The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประชาสัมพันธ์ระบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสำนักความปลอดภัยฯ ประจำเดือน มิถุนายน 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jariya.mam1999, 2022-07-06 00:49:27

สื่อสารประจำเดือน มิถุนายน 2565

การประชาสัมพันธ์ระบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสำนักความปลอดภัยฯ ประจำเดือน มิถุนายน 2565

การประชาสมั พนั ธร์ ะบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En

โดยสานักความปลอดภัยฯ ประจาเดือน มถิ นุ ายน 2565

มาตรฐานระบบการจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม ข้อกาหนด ISO14001:2015

ขอ้ ที่ 9. การประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน

การเฝ้าระวงั การวัด โปรแกรมการประเมนิ ภายใน การทบทวนฝ่ายบรหิ าร
(Management Review)
การวิเคราะห์ และการประเมนิ (Internal audit )
9.3
9.1 9.2

9.1 การตดิ ตาม การวัดผล การวเิ คราะหแ์ ละการประเมินผล

• องคก์ รจะต้อง
1.กาหนดวา่ ส่ิงท่จี าเป็นจะตอ้ งมีการวดั และตดิ ตามผล

2.วิธกี ารในการตดิ ตาม การวัด การวเิ คราะหแ์ ละการประเมนิ เพ่อื ใหแ้ น่ใจผลท่ีถูกต้อง

3.เกณฑใ์ นการสอบเทียบเพอื่ เปน้ การประเมินประสิทธิภาพในการดาเนินการขององคก์ ร
• องคก์ รจะตอ้ งดาเนินการเพ่ือ ใหแ้ นใ่ จวา่ เครอื่ งมอื ตดิ ตามและวดิ ผลจะติองได้รบั การสอบเทยี บและเก็บรักษา
• องค์กรจะต้องประเมนิ สมรรถนะด้านสิง่ แวดล้อมและความมปี ระสิทธภิ าพของระบบการจดั การส่งิ แวดลอ้ ม
• องค์กรจะตอ้ งสือ่ สารข้อมูลสมรรถนะดา้ นสงิ่ แวดล้อมท่จี าเป็นไปยังผู้ทมี่ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งทงั้ ภายในและภายนอกองคก์ ร

ตามทร่ี ะบุในกระบวนการสือ่ สาร และตามพันธะ สัญญาทก่ี าหนดไว้
• องค์กรจะต้องดาเนินการวางแผนและการประยุกต์ใช้กระบวนการประเมินความสอดคล้องของพันธะสัญญาซึ่งจะ

ต้องดาเนินการดงั นี้

1) กาหนดความถใ่ี นการประเมนิ ความสอดคล้องของพันธะสญั ญา (กฎหมายและข้อกาหนดทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง)

2) ประเมินความสอดคล้องและมีมาตรการในการปฏิบตั ิแกไ้ ขและป้องกนั ถา้ จาเป็น

3) รักษาไวซ้ ึ่งความรู้และความเข้าใจสถานการณ์สาหรับการประเมินความสอดคล้องของพันธะสัญญา (กฎหมายและ

ขอ้ กาหนดที่เกีย่ วขอ้ ง)
• องคก์ รจะต้องเกบ็ รกั ษาเอกสารขอ้ มลู สาหรบั เป็นหลักฐานในการประเมินความสอดคลอ้ งดงั กล่าว

9.2 การตรวจประเมินภายใน (Internal audit )

• องค์การจะต้องจัดให้มกี ารตรวจประเมินภายในตามแผน ตามรอบระยะเวลาทกี่ าหนดไว้ในระบบการจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม
1) เพ่อื ใหส้ อดคล้องกบั
ขอ้ กาหนดขององค์กรเองในระบบการจัดการส่งิ แวดล้อม
ขอ้ กาหนดของมาตรฐานนานาชาตฉิ บับน้ี
2) เพ่ือใหเ้ กิดประสทิ ธิภาพและคงรักษาไว้ของระบบการจัดการส่ิงแวดล้อม

• องคก์ ารจะต้องดาเนินการวางแผนการประยุกต์ใช้และคงรักษาไว้ซึ่งโปรแกรมการตรวจ ประเมิน ซึ่งครอบคลุมประเด็นดังนี้
ความถี่ วธิ กี ารความรับผดิ ชอบ การวางแผนและการรายงานผล การตรวจประเมนิ ภายใน

9.3 การทบทวนฝ่ายบรหิ าร (Management Review)

• ผู้บริหารระดับสูงต้องทาการทบทวนระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กร ตามแผนที่ได้วางแผนไว้เพื่อให้มั่นใจการ
เหมาะสมอยา่ งต่อเนื่อง ความเพยี งพอและการมีประสทิ ธิผล การทบทวนฝ่ายบริหาร ตอ้ งพจิ ารณาถังนี้
a) สถานะของการดาเนนิ การจากทบทวนก่อนหน้า
b) การเปลี่ยนแปลงใน ประเด็นภายในและภายนอกท่เี กยี่ วข้องกบั ระบบการจัดการส่งิ แวดล้อม
ความจาเป็นและความคาดหวงั ของผูม้ ีส่วนไดเ้ สยี ประเดน็ ปัญหาดา้ นส่งิ แวดลอ้ มทีม่ นี ียสาคัญ
c) ขอบเขตทีว่ ัตถุประสงค์ด้านสง่ิ แวดลอ้ มได้บรรลุ

การประชาสมั พนั ธ์ระบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En

โดยสานกั ความปลอดภัยฯ ประจาเดอื น มถิ ุนายน 2565

มาตรฐานระบบการจัดการอาชวี อนามัย และความปลอดภยั
ข้อกาหนด ISO45001:2018

ข้อที่ 9. PERFORMANCE EVALUATION
(การประเมนิ สมรรถนะ)

การตดิ ตามตรวจสอบ การตรวจวัด การตรวจประเมนิ ภายใน การทบทวนฝา่ ยบริหาร
การวเิ คราะห์ และการประเมนิ ผล ระบบการจัดการภายใน (Management Review)

9.1 การดาเนนิ งาน 9.2 (Internal audit ) 9.3

9.1 การตดิ ตามตรวจสอบ การตรวจวัด การวิเคราะห์ และการประเมินผลการดาเนนิ งาน

• องค์กรต้องเฝ้าระวัง วัด วเิ คราะห์ และประเมนิ สมรรถนะ ดา้ น OH&S
a) ตอ้ งวัดและเฝ้าระวัง
b) วธิ ีการสาหรับการเฝา้ ระวงั การวดั การวิเคราะห์ และการประเมนิ
c) เกณฑท์ ่ีซึง่ องคก์ รใช้ในการประเมินสมรรถนะ

• องค์กรต้องมน่ั ใจว่าเครอื่ งมืออปุ กรณท์ ่ใี ชใ้ นการเฝ้าระวังและตรวจวัดเป็นเครื่องมือที่ได้รับการสอบเทียบ
หรอื ไดร้ บั การทวนสอบแลได้รับการธารงรกั ษาตามความเหมาะสม

• องค์กรต้องจดั ทา นาไปปฏบิ ัติ และธารงรกั ษา กระบวนการทจ่ี าเป็นเพื่อประเมินการบรรลุ
ตามพันธสญั ญาทตี่ ้องปฏิบัติ
a) กาหนดความถ่ที ่ใี ชใ้ นการประเมนิ การสอดคลอ้ ง
b) ประเมนิ การสอดคลอ้ งและดาเนนิ กิจกรรม
c) ตอ้ งเก็บรกั ษาข้อมูลทเี่ ป็นเอกสาร

9.2 การตรวจประเมินภายในระบบการจัดการภายใน

การตรวจติดตามภายใน เพื่อให้รู้สถานะความครบถ้วนสมบูรณ์ของระบบการจัดการ ด้านอาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัยตามขอ้ กาหนดทุกขอ้ เพื่อท่จี ะไดน้ าขอ้ บกพร่องของระบบไปสกู่ ารแก้ไข ต่อไป

9.3 การทบทวนฝา่ ยบรหิ าร (Management Review)

การประชุมทบทวนการจัดการ โดยในข้อนี้ผู้บริหารสูงสุด และผู้บริหารทุกระดับจะต้อง ประชุมทบทวนผล
การดาเนินงาน ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในทุกๆข้อที่ได้ดาเนินการ เพื่อให้ฝ่ายบริหารทราบถึงผล
การดาเนินการ และความคืบหน้าต่างๆ โดยความถี่ของการประชุมขึ้นอยู่กับองค์กรเป็นผู้กาหนด รวมทั้ง
รูปแบบวิธีการ ประชมุ ด้วย เช่นกัน

มาตรฐานระบบการจดั การความปลอดภยั อาชวี อนามยั
สิ่งแวดลอ้ มและพลงั งาน (CPF SHE&En Standard)

มาตรฐานทางเทคนิคท่ี 2

การจดั การนา้ เสยี

วัตถุประสงค์ Waste Water

1. เพื่อเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการจดั การนา้ เสียในหนว่ ยงาน

2. เพือ่ ลดผลกระทบจากการปล่อยระบายนา้ ทง้ิ ออกจากหน่วยงานสู่ระบบนเิ วศ

3. เพ่ือสร้างความมีสว่ นรว่ มของพนกั งานทุกระดบั ในการจดั การด้านนา้ เสยี ของหน่วยงาน

ขอ้ กาหนด รายละเอยี ด

การจัดการน้าเสียในหน่วยงาน

1 ระบุแหล่งกาเนิดน้าเสียที่เกิดจากกิจกรรมของหน่วยงาน ทั้งจากกระบวนการผลิตและที่ไม่ใช่กระบวนการผลิต

โดยจดั ทาผงั การระบายน้าทรี่ ะบถุ ึงจุดกาเนดิ นา้ เสยี เสน้ ทางการรวบรวมน้าเสีย ระบบบาบดั นา้ เสีย และจุดปลอ่ ยน้าทง้ิ

2 รวบรวมข้อมูลน้าเสียที่เกิดขึ้นและน้าทิ้งที่ระบายออกจากหน่วยงาน เพื่อประเมินประสิทธิภาพและโอกาส

ในการพฒั นาการจดั การนา้ เสยี

3 กาหนดแผนการจดั การน้าเสยี ภายในหน่วยงาน

 การลดปรมิ าณนา้ เสียโดยการลดการใช้น้า การใชน้ ้าซา้ และกลบั มาใช้ใหม่

 การกาหนดมาตรการป้องกันโดยตรวจสอบและบารุงรักษาระบบระบายน้าเสีย ไม่ระบายน้าเสียสู่

สง่ิ แวดลอ้ ม

 คู่มือการควบคมุ ระบบบาบดั นา้ เสียทีร่ ะบุถงึ วธิ กี ารควบคมุ และบาบัดนา้ เสยี ทัง้ ในสภาวะปกติและผิดปกติ

 กระบวนการในการประเมินประสทิ ธภิ าพของระบบบาบัดนา้ เสยี อยา่ งสม่าเสมอ

 แผนการตรวจสอบและการบารงุ รกั ษาระบบบาบัดน้าเสยี และอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้อง โปรแกรมการสอบเทียบ

เคร่อื งมือที่ใช้วดั

4 พัฒนาแนวทางและแผนงานการจัดการน้าในหน่วยงาน เพื่อลดการปล่อยน้าทิ้งออกจากหน่วยงานและมุ่งสู่การ

ไมม่ ีการปล่อยนา้ เสยี ออกจากหนว่ ยงาน (Zero Discharge)

การปอ้ งกนั ระบบนิเวศจากการระบายนา้ ท้งิ ออกจากหนว่ ยงาน

5 ระบุแหลง่ น้าทีร่ บั น้าท้ิงและแหลง่ นา้ ทอ่ี าจไดร้ ับผลกระทบจากการระบายน้าทิ้งจากหน่วยงาน
6 สารวจขอ้ มูลพ้นื ฐาน (Baseline) ของแหล่งน้าทมี่ ีความอ่อนไหว

7 ประเมนิ ผลกระทบของการระบายน้าทิ้งลงแหล่งน้าทีม่ คี วามอ่อนไหว
8 จัดทาแผนการลดผลกระทบจากการระบายน้าจากหน่วยงานลงสู่ระบบนิเวศ ซึ่งอาจเป็นไปตามมาตรการ

ดงั ตอ่ ไปนี้

 การลดปริมาณนา้ เสียโดยการลดการใชน้ า้ การใชน้ า้ ซา้ และนานา้ เสยี ท่ผี ่านการลดสิ่งเจือปนแล้วกลับมาใชใ้ หม่

 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบดั นา้ เสียเพือ่ ลดภาระในน้าที่ปล่อยระบายออกหน่วยงาน

 การตรวจติดตามคณุ ภาพนา้ ท่ผี า่ นการบาบดั

 การติดตามสภาพของระบบนเิ วศ

การประชาสัมพันธร์ ะบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานักความปลอดภยั ฯ ประจาเดอื น มถิ นุ ายน 2565

มาตรฐานระบบการจัดการความปลอดภยั อาชวี อนามยั
ส่งิ แวดลอ้ มและพลงั งาน (CPF SHE&En Standard)

มาตรฐานทางเทคนิคท่ี 3 Energy

ประสทิ ธภิ าพการใชพ้ ลงั งาน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อระบโุ อกาสในการใช้พลังงานอย่างมีประสทิ ธภิ าพ

สูงสุดท่สี ง่ ผลตอ่ การลดการใชพ้ ลงั งาน และลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนลด

ตน้ ทนุ ใหก้ ับหนว่ ยงาน
2. เพอ่ื ความสอดคลอ้ งตามมาตรฐานการจดั การพลงั งาน ISO 50001

3. เพ่อื สรา้ งความมสี ว่ นร่วมของพนกั งานทกุ ระดบั และผรู้ ับเหมา ในการจัดการด้านพลงั งานของหน่วยงาน

ขอ้ กาหนด รายละเอยี ด

1 รวบรวมและบันทึกข้อมลู การใช้พลังงานของหน่วยงานเพื่อหาปริมาณการใช้พลังงานพื้นฐาน (Energy Baseline) และ

กิจกรรมที่ใช้พลังงานอย่างมีนัยสาคัญ พร้อมทั้งระบุโอกาสในการปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน โดยข้อมูลที่

ต้องรวบรวมและทบทวน ประกอบดว้ ย

 แหล่งและประเภทของพลงั งานที่ใช้
 สดั สว่ นการใช้พลงั งานของหนว่ ยงาน ในภาพรวม และการใช้ไฟฟ้า/ความร้อน

 อุปกรณ์เคร่ืองจักรท่มี นี ยั สาคญั ด้านการใชพ้ ลังงาน

 ตวั แปรท่ีมผี ลตอ่ ปริมาณการใชพ้ ลงั งาน
 บัญชรี ายการการใช้พลงั งานที่ผ่านมาจนถงึ ปัจจบุ ัน

 ประสิทธภิ าพการใช้พลังงานของหน่วยงาน อุปกรณ์ เครอ่ื งจกั ร ระบบควบคุม กิจกรรม

 ประมาณการพลังงานที่จะใช้ในอนาคต

 ตัวชีว้ ัดสมรรถนะด้านพลงั งาน (Energy Performance Indicator, EnPI)
2 จัดทาโปรแกรมและแผนบริหารการใช้พลังงานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ตั้งไว้ในด้านการลดการใช้พลังงาน

โดยผ่านกระบวนการมสี ่วนรว่ มของผูท้ ีเ่ กยี่ วข้อง โดยอาจปฏิบัติตามมาตรการดงั ต่อไปนี้

 ปรับปรุงกระบวนการผลิต หรอื ควบคุมการผลติ ให้มีประสทิ ธิภาพการใชพ้ ลังงานสงู สดุ
 ปรบั ปรงุ ตารางเวลาการซ่อมบารงุ วิธีการซ่อมบารงุ เครอ่ื งจักรอุปกรณ์

 แบง่ ปันและใหข้ ้อมลู แนวปฏิบัตทิ ด่ี ใี นเร่อื งการใชพ้ ลังงาน

 ผนวกการพิจารณาเรื่องการจัดการพลังงานไว้ในการพัฒนาโครงการใหม่ทกุ โครงการ
 ลงทุนติดตั้งหรือใช้เทคโนโลยีใหม่ที่มีการออกแบบระบบการทางานที่ให้มีการใช้พลังงานอย่างมี

ประสิทธภิ าพ
3 พัฒนาการบริหารการใช้พลังงาน ให้มุ่งสู่การแสวงหาแนวทางการใช้และระบุโอกาสในการเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงาน

ทดแทน (Renewable Energy) และการผลติ พลงั งานใช้เอง รวมถึงการใช้พลังงานที่ก่อกาเนิดมลพิษน้อยกว่า แทนการ

ใชพ้ ลงั งานจากแหล่งพลงั งานท่ีใช้แล้วหมดไป (Non-renewable Energy) เชน่

 หาชอ่ งทางการใชพ้ ลังงานจากแหล่งพลังงาน

 ติดตง้ั ระบบผลติ ก๊าซชวี ภาพจาก น้าเสีย ของเสยี หรือ By-product
 ติดตงั้ แผงเซลลแ์ สงอาทิตย์เพอ่ื ใช้ผลิตไฟฟ้า

 ใช้รถท่ใี ช้ก๊าซธรรมชาตเิ ป็นเชือ้ เพลงแทนรถทใี่ ช้นา้ มนั ดีเซล

การประชาสมั พนั ธร์ ะบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานกั ความปลอดภัยฯ ประจาเดอื น มถิ นุ ายน 2565

การประชาสมั พนั ธ์ระบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานักความปลอดภยั ฯ ประจาเดือน มิถนุ ายน 2565

สถติ ิการเกดิ อบุ ตั เิ หตุ ปี2565

หยดุ งาน ไมห่ ยดุ งาน CPF target

35

23 24 26 เป้าหมาย 25
24
<22 ราย/เดอื น

18

33

22 18 23 25 23
18

120611 2

เฉลีย่ -64 ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉล่ีย-65

SLH FPP WH EN Support CPF target อบุ ตั ิเหตหุ ยุดงาน
10
2 1
06 06 09
11 2
1
2
2

42 5
13
0 01 01
1 11
0 00

รวม-64 ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. รวม-65

อุบตั ิเหตไุ มห่ ยดุ งาน เปา้ หมาย
< 22 ราย/เดอื น
40

30

20

10

0
เฉลย่ี -64 ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. เฉลย่ี -65

Support 1 0 0 0 0 0 0

EN 1 0 0 0 0 0 0

WH 1 2 0 0 0 2 1

FPP 4 3 6 3 5 5 4

SLH 26 28 12 15 18 18 18

CPF 33 33 18 18 23 25 23.4

target 22 22 22 22 22 22 22 22 22 22 22 22 22

การประชาสมั พนั ธร์ ะบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานักความปลอดภยั ฯ ประจาเดือน มิถนุ ายน 2565

อบุ ตั เิ หตหุ ยุดงาน

ประจาเดอื น พฤษภาคม 1 ราย

วันทเ่ี กดิ 10/05/65 เวลา 08:30 น.

หน้าที่ คนงานแลแ่ ละกรดี BIL

จุดงาน ราวแขวน manaul หนว่ ยงาน เตรยี มวตั ถดุ บิ

การบาดเจ็บ ปลายนวิ้ นางมอื ขา้ งขวาขาด

วันสูญเสีย 3 วัน (10-12/05/65)

รายละเอียด • วันเกดิ เหตผุ บู้ าดเจ็บทาหนา้ ทล่ี า้ งทาความสะอาดชดุ

การเกดิ knife holder ของเครอ่ื งตดั แยกขาโดยนา knife holder

ท่ีมใี บมดี ใสก่ ะละมงั ไปรองนา้ ยาฆา่ เช้ือทเ่ี ครอ่ื งผสมนา้ ยา

โฟม ขณะกาลงั ถอื กะละมงั ทม่ี ใี บมดี รองนา้ ยาฆา่ เช้อื โดย

ใช้มอื ขา้ งขวาถอื กะละมงั มอื ข้างซ้ายเปดิ วาล์วกอ็ กนา้ ยา ใบมดี

ฆ่าเช้อื เกดิ มอื ลืน่ ทาใหก้ ะละมงั ควา่ พลาดโดนใบมดี บาด knife holder

บริเวณปลายนว้ิ นางมอื ขา้ งขวาขาดออก มแี ผลกวา้ ง

ขนาด 1 ซม. ลกึ 0.5 ซม. กะละมังใส่
knife holder
• หวั หนา้ งานพาไปหอ้ งพยาบาล พยาบาลทาการลา้ งแผล

และส่งตอ่ โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ แพทยร์ กั ษาโดยทา

การ X-ray และตัดแตง่ กระดกู

การประเมนิ ความเส่ยี ง :  มี ระดบั …. หนว่ ยงาน ….. ขอ้ ……

 ไมม่ ี วันทที่ บทวน ……...โดย …............ระดบั ….……

สาเหตุ และ แนวทางการแกไ้ ข : การกระทาทไี่ มป่ ลอดภัย

รายละเอียด การแกไ้ ข ผรู้ บั ผดิ ชอบ วนั ท่ีแลว้ เสรจ็

1. ไมป่ ฏิบัติตามขั้นตอนที่กาหนด 1.ผจก.แผนก/ฝา่ ยทบทวนขนั้ ตอนการถอด คณุ ทวสี นิ ปรชี าคง 18/05/65

เนอ่ื งจากผู้บาดเจบ็ นาชุด knife holder ล้างใบมีด หรืออุปกรณ์จากเครื่องจกั รใหม่ (ผจก.แผนกไก่ชิ้นสว่ น)

เครอ่ื งตัดแยกขาไปรองน้ายาฆ่าเชอ้ื โดยการลา้ งทาความสะอาดใบมดี ใหน้ าส่ง

บริเวณเคร่ืองผสมน้ายาโฟม หอ้ งล้างอุปกรณ์

ขน้ั ตอนท่ีกาหนด : ให้นานา้ ยาฆ่าเชอื้

มาแชรช์ ุด knife holder บรเิ วณโตะ๊ 2. หวั หนา้ ควบคมุ ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงาน คณุ บญั ชา ปราโมทย์ 10/07/65
(ผจก.ฝา่ ยวศิ วกรรม 1)
หากพบไม่ปฏบิ ตั ิตาม ให้ทาการเรียกตักเตือน

2.ไม่ใชอ้ ุปกรณป์ อ้ งกันอันตรายสว่ น หรอื พบซ้าให้ลงโทษทางวินยั เพ่อื ป้องกัน

บคุ คลวิธที ถ่ี กู ตอ้ ง : การถอดล้างใบมีด พฤตกิ รรมเส่ียงตอ่ การเกดิ อบุ ตั ิเหตุ

หรอื อปุ กรณ์ ท่มี ลี กั ษณะคมจาก

เครื่องจักร ตอ้ งสวมใส่ถุงมือกนั บาด 3. จัดซือ้ ชุด knife holder เพิ่ม เพือ่ ใช้

และถุงมือยาง สารองเปล่ยี นขณะนาอุปกรณ์สง่ ห้องลา้ ง

(ปจั จบุ ันไม่มสี าลองทาใหต้ ้องล้างและ

ประกอบกลบั ทนั ที)

การประชาสัมพันธร์ ะบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานักความปลอดภัยฯ ประจาเดอื น มถิ นุ ายน 2565

เหตกุ ารณ์ เกือบเกิด อุบตั เิ หตุ

…NEAR MISS…

เหตกุ ารณเ์ กือบเกิดอบุ ตั ิเหตุ (Near Miss)

คอื เหตกุ ารณ์ไมพ่ ึงประสงคเ์ มื่อเกดิ ข้นึ แล้ว มีแนวโน้มทจี่ ะกอ่ ใหเ้ กิด เป็นอบุ ตั เิ หตุ
หรอื เกือบไดร้ บั บาดเจ็บเจ็บปว่ ย เสยี ชีวิต หรือความสญู เสียตอ่ ทรัพย์สิน สภาพแวดลอ้ ม
หรอื สาธารณชน

ตัวอย่างเหตกุ ารณ์ ลักษณะเหตกุ ารณ์

กอ่ นการปรบั ปรงุ ขณะชา่ งกาลังถอดถาดรองนา้ หยดคอยล์เย็น
ถาดรองไม่มีตัวล็อคติดกับเครื่อง ทาให้หล่นลง
กระแทกพนื้ ดา้ นล่าง เกอื บโดนพนกั งานในไลนผ์ ลิต

อุ้ย....เกือบแหละ

ตวั อยา่ งเหตกุ ารณ์

กอ่ นการปรบั ปรุง

ลกั ษณะเหตุการณ์

พบกระเบอื้ งปพู ื้นทีบ่ นั ไดทางเข้า Office
แตกหกั เกือบสะดุดล้ม

การประชาสัมพนั ธร์ ะบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานกั ความปลอดภัยฯ ประจาเดอื น มถิ ุนายน 2565

การฝกึ ซอ้ มแผนฉกุ เฉนิ
ปี 2565

แผนฉกุ เฉนิ นา้ ทว่ ม

วนั ท่ซี อ้ ม 30 พฤษภาคม 2565 เวลา : 15.00 - 16.00 น.

สถานท่ฝี ึกซอ้ ม หน้าอาคารคลังสินค้า 2500 ตนั

หน่วยงานทเ่ี ขา้ รว่ ม วศิ วกรรมระบบ,ฝ่ายธุรการ,ฝ่ายความปลอดภัยฯ และทีมฉุกเฉนิ

จาลองสถานการณ์ มฝี นตกหนกั ตดิ ต่อกันเป็นเวลานาน ประกอบกบั ปริมาณน้าฝนทส่ี ะสมโดยรอบพ้ืนที่
และไหลผา่ นคลองระบายน้าหน้าโรงงาน เนอ่ื งจากปริมาณนา้ ฝนมีจานวนมาก การระบายน้าไมท่ ัน ทาใหน้ ้า
จากภายนอกไหลทะลกั เข้ามาภายในพนื้ ทีโ่ รงงานความสูงของระดับน้าอย่ทู ่ี 20 CM ฝ่ายธรุ การโทรแจง้
ฝา่ ยวศิ วกรรมระบบทนั ที

การประเมนิ ผา่ น  (88.9 %) ไม่ผ่าน ( …%)

ปัญหาและ ทีมชา่ งซอ่ มบารงุ ไมส่ วมใส่รองเท้าบทู๊ ขณะทาการวางแนวกระสอบทราย
อปุ สรรค การแก้ไข : ชแ้ี จง้ ผปู้ ฏิบตั ิการต้องสวมใสร่ องเท้าบู๊ททุกครง้ั เพอื่ ปอ้ งกันไฟฟา้ ดดู จาก

กระแสไฟฟา้ รั่ว กรณีน้าทว่ มขงั
ผูร้ บั ผดิ ชอบ : นายพงษ์ภรณ์ วรรณา
กาหนดเสรจ็ : 31/05/65

การประชาสมั พันธ์ระบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานกั ความปลอดภยั ฯ ประจาเดือน มถิ ุนายน 2565

คมู่ อื ข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ าน
ดา้ นความปลอดภยั ฯ SHE-SOP

การประชาสัมพันธร์ ะบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานักความปลอดภัยฯ ประจาเดอื น มถิ นุ ายน 2565

ผลตรวจวดั สภาพแวดลอ้ ม
ในการทางานประจาปี 65

รายการตรวจวดั วันทท่ี าการตรวจวดั (11-12/04/2565)

1. คณุ ภาพอากาศจากปลอ่ ง จานวนจดุ ตรวจ จานวนจดุ ที่ผา่ น จานวนจดุ ทไ่ี มผ่ า่ น
- Particulate: TSP
- NO2 15 15 (100%) 0 (0%)
- SO2 13 13 (100%) 0 (0%)
- CO 13 13 (100%) 0 (0%)
15 15 (100%) 0 (0%)

รายการตรวจวัด วันท่ีทาการตรวจวดั (4-7/05/2565)

1. เสยี ง จานวนจุดตรวจ จานวนจดุ ท่ีผา่ น จานวนจุดที่ไมผ่ า่ น
- TWA ; Leq 8 hr
- ตดิ ตัวพนักงาน 60 22 (37%) 38 (63%)
2. ความร้อน
3. คุณภาพอากาศจากปลอ่ ง 11 6 (54%) 5 (46%)
- Particulate: TSP
- NO2 14 14 (100%) 0 (0%)
- SO2
- CO 55 55 (100%) 0 (0%)
- H2SO4 9 9 (100%) 0 (0%)
- HCL 9 9 (100%) 0 (0%)
- Opacity 55 55 (100%) 0 (0%)
- Oil mist 3 3 (100%) 0 (0%)
2 2 (100%) 0 (0%)
1 1 (100%) 0 (0%)
24 24 (100%) 0 (0%)

ตรวจวดั โดยบรษิ ทั เพนทะเคิล โพลเู ทค จากดั

การประชาสมั พนั ธ์ระบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานกั ความปลอดภยั ฯ ประจาเดือน มถิ นุ ายน 2565

ผลตรวจวดั เสียงประจาปี 65

ตรวจวดั โดยบริษัท เพนทะเคลิ โพลเู ทค จากัด SLH
ผลการตรวจวดั ระดบั เสียง/ផលការេិនិរយវាសកត្រិរសំលៃង (Leq. 8 Hrs.)

ลาดบั บริเวณท่ีทาการตรวจวดั កវនងល េិនិរយ หน่วย ผลการตรวจวดั /ផលការត្រួរ ค่ามาตรฐาน ผลการประเมิน

លំដាប់ ាត្រ ระดบั เสียงเฉล่ีย 8 ชวั ่ โมงการทางาน សតង់ដារ លទធផលការវាយរឡរល

កត្រិ រសំលល ងរំខាន ជារ ធ្យរ សត្ាប់ រយៈ លេ ល

8 លាោ៉ ងលធ្វើការ។

วนั ทีต่ รวจวดั /ឡងវោ លវាសេិនិរយ : วนั ที่ 7 พฤษภาคม 2565/ឡងោទី 7 វសឧសភា ឆ្ន ំ 2022

เตรียมวตั ถดุ บิ / លត្រៀ រែរុថធារុល ើរ

1 บอ่ หวั -ไส-้ ขน /អណ្ដូ ងកាល-ល ោះវែង-លោរ dB(A) 87* 85 ×
89* 85 ×
2 หอ้ งแขวนไก่ : ราว 1/ បនទប់ កា់ ន់ វសែទី : 1 dB(A) 88* 85 ×
94* 85 ×
3 หอ้ งแขวนไก่ : ราว 2 / បនទប់ កា់ ន់ វសែទី : 2 dB(A) 89* 85 ×

4 หอ้ งบอ่ ลวก : บอ่ 1/ បនទបអ់ ណ្ដូ ងត្សសុ ាន់ dB(A)

5 หอ้ งลว้ งเครอ่ื งใน : จุดตรวจซากราว 1 dB(A)
បនទបល់ ោះលត្រៀងកងុន (ហងលងួ )(ចណំ ្ុ ចេនិ រិ យររំ ងា់ នឡ់ ៃ 1)

6 หอ้ งลว้ งเครื่องใน : จุดตรวจซากราว 2 dB(A) 91* 85 ×
បនទបល់ ោះលត្រៀងកងុន (ហងលួង)(ចណំ ្ុ ចេនិ រិ យររំ ងា់ នឡ់ ៃ 2)

7 หอ้ งลว้ งเครอื่ งใน/បនបទ ល់ ោះលត្រៀងកងុន (ហងលងួ )(ចណំ ្ុ ចលាងលត្រឿងកងនុ ) dB(A) 86* 85 ×
85 ×
8 หอ้ งปั่นขาซี / បនបទ ស់ ំអារល ើងសីុ dB(A) 91* 85 ×
85 ×
9 หอ้ งตม้ เลือด / បនបទ ល់ ងោ រឈារ dB(A) 87* 85 ×
85 ×
10 หอ้ งป๊ัมลมซิลเลอร์ / បនបទ ប់ រូ សយល់ dB(A) 103*

11 จุดกลบั ตะกรา้ หลังลา้ ง : จดุ ที่ 1/ ចំណ្ុ ចត្រៃប់កន្ទនកទ លាងលហយើ (1) dB(A) 86*

12 จุดกลบั ตะกรา้ หลงั ลา้ ง : จุดท่ี 2 / ចណំ ្ុ ចត្រៃបក់ ន្ទនកទ លាងលហយើ (2) dB(A) 86*

 ผา่ นเกณฑ์ ឆ្ងល ការ់លកខណ្ៈែិនិចឆ័យ × ไมผ่ า่ นเกณฑ์ / រិនឆ្ងល ការ់លកខណ្ៈែិនិច័ឆយ

อา้ งอิงจาก : ประกาศกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานระดับเสียงท่ียอมใหล้ ูกจา้ งไดร้ บั เฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทางานในแต่ละวนั (ลงวนั ที่ 13 ธนั วาคม พ.ศ. 2560 )

ត្បកាសេតី្ករុ សនសតិ សុ នងិ ការ រេលករ លរឿង សងត ដ់ ារករំ ិរសំលលងវ លយល់ត្េរឱ្យកនូ ឈ្លនួ ងត ប់ នរហរូ រយោះលេលលធ្កើវ ារកងុន ឡងនោ រិ យួ ៗ (ដាកល់ ៅឡងទោ ី 13 ធ្ូន េ.ស. 2560)

การประชาสัมพนั ธ์ระบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานกั ความปลอดภยั ฯ ประจาเดอื น มิถุนายน 2565





ผลตรวจวดั เสียงประจาปี 65

ตรวจวดั โดยบริษทั เพนทะเคลิ โพลเู ทค จากดั EN

ผลการตรวจวดั ระดบั เสียง/ផលការេិនិរយវាសកត្រិរសំលៃង (Leq. 8 Hrs.) คา่ มาตรฐาน ผลการประเมิน
សងត ់ដារ លទផធ លការវាយរឡរល
ลาดบั บริเวณท่ที าการตรวจวดั កវនលងេិនិរយ หน่วย ผลการตรวจวดั /ផលការត្រួរ
85 
លំដាប់ ាត្រ ระดบั เสยี งเฉลยี่ 8 ชวั ่ โมงการทางาน 85 ×
85 ×
កត្រិរសំលលងរំខានជារធ្យរសត្ាប់រយៈលេល 85

8 លាោ៉ ងលធ្ើវការ។ 

วนั ทต่ี รวจวดั /ឡងវោ លវាសេិនិរយ : วนั ที่ 5-7 พฤษภาคม 2565/ឡងទោ ី 5-7 វសឧសភា ឆ្ន ំ 2022 85

วิศวกรรมเครอ่ื งเยน็ อปร.2 / ែិសកវ រាម ោ៉ សុីនត្រជាក់ អបោ៉រ៉.2

1 อาคาร Boiler / អគារ លងោ ទឹក dB(A) 81

2 อาคารเครื่องเย็น 2 (Screw Compressor Gram) dB(A) 86*
អគារាោ៉ សនុី ត្រជាក់ 2 (Screw Compressor Gram)

3 อาคารเครอื่ งเยน็ 2 (Plant ITC) / អគារា៉ោ សនុី ត្រជាក់ 2 (ITC) dB(A) 98*

4 อาคารเครื่องเย็น 2 (Plant My Com) dB(A) 85
អគារាោ៉ សនុី ត្រជាក់ 2 (Plant My Com)

วิศวกรรม อปร.3/ែិសកវ រម អប៉ោរ៉.3

1 หอ้ งป๊ัมลมอาหารแปรรปู 3 (ฝัง่ สกุ ) dB(A) 84
បនទបប់ រូ សយលស់ ត្ាបវ់ កឡចនអាហ្គរ 3 (ខាងឆ្នអិ )

2 หอ้ งป๊ัมลมอาหารแปรรปู 3 (ฝัง่ ดิบ) dB(A) 79 85
បនទបប់ រូ សយលស់ ត្ាបវ់ កឡចអន ាហ្គរ 3 (ងចល់ ៅ) 

RENอา้ งอิงจาก : ประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคผุม้ คลรอกงแารงรงาตนรเรวอ่ื งจมวาดัตรรฐาะนดระดบั บั เเสสียงียทง่ยี อ/มផใหលล้ ูกកจាา้ រงេไดិនร้ บិัរเយฉវลាសี่ยตកลอត្ดរรិរะยសะเំលวៃลาងการ(ทLางeานqใ.นแ8ตล่ ะHวนัrs(.ล)งวนั ท่ี 13 ธนั วาคม พ.ศ. 2560 )
 ผา่ นเกณฑ์ ឆ្លងការ់លកណខ ្ៈែិនិចឆ័យ × ไมผ่ า่ นเกณฑ์ / រិនឆ្លងការ់លកខណ្ៈែិនិច័ឆយ

ត្បកลាសาดេីត្កบั ុរសនសិត សុ និងការ រេលកบរ รលរឿิเងวณសងតท់ដ่ีทារកาំររិกសาំលលรងตវรលวយจលวត់្ดัេរឱ្យកូនឈ្នួលងត ប់ នរหហนូររយ่วោยះលេលលធ្វើការកងនុ ឡងនោ ិរผួយลៗ ก(ដาាកร់លៅตឡรងោទวី จ1ว3ดั ធ្នូ/េផ.សល.ក2ា5រត្6រ0ួរ) คา่ มาตรฐาน ผลการประเมิน

លំដាប់ កវនងល េិនិរយ ាត្រ ระดบั เสยี งเฉลยี่ 8 ชวั ่ โมงการทางาน សងត ់ដារ លទផធ លការវាយរឡរល

កត្រិរសំលលងរំខានជារធ្យរសត្ាប់រយៈលេល

8 លាោ៉ ងលធ្ើវការ។

วนั ทตี่ รวจวดั /ឡងវោ លវាសេិនិរយ : วนั ที่ 5 พฤษภาคม 2565/ឡងោទី 5 វសឧសភា ឆ្ន ំ 2022

แปรสภาพขนป่ น/វកឡចនលោរាន់

1 อาคาร Boiler / អគារ ាោ៉ សនុី លងោ ទកឹ dB(A) 72 85 
75 85 
2 หอ้ ง Cooker REN 1 / បនទប់ រកុ ករ័ REN 1 dB(A)

3 หอ้ งรบั วตั ถุดบิ ชน้ั 2 REN 1 dB(A) 77 85
បនទបទ់ ទលួ ែរធុថ ារលុ រើ ជានទ់ ២ី REN ១ 

4 หอ้ งไซโล REN 1 / បនបទ ឡ់ សៃូ dB(A) 78 85 

 ผ่านเกณฑ์ ឆ្ងល ការ់លកខណ្ៈែិនិច័ឆយ × ไม่ผา่ นเกณฑ์ / រិនឆ្លងការ់លកណខ ្ៈែិនិចឆ័យ

อา้ งอิงจาก : ประกาศกรมสวสั ดิการและคุม้ ครองแรงงาน เรอ่ื ง มาตรฐานระดบั เสียงท่ียอมใหล้ ูกจา้ งไดร้ บั เฉล่ยี ตลอดระยะเวลาการทางานในแต่ละวนั (ลงวนั ที่ 13 ธนั วาคม พ.ศ. 2560 )

ត្បកាសេីត្កុរសនសតិ សុ និងការ រេលករ លរឿង សតង់ដារកំររិ សំលលងវ លយលត់្េរឱ្យកូនឈ្នួលងត ប់ នរហរូ រយោះលេលលធ្វកើ ារកងុន ឡងោនិរួយៗ (ដាក់លៅឡងោទី 13 ធ្នូ េ.ស. 2560)

การประชาสัมพันธ์ระบบ ISO 14001, ISO 45001 และ CPF SHE&En
โดยสานกั ความปลอดภยั ฯ ประจาเดอื น มิถุนายน 2565












Click to View FlipBook Version