก ลาํ ตดั กลองยาว เถิดเทงิ เป็นตน้

3 (ภาคอสี าน) ลกั ษณะพ้ืนทโี่ ดยทวั่ ไปของภาคอสี านเป็นทรี่ าบสูง มีแหลง่ นาํ้ จากแมน่ าํ้ โขง แบง่ ตามลกั ษณะของสภาพความเป็นอยู่
ภาษาและขนบธรรมเนียมประเพณีทแี่ ตกตา่ งกนั ประชาชนมีความเชอื่ ในทางไสยศาสตรม์ ีพิธกี รรมบูชาภูตผิ แี ละสิง่ ศกั ดส์ิ ิทธิ์ การ
แสดงจงึ เก่ียวขอ้ งกบั ชวี ติ ประจาํ วนั และสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงการประกอบอาชพี และความเป็นอยูไ่ ดเ้ ป็นอยา่ งดี การแสดงของภาคอสี าน
เรยี กวา่ เซ้งิ เป็นการแสดงทคี่ อ่ นขา้ งเรว็ กระฉบั กระเฉง สนุกสนาน เชน่ เซ้งิ กระตบิ ขา้ ว เซ้งิ โปงลาง เซ้งิ กระหยงั เซ้งิ สวงิ เซ้งิ ดงึ ครก
ดงึ สาก เป็นตน้ นอกจากน้ียงั มี ฟ้ อนทเ่ี ป็นการแสดงคลา้ ยกบั ภาคเหนือ เชน่ ฟ้ อนภไู ท (ผูไ้ ท) เป็นตน้
4) ภาคใต้ โดยทวั่ ไปภาคใตม้ ีอาณาเขตตดิ กบั ทะเล และประเทศมาเลเซยี ประชากรจงึ มีชวี ติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมประเพณี
บางสว่ นทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั ประชากรมีอปุ นิสยั รกั พวกพอ้ ง รกั ถ่ินทอ่ี ยอู่ าศยั และศิลปวฒั นธรรมของตนเอง จงึ มีความพยายามทจ่ี ะ
ชว่ ยกนั อนุรกั ษไ์ วจ้ นสบื มาจนถึงทกุ วนั น้ี การแสดงของภาคใตม้ ีลีลาทา่ ราํ คลา้ ยกบั การเคลือ่ นไหวของรา่ งกายมากกวา่ การฟ้ อนราํ ซงึ่

จะออกมาในลกั ษณะกระตุน้ อารมณใ์ หม้ ีชวี ติ ชวี าและสนุกสนาน เชน่ โนรา หนงั ตะลุง รองเง็ง ตารกี ีปัส เป็นตน้ )

ภาคกลาง ตวั อยา่ งการแสดงพ้ืนบา้ น ภาคอสี าน
ของแตล่ ะภาค

ภาคเหนือ ภาคใต้

ภมู ปิ ัญญาไทย

ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ ความเชอื่ ความสามารถ ทางพฤตกิ รรม และความสามารถในการ แกไ้ ขปัญหา
ของมนุษย์ แบง่ เป็น 2 ประเภท ดงั น้ี
1.ภูมิปัญญาชาวบา้ น (ภมู ิปัญญาพ้ืนบา้ น)
2.ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน

ภูมิปัญญาชาวบา้ น (ภมู ิปัญญาพ้ืนบา้ น) เป็นความรูท้ ช่ี าวบา้ นสรา้ งสรรคข์ ้นึ เอง ซงึ่ ไดม้ าจากประสบการณ์
ลองผดิ ลองถูกจนไดว้ ะ๊ ทด่ี ที ส่ี ุด ในการแกป้ ัญหา ซง่ึ มีปะโยชน์ มีคณุ คา่ สามารถแกป้ ัญหาไดผ้ า่ นการนาํ ไป ใช้
ปฏิบตั มิ าอยา่ งยาวนาน ถือเป็นสว่ นหนึงของมรดกทางวฒั นธรรม

ภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น คอื ภูมิปัญญาชาวบา้ นทค่ี วามแตกตา่ งออกไปในแตล่ ะทอ้ งถ่ิน เพราะในแตล่ ะทอ้ งถ่ิน มี
สภาพแวดลอ้ ง สภาพภมู ิอากาศทแี่ ตกตา่ งกนั ไป สง่ ผลใหม้ ีปัญหาและวธิ ีจดั การกบั ปัญหาแตกตา่ งกนั ไป
ความรูข้ องชาวบา้ นเฉพาะในทอ้ งถ่ิน เรยี กวา่ ภูมิปัญฐญาทอ้ งถิ่น

กา 1. การคน้ ควา้ วิจยั ควรศกึ ษาและเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลภมู ิปัญญาของไทยในดา้ นต่างๆ ของทอ้ งถน่ิ จงั หวดั ภมู ิภาค และประเทศโดยเฉพาะอย่างยง่ิ ภมู ิปัญญาที่
ร เป็ นภมู ิปัญญาของทอ้ งถน่ิ มุ่งศกึ ษาใหร้ คู้ วามเป็ นมาในอดตี และสภาพการณใ์ นปัจจบุ นั
2. การอนุรกั ษโ์ ดยการปลกุ จติ สาํ นกึ ใหค้ นในทอ้ งถนิ่ ตระหนกั ถงึ คุณค่าแก่นสาระและความสาํ คญั ของภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมตาม
อ ประเพณแี ละวฒั นธรรมต่างๆ สรา้ งจติ สาํ นกึ ของความเป็ นคนทอ้ งถนิ่ นน้ั ๆ ท่ีจะตอ้ งร่วมกนั อนุรกั ษภ์ มู ิปัญญาท่ีเป็ นเอกลกั ษณข์ องทอ้ งถน่ิ รวมทงั้ สนบั สนนุ ให้
มีพพิ ธิ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ หรอื พพิ ธิ ภณั ฑช์ มุ ชนข้นึ เพอ่ื แสดงสภาพชวี ิตและความเป็ นมาของชมุ ชน อนั จะสรา้ งความรแู้ ละความภมู ิใจในชมุ ชนทอ้ งถนิ่ ดว้ ย
นุ 3. การฟ้ื นฟู โดยการเลอื กสรรภมู ิปัญญาท่ีกาํ ลงั สญู หาย หรอื ที่สญู หายไปแลว้ มาทาํ ใหม้ ีคุณค่าและมีความสาํ คญั ต่อการดาํ เนินชวี ิตในทอ้ งถนิ่ โดยเฉพาะ
รกั พ้นื ฐานทางจรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ ม
ษ์ 4. การพฒั นา ควรรเิ รมิ่ สรา้ งสรรคแ์ ละปรบั ปรงุ ภมู ิปัญญาใหเ้ หมาะสมกบั ยุคสมยั และเกดิ ประโยชนใ์ นการดาํ เนนิ ชวี ิตประจาํ วนั โดยใชภ้ มู ิปัญญาเป็ นพ้นื ฐาน

ภู ในการรวมกล่มุ การพฒั นาอาชพี ควรนาํ ความรดู้ า้ นวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยมี าช่วยเพอื่ ต่อยอดใชใ้ นการผลติ การตลาด และการบรหิ าร ตลอดจนการ
ป้ องกนั และอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม
มิ 5. การถ่ายทอด โดยการนาํ ภมู ิปัญญาท่ีผ่านมาเลอื กสรรกลน่ั กรองดว้ ยเหตแุ ละผลอยา่ งรอบคอบและรอบดา้ น แลว้ ไปถ่ายทอดใหค้ นในสงั คมไดร้ บั รู้ เกดิ
ปั ความเขา้ ใจ ตระหนกั ในคุณค่า คุณประโยชนแ์ ละปฎบิ ตั ไิ ดอ้ ย่างเหมาะสม โดยผ่านสถาบนั ครอบครวั สถาบนั การศกึ ษา และการจดั กจิ กรรมทางวฒั นธรรม

ญ ต่างๆ
ญ 6. สง่ เสรมิ กจิ กรรม โดยการส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหเ้ กดิ เครอื ข่ายการสบื สานและพฒั นาภมู ิปัญญาของชมุ ชนต่างๆ เพอ่ื จดั กจิ กรรมทางวฒั นธรรมและภมู ิ
ปัญญาทอ้ งถน่ิ อย่างต่อเนอ่ื ง
า 7. การเผยแพร่แลกเปลยี่ น โดยการส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหเ้ กดิ การเผยแพร่และแลกเปลย่ี นภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมอยา่ งกวา้ งขวาง โดยใหม้ ีการเผยแพร่
ไท ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ ต่างๆ ดว้ ยสอื่ และวิธีการต่างๆ อยา่ งกวา้ งขวาง รวมทง้ั กบั ประเทศอน่ื ๆ ทว่ั โลก

ย 8. การเสรมิ สรา้ งปราชญท์ อ้ งถน่ิ โดยการสง่ เสรมิ และสนบั สนุนการพฒั นาศกั ยภาพของชาวบา้ น ผูด้ าํ เนนิ งานใหม้ ีโอกาสแสดงศกั ยภาพดา้ นภมู ิปัญญา
ความรคู้ วามสามารถอยา่ งเต็มที่ มีการยกยอ่ งประกาศเกยี รตคิ ุณในลกั ษณะต่างๆ

เราทกุ คนมสี ว่ นรม่ ในการรกั ษาและอนุรกั ษค์ วามเป็ฯไทยไดห้ ลาย
รูปแบบ เราควรชว่ ยกนั ใหค้ งอยสู่ บื ไปยงั บุคคลรุน่ หลงั

นางสาวศิรพิ ร แกว้ เรอื ง ม.6/8 เลขท่ี 23


Click to View FlipBook Version