The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการสำรวจผลกระทบจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด 19 ด้านเศรษฐกิจ

Covid 19-virus_2563

Keywords: โควิด 19

รายงานผลการสำรวจ
ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ

โรคโควดิ -19 (Covid-19) ดา้ นเศรษฐกิจ
จังหวัดหนองบวั ลำภู

สำนักงานสถติ ิจงั หวัดหนองบัวลำภู
สำนักงานสถติ ิแหง่ ชาติ

กระทรวงดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคม



คำนำ

สำนักงำนสถิติแห่งชำติ (สสช.) ร่วมกับหน่วยงำนพันธมิตร ได้แก่ TDRI IHPP จุฬำลงกรณ์
มหำวิทยำลัย UNICEF และ UN Data Group ดำเนินกำรสำรวจผลกระทบจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำด
ของโรคโควิด-19 (Covid-19) ด้ำนเศรษฐกิจ โดยกำรสำรวจคร้ังนี้เป็นกำรตอบแบบสอบถำมออนไลน์
หรือ Web survey ประมำณ 3-5 นำที ซึ่งข้อมูลท่ีได้จะเป็นประโยชน์ต่อภำครัฐนำไปใช้ทบทวนและกำหนด
นโยบำย รวมถึงมำตรกำรตำ่ ง ๆ ตอ่ ไป

เน่ืองจำกรำยงำนผลสำรวจผลกระทบจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด-19 (Covid-19)
ด้ำนเศรษฐกิจฉบับนี้ เป็นกำรวิเครำะห์ข้อมูลท่ีได้จำกผู้เข้ำร่วมตอบแบบสอบถำมออนไลน์เท่ำน้ัน จึงไม่
สำมำรถถือได้วำ่ เป็นตัวแทนของควำมคิดเห็นของคนหนองบัวลำภูท้ังจังหวัด และไม่เป็นสถิตทิ ำงกำร ดงั นัน้ ใน
กำรนำข้อมูลไปใช้ประเมินผลกระทบจำกโรคไวรัสโควิด 19 (Covid-19) ของจังหวัดหนองบัวลำภู ควรตีควำม
อยำ่ งระมดั ระวัง

กำรสำรวจผลกระทบจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด-19 (Covid-19) ด้ำนเศรษฐกิจครั้งนี้
สำเร็จลงได้ด้วยดี เป็นผลจำกกำรท่ีผู้ให้ข้อมูลทุกฝ่ำยได้ให้ควำมร่วมมือเป็นอย่ำงดี แก่สำนักงำนสถิติ
จังหวัดหนองบัวลำภู จงึ ใครข่ อขอบคุณ ทุกทำ่ นไว้ ณ โอกำสนี้

กลุ่มวิชำกำรสถิติและวำงแผน
สำนักงำนสถิติจังหวัดหนองบัวลำภู



บทสรปุ สำหรับผู้บริหำร

สำนักงำนสถิติแห่งชำติ (สสช.) ร่วมกับหน่วยงำนพันธมิตร ได้แก่ TDRI IHPP จุฬำลงกรณ์
มหำวิทยำลัย UNICEF และ UN Data Group ดำเนินกำรสำรวจผลกระทบจำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำด
ของโรคโควิด-19 ด้ำนเศรษฐกิจ โดยกำรสำรวจคร้ังน้ีเป็นกำรตอบแบบสอบถำมออนไลน์ หรือ Web survey
ประมำณ 3-5 นำที ซ่ึงข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อภำครัฐนำไปใช้ทบทวนและกำหนดนโยบำย รวมถึง
มำตรกำรต่ำง ๆ ต่อไป สำหรับจังหวัดหนองบัวลำภู จัดเก็บข้อมูล ระหว่ำงวันที่ 27 เมษำยน 2563 ถึง 23
พฤษภำคม 2563 มีผตู้ อบแบบสอบถำมทงั้ หมด 501 คน ผลกำรสำรวจครั้งนี้

1. ขอ้ มูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถำม
ผู้ตอบแบบสอบถำม 501 คน เป็นชำย ร้อยละ 42.5 และหญิง ร้อยละ 57.5 ส่วนใหญ่มีอำยุ ระหว่ำง

ตำ่ กว่ำ 31 ปี ร้อยละ 32.1 และระหว่ำง 41-50 ปี ร้อยละ 23.9 (แผนภูมิ 1) ระดับกำรศึกษำของผู้ตอบแบบ
สัมภำษณ์ส่วนใหญ่ คือ ปริญญำตรีและสูงกว่ำ ร้อยละ 44.7 รองลงมำประถมศึกษำและต่ำกว่ำ ร้อยละ 20.7
และมธั ยมศึกษำตอนปลำย รอ้ ยละ 18.4 ตำมลำดบั (แผนภูมิ 2)

แผนภมู ิ 1 รอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถำม จำแนกตำม แผนภูมิ 2 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถำม จำแนกตำม
อำยุ กำรศึกษำ
44.7%
6.4% 32.1% ตำ่ กวำ่ 31 ปี
15.4% 31-40 ปี 20.7% 6.6% 18.4% 9.6%
41-50 ปี
23.9% 51-60 ปี ประถม/ มธั ยมศกึ ษำ มัธยมศกึ ษำ อนุ ปรญิ ญำตรี/
22.2% 61 ปีข้ึนไป ตำ่ กว่ำ ตอนตน้ ตอนปลำย ปริญญำ สงู กว่ำ

ผู้ตอบแบบสอบถำม ร้อยละ 11.8 ระบุว่ำ ก่อนกำรแพร่ระบำดของโรคโควิด-19 ไม่ได้อำศัยอยู่ใน
จังหวัดหนองบัวลำภู ส่วนใหญ่ย้ำยมำจำกจังหวัดอุดรธำนีและจังหวัดอื่น ๆ มำกกว่ำกรุงเทพมหำนคร
(แผนภูมิ 3)

แผนภมู ิ 3 รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถำม จำแนกจังหวัดทีอ่ ยู่อำศยั กอ่ นกำรแพร่ระบำดของโรคโควดิ -19

ตำ่ ง 5.2%

จงั หวัด

หนองบัว 11.8% 1.6% 0.8% 0.8% 0.6% 0.4% 0.4% 2.0%
ลำภู
88.2% อดุ รธำนี กรุงเทพ ชลบรุ ี มหำ- เลย ขอนแก่น ระยอง จงั หวัด

มหำนคร สำรคำม อ่นื ๆ



2. กำรเปล่ียนแปลง รำยได้ รำยจำ่ ย และหน้สี นิ ของครัวเรือน

แผนภมู ิ 4 รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถำม จำแนกตำม ผู้ตอบแบบสอบถำม ส่วนใหญ่ ร้อยละ
55.1 รำยได้ ลดลง และร้อยละ 44.3 รำยได้
กำรเปลยี่ นแปลงรำยไดแ้ ละรำยจ่ำยของครวั เรอื น ไม่เปล่ียนแปลง มีเพียงร้อยละ 0.6 ที่รำยได้
เพ่ิมข้ึน สำหรับ ค่ำใช้จ่ำย ร้อยละ 55.8
55.1% 44.3% 55.8% รำยได้ คำ่ ใช้จ่ำยไม่เปล่ยี นแปลง มีเพียงร้อยละ 28.6
15.6% รำ2ย8รไ.ด6ำย%้ จ่ำย ท่ีค่ำใช้จ่ำยเพ่ิมขึ้น ที่เหลืออีกร้อยละ 15.6
รำยจ่ำย ค่ำใช้จ่ำยลดลง (แผนภมู ิ 4)

0.6%

ลดลง ไมเ่ ปลย่ี นแปลง เพ่มิ ขนึ้

หนี้สินของครัวเรือนผู้ตอบ แผนภูมิ 5 รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถำม จำแนกตำมกำรเปลย่ี นแปลง
แบบสอบถำมส่วนใหญ่ ร้อยละ
61.1 ระบุว่ำ ไม่เปล่ียนแปลง มี หน้สี ินของครัวเรือน หน้ีในระบบ
เพียงร้อยละ 15.0 ที่ระบุว่ำ หนี้ใน
ระบบเพ่ิมขึ้น และร้อยละ 13.6 61.1% หนี้นอกระบบ
ระบุ ว่ำห น้ี น อกระบ บ เพิ่ ม ขึ้น
(แผนภูมิ 5) 37.1% 42.9%

16.0% 8.0% 6.4% 15.0% 13.6%

ไม่มีหน้ีสิน ลดลง ไม่เปลีย่ นแปลง เพิม่ ข้ึน

3. ผลกระทบในกำรประกอบอำชีพจำกกำรแพรร่ ะบำดของโรคโควดิ -19

แผนภูมิ 6 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถำม จำแนกตำม จำกสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำด
ผลกระทบในกำรประกอบอำชีพจำกกำรแพรร่ ะบำดของโรคโควดิ -19 ของโรคโควิด-19 ผู้ตอบแบบสอบถำม
สว่ นใหญ่ ร้อยละ 54. 1 ไม่ได้รับผลกระทบ
ไมไ่ ดร้ ับ ได้รับ 4.6% ถูกเลกิ จำ้ ง/ปลดออก ในกำรประกอบอำชีพ มีเพียงร้อยละ 45.9
ผลกระทบ ผลกระทบ 6.4% จำกงำน ที่ได้รับผลกระทบประกอบด้วย ยอดขำย
ลดนอ้ ยลง รอ้ ยละ 16.2 ถูกพักงำน ร้อยละ
54.1% 45.9% 7.2% เลกิ ขำย/ปิดกิจกำร 14.0 ปัจจัยกำรผลิต ร้อยละ 7.2 และอ่ืน ๆ
ร้อยละ 12.8 (แผนภมู ิ 6)
14.0% ปัจจัยกำรผลิต
ถกู พกั งำน

16.2% ยอดขำยลดนอ้ ยลง

หมำยเหตุ : สำมำรถตอบไดม้ ำกกว่ำ 1 ข้อ

4. ผลกระทบจำกมำตรกำรของรัฐ
ผลกระทบจำกมำตรกำรของรัฐ ผู้ตอบแบบสอบถำมส่วนใหญ่ มำกกว่ำร้อยละ 69.9 ระบุว่ำ ได้รับ

ผลกระทบจำกมำตรกำรของรัฐ ส่วนมำตรกำรห้ำมเดินทำงเข้ำ/ออกประเทศ มีผู้ตอบแบบสอบถำม ร้อยละ
55.1 เทำ่ นัน้ ทไ่ี ด้รบั ผลกระทบ (แผนภมู ิ 7)

แผนภมู ิ 7 รอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถำม จำแนกตำมผลกระทบจำกมำตรกำรของรัฐ

ไมไ่ ด้รบั ผลกระทบ ไดร้ ับผลกระทบ

71.1% 69.9% 76.8% 77.0% 77.0% 77.4% 44.9%55.1%
28.9% 30.1% 23.2% 23.0% 23.0% 22.6%

กักตัว 14 วนั ทำงำนทบ่ี ำ้ น ประกำศเคอรฟ์ วิ ปิดร้ำนค้ำ/ห้ำงฯ หำ้ มทำนอำหำร หำ้ มเดินทำง ห้ำมเดนิ ทำงเข้ำ/
ท่ีรำ้ น ระหว่ำงเมือง ออกประเทศ

สารบัญ

คานา หนา้
บทสรุปสาหรบั ผบู้ ริหาร ก
บทที่ 1 บทนา ข
1
1. ความเป็นมา 1
2. วัตถุประสงค์ 1
3. ประโยชนท์ ่ีได้รับ 1
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1
5. การวิเคราะหข์ ้อมลู 1

บทที่ 2 สรุปผลการสารวจ 2
1. ขอ้ มลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 2
2. จงั หวดั ทอ่ี ย่อู าศัยก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 3
3. ลักษณะงานท่ที าหลงั การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19 3
4. การเปลี่ยนแปลง รายได้ รายจา่ ย และหนส้ี ิน ของครวั เรอื น 4
5. ผลกระทบในการประกอบอาชพี จากการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 4
6. ผลกระทบจากมาตรการของรฐั 5
7. การปรบั ตวั ในการประกอบอาชพี 6
8. การทางานจากท่ีบา้ น (work from home) 6
9. การปรับตัวหรือวางแผนจะปรบั ตัวหากมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ยงั ไมย่ กเลกิ 7
10. ระยะเวลาทสี่ ามารถดาเนินชีวิตโดยไม่ลาบากเกนิ ไปจากมาตรการของรฐั 8
11. การสมัครหรือยน่ื ขอความชว่ ยเหลือจากมาตรการตา่ ง ๆ 8
12. เหตผุ ลทไี่ ม่ได้รบั ความช่วยเหลอื จากมาตรการของรฐั 9
13. ประโยชน์จากมาตรการต่าง ๆ ของรฐั ต่อตนเอง 9
14. ประโยชน์จากมาตรการต่าง ๆ ของรัฐต่อกลมุ่ ผู้มีรายได้น้อย 10

สารบัญตารางสถิติ 13



บทท่ี 1
บทนำ

1. ควำมเป็นมำ
สถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 นับเป็นวิกฤตท่ีเกิดขึ้นอย่างกะทันหันโดยท่ีไม่มีประเทศใด

ในโลกคาดการณ์และเตรียมระบบสุขภาพท่ีจะรับมือกับสถานการณ์เช่นน้ี เนื่องจากไวรัสตัวน้ีติดต่อจากคน
สู่คนได้ง่าย จานวนผู้ติดเชื้อจึงเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อ
ชีวิตประจาวันของคนเท่านั้น แต่รวมถึงการดาเนินธุรกิจทุกประเภท ท้ังธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค สินค้า
ฟ่มุ เฟือย รวมถึงอตุ สาหกรรมบริการ

สานักงานสถิติแห่งชาติ (สสช.) ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร ได้แก่ TDRI IHPP จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย UNICEF และ UN Data Group ดาเนินการสารวจผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคไวรัสโควิด 19 (Covid-19) ด้านเศรษฐกิจ โดยการสารวจครั้งนี้เป็นการตอบแบบสอบถามออนไลน์
หรือ Web survey ประมาณ 3-5 นาที ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อภาครัฐนาไปใช้ทบทวนและกาหนด
นโยบาย รวมถึงมาตรการตา่ งๆ ต่อไป

2. วัตถุประสงค์
เพ่ือเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับ รายได้ ค่าใช้จ่ายและหนี้สินของครัวเรือน การประกอบอาชีพก่อน

และหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 การรับความช่วยเหลือจากภาครัฐ และผลกระทบ
จากมาตรการของภาครฐั

3. ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั
ผลจากการสารวจช่วยสนับสนุนภาครัฐ ภาคเอกชนในการวางแผนและจัดทานโยบายเพ่ือบรรเทา

ผลกระทบที่เกิดขึน้ กับประชาชน ชมุ ชน ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว

4. กำรเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การสารวจครั้งน้ีเป็นการตอบแบบสอบถามออนไลน์ หรอื Web survey ประมาณ 3-5 นาที ระหว่าง

วันท่ี 27 เมษายน 2563 ถงึ 23 พฤษภาคม 2563 มผี ทู้ ี่เข้าร่วมตอบแบบสอบถามท้ังหมด 501 คน

5. กำรวิเครำะหข์ อ้ มูล
เนื่องจากการสารวจครั้งนี้เปน็ การสารวจออนไลน์ จงึ ไมส่ ามารถอ้างอิงเพือ่ เปน็ ตัวแทนของประชากร

ทง้ั จังหวัดได้ การนาเสนอผลการสารวจเป็นการนาเสนอข้อมูลเฉพาะของผู้ที่เข้าร่วมตอบแบบสอบถามเท่านั้น
ดังน้ัน ในการนาข้อมูลไปใช้ประเมินผลกระทบจากโรคโควิด-19 (Covid-19) ของจังหวัดหนองบัวลาภู
ควรตีควำมอยำ่ งระมดั ระวงั

-2-

บทท่ี 2
ผลการสารวจ

1. ข้อมูลท่วั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ผ้ตู อบแบบสอบถาม 501 คน เป็นชาย จานวน 213 คน หรอื ร้อยละ 42.5 และหญิง จานวน 288 คน

หรือร้อยละ 57.5 สาหรับอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ จานวน 161 คน หรือร้อยละ 32.1 มีอายุ
ตากว่า 31 ปี รองลงมาคือ ระหว่าง 41-50 ปี จานวน 120 คน หรือร้อยละ 24.0 ระหว่าง 31-40 ปี จานวน
111 คน หรือร้อยละ 22.2 และระหว่าง 51-60 ปี จานวน 77 คน หรือร้อยละ 15.4 ส่วนอายุ 61 ปีขึ้นไป
มจี านวน 32 คน หรือรอ้ ยละ 6.4

ส่วนระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ ปริญญาตรีและสูงกว่า จานวน 224 คน
หรือร้อยละ 44.7 รองลงมา ประถมศึกษาและตากว่า จานวน 104 คน ร้อยละ 20.7 และมัธยมศึกษา
ตอนปลาย จานวน 92 คน ร้อยละ 18.4 ตามลาดบั (ตาราง 1)

ตาราง 1 จานวนและร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามข้อมลู ทวั ไป

ข้อมูลทัวไป จานวน รอ้ ยละ

เพศ 213 42.5
ชาย 288 57.5
หญงิ 501 100.0
รวม
161 32.1
อายุ 111 22.2
ตากว่า 31 ปี 120 23.9
31-40 ปี 77 15.4
41-50 ปี 32 6.4
51-60 ปี 501 100.0
61 ปขี น้ึ ไป
รวม 104 20.7
33 6.6
การศึกษา 92 18.4
ประถมศกึ ษาและตากวา่ 48 9.6
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 224 44.7
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 501 100.0
อนปุ ริญญา
ปรญิ ญาตรแี ละสงู กว่า
รวม

4

2. จังหวดั ท่ีอยู่อาศยั ก่อนการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19
ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 11.8 ระบุว่า ก่อนการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ไม่ได้อาศัยอยู่ใน

จังหวดั หนองบวั ลาภู สว่ นใหญย่ า้ ยมาจากจังหวดั อดุ รธานีและกรุงเทพมหานคร (แผนภูมิ 1)

แผนภมู ิ 1 รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามจงั หวัดทีอยอู่ าศัยก่อนการแพรร่ ะบาดโควิด-19

ตา่ ง 5.2%

จงั หวดั 1.6% 0.8% 0.8% 0.6% 0.4% 0.4% 2.0%

หนองบวั 11.8%
ลาภู
88.2% อุดรธานี กรุงเทพ ชลบุรี มหา- เลย ขอนแกน่ ระยอง จงั หวัด

มหานคร สารคาม อนื ๆ

3. ลักษณะงานที่ทาหลงั การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ลักษณะงานทีทาหลังการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ผู้ตอบแบบสอบถาม กลุ่มรับราชการ/

รัฐวิสาหกิจ/พนักงานของรัฐ หลังการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่วนใหญ่ ร้อยละ 98.5 ยังคงรับราชการ/
รัฐวิสาหกจิ /พนักงานของรฐั เช่นเดมิ

ส่วนพนักงาน/ลูกจ้างเอกชน หลังการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 มีเพียงร้อยละ 15.5 กลายเป็น
ผู้ว่างงาน/ ไม่มีงานทา/ตกงาน และกลุ่มผู้ประกอบธุรกิจ หลังการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 มีเพียงร้อยละ
17.6 กลายเป็นผู้วา่ งงาน/ ไมม่ งี านทา/ตกงาน

ในขณะทีกลุ่มผู้ทีรับจ้างทัวไปไม่มีงานประจา หลังการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 กลายเป็นผู้
วา่ งงาน/ ไมม่ งี านทา/ตกงาน มากถงึ ร้อยละ 29.5 (ตาราง 2)

ตาราง 2 ร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตามลักษณะงานทีทาหลังการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

ลกั ษณะงานทีทาหลงั การแพรร่ ะบาด

อาชีพ รับราชการ/ พนักงาน/ ประกอบ รบั จา้ ง ว่างงาน/ อืน ๆ1/ รวม
รัฐวิสาหกจิ / ลูกจ้าง ธุรกิจ ทวั ไปไมม่ ี ไม่มงี าน
พนกั งานของรัฐ เอกชน งานประจา ทา/ตกงาน

รับราชการ/รฐั วสิ าหกจิ / 98.5 - - - 1.5 - 100.0

พนักงานของรัฐ

พนักงาน/ลกู จา้ งเอกชน 3.9 76.7 1.0 1.0 15.5 1.9 100.0

ประกอบธุรกิจ 1.1 1.1 75.8 - 17.6 4.4 100.0

รบั จา้ งทวั ไป ไม่มีงานประจา - - - 68.2 29.5 2.3 100.0

ว่างงาน/ไมม่ ีงานทา/ตกงาน - 12.5 - - 87.5 - 100.0

อืน ๆ1/ - -- - - 100.0 100.0

หมายเหตุ :1/ อนื ๆ ได้แก่ ช่วยธรุ กิจในครอบครัวโดยไมไ่ ดร้ บั คา่ จา้ ง ขา้ ราชการบานาญ ทางานบา้ น เรยี นหนงั สือ

เด็ก ชรา ปว่ ย พกิ าร

5

4. การเปลี่ยนแปลง รายได้ รายจ่าย และหนส้ี ิน ของครัวเรอื น

แผนภูมิ 2 รอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตาม ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ ร้อยละ
55.1 รายได้ลดลง (ลดลงน้อยกว่า 50% ร้อยละ
การเปลยี นแปลงรายได้และรายจ่ายของครวั เรอื น 34.1 และลดลงต้ังแต่ 50% ข้ึนไป ร้อยละ 21.0)
และร้อยละ 44.3 รายได้ไม่เปลียนแปลง มีเพียง
55.8% ร้อยละ 0.6 ทีรายได้เพิมขึ้น สาหรับค่าใช้จ่าย
ร้อยละ 55.8 ค่าใช้จ่ายไม่เปลียนแปลง มีเพียง
44.3% รายได้ ร้อยละ 28.6 ค่าใช้จ่ายเพิมขึ้น (เพิมข้ึนน้อยกว่า
34.1% รายจา่ ย 50% ร้อยละ 18.2 และเพิมขึ้นต้ังแต่ 50%
ขึ้นไป ร้อยละ 10.4) ทีเหลืออีกร้อยละ 15.6
21.0% 6.8% 18.2% คา่ ใช้จ่ายลดลง (แผนภูมิ 2)
8.8% 10.4%

0.4% 0.2%

ลดลงตั้งแต่ ลดลง นอ้ ยกวา่ ไม่ เพิมขน้ึ เพมิ ขึ้นตัง้ แต่

50% ขึ้นไป 50% เปลยี นแปลง นอ้ ยกวา่ 50% 50% ขึ้นไป

หนี้สินของผู้ตอบแบบสอบถาม แผนภูมิ 3 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการเปลียนแปลง
ส่วนใหญ่ ไม่เปลียนแปลง มีเพียง หน้ีสนิ ของครวั เรือน
ร้อยละ 15.0 ทีหนี้ในระบบเพิมขึ้น
(เพิมขึ้นน้อยกว่า 50% ร้อยละ 9.6 61.1% หนีใ้ นระบบ
และเพิมขึ้นตั้งแต่ 50% ขึ้นไป ร้อยละ 37.1% 42.9% หน้ีนอกระบบ
5.4) ส่วนหนี้นอกระบบ มีเพียงร้อยละ
13.6 ทีหน้ีนอกระบบเพิมขึ้น (เพิมข้ึน 16.0% 4.6% 4.4% 3.4% 2.0% 9.6%10.2% 5.4% 3.4%
น้อยกว่า 50% ร้อยละ 10.2 และ ไม่มีหน้สี นิ
เพิมข้ึนตั้งแต่ 50% ข้ึนไป ร้อยละ ลดลงตัง้ แต่ ลดลงน้อยกว่า ไม่ เพมิ ขึ้น เพมิ ขน้ึ ต้งั แต่
3.4) (แผนภมู ิ 3)
50% ขึน้ ไป 50% เปลียนแปลง นอ้ ยกวา่ 50% 50% ขน้ึ ไป

5. ผลกระทบในการประกอบอาชีพจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

แผนภมู ิ 6 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตาม จากสถานการณ์การแพร่ระบาด
ผลกระทบในการประกอบอาชพี จากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ของโรคโควิด-19 ผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนใหญ่รอ้ ยละ 54.1 ไมไ่ ด้รับผลกระทบ
ไมไ่ ด้รบั ได้รบั 64..46%% ถูกเลิกจ้าง/ปลดออก ในการประกอบอาชีพ มีเพียงร้อยละ
ผลกระทบ ผลกระทบ จากงาน 45.9 ทีได้รับผลกระทบ ประกอบด้วย
ยอดขายลดน้อยลง ร้อยละ 16.2 ถูก
54.1% 45.9% 7.2% เลิกขาย/ปดิ กิจการ พักงาน ร้อยละ 14.0 (ได้รับเงินเดือน
น้อยลง ร้อยละ 8.6 ไม่ได้รับเงินเดือน
14.0% ปัจจยั การผลติ ร้อยละ 5.4) ปัจจัยการผลิตขาดแคลน
ถกู พกั งาน ราคาวัตถุดิบเพิมข้ึน ร้อยละ 7.2 และอืน
ๆ ร้อยละ 12.8 (แผนภูมิ 4)
16.2% ยอดขายลดนอ้ ยลง

หมายเหตุ : สามารถตอบได้มากกวา่ 1 ข้อ

6

6. ผลกระทบจากมาตรการของรฐั
ผลกระทบจากมาตรการของรัฐ เปน็ ดังน้ี
1) มาตรการกักตวั 14 วนั ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 71.1 ได้รับผลกระทบ โดยส่วนใหญ่ ร้อยละ

25.3 ได้รับผลกระทบในระดับปานกลาง รองลงมาคือ ได้รับผลกระทบในระดับมาก ร้อยละ 17.2 และ
ผลกระทบในระดบั นอ้ ย ร้อยละ 15.6 ตามลาดบั

2) มาตรการทางานทีบ้าน ผู้ตอบแบบสอบถาม รอ้ ยละ 69.9 ได้รับผลกระทบ โดยส่วนใหญ่ รอ้ ยละ
29.5 ได้รับผลกระทบในระดับปานกลาง รองลงมาคือ ได้รับผลกระทบในระดับน้อย ร้อยละ 20.4 และ
ผลกระทบในระดบั น้อยทสี ุด รอ้ ยละ 8.4 ตามลาดบั

3) มาตรการประกาศเคอร์ฟิว ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 76.8 ได้รับผลกระทบ โดยส่วนใหญ่
ร้อยละ 25.0 ไดร้ ับผลกระทบในระดับปานกลาง รองลงมาคือ ได้รับผลกระทบในระดับนอ้ ย รอ้ ยละ 17.0 และ
ผลกระทบในระดบั มาก ร้อยละ 14.2 ตามลาดับ

4) มาตรการปิดร้านค้า/ห้างฯ ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 77.0 ได้รับผลกระทบ โดยส่วนใหญ่
ร้อยละ 23.2 ได้รับผลกระทบในระดับปานกลาง รองลงมาคือ ได้รับผลกระทบในระดับน้อย ร้อยละ 17.0
และผลกระทบในระดบั มาก ร้อยละ 13.8 ตามลาดับ

5) มาตรการหา้ มทานอาหารทีรา้ น ผู้ตอบแบบสอบถาม รอ้ ยละ 77.0 ได้รับผลกระทบ โดยสว่ นใหญ่
ร้อยละ 22.2 ได้รับผลกระทบในระดับปานกลาง รองลงมาคือ ได้รับผลกระทบในระดับน้อย ร้อยละ 18.2
และผลกระทบในระดบั มาก รอ้ ยละ 13.2 ตามลาดับ

6) มาตรการห้ามเดินทางระหว่างเมือง ผู้ตอบแบบสอบถาม รอ้ ยละ 77.4 ได้รับผลกระทบ โดยส่วน
ใหญ่ รอ้ ยละ 23.6 ได้รบั ผลกระทบในระดับปานกลาง รองลงมาคอื ได้รบั ผลกระทบในระดับน้อย รอ้ ยละ 16.0
และผลกระทบในระดับมากทสี ุด รอ้ ยละ 14.4 ตามลาดบั

7) มาตรการห้ามเดินทางเข้า/ออกประเทศ ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 55.1 ได้รับผลกระทบ
โดยส่วนใหญ่ ร้อยละ 15.8 ได้รับผลกระทบในระดับน้อย รองลงมาคือ ได้รับผลกระทบในระดับปานกลาง
ร้อยละ 14.8 และผลกระทบในระดับนอ้ ยทีสดุ รอ้ ยละ 8.8 ตามลาดับ

(ตาราง 3)

ตาราง 3 ร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามผลกระทบจากมาตรการของรัฐ

มาตรการ ไม่ไดร้ ับ ไดร้ บั ผลกระทบ มากทสี ุด รวม
ผลกระทบ น้อยทสี ดุ นอ้ ย ปานกลาง มาก 6.0 100.0
กกั ตัว 14 วัน 15.6 25.3 17.2 3.4 100.0
ทางานทบี ้าน 28.9 7.0 20.4 29.5 8.2 11.6 100.0
ประกาศเคอร์ฟวิ 30.1 8.4 17.0 25.0 14.2 13.4 100.0
ปิดรา้ นคา้ /หา้ งฯ 23.2 9.2 17.0 23.2 13.8 10.8 100.0
หา้ มทานอาหารทรี า้ น 23.0 9.8 18.2 22.2 13.2 14.4 100.0
ห้ามเดินทางระหว่างเมอื ง 23.0 12.8 16.0 23.6 14.0 8.7 100.0
ห้ามเดนิ ทางเข้า/ออกประเทศ 22.6 9.6 15.8 14.8 7.0
44.9 8.8

7

7. การปรับตวั ในการประกอบอาชีพ
ผตู้ อบแบบสอบถามมกี ารปรับตัวในการประกอบอาชพี จากมาตรการของรฐั มีดังนี้
1) มาตรการเคอร์ฟิว ส่วนใหญ่ ร้อยละ 50.4 ไม่ปรับตัวเนืองจากไม่ได้รับผลกระทบ สาหรับผู้ทีมี

การปรับตัว ร้อยละ 15.7 เปลียนแนวทางการทางาน เวลาทาการ ร้อยละ 6.6 เพิมหรือเปลียนแปลงช่อง
ทางการขาย และรอ้ ยละ 4.6 เปลียนอาชพี มีเพียง ร้อยละ 1.0 ย้ายสถานทีประกอบอาชีพ

2) มาตรการปิดร้านค้า/ห้างสรรพสินค้า ส่วนใหญ่ ร้อยละ 59.0 ไม่ปรับตัวเนืองจากไม่ได้รับ
ผลกระทบ สาหรับผู้ทีมีการปรับตัว ร้อยละ 9.6 เพิมหรือเปลียนแปลงช่องทางการขาย ร้อยละ 8.2 เปลียน
แนวทางการทางาน เวลาทาการ และรอ้ ยละ 3.4 เปลียนอาชพี มเี พยี ง รอ้ ยละ 1.4 ย้ายสถานทปี ระกอบอาชพี

3) มาตรการห้ามเดินทาง ส่วนใหญ่ รอ้ ยละ 62.0 ไม่ปรับตัวเนืองจากไม่ได้รับผลกระทบ สาหรับผู้ที
มีการปรับตัว ร้อยละ 7.7 เปลียนแนวทางการทางาน เวลาทาการ ร้อยละ 4.0 เพิมหรือเปลียนแปลงช่องทาง
การขาย และรอ้ ยละ 2.2 เปลียนอาชพี มีเพยี ง ร้อยละ 1.2 ยา้ ยสถานทีประกอบอาชพี

ตาราง 4 ร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการปรับตวั ในการประกอบอาชพี

การปรับตัว เคอรฟ์ วิ มาตรการ ห้ามเดนิ ทาง
50.4 ปิดรา้ นคา้ /ห้างสรรพสนิ คา้ 62.0
ไมไ่ ดป้ รบั ตวั ในการประกอบอาชีพ
ปรับตัวในการประกอบอาชพี 6.6 59.0 4.0
15.7 7.7
เพมิ หรอื เปลยี นแปลงชอ่ งทางการขาย 1.0 9.6 1.2
เปลียนแนวทางการทางาน เวลาทาการ 4.6 8.2 2.2
ย้ายสถานทปี ระกอบอาชีพ 24.9 1.4 24.6
เปลียนอาชพี 3.4
ไมส่ ามารถแก้ปญั หาได้ 23.7
หมายเหตุ : ตอบได้มากกวา่ 1 ขอ้

8. การทางานจากทบี่ ้าน (work from home)

ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 56.9 ไม่ได้ทางานจากทีบ้าน เนืองจากลักษณะงานหรือทีบ้าน
อุปกรณ์ไม่พร้อม ร้อยละ 27.1 ว่างงาน ร้อยละ 12.4 เกษียณอายุ เรียนหนังสือ เด็ก ชรา ป่วย/พิการไม่
สามารถทางานได้ ร้อยละ 11.2 และนายจา้ งไม่อนญุ าต ร้อยละ 6.2

ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 31.5 ทางานจากทบี า้ นบ้าง โดยรอ้ ยละ 23.0 สลบั วันกบั พนกั งานคนอืน
และร้อยละ 8.5 ลักษณะงานไม่จาเปน็ ตอ้ งมาทุกวันอยูแ่ ลว้ มเี พยี งร้อยละ 11. 6 ทามาตลอดเกนิ 2 สปั ดาห์
(แผนภมู ิ 5)

8

แผนภูมิ 5 ร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตามการทางานจากทีบา้ น

ทามาตลอดเกิน ไม่ได้ทา การทางานจากทีบ้าน ร้อยละ
2 สัปดาห์ 11.6% 56.9% ไมไ่ ดท้ า 56.9
-เกษยี ณอายุ เรยี นหนังสอื เดก็ ชรา ปว่ ย/ 11.2
ทาบ้าง พิการไมส่ ามารถทางานได้
31.5% -วา่ งงาน 12.4
-ลักษณะงานหรือทบี า้ นอุปกรณไ์ ม่พรอ้ ม 27.1
นายจ้างไม่อนญุ าต 6.2
ทาบ้าง 31.5
-สลับวันกบั พนักงานคนอนื 23.0
-ลกั ษณะงานไม่จาเปน็ ต้องมาทุกวนั อย่แู ลว้ 8.5
ทามาตลอดเกิน 2 สปั ดาห์ 11.6

9. การปรับตัวหรอื วางแผนจะปรบั ตวั หากมาตรการควบคมุ การระบาดของโรคโควิด-19 ยังไม่ยกเลิก
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 37.0 ระบุว่า ไม่ปรับตัวหรือวางแผนจะปรับตัวหากมาตรการ

ควบคุมการระบาดยังไม่ยกเลิกเพราะไม่ได้รับผลกระทบ รองลงมา ร้อยละ 22.0 ระบุว่า ปรับตัวหรือวางแผน
จะปรับตัวโดยใช้เงินออมตนเอง และร้อยละ 18.8 ระบุว่า เปลียนอาชีพหรือหารายได้เสริม ตามลาดับ
(แผนภมู ิ 6)

แผนภูมิ 6 ร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการปรบั ตวั หรือวางแผนจะปรับตัวหากมาตรการควบคุม
การระบาดยงั ไม่ยกเลิก

37.0%

18.8% 22.0% 4.0%
11.6% 10.6% 10.6% 13.0%

2.4%

ไม่ปรบั ตวั เปลยี นอาชีพ ใชเ้ งนิ ออม จานา จานอง ก้หู นี้ ก้หู น้ี รบั ความ ใช้เงินประกนั กลบั บ้านที

เพราะไมไ่ ดร้ ับ หรือหารายได้ ตนเอง หรอื ขาย ในระบบที นอกระบบ ชว่ ยเหลอื จาก สังคมและ ต่างจังหวดั

ผลกระทบ เสรมิ ทรพั ยส์ ิน ไมใ่ ชเ่ งินจาก ญาติ พนี ้อง ชดเชยจาก

ภาครัฐ นายจา้ ง

9

10. ระยะเวลาทสี่ ามารถดาเนินชวี ติ โดยไม่ลาบากเกนิ ไปจากมาตรการของรัฐ
สาหรับระยะเวลาทสี ามารถดาเนินชีวิตโดยไมล่ าบากเกินไปจากมาตรการของรฐั ผู้ตอบแบบสอบถาม

ส่วนใหญ่ ร้อยละ 31.1 ระบุว่า ตั้งแต่ 1 เดือน แต่ไม่เกิน 3 เดือน รองลงมาคือ ร้อยละ 13.2 ระบุว่า ต้ังแต่ 1
สัปดาห์ แต่ไม่เกิน 1 เดือน และร้อยละ 11.2 ระบุว่า ประมาณ 3 เดือน แต่ไม่เกิน 6 เดือน ตามลาดับ
(แผนภูมิ 7)

แผนภูมิ 7 ร้อยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตามระยะเวลาทสี ามารถดาเนนิ ชวี ติ โดยไมล่ าบากเกนิ ไป
จากมาตรการของรัฐ

27.7% 31.1%

13.2% 11.2% 5.2%
5.0% 6.6%

ไม่ไดร้ ับผลกระทบ ประมาณ 1 ตั้งแต่ 1 สปั ดาห์ ตง้ั แต่ 1 เดอื น แต่ ประมาณ 3 เดือน ตัง้ แต่ 6 เดือนข้นึ ตัง้ แต่ 1
สัปดาห์ แตไ่ มเ่ กนิ 1 เดอื น ไม่เกนิ 3 เดือน แตไ่ ม่เกิน 6 เดอื น ไป แต่ไมเ่ กิน 1 ปี ปีขน้ึ ไป

11. การสมคั รหรือยื่นขอความช่วยเหลือจากมาตรการตา่ ง ๆ
ผูต้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ไม่สมัครและไม่ยนื ขอความช่วยเหลอื จากมาตรการต่าง ๆ ขอรัฐ สาหรบั

มาตรการเงินใหเ้ ปลา่ จากรัฐบาล (เชน่ เดือนละ 5,000 บาท) มผี ตู้ อบแบบสอบถาม ร้อยละ 39.7 ยืนขอความ
ช่วยเหลอื ประกอบดว้ ย ไดร้ ับสทิ ธ์ิ รอ้ ยละ 15.2 ไมไ่ ดร้ ับสทิ ธิ์ ร้อยละ 17.4 และยังไม่ทราบผล รอ้ ยละ 7.2

มาตรการช่วยเหลือด้านสินเชือเพือประชาชน มีผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 11.0 ยืนขอความ
ช่วยเหลอื ประกอบดว้ ย ไดร้ บั สิทธ์ิ รอ้ ยละ 2.0 ไม่ไดร้ ับสิทธ์ิ ร้อยละ 4.2 และยังไม่ทราบผล รอ้ ยละ 4.8

สินเชือเพือผู้ประกอบการ มีผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 8.2 ยืนขอความช่วยเหลือ ประกอบด้วย
ไดร้ บั สทิ ธิ์ รอ้ ยละ 2.0 ไม่ได้รบั สทิ ธิ์ รอ้ ยละ 3.2 และยังไมท่ ราบผล ร้อยละ 3.0

การฝกึ อบรมอาชีพ มผี ตู้ อบแบบสอบถามยืนขอความช่วยเหลอื รอ้ ยละ 6.6 ตามลาดับ ประกอบด้วย
ไดร้ บั สิทธ์ิ ร้อยละ 0.6 ไม่ไดร้ ับสทิ ธ์ิ ร้อยละ 3.4 และยงั ไม่ทราบผล ร้อยละ 2.6

(ตาราง 5)

ตาราง 5 รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามการสมัครหรอื ยืนขอความช่วยเหลอื จากมาตรการตา่ ง ๆ

มาตรการความชว่ ยเหลอื ไดร้ บั สิทธิ์ สมคั ร/ยนื ยังไม่ ไม่สมคั ร รวม
ไม่ได้รับ ทราบผล และไม่ยนื
สิทธิ์
เงนิ ใหเ้ ปลา่ จากรัฐบาล (เช่น เดอื นละ 5,000 บาท) 15.2 17.4 7.2 60.3 100.0
มาตรการชว่ ยเหลอื ดา้ นสินเชอื เพือประชาชน 2.0 4.8 89.0 100.0
มาตรการช่วยเหลือสินเชือเพือผปู้ ระกอบการ 2.0 4.2 3.0 91.8 100.0
การฝึกอบรมอาชพี 0.6 3.2 2.6 93.4 100.0
3.4

10

12. เหตผุ ลทไี่ ม่ไดร้ บั ความช่วยเหลือจากมาตรการของรัฐ
ผู้ทีตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 28.1 ระบุว่า ไม่ได้รับความช่วยเหลือจากมาตรการของรัฐ เนืองจาก

ไม่ได้รับผลกระทบ ร้อยละ 27.0 รู้ว่าตัวเองไม่มีสิทธ์ิจึงไม่สมัครหรือยืน และร้อยละ 18.9 สมัคร/ยืนแต่ได้รับ
แจ้งวา่ ไมไ่ ดร้ ับสทิ ธิ์ (แผนภูมิ 8)

แผนภมู ิ 8 ร้อยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเหตุผลทีไม่ไดร้ บั ความช่วยเหลอื จากมาตรการของรัฐ

28.1% 3.3% 1.1% 27.0%

ไมไ่ ด้รบั ได้รับผลกระทบ ไม่ร้วู า่ มี 18.9%
ผลกระทบ แตไ่ ม่ตอ้ งการ มาตรการ
ความชว่ ยเหลอื ช่วยเหลอื 10.5%
5.3% 5.7%

ร้วู า่ มมี าตรแต่ รู้ว่าตัวเองไมม่ ี ขั้นตอนซับซอ้ น สมัคร/ยนื แต่ สมคั ร/ยนื แต่
ไม่ทราบ สิทธจิ์ ึงไม่สมัคร เสยี เวลา จึงไม่ ไดร้ บั แจง้ ว่าไม่ได้ ไมไ่ ด้รับการ

รายละเอยี ดจงึ ไม่ หรือยืน สมคั รหรอื ยนื รบั สทิ ธ์ิ ติดต่อกลับ
สมคั รหรอื ยืน

13. ประโยชนจ์ ากมาตรการตา่ ง ๆ ของรัฐตอ่ ตนเอง
ประโยชน์จากมาตรการต่าง ๆ ของรัฐต่อตนเอง สรุปผลได้ดงั นี้
1) เงินให้เปล่าจากรัฐบาล (เช่น เดือนละ 5,000 บาท) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 37.5

ระบุว่า ได้รับประโยชน์ในระดับมากทีสุด รองลงมาคือ ร้อยละ 30.0 ระบุว่าได้รับประโยชน์ในระดับมาก และ
รอ้ ยละ 22.9 ระบุว่า ได้รบั ประโยชน์ในระดบั ปานกลาง ตามลาดับ

2) มาตรการชว่ ยเหลือด้านสนิ เชือเพือประชาชน ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 28.3 ระบุว่า
ได้รับประโยชน์ในระดับมาก รองลงมาคือ ร้อยละ 27.8 ระบุว่า ได้รับประโยชน์ในระดับมากทีสุด และร้อยละ
25.9 ระบุว่า ได้รบั ประโยชน์ในระดบั ปานกลาง ตามลาดบั

3) มาตรการช่วยเหลือสินเชอื เพือผ้ปู ระกอบการ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ รอ้ ยละ 30.3 ระบุว่า
ได้รับประโยชน์ในระดับปานกลาง รองลงมาคือ ร้อยละ 28.0 ระบุว่าได้รับประโยชน์ในระดับมาก และร้อยละ
20.9 ระบุว่า ได้รับประโยชน์ในระดบั มากทีสดุ ตามลาดับ

4) การเพิมสวัสดิการแก่ ผู้สูงอายุ เด็ก ผู้พิการ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 31.9 ระบุว่า
ได้รับประโยชน์ในระดับปานกลาง รองลงมาคือ ร้อยละ 27.8 ระบุว่า ได้รับประโยชน์ในระดับมากทีสุด และ
รอ้ ยละ 24.2 ระบุว่าได้รบั ประโยชน์ในระดบั มาก ตามลาดบั

5) การฝึกอบรมอาชีพ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 27.2 ระบุว่า ได้รับประโยชน์ในระดับ
ปานกลาง รองลงมาคือ ร้อยละ 24.7 ระบุว่า ได้รับประโยชน์ในระดับมาก และร้อยละ 21.2 ระบุว่า ได้รับ
ประโยชน์ในระดับมากทีสดุ ตามลาดับ

6) ดูแลค่าครองชีพ เช่น คุมราคาสินค้า ลดค่าไฟฟ้า/น้าประปา ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่
ร้อยละ 41.65 ระบุว่า ได้รับประโยชน์ในระดับมากทีสุด รองลงมาคือ ร้อยละ 24.4 ระบุว่าได้รับประโยชน์ใน
ระดับมาก และร้อยละ 20.0 ระบวุ า่ ได้รับประโยชน์ในระดบั ปานกลาง ตามลาดับ

(ตาราง 6)

11

ตาราง 6 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามประโยชน์จากมาตรการตา่ ง ๆ ของรฐั ตอ่ ตนเอง

มาตรการ น้อยทสี ุด นอ้ ย ระดับความคดิ เหน็ มากทีสุด รวม
ปานกลาง มาก 37.5 100.0
เงินให้เปล่าจากรัฐบาล (เช่น เดอื นละ 5,000 บาท) 2.8 6.8 27.8 100.0
22.9 30.0 20.9 100.0
มาตรการช่วยเหลอื ดา้ นสินเชือเพอื ประชาชน 7.3 10.7 25.9 28.3 27.8 100.0
30.3 28.0 21.2 100.0
มาตรการชว่ ยเหลือสินเชือเพือผปู้ ระกอบการ 8.4 12.4 31.9 24.2 41.6 100.0
27.2 24.7
การเพิมสวสั ดกิ ารแก่ ผสู้ งู อายุ เดก็ ผ้พู กิ าร 6.1 10.0 20.0 24.4

การฝึกอบรมอาชีพ 10.4 16.5

ดแู ลคา่ ครองชีพ เช่น คมุ ราคาสินคา้ ลดคา่ ไฟฟา้ /น้าประปา 4.6 9.4

14. ประโยชนจ์ ากมาตรการตา่ ง ๆ ของรัฐตอ่ กลุ่มผู้มีรายได้น้อย
ประโยชนจ์ ากมาตรการตา่ ง ๆ ของรัฐตอ่ กลุ่มผ้มู ีรายไดน้ ้อย สรปุ ผลได้ดงั น้ี
1) เงนิ ใหเ้ ปล่าจากรัฐบาล (เชน่ เดือนละ 5,000 บาท) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 45.8

ระบุว่า ได้รับประโยชน์ในระดับมากทีสุด รองลงมาคือ ร้อยละ 24.2 ระบุว่าได้รับประโยชน์ในระดับมาก และ
รอ้ ยละ 17.8 ระบุว่า ไดร้ ับประโยชน์ในระดบั ปานกลาง ตามลาดับ

2) มาตรการช่วยเหลือด้านสินเชือเพือประชาชน ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 41.2 ระบุ
ว่า ได้รับประโยชน์ในระดับมากทีสุด รองลงมาคือ ร้อยละ 24.0 ระบุว่าได้รับประโยชน์ในระดับมาก และ
ร้อยละ 20.8 ระบุวา่ ไดร้ ับประโยชน์ในระดับปานกลาง ตามลาดับ

3) มาตรการช่วยเหลือสินเชือเพือผู้ประกอบการ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 40.6 ระบุ
ว่า ได้รับประโยชน์ในระดับมากทีสุด รองลงมาคือ ร้อยละ 25.0 ระบุว่าได้รับประโยชน์ในระดับมาก และ
รอ้ ยละ 19.6 ระบวุ า่ ได้รบั ประโยชน์ในระดบั ปานกลาง ตามลาดับ

4) การเพิมสวัสดิการแก่ ผู้สงู อายุ เดก็ ผู้พิการ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ร้อยละ 41.4 ระบุว่า
ได้รับประโยชน์ในระดับมากทีสุด รองลงมาคือ ร้อยละ 24.0 ระบุว่าได้รับประโยชน์ในระดับมาก และร้อยละ
19.6 ระบุว่า ไดร้ บั ประโยชน์ในระดบั ปานกลาง ตามลาดับ

5) การฝึกอบรมอาชีพ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่ ร้อยละ 37.8 ระบุวา่ ได้รับประโยชน์ในระดับ
มากทีสุด รองลงมาคือ ร้อยละ 23.6 ระบุว่าได้รับประโยชน์ในระดับมาก และร้อยละ 21.4 ระบุว่า ได้รับ
ประโยชน์ในระดับปานกลาง ตามลาดบั

6) ดูแลค่าครองชีพ เช่น คุมราคาสินค้า ลดค่าไฟฟ้า/น้าประปา ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่
ร้อยละ 47.4 ระบุว่า ได้รับประโยชน์ในระดับมากทีสุด รองลงมาคือ ร้อยละ 23.4 ระบุว่าได้รับประโยชน์ใน
ระดบั มาก และรอ้ ยละ 17.2 ระบุว่า ไดร้ ับประโยชน์ในระดบั ปานกลาง ตามลาดับ

(ตาราง 7)

12

ตาราง 7 รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามประโยชน์จากมาตรการต่าง ๆ ของรัฐต่อกลุ่มผู้มรี ายไดน้ ้อย

ระดับความคดิ เหน็

มาตรการ น้อยทีสุด นอ้ ย ปานกลาง มาก มากทีสุด รวม

เงนิ ให้เปลา่ จากรัฐบาล (เช่น เดอื นละ 5,000 บาท) 5.4 6.8 17.8 24.2 45.8 100.0

มาตรการชว่ ยเหลือด้านสินเชอื เพอื ประชาชน 6.2 7.8 20.8 24.0 41.2 100.0

มาตรการช่วยเหลือสินเชือเพือผปู้ ระกอบการ 7.2 7.6 19.6 25.0 40.6 100.0

การเพิมสวัสดกิ ารแก่ ผสู้ งู อายุ เดก็ ผพู้ กิ าร 7.4 7.6 19.6 24.0 41.4 100.0

การฝกึ อบรมอาชพี 7.2 10.0 21.4 23.6 37.8 100.0

ดูแลค่าครองชีพ เชน่ คมุ ราคาสินคา้ ลดค่าไฟฟ้า/นา้ ประปา 5.6 6.4 17.2 23.4 47.4 100.0

สารบัญตารางสถติ ิ

หน้า

ตารางท่ี 1 รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามลกั ษณะงานทท่ี ่านทาก่อน 15

การแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19

ตารางที่ 2 รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามลกั ษณะงานทท่ี ่านทาหลัง 16

การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

ตารางท่ี 3 รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามการไดร้ ับสวสั ดกิ ารของรัฐ 17

ตารางท่ี 4 รอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตามสมาชกิ ในครวั เรือนทไ่ี ดร้ บั สวสั ดกิ ารของรัฐ 19

ตารางท่ี 5 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการเปลี่ยนแปลงรายได้และรายจ่ายของ 21

ครวั เรือนเม่ือเทียบกบั ก่อนหน้าการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19

ตารางท่ี 6 รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามการเปล่ียนแปลงของหน้ีสินของครัวเรอื น 22

เม่อื เทียบกับก่อนหน้าการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19

ตารางที่ 7 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการได้รบั ผลกระทบในการประกอบอาชีพจาก 23

การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19

ตารางท่ี 8 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามผลกระทบตอ่ การทางานจากการ 24

แพร่ระบาดของโรคโควดิ -19

ตารางท่ี 9 รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการปรับตัวในการประกอบอาชพี 27

ชว่ งเคอร์ฟิว จากการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19

ตารางท่ี 10 รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามการปรบั ตวั ในการประกอบอาชีพ 28

จากมาตรการปิดรา้ นคา้ และหา้ งสรรพสนิ ค้า จากการแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19

ตารางที่ 11 รอ้ ยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการปรับตัวในการประกอบอาชีพ 29

จากมาตรการห้ามเดินทางระหวา่ งเมือง ระหวา่ งประเทศ จากการแพร่ระบาด

ของโรคโควดิ -19

ตารางที่ 12 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามการทางานจากท่ีบ้าน ตั้งแต่เกิดการ 30

แพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -19

ตารางที่ 13 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการปรับตัวและการวางแผน เร่ืองรายได้ 31

และคา่ ใชจ้ ่าย หากมาตรการคมุ การระบาดยงั ไม่ยกเลิก การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19

ตารางท่ี 14 รอ้ ยละของผูต้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามการปรับตวั และการวางแผนเร่ืองรายได้ 32

และคา่ ใชจ้ ่ายหากมาตรการคมุ การระบาดของโรคโควดิ -19 ยงั ไมย่ กเลกิ

ตารางที่ 15 รอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตามมาตรการขอความชว่ ยเหลือจากรัฐบาล 33

ตารางท่ี 16 รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จาแนกตามเหตุผลทไ่ี ม่ไดร้ บั ความช่วยเหลอื จากรฐั บาล 35

ตารางท่ี 17 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามการได้ประโยชนจ์ ากมาตรการจากรฐั 36

ตอ่ ตนเอง

ตารางท่ี 18 รอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม จาแนกตามการได้ประโยชน์จากมาตรการจากรฐั 39

ของกล่มุ ผู้มีรายได้นอ้ ย



ตารางที่ 1 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามลกั ษณะงานท่ีท่านทาก่อนกา

รับราชการ/ พนักงาน/ ประกอบธุรกิจ ประกอบ

ขอ้ มูลพ้ืนฐาน รัฐวิสาหกจิ / ลูกจา้ งเอกชน โดยไม่มีลกู จ้าง โดยไม่มี

พนักงานของรัฐ น้อยกว่า

เพศ 39.5 20.6 15.4 2
2
ชาย 36.6 24.4 17.4 2
2
หญิง 41.7 17.7 13.9 3
2
อายุ 39.5 20.6 15.4 1
3
ต่ากว่า 31 ปี 24.2 42.9 5.0
2
31-40 ปี 60.4 12.6 9.9 1
3
41-50 ปี 48.3 11.7 20.8 4
2
51-60 ปี 44.2 7.8 19.5 2

61 ปีขึน้ ไป - - 56.3

การศกึ ษา 39.5 20.6 15.4

ประถมศึกษา/ต่ากว่า 7.7 10.6 39.4

มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 6.1 27.3 30.3

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 17.4 28.3 14.1

อนุปริญญา 31.3 45.8 6.3

ปริญญาตร/ี สงู กว่า 70.1 15.6 4.5

หมายเหตุ : 1/อ่ืนๆ ไดแ้ ก่ ขา้ ราชการบานาญ และทางานบ้าน/เรียนหนังสือ/เดก็ /ชรา/ป่วย/พิการ

ารแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

บธุรกิจ รับจา้ งทางาน ช่วยธุรกจิ ใน ว่างงาน/ไม่มี อื่นๆ1/ รวม
มลกู จ้าง ท่ัวไป ไม่มีงาน ครอบครัวโดย งานทา/ตกงาน
8.8 100.0
10 คน ประจา ไม่ไดร้ ับคา่ จา้ ง 5.2 100.0
11.5 100.0
2.6 8.8 1.2 3.2 8.8 100.0
12.4 100.0
2.3 11.3 0.9 1.9 0.9 100.0
0.8 100.0
2.8 6.9 1.4 4.2 10.4 100.0
43.8 100.0
2.6 8.8 1.2 3.2 8.8 100.0
22.1 100.0
3.1 5.0 1.2 6.2 6.1 100.0
12.0 100.0
2.7 12.6 - 0.9 6.3 100.0
2.2 100.0
1.7 13.3 1.7 1.7

3.9 7.8 2.6 3.9

--- -

2.6 8.8 1.2 3.2

1.0 12.5 2.9 3.8

3.0 24.2 - 3.0

4.3 18.5 2.2 3.3

2.1 2.1 2.1 4.2

2.7 2.2 - 2.7

ตารางที่ 2 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามลักษณะงานทท่ี ่านทาหลังการแ

รบั ราชการ/ พนักงาน/ ประกอบ ประกอบ

ข้อมูลพื้นฐาน รัฐวิสาหกิจ/ ลูกจ้างเอกชน ธุรกิจโดยไม่มี ธุรกิจโดยไม่มี

พนักงานของ ลูกจ้าง ลูกจ้างน้อย

รัฐ กว่า 10 คน

เพศ 39.9 16.4 13.0 1.0
0.5
ชาย 37.6 18.8 14.6 1.4
1.0
หญิง 41.7 14.6 11.8 1.2
1.8
อายุ 39.9 16.4 13.0 0.8

ตา่ กว่า 31 ปี 25.5 32.3 3.1 -
-
31-40 ปี 60.4 9.9 8.1 1.0
1.0
41-50 ปี 48.3 10.0 18.3 -
1.1
51-60 ปี 44.2 9.1 15.6 2.1
0.9
61 ปขี ้ึนไป - - 53.1

การศึกษา 39.9 16.4 13.0

ประถมศึกษา/ต่ากว่า 7.7 9.6 35.6

มัธยมศึกษาตอนต้น 6.1 21.2 27.3

มัธยมศึกษาตอนปลาย 17.4 19.6 13.0

อนุปรญิ ญา 31.3 37.5 6.3

ปริญญาตรี/สูงกวา่ 71.0 12.9 1.8

แพร่ระบาดของโรคโควิด-19

รบั จ้าง ช่วยธุรกิจใน ข้าราชการ วา่ งงาน/ไม่มี ทางานบ้าน/ รวม
ทางานทั่วไป ครอบครัวโดย บานาญ งานทา/ตกงาน เรยี นหนังสือ/
ไม่มีงานประจา ไม่ได้รบั ค่าจ้าง 100.0
เด็ก/ชรา/ 100.0
ป่วย/พกิ าร 100.0
100.0
6.2 2.0 0.6 12.4 8.6 100.0
100.0
8.5 1.9 0.9 13.1 4.2 100.0
100.0
4.5 2.1 0.3 11.8 11.8 100.0
100.0
6.2 2.0 0.6 12.4 8.6 100.0
100.0
3.1 1.9 - 21.1 11.8 100.0
100.0
7.2 1.8 - 8.1 2.7 100.0

12.5 2.5 - 6.7 0.8

3.9 2.6 1.3 13.0 10.4

- - 6.3 3.1 37.5

6.2 2.0 0.6 12.4 8.6

10.6 3.8 1.0 8.7 22.1

12.1 3.0 - 24.2 6.1

15.2 2.2 - 19.6 12.0

- 2.1 - 14.6 6.3

0.9 0.9 0.9 8.9 1.8

ตารางที 3 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จ่าแนกตามการได้รับสวัสดิการของรัฐ

ขอ้ มูลพ้นื ฐาน บัตรสวัสดกิ ารแห่งรัฐ

เพศ ไม่ไดร้ ับ ไดร้ ับ รวม ไม

ชาย 77.0 23.0 100.0
หญิง
อายุ 83.6 16.4 100.0
ตา่ กว่า 31 ปี
31-40 ปี 72.2 27.8 100.0
41-50 ปี
51-60 ปี 77.0 23.0 100.0
61 ปีข้ึนไป
การศึกษา 73.9 26.1 100.0

ประถมศกึ ษา/ต่ากว่า 87.4 12.6 100.0
มัธยมศกึ ษาตอนต้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย 77.5 22.5 100.0
อนุปรญิ ญา
ปริญญาตรี/สูงกว่า 76.6 23.4 100.0

56.3 43.8 100.0

77.0 23.0 100.0

56.7 43.3 100.0

75.8 24.2 100.0

70.7 29.3 100.0

81.3 18.8 100.0

88.4 11.6 100.0

เงนิ อุดหนุนเดก็ แรกเกดิ 600 บาท เงนิ สงเคราะห์บุตรประกันสังคม

ม่ได้รับ ได้รบั รวม ไม่ไดร้ ับ ได้รบั รวม

93.4 6.6 100.0 94.0 6.0 100.0

96.7 3.3 100.0 96.7 3.3 100.0

91.0 9.0 100.0 92.0 8.0 100.0

93.4 6.6 100.0 94.0 6.0 100.0

94.4 5.6 100.0 95.7 4.3 100.0

86.5 13.5 100.0 81.1 18.9 100.0

98.3 1.7 100.0 99.2 0.8 100.0

90.9 9.1 100.0 98.7 1.3 100.0
100.0 - 100.0 100.0 - 100.0

93.4 6.6 100.0 94.0 6.0 100.0
100.0 - 100.0
98.1 1.9 100.0 100.0 - 100.0

93.9 6.1 100.0

87.0 13.0 100.0 97.8 2.2 100.0

85.4 14.6 100.0 93.8 6.3 100.0

95.5 4.5 100.0 88.8 11.2 100.0

ตารางที 3 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จ่าแนกตามการได้รับสวัสดิการของรัฐ(ต่อ)

ข้อมูลพื้นฐาน เบ้ยี ยงั ชีพผู้พกิ าร รวม ไม

เพศ ไม่ไดร้ บั ไดร้ ับ 100.0
100.0
ชาย 98.8 1.2 100.0
หญิง 99.1 0.9 100.0
อายุ 98.6 1.4 100.0
ต่ากว่า 31 ปี 91.8 8.2 100.0
31-40 ปี 99.4 0.6 100.0
41-50 ปี 95.5 4.5 100.0
51-60 ปี 99.2 0.8 100.0
61 ปีขึ้นไป 92.2 7.8 100.0
การศกึ ษา 12.5 87.5 100.0
91.8 8.2 100.0
ประถมศกึ ษา/ตา่ กว่า 71.2 28.8 100.0
มัธยมศึกษาตอนต้น 97.0 3.0 100.0
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 95.7 4.3 100.0
อนุปริญญา 93.8 6.3
ปรญิ ญาตรี/สงู กว่า 98.7 1.3

)

เบ้ียยงั ชีพผู้สูงอายุ เงนิ อุดหนุนอืนๆ จากภาครัฐ

ม่ไดร้ ับ ไดร้ ับ รวม ไม่ได้รับ ไดร้ ับ รวม

91.8 8.2 100.0 94.4 5.6 100.0
91.5 8.5 100.0
92.0 8.0 100.0 95.3 4.7 100.0
98.8 1.2 100.0
99.4 0.6 100.0 93.8 6.3 100.0
100.0 - 100.0
99.2 0.8 94.4 5.6 100.0
97.4 2.6 100.0
93.8 6.3 100.0 95.7 4.3 100.0
98.8 1.2 100.0
95.2 4.8 100.0 94.6 5.4 100.0
100.0 - 100.0
100.0 - 100.0 95.0 5.0 100.0
97.9 2.1 100.0
100.0 - 92.2 7.8 100.0
100.0
100.0 90.6 9.4 100.0

94.4 5.6 100.0

92.3 7.7 100.0

93.9 6.1 100.0

95.7 4.3 100.0

91.7 8.3 100.0

95.5 4.5 100.0

ตารางที 4 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จ่าแนกตามสมาชิกในครัวเรือนทไี ด้รับสวัส

บัตรสวัสดกิ ารแห่งรฐั

ขอ้ มูลพ้นื ฐาน ไม่ได้รบั ไดร้ บั รวม ไม
61.9 38.1 100.0
เพศ 63.8 36.2 100.0
ชาย 60.4 39.6 100.0
หญิง 61.9 38.1 100.0
57.8 42.2 100.0
อายุ 64.0 36.0 100.0
ต่ากว่า 31 ปี 65.8 34.2 100.0
31-40 ปี 66.2 33.8 100.0
41-50 ปี 50.0 50.0 100.0
51-60 ปี 61.9 38.1 100.0
61 ปีขึ้นไป 46.2 53.8 100.0
57.6 42.4 100.0
การศกึ ษา 56.5 43.5 100.0
ประถมศึกษา/ต่ากว่า 72.9 27.1 100.0
มัธยมศกึ ษาตอนต้น 69.6 30.4 100.0
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
อนุปรญิ ญา
ปรญิ ญาตรี/สูงกว่า

สดิการของรัฐ

เงินอดุ หนุนเด็กแรกเกดิ 600 บาท เงินสงเคราะห์บุตรประกันสังคม

ม่ไดร้ ับ ได้รับ รวม ไม่ไดร้ ับ ได้รบั รวม

92.6 7.4 100.0 96.6 3.4 100.0

94.8 5.2 100.0 97.7 2.3 100.0

91.0 9.0 100.0 95.8 4.2 100.0

92.6 7.4 100.0 96.6 3.4 100.0

93.8 6.2 100.0 98.8 1.2 100.0

91.0 9.0 100.0 92.8 7.2 100.0

95.0 5.0 100.0 98.3 1.7 100.0

85.7 14.3 100.0 97.4 2.6 100.0

100.0 - 100.0 90.6 9.4 100.0

92.6 7.4 100.0 96.6 3.4 100.0

90.4 9.6 100.0 96.2 3.8 100.0

90.9 9.1 100.0 100.0 - 100.0

90.2 9.8 100.0 97.8 2.2 100.0

89.6 10.4 100.0 93.8 6.3 100.0

95.5 4.5 100.0 96.4 3.6 100.0

ตารางที 4 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จ่าแนกตามสมาชิกในครัวเรือนทไี ด้รับสวัส

ขอ้ มูลพืน้ ฐาน เบ้ียยงั ชีพผู้สงู อายุ รวม ไม
ไม่ไดร้ บั ไดร้ บั 100.0
เพศ 100.0
ชาย 93.4 6.6 100.0
หญิง 93.9 6.1 100.0
93.1 6.9 100.0
อายุ 93.4 6.6 100.0
ตา่ กว่า 31 ปี 95.7 4.3 100.0
31-40 ปี 93.7 6.3 100.0
41-50 ปี 94.2 5.8 100.0
51-60 ปี 90.9 9.1 100.0
61 ปีขึ้นไป 84.4 15.6 100.0
93.4 6.6 100.0
การศกึ ษา 87.5 12.5 100.0
ประถมศึกษา/ตา่ กว่า 97.0 3.0 100.0
มัธยมศกึ ษาตอนต้น 92.4 7.6 100.0
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 93.8 6.3
อนุปริญญา 96.0 4.0
ปรญิ ญาตรี/สูงกว่า

สดิการของรัฐ(ต่อ)

เบ้ียยงั ชีพผู้พิการ เงนิ อดุ หนุนอืนๆ จากภาครัฐ
ม่ไดร้ ับ ไดร้ ับ
รวม ไม่ได้รับ ได้รบั รวม
90.4 9.6 100.0
90.1 9.9 100.0 90.6 9.4 100.0
90.6 9.4 100.0
90.4 9.6 100.0 91.1 8.9 100.0
90.1 9.9 100.0
94.6 5.4 100.0 90.3 9.7 100.0
90.8 9.2 100.0
88.3 11.7 100.0 90.6 9.4 100.0
81.3 18.8 100.0
90.4 9.6 100.0 90.1 9.9 100.0
83.7 16.3 100.0
90.9 9.1 100.0 91.0 9.0 100.0
88.0 12.0 100.0
89.6 10.4 100.0 92.5 7.5 100.0
94.6 5.4 100.0
89.6 10.4 100.0

87.5 12.5 100.0

90.6 9.4 100.0

89.4 10.6 100.0

90.9 9.1 100.0

93.5 6.5 100.0

89.6 10.4 100.0

90.2 9.8 100.0

ตารางที่ 5 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จ่าแนกตามการเปล่ียนแปลงรายได้และรา

ข้อมูลพ้ืนฐาน ลดลงต้ังแต่ รายได้ เพ่ิมข้ึน
50% ข้ึนไป ตั้งแต่ 50%
ลดลงน้อย ไม่ เพิ่มขึ้น
กว่า 50% เปลี่ยนแปลง น้อยกว่า ข้ึนไป

50%

เพศ 21.0 34.1 44.3 0.4 0.2
21.6 35.2 43.2 - -
ชาย 20.5 33.3 45.1 0.7
หญิง 21.0 34.1 44.3 0.4 0.3
อายุ 19.9 42.2 36.6 1.2 0.2
ตา่ กว่า 31 ปี 28.8 25.2 45.9 -
31-40 ปี 22.5 35.8 40.8 - -
41-50 ปี 15.6 22.1 62.3 - 0.8
51-60 ปี 6.3 46.9 46.9 -
61 ปีข้ึนไป 21.0 34.1 44.3 0.4 -
การศึกษา 11.5 47.1 41.3 - -
24.2 42.4 33.3 - 0.2
ประถมศึกษา/ตา่ กว่า 23.9 41.3 33.7 - -
มัธยมศึกษาตอนต้น -
มัธยมศึกษาตอนปลาย 1.1

อนุปริญญา 22.9 39.6 35.4 2.1 -
ปรญิ ญาตรี/สูงกวา่ 23.2 22.8 53.6 0.4 -

ยจ่ายของครัวเรือน เม่ือเทียบกับก่อนหน้าการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

รายจ่าย

รวม ลดลงต้ังแต่ ลดลงน้อย ไม่ เพ่ิมข้ึน เพิ่มขึ้น รวม
% 50% ข้ึนไป กว่า 50% เปล่ียนแปลง น้อยกวา่ ตั้งแต่ 50%

50% ข้ึนไป

100.0 8.8 6.8 55.8 18.2 10.4 100.0

100.0 7.0 7.5 60.6 16.4 8.5 100.0

100.0 10.1 6.3 52.4 19.4 11.8 100.0

100.0 8.8 6.8 55.8 18.2 10.4 100.0

100.0 7.5 6.8 40.4 31.1 14.3 100.0

100.0 14.4 4.5 55.0 10.8 15.3 100.0

100.0 8.3 9.2 60.0 17.5 5.0 100.0

100.0 5.2 7.8 74.0 5.2 7.8 100.0

100.0 6.3 3.1 78.1 12.5 100.0

100.0 8.8 6.8 55.8 18.2 10.4 100.0

100.0 4.8 3.8 83.7 6.7 1.0 100.0

100.0 9.1 9.1 72.7 6.1 3.0 100.0

100.0 7.6 6.5 56.5 20.7 8.7 100.0

100.0 - 4.2 41.7 33.3 20.8 100.0

100.0 12.9 8.5 43.3 21.0 14.3 100.0

ตารางที่ 6 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จ่าแนกตามการเปล่ียนแปลงของหนี้สินขอ

หนี้สินในระบบ

ไม่มี ลดลง ลดลง ไม่ เพิ่มขึ้น เพ่ิมขึ้น

ข้อมูลพ้ืนฐาน หนี้สิน ตั้งแต่ น้อยกวา่ เปลี่ยนแปลง น้อยกวา่ ตั้งแต่ 50

50% 50% 50% ข้ึนไป

ข้ึนไป

เพศ 16.0 4.6 3.4 61.1 9.6 5.4
58.7 11.3 5.2
ชาย 17.4 4.2 3.3 62.8 8.3 5.6
61.1 9.6 5.4
หญิง 14.9 4.9 3.5 54.0 13.0 4.3
62.2 8.1 9.0
อายุ 16.0 4.6 3.4 64.2 12.5 4.2
70.1 3.9 6.5
ตา่ กว่า 31 ปี 19.9 4.3 4.3 59.4 -
61.1 9.6 -
31-40 ปี 10.8 6.3 3.6 68.3 3.8 5.4
63.6 12.1
41-50 ปี 12.5 4.2 2.5 52.2 13.0 -
45.8 8.3 3.0
51-60 ปี 10.4 5.2 3.9 64.3 10.7 5.4
6.3
61 ปขี ึ้นไป 40.6 - - 8.0

การศึกษา 16.0 4.6 3.4

ประถมศึกษา/ต่ากวา่ 24.0 1.9 1.9

มัธยมศึกษาตอนต้น 21.2 - -

มัธยมศึกษาตอนปลาย 21.7 3.3 4.3

อนุปริญญา 35.4 2.1 2.1

ปริญญาตรี/สูงกว่า 4.9 7.6 4.5

องครัวเรือน เมื่อเทียบกับก่อนหน้าการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

หนี้สินนอกระบบ

น รวม ไม่มี ลดลง ลดลง ไม่ เพ่ิมขึ้น เพิ่มข้ึน รวม

% หน้ีสิน ต้ังแต่ น้อยกวา่ เปลี่ยนแปลง น้อยกว่า ต้ังแต่ 50 %

50% 50% 50% ข้ึนไป

ข้ึนไป

100.0 37.1 4.4 2.0 42.9 10.2 3.4 100.0

100.0 39.9 3.3 3.3 40.8 9.4 3.3 100.0

100.0 35.1 5.2 1.0 44.4 10.8 3.5 100.0

100.0 37.1 4.4 2.0 42.9 10.2 3.4 100.0

100.0 42.2 6.2 1.9 32.9 15.5 1.2 100.0

100.0 35.1 5.4 0.9 46.8 8.1 3.6 100.0

100.0 34.2 1.7 2.5 44.2 10.8 6.7 100.0

100.0 29.9 5.2 3.9 54.5 2.6 3.9 100.0

100.0 46.9 - - 46.9 6.3 100.0

100.0 37.1 4.4 2.0 42.9 10.2 3.4 100.0

100.0 36.5 1.0 1.9 50.0 8.7 1.9 100.0

100.0 27.3 3.0 - 60.6 9.1 - 100.0

100.0 40.2 7.6 3.3 32.6 13.0 3.3 100.0

100.0 54.2 - 2.1 33.3 6.3 4.2 100.0

100.0 33.9 5.8 1.8 43.3 10.7 4.5 100.0

ตารางที่ 7 ร้อยละของผตู้ อบแบบสอบถาม จา่ แนกตามการได้รับผลกระทบในการประ

ข้อมูลพื้นฐาน ไม่ได้รับ ถกู พักงาน โดย ถกู พักงาน โดย ถกู เล
ผลกระทบ ได้รับเงินเดือนลด ไม่ไดร้ ับเงินเดอื น ออก

เพศ 54.1 น้อยลง ได้ร

ชาย 49.3 8.6 5.4
9.4 7.5
หญิง 57.6 8.0 3.8
8.6 5.4
อายุ 54.1 16.8 13.0
7.2 2.7
ต่ากว่า 31 ปี 47.8 4.2 1.7
3.9 1.3
31-40 ปี 54.1
--
41-50 ปี 50.8 8.6 5.4
3.8 4.8
51-60 ปี 68.8 9.1 12.1
12.0 8.7
61 ปีข้นึ ไป 62.5 22.9 6.3
6.3 3.1
การศึกษา 54.1

ประถมศกึ ษา/ต่ากว่า 49.0

มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 30.3

มัธยมศึกษาตอนปลาย 41.3

อนุปริญญา 39.6

ปริญญาตร/ี สูงกว่า 68.3

หมายเหตุ : สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ

ะกอบอาชีพจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

ผลกระทบในการประกอบอาชีพ เลกิ ขาย / ปิด ยอดขายลดน้อยลง ปัจจยั การผลติ
กิจการ ขาดแคลน ราคา
ลกิ จา้ ง / ปลด ถูกเลกิ จ้าง / ปลด วัตถดุ บิ เพ่ิมขึ้น
กจากงาน โดย ออกจากงาน โดย
รับเงินชดเชย ไม่ได้รับเงินชดเชย

1.8 4.6 6.4 16.2 7.2

0.9 7.5 7.5 16.0 8.5

2.4 2.4 5.6 16.3 6.3

1.8 4.6 6.4 16.2 7.2

1.9 4.3 5.0 11.8 6.8

0.9 6.3 8.1 15.3 9.0

3.3 5.0 6.7 24.2 7.5

1.3 3.9 7.8 9.1 3.9

- - 3.1 28.1 9.4

1.8 4.6 6.4 16.2 7.2

1.9 6.7 5.8 24.0 4.8

- 15.2 9.1 21.2 3.0

5.4 8.7 7.6 14.1 5.4

2.1 4.2 6.3 10.4 14.6

0.4 0.4 5.8 13.8 8.0

ตารางที่ 8 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามผลกระทบต่อการทางานจากกา

ข้อมลู พื้นฐาน ไม่กระทบ นอ้ ยท่ีสุด ประกาศเคอร์ฟิว มากที่สดุ
น้อย ปานกลาง มาก
เพศ 23.2 9.2 11.6
ชาย 19.7 10.8 17.0 25.0 14.2 13.1
หญิง 25.7 8.0 19.2 21.1 16.0 10.4
23.2 9.2 15.3 27.8 12.8 11.6
อายุ 16.8 8.7 17.0 25.0 14.2 20.5
ตา่ กว่า 31 ปี 26.1 9.0 13.0 25.5 15.5 9.0
31-40 ปี 25.0 6.7 18.9 18.0 18.9 7.5
41-50 ปี 28.6 14.3 21.7 28.3 10.8 6.5
51-60 ปี 25.0 9.4 14.3 24.7 11.7 3.1
61 ปีข้ึนไป 23.2 9.2 18.8 34.4 9.4 11.6
20.2 14.4 17.0 25.0 14.2 4.8
การศกึ ษา 15.2 15.2 21.2 25.0 14.4 12.1
23.9 9.8 9.1 24.2 24.2 10.9
ประถมศกึ ษา/ตา่ กว่า 18.8 10.4 14.1 33.7 7.6 33.3
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 26.3 5.4 12.5 22.9 2.1 10.3
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 18.3 21.9 17.9
อนุปริญญา
ปริญญาตร/ี สูงกว่า

ารแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ต่อ)

รวม ไม่กระทบ น้อยท่ีสดุ ปดิ ร้านคา้ /ห้างฯ มากท่ีสดุ รวม
นอ้ ย ปานกลาง มาก
100.0 23.0 9.8 13.4 100.0
100.0 19.2 11.7 17.0 23.2 13.8 12.7 100.0
100.0 25.7 8.3 22.1 19.7 14.6 13.9 100.0
100.0 23.0 9.8 13.2 25.7 13.2 13.4 100.0
100.0 17.4 6.2 17.0 23.2 13.8 19.9 100.0
100.0 21.6 12.6 14.9 24.2 17.4 14.4 100.0
100.0 21.7 10.0 18.0 17.1 16.2 10.0 100.0
100.0 35.1 13.0 21.7 25.0 11.7 7.8 100.0
100.0 31.3 9.4 9.1 27.3 7.8 3.1 100.0
100.0 23.0 9.8 25.0 21.9 9.4 13.4 100.0
100.0 27.9 15.4 17.0 23.2 13.8 3.8 100.0
100.0 15.2 12.1 25.0 19.2 8.7 18.2 100.0
100.0 21.7 8.7 21.2 18.2 15.2 17.4 100.0
100.0 14.6 8.3 14.1 32.6 5.4 29.2 100.0
100.0 24.1 7.6 12.5 16.7 18.8 12.1 100.0
14.7 23.2 18.3

ตารางที่ 8 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามผลกระทบต่อการทางานจากกา

หา้ มทานอาหารท่ีร้าน ห

ข้อมูลพื้นฐาน ไม่ น้อย น้อย ปาน มาก มาก รวม ไม่ น้อย
กระท ท่ีสุด กลาง ที่สุด กระท ที่สุด

เพศ 23บ.0 12.8 18.2 22.2 13.2 10.8 100.0 22บ.6 9.6

ชาย 18.3 15.5 22.1 18.8 15.0 10.3 100.0 19.7 9.4

หญิง 26.4 10.8 15.3 24.7 11.8 11.1 100.0 24.7 9.7

อายุ 23.0 12.8 18.2 22.2 13.2 10.8 100.0 22.6 9.6

ตา่ กวา่ 31 ปี 13.7 9.9 17.4 24.2 14.9 19.9 100.0 13.7 8.7

31-40 ปี 21.6 17.1 18.9 17.1 18.0 7.2 100.0 19.8 12.6

41-50 ปี 25.8 10.8 22.5 25.8 9.2 5.8 100.0 23.3 7.5

51-60 ปี 33.8 15.6 11.7 23.4 7.8 7.8 100.0 32.5 13.0

61 ปขี ้ึนไป 37.5 12.5 18.8 12.5 15.6 3.1 100.0 50.0 3.1

การศึกษา 23.0 12.8 18.2 22.2 13.2 10.8 100.0 22.6 9.6

ประถมศึกษา/ต่ากว่า 33.7 17.3 22.1 14.4 9.6 2.9 100.0 40.4 11.5

มัธยมศึกษาตอนต้น 15.2 21.2 18.2 21.2 12.1 12.1 100.0 15.2 18.2

มัธยมศึกษาตอนปลาย 25.0 12.0 16.3 27.2 8.7 10.9 100.0 27.2 4.3

อนุปรญิ ญา 18.8 6.3 18.8 12.5 14.6 29.2 100.0 18.8 8.3

ปรญิ ญาตรี/สูงกว่า 19.2 11.2 17.0 25.9 16.5 10.3 100.0 14.3 9.8

ารแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ต่อ)

ห้ามเดินทางระหว่างเมือง หา้ มเดินทางเข้า/ออกประเทศ

น้อย ปาน มาก มาก รวม ไม่ น้อย น้อย ปาน มาก มาก รวม

กลาง ที่สุด กระท ที่สุด กลาง ท่ีสุด

16.0 23.6 14.0 14.4 100.0 44บ.9 8.8 15.8 14.8 7.0 8.8 100.0

18.3 23.0 15.5 14.1 100.0 43.2 9.9 18.3 11.3 8.0 9.4 100.0

14.2 24.0 12.8 14.6 100.0 46.2 8.0 13.9 17.4 6.3 8.3 100.0

16.0 23.6 14.0 14.4 100.0 44.9 8.8 15.8 14.8 7.0 8.8 100.0

15.5 22.4 14.9 24.8 100.0 26.7 8.1 15.5 18.6 10.6 20.5 100.0

18.9 15.3 18.9 14.4 100.0 53.2 9.0 16.2 8.1 8.1 5.4 100.0

19.2 29.2 11.7 9.2 100.0 52.5 5.8 20.0 15.0 4.2 2.5 100.0

6.5 31.2 11.7 5.2 100.0 49.4 15.6 10.4 18.2 3.9 2.6 100.0

18.8 18.8 6.3 3.1 100.0 68.8 6.3 12.5 9.4 3.1 - 100.0

16.0 23.6 14.0 14.4 100.0 44.9 8.8 15.8 14.8 7.0 8.8 100.0

19.2 16.3 8.7 3.8 100.0 58.7 11.5 18.3 6.7 3.8 1.0 100.0

18.2 27.3 15.2 6.1 100.0 45.5 12.1 18.2 15.2 6.1 3.0 100.0

16.3 32.6 6.5 13.0 100.0 47.8 7.6 10.9 23.9 3.3 6.5 100.0

14.6 14.6 8.3 35.4 100.0 35.4 10.4 10.4 6.3 12.5 25.0 100.0

14.3 24.6 20.5 16.5 100.0 39.3 7.1 17.4 16.5 8.9 10.7 100.0

ตารางที่ 9 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามการปรับตัวในการประกอบอาช

ข้อมูลพ้ืนฐาน ไม่ได้ปรบั ตัว เพราะ เพ่ิมหรอื เปลี่ยนช่อง การป
ไม่ได้รับผลกระทบ ทางการขาย เช่น เปล
online/delivery ทา

เพศ 50.4 6.6
ชาย 46.5 6.1
หญิง 53.3 7.0
50.4 6.6
อายุ 45.3 6.2
ต่ากว่า 31 ปี 45.0 9.0
31-40 ปี 47.9 5.1
41-50 ปี 67.5 6.5
51-60 ปี 62.5 6.3
61 ปีข้ึนไป 50.4 6.6
54.8 1.9
การศึกษา 35.5 9.7
43.5 8.7
ประถมศึกษา/ต่ากวา่ 41.7 6.3
มัธยมศึกษาตอนต้น 55.2 7.6
มัธยมศึกษาตอนปลาย
อนุปรญิ ญา
ปริญญาตรี/สูงกว่า
หมายเหตุ : สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ

ชีพ ช่วงเคอร์ฟิว จากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

ปรบั ตัวในการประกอบอาชีพ ช่วงเคอรฟ์ ิว

ลี่ยนแนวทางการ ย้ายสถานท่ีประกอบ เปลี่ยนอาชีพ ไม่สามารถแก้ปญั หาได้

างาน เวลาทาการ อาชีพ

15.7 1.0 4.6 24.9

16.0 1.9 8.0 26.8

15.4 0.4 2.1 23.5

15.7 1.0 4.6 24.9

13.0 1.2 6.2 32.9

26.1 - 0.9 21.6

17.1 1.7 5.1 25.6

7.8 1.3 7.8 11.7

6.3 - - 25.0

15.7 1.0 4.6 24.9

7.7 1.9 5.8 28.8

16.1 3.2 12.9 32.3

14.1 - 4.3 31.5

10.4 2.1 4.2 39.6

21.1 0.4 3.1 16.1

ตารางท่ี 10 ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม จาแนกตามการปรับตัวในการประกอบอา

ข้อมูลพื้นฐาน ไม่ได้ปรบั ตัว เพราะ การปรบั ตัวในการ
ไม่ได้รับผลกระทบ เพ่ิมหรือเปลี่ยนช่อง เป
ทางการขาย เช่น ทา
เพศ 59.0 online/delivery
ชาย 57.7
หญิง 60.0 9.6
59.0 9.9
อายุ 50.9 9.5
ตา่ กวา่ 31 ปี 50.9 9.6
31-40 ปี 65.3 8.7
41-50 ปี 72.7 16.4
51-60 ปี 71.9 7.6
61 ปขี ้ึนไป 59.0 7.8
67.3 3.1
การศึกษา 57.6 9.6
ประถมศึกษา/ต่ากว่า 50.0 2.9
มัธยมศึกษาตอนต้น 43.8 6.1
มัธยมศึกษาตอนปลาย 62.4 8.7
อนุปรญิ ญา 8.3
ปริญญาตรี/สูงกว่า 14.0

หมายเหตุ : สามารถตอบได้มากกว่า 1 ข้อ

าชีพจากมาตรการปิดร้านค้าและห้างสรรพสินค้า จากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19

รประกอบอาชีพจากมาตรการปิดรา้ นค้าและห้างสรรพสินค้า

ปลี่ยนแนวทางการ ย้ายสถานที่ประกอบ เปล่ียนอาชีพ ไม่สามารถแก้ปญั หาได้

างาน เวลาทาการ อาชีพ

8.2 1.4 3.4 23.7
8.0 2.8 4.2 24.9
8.4 0.4 2.8 22.8
8.2 1.4 3.4 23.7
8.1 1.2 5.0 33.5
16.4 0.9 2.7 20.9
2.5 1.7 2.5 22.0
5.2 2.6 3.9 13.0
9.4 - - 15.6
8.2 1.4 3.4 23.7
4.8 3.8 3.8 21.2
6.1 - 3.0 33.3
10.9 - 3.3 30.4
2.1 - 4.2 43.8
10.4 1.4 3.2 16.3


Click to View FlipBook Version