The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กฏหมายเกี่ยวกับครอบครัว เล่ม 3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kru Thanakrit, 2022-06-10 23:54:15

กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว

กฏหมายเกี่ยวกับครอบครัว เล่ม 3

Keywords: laws,social

เอกสารประกอบการเรยี น 1
เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับครอบครวั

เอกสารประกอบการเรียน
วิชา สังคมไทยในยุคปัจจุบนั ส31105

ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4
กลุม่ สาระการเรียนร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 กฎหมายเกย่ี วกับตนเอง ครอบครวั ชุมชนและประเทศชาติ

เร่อื ง กฎหมายเกยี่ วกบั ครอบครัว

นายธนกฤต ปราบสุธา
ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะชำนาญการพิเศษ

โรงเรยี นมธั ยมประชานิเวศน์
สำนักงานเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร

เอกสารประกอบการเรียน 2
เรอ่ื ง กฎหมายเก่ียวกบั ครอบครัว

คำนำ

เอกสารประกอบการเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 กฎหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและ
ประเทศชาติ ขา้ พเจา้ จดั ทำขนึ้ เพื่อประกอบการเรียนรู้ วชิ า สังคมไทยในยคุ ปจั จุบนั ส31105 ชัน้ มัธยมศึกษา
ปีท่ี 4 กลมุ่ สาระการเรียนร้สู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

กฎหมายเปน็ นามธรรม การเรียนร้จู ากสือ่ ท่วั ๆไปทำใหน้ ักเรียนเบือ่ หน่าย ข้าพเจ้าจึงศึกษารวบรวม
ความรู้ มาจัดทำสื่อนวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียนเพื่อให้นักเรียนมีโอกาสเรียนรู้ด้วยตนเองตาม
ความสามารถ เรียนรู้เป็นขั้นตอน ทราบผลการเรียนรู้ทุกขั้นตอนทำให้เกิดแรงเสริมซึ่งจะช่วยให้บรรลุ
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ได้ดี นอกจากน้ีเอกสารประกอบการเรียนยงั สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรยี นมีความรับผิดชอบ มีวินัย
ในตนเองและมีความซอื่ สัตยอ์ นั เปน็ คุณธรรมท่ีสำคัญของสงั คม

ธนกฤต ปราบสธุ า

เอกสารประกอบการเรียน 3
เรอื่ ง กฎหมายเกย่ี วกับครอบครวั
หน้า
สารบญั 4
6
บทนำ 7
คำชีแ้ จงในเอกสารประกอบการเรียน 12
แบบทดสอบก่อนเรียน 13
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 16
กรอบท่ี 1 สิทธแิ ละหน้าท่ขี องบดิ ามารดาและบุตร 17
กรอบท่ี 2 แบบฝึกหดั เร่ืองสิทธิและหน้าท่ีของบิดามารดาและบตุ ร 18
กรอบท่ี 3 เฉลยแบบฝึกหดั เรอ่ื งสิทธิและหนา้ ทขี่ องบิดามารดาและบตุ ร 20
กรอบที่ 4 บตุ รชอบด้วยกฎหมาย 21
กรอบท่ี 5 แบบฝกึ หัด เร่อื งบุตรชอบด้วยกฎหมาย 22
กรอบท่ี 6 เฉลยแบบฝกึ หดั เรอ่ื งบุตรชอบดว้ ยกฎหมาย 25
กรอบท่ี 7 บตุ รบญุ ธรรม 26
กรอบท่ี 8 แบบฝึกหดั เร่ืองบตุ รบุญธรรม 27
กรอบที่ 9 เฉลยแบบฝกึ หัด เร่ืองบตุ รบญุ ธรรม 32
กรอบท่ี 10 การหม้นั 33
กรอบท่ี 11 แบบฝึกหัด เรือ่ งการหมั้น 34
กรอบที่ 12 เฉลยแบบฝึกหัด เรอ่ื งการหม้นั 37
กรอบที่ 13 การสมรส 38
กรอบที่ 14 แบบฝกึ หัด เรอื่ งการสมรส 39
กรอบที่ 15 เฉลยแบบฝึกหัด เรื่องการสมรส 42
กรอบที่ 16 มรดก 43
กรอบที่ 17 แบบฝึกหัด เรือ่ งมรดก 44
กรอบท่ี 18 เฉลยแบบฝึกหัด เรือ่ งมรดก 49
แบบทดสอบหลังเรยี น 50
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
บรรณานุกรม

เอกสารประกอบการเรยี น 4
เร่ือง กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว

บทนำ

เอกสารประกอบการเรียน

เรอื่ ง กฎหมายเก่ยี วกับครอบครวั

ครอบครวั เป็นสถาบันหลกั ของสังคม ในแต่ละครอบครวั จะมสี มาชิกทีม่ ีสถานภาพแตกต่างกัน เช่น
สามี ภรรยา บตุ ร บดิ า มารดา ซ่งึ สมาชกิ แต่ละคนจะตอ้ งปฏบิ ัตติ ามกฎหมายตลอดจนรสู้ ิทธิหน้าทขี่ องตน
จึงควรศกึ ษาประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ในเรอ่ื งสทิ ธแิ ละหน้าท่ขี องบิดามารดาและบุตร บุตรชอบด้วย
กฎหมาย บุตรบญุ ธรรม การหมัน้ การสมรส และมรดก

มาตรฐานการเรยี นรู้
ส 2.1 เข้าใจและปฏบิ ัติตนตามหนา้ ที่ของการเปน็ พลเมอื งดี มีคา่ นยิ มที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณี

และวัฒนธรรมไทย ดำรงชวี ิตอยู่ร่วมกนั ในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสขุ
ตวั ช้ีวัดชว่ งช้นั

• วเิ คราะห์และปฏิบัติตนตามกฎหมายท่ีเกยี่ วกับตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน ประเทศชาติ และสังคมโลก
(ส 2.1 ม. 4–6/1)
สาระสำคัญ

การดำเนินชีวิตประจำวันของคนเรา ย่อมต้องเกี่ยวข้องกับกฎหมายอยู่ตลอดเวลา การศึกษาเรื่อง
กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ชวี ปิ ระจำวนั จะช่วยใหเ้ รามีความเขา้ ใจและปฏบิ ตั ิตนให้ถูกต้อง
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

อธบิ ายกฎหมายทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ตนเองและครอบครัวได้
สาระการเรียนรู้

กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครวั
คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์

- ซ่ือสัตย์ สุจรติ
- มวี ินยั
- ใฝเ่ รยี นรู้
- มุง่ ม่นั ในการทำงาน

ความสามารถในการสือ่ สาร
- มที ักษะในการเลอื กรบั และไมร่ ับขอ้ มูลขา่ วสารดว้ ยเหตุผลอยา่ งถูกตอ้ ง
- มีทกั ษะในการรับส่งข้อมลู ข่าวสาร ถา่ ยทอดควาคิดความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่าง
เหมาะสม

เอกสารประกอบการเรียน 5
เรือ่ ง กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครัว

ความสามารถในการคดิ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการสรา้ งองค์ความรู้
- ทกั ษะการตดั สินใจแกป้ ญั หาเกี่ยวกบั ตนเองไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

ความสามารถในการแก้ปัญหา
- แสวงหาความรูป้ ระยุกตค์ วามรู้มาใชใ้ นการป้องกัน และแกป้ ัญหา
- ทกั ษะการใช้เหตุผลในการแกป้ ัญหาได้เหมาะสมตามวัย

ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
- หลีกเลย่ี งพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบตอ่ ตนเอง
- เรียนรู้ดว้ ยตนเองได้อย่างเหมาะตามวยั
- นำความรทู้ ่ไี ดไ้ ปใชป้ ระโยชน์ในชีวิตประจำวัน

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

- มที กั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยใี นการแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์
- มคี ณุ ธรรมจริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามวัย

เอกสารประกอบการเรยี น 6
เรอื่ ง กฎหมายเกยี่ วกบั ครอบครวั

คำช้แี จงการใช้เอกสารประกอบการเรยี น

ก่อนจะศึกษาเอกสารประกอบการเรยี น
เลม่ น้ี นกั เรยี นอา่ นคำชแี้ จงให้เขา้ ใจก่อนนะครับ

1. นักเรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นก่อนนะครับ เพื่อทดสอบตัวเองว่ามคี วามรู้ในเร่อื งทจ่ี ะศึกษามา
กอ่ นหรือไม่ ถา้ ไม่รูไ้ มเ่ ป็นไร ศึกษาแลว้ จะมีความรู้เพ่มิ ข้นึ แน่นอน

2. นกั เรยี นศึกษาเอกสารประกอบการเรียนดว้ ยตนเองและศึกษาตามลำดบั ของเน้อื หานะครบั
3. เม่ือนักเรียนเข้าใจเน้อื หาแล้วใหท้ ำแบบฝึกหดั แล้วตรวจคำตอบด้วยตนเอง
4. หากมีขอ้ ใดท่ีนกั เรียนทำไม่ถูกใหน้ กั เรียนศกึ ษาใหมอ่ กี คร้งั นะครบั
5. ถ้านักเรยี นไมเ่ ขา้ ใจเน้อื หาหรือไม่เข้าใจวธิ ีใช้ นักเรยี นปรกึ ษาครไู ดต้ ลอดเวลานะครับ
6. เมอื่ ศกึ ษาเนอื้ หาจบแลว้ ทำแบบทดสอบหลงั เรียนด้วยนะครับจะได้ทดสอบตัวเองว่ามคี วามรู้เพม่ิ ขน้ึ

กวา่ เดิมเท่าไร

การเรยี นดว้ ยตนเองได้ ถอื ว่านักเรียนเป็นคนเกง่ มาก แต่ใน
การเรยี นนักเรยี นต้องเปน็ คนดดี ้วย คือ มีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง
ไมด่ ูเฉลยก่อนทำแบบฝกึ หดั หรอื ทำแบบทดสอบนะครบั

เอกสารประกอบการเรียน 7
เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครัว

นักเรียนมาทดสอบความรู้ก่อนดีกว่านะครับ ว่าก่อน
เรียนนักเรียนมีความรู้เท่าใด ทำไม่ได้ไม่เป็นไรครับ โดยให้
เลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำ
เครอ่ื งหมาย × ทบั ตวั อกั ษรในกระดาษคำตอบ

1. นิมติ รกับนภิ าเป็นสามภี รรยาทไ่ี มไ่ ด้จดทะเบยี นสมรส ดงั นน้ั นธิ ิผเู้ ปน็ บตุ รจะเปน็ บุตรทชี่ อบดว้ ย
กฎหมายของใคร
ก. นิภา
ข. นมิ ิตร
ค. นมิ ิตรกบั นภิ า
ง. แลว้ แต่นธิ ิจะเลอื ก

2. บตุ รนอกสมรสจะเปน็ บุตรชอบด้วยกฎหมายของบดิ าเมื่อใด
ก. เมอ่ื บตุ รบรรลุนิติภาวะ
ข. เมื่อบตุ รใชน้ ามสกลุ บดิ า
ค. เม่อื บิดาสง่ เสยี ให้ความอปุ การะ
ง. เม่อื บิดาจดทะเบียนรบั รองว่าเป็นบตุ ร

3. ขอ้ ใดเปน็ สิทธขิ องผู้ใชอ้ ำนาจปกครอง
ก. ทำพนิ ยั กรรมแทนบตุ ร
ข. จดั หาคสู่ มรสใหเ้ มอ่ื ถงึ เวลาอันสมควร
ค. ทำโทษบุตรพอสมควร เพอื่ ว่ากลา่ วส่งั สอน
ง. ให้การอุปการะเล้ียงดบู ุตรแมว้ ่าจะบรรลุนติ ิภาวะแล้ว

4. บคุ คลที่จะรับบุตรบญุ ธรรมไดจ้ ะตอ้ งมีอายไุ มต่ ่ำกวา่ กปี่ ี
ก. ยส่ี ิบหา้ ปี
ข. สามสบิ ปี
ค. สามสิบห้าปี
ง. สส่ี ิบปี

เอกสารประกอบการเรียน 8
เรื่อง กฎหมายเก่ียวกบั ครอบครวั

5. การรบั บุตรบญุ ธรรมจะต้องทำอยา่ งไรจงึ จะสมบูรณ์
ก. ผ้ขู อ้ มอื รบั ขวญั
ข. ใหศ้ าลมคี ำพิพากษา
ค. จดทะเบียนตามกฎหมาย
ง. ลงบนั ทกึ ประจำวันท่สี ถานตี ำรวจ

6. การทส่ี มชายกับสมหญิงทำสัญญาว่าจะทำการสมรสกัน หมายถึงขอ้ ใด
ก. การสขู่ อ
ข. การหม้ัน
ค. การสมรส
ง. การรักกนั

7. ข้อใดถกู ตอ้ ง เมือ่ สมพรหม้นั กับเพ็ญศรี แลว้ ตอ่ มาเพ็ญศรไี มย่ อมสมรสด้วย
ก. สมพรสามารถฟ้องศาลบงั คบั เพญ็ ศรใี ห้สมรสกบั ตนได้
ข. สมพรสามารถฟอ้ งศาลเรยี กของหม้ันคนื พร้อมกับค่าปรับได้
ค. สมพรไมส่ ามารถฟ้องศาลบงั คับเพญ็ ศรีให้สมรสกับตนได้
ง. สมพรไม่สามารถเรียกของหม้นั คนื ไดเ้ พราะของหม้ันไดต้ กเปน็ สมบัติของเพ็ญศรไี ปแลว้

8. ตามกฎหมายแลว้ ชายและหญงิ ต้องมีอายอุ ย่างน้อยกปี่ ีจึงจะหม้ันได้
ก. สิบห้าปีบรบิ รู ณ์
ข. สบิ หกปบี รบิ รู ณ์
ค. สบิ เจ็ดปีบรบิ รู ณ์
ง. สิบแปดปีบริบรู ณ์

9. สรุ พลมอบเงินและทองให้บิดามารดาของอรทยั เพ่ือตอบแทนทอี่ รทัยยอมสมรสด้วยเงินและทองท่ี
มอบใหเ้ รยี กวา่ อะไร
ก. สนิ สอด
ข. ของหมน้ั
ค. สนิ น้ำใจ
ง. ของกำนัล

เอกสารประกอบการเรียน 9
เร่อื ง กฎหมายเกยี่ วกับครอบครวั

10. ข้อใดกล่าวถึงของหม่นั ไม่ถูกต้อง
ก. เมื่อคูห่ ม้นั ตกลงเลิกสญั ญาหม้นั กนั ฝ่ายหญิงตอ้ งคนื ของหมั้นใหก้ ับฝ่ายชาย
ข. เม่อื หญงิ คูห่ ม้นั ตาย บดิ ามารดาของฝ่ายหญิงคู่หมนั้ ต้องคนื ของหมั้นให้กบั ชายคหู่ มนั้
ค. เมอ่ื หญงิ คูห่ มน้ั ไปแต่งงานกับชายคนอ่นื หญงิ คูห่ มน้ั ต้องคนื ของหมน้ั ใหก้ ับชายคหู่ ม้ัน
ง. เมือ่ ชายคหู่ มัน้ แตง่ งานกับหญิงอนื่ หญงิ คหู่ มัน้ ไมต่ ้องคืนของหมน้ั ใหก้ บั ชายคู่หมัน้

11. ขอ้ ใดเป็นการสมรสที่ถูกต้องตามกฎหมาย
ก. มีพธิ ีแต่งงานกนิ เลยี้ งตามประเพณี
ข. มีการสขู่ อและหมนั้ กอ่ นรดน้ำสงั ข์
ค. ชายและหญงิ ไดจ้ ดทะเบยี นสมรสต่อหน้านายทะเบยี นท้องท่ี
ง. บดิ ามารดาหรอื ผแู้ ทนโดยชอบธรรมของหญงิ ใหค้ วามยนิ ยอม

12. ข้อใดเปน็ เงือ่ นไขการสมรส
ก. ชายและหญงิ ยอมเป็นสามภี รรยากัน
ข. ชายตอ้ งมอบสินสอดของหมนั้ ใหห้ ญงิ
ค. ชายและหญงิ ตอ้ งมอี ายุยสี่ บิ ปบี ริบูรณ์ขนึ้ ไป
ง. ชายและหญิงตอ้ งได้รับความยินยอมจากบดิ ามารดา

13. กรณีในข้อใดที่ทำการสมรสไมไ่ ด้
ก. ชายและหญงิ เปน็ ลูกพลี่ กู นอ้ งกัน
ข. ชายหรอื หญงิ มคี ูส่ มรสอยูแ่ ล้ว
ค. หญิงหมา้ ยสามเี สยี ชวี ิตมาแลว้ 2 ปี
ง. ชายหรอื หญงิ ฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดเป็นหมนั

14. การสมรสสิ้นสุดลงเมอ่ื ใด
ก. หยา่
ข. ภรรยามีชู้
ค. แยกกนั อยู่
ง. สามมี เี มียนอ้ ย

เอกสารประกอบการเรยี น 10
เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครัว

15. มรดกคอื อะไร
ก. เงินฌาปนกจิ
ข. เงนิ ประกนั ชีวิต
ค. ทรพั ยส์ นิ ทุกชนดิ ของผูต้ าย
ง. สิ่งทีส่ ืบทอดต่อมาจากบรรพบุรษุ

16. เมื่อบญุ หลายตาย มรดกจะตกทอดไปยังผู้ใด
ก. วัด
ข. แผน่ ดนิ
ค. มลู นธิ ิการกุศล
ง. ทายาทหรือผูร้ บั พินัยกรรม

17. ทายาทจะต้องรบั ผิดในหนี้สินของเจ้าของมรดกเพียงใด
ก. เท่าทพ่ี อจะรับได้
ข. เท่าทีไ่ ดร้ บั มรดกมา
ค. ไม่ตอ้ งรับผิดใด ๆ ท้งั สนิ้
ง. รับผิดเตม็ จำนวนทเี่ ปน็ หนี้

18. บคุ คลใดเปน็ ทายาทที่เป็นญาตลิ ำดับแรก
ก. พ่อแม่
ข. พี่นอ้ ง
ค. คสู่ มรส
ง. ลูก หลาน

19. ใครเป็นผู้ใช้อำนาจปกครองบตุ รที่ยงั ไมบ่ รรลุนิติภาวะ
ก. ผ้ปู กครอง
ข. บดิ า มารดา
ค. ผทู้ บี่ ุตรอาศยั อย่ดู ว้ ย
ง. ผู้ทสี่ ่งเสียเงนิ ทองเลย้ี งดู

เอกสารประกอบการเรียน 11
เรอ่ื ง กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครัว

20. บุญเกดิ ไมม่ ีทายาทไม่ได้ทำพนิ ัยกรรมไว้ เมอื่ บญุ เกิดตายมรดกจะตกทอดไปยังผ้ใู ด
ก. วัด
ข. รัฐบาล
ค. แผ่นดนิ
ง. โรงพยาบาล

เอกสารประกอบการเรยี น 12
เรอื่ ง กฎหมายเก่ียวกับครอบครวั

เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

1. ก 11. ค
2. ง 12. ก
3. ค 13. ข
4. ก 14. ก
5. ค 15. ค
6. ข 16. ง
7. ค 17. ข
8. ค 18. ง
9. ก 19. ข
10. ข 20. ค

นักเรียนตรวจแล้วได้คะแนนเท่าไรครับ บันทึก
คะแนนไว้นะครับ เดี๋ยวไปศึกษาเรื่องกฎหมายเกี่ยวกับ
ครอบครวั แล้วทดสอบอกี ครง้ั จะได้รวู้ า่ เรารเู้ พ่ิมขึ้นแค่
ไหน มาเริ่มศกึ ษากันเลยครบั

เอกสารประกอบการเรียน 13
เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครวั

กรอบที่ 1
สทิ ธิและหนา้ ทข่ี องบิดามารดาและบุตร

ครูคะในทางสังคม พอ่ แม่ ลูก ผูกพัน
กันด้วยความรกั หนูสงสัยว่า ในทางกฎหมาย พ่อ
แม่ ลูก ผกู พันกันอยา่ งไรบา้ งคะ

กฎหมายเรยี ก พ่อ แม่ ลกู วา่ บิดา มารดา บตุ ร ซ่ึงความ
ผกู พนั ทางกฎหมายดา้ นหน่งึ คอื ดา้ นสิทธแิ ละหนา้ ท่ที มี่ ีตอ่ กนั ดังนี้

1. บตุ รมีสิทธิใชช้ ่ือสกลุของบิดา และใช้ชอื่ สกุลของมารดา
เมือ่ ไม่ปรากฏบิดา

2. บุตรจำต้องอปุ การะเลยี้ งดบู ดิ ามารดา
3. บดิ ามารดาจำตอ้ งอุปการะเล้ียงดแู ละใหก้ ารศกึ ษาตาม

สมควรแกบ่ ุตรผู้เยาว์
4. บิดามารดาจำต้องอปุ การะเลย้ี งดูบุตรทที่ ุพพลภาพและ

หาเลีย้ งตนเองไม่ได้แม้บตุ รนัน้ จะบรรลนุ ิติภาวะแลว้
5. บุตรฟอ้ งร้องบดิ ามารดาของตนไมไ่ ด้
ส่วนการใชอ้ ำนาจปกครองบตุ รนัน้ บิดามารดาเป็นผูใ้ ช้
อำนาจปกตรองบุตรร่วมกนั

เอกสารประกอบการเรียน 14
เรอื่ ง กฎหมายเก่ยี วกับครอบครวั

อำนาจปกครองคอื อะไรคะ

อำนาจปกครอง คอื บรรดาสิทธิท้ังหลายซ่งึ กฎหมายมอบ
ให้บิดามารดา ในอันที่จะใช้แก่บุตรผู้เยาว์และทรัพย์สินของบุตร
ผู้เยาว์ เพื่อที่จะคุ้มครองอุปการะเลี้ยงดูและให้การศึกษาแก่บุตร
ผู้เยาว์ จนกว่าบุตรผู้เยาว์จะมีอายุสามารถครองชวี ิตได้ด้วยตนเอง
บตุ รซง่ึ ยงั ไมบ่ รรลุนติ ภิ าวะตอ้ งอยใู่ ตอ้ ำนาจปกครองของบดิ ามารดา

ผู้ใชอ้ ำนาจปกครอง
มสี ทิ ธิอยา่ งไรบา้ งคะ

สทิ ธิของผูใ้ ช้อำนาจปกครอง มีดงั น้ี
1. กำหนดท่ีอยู่ใหบ้ ตุ ร
2. ทำโทษบุตรพอสมควรเพ่อื ว่ากล่าวสั่งสอน
3. ให้บตุ รทำงานตามสมควรแก่ความสามารถและฐานารุรูป
4. เรยี กบตุ รคืนจากผูอ้ ืน่ ซ่ึงกกั บตุ รไว้โดยมชิ อบดว้ ยกฎหมาย

เอกสารประกอบการเรียน 15
เรื่อง กฎหมายเกยี่ วกับครอบครัว

หนูแอบตดิ ตามมาตลอด
พ่อแม่เลี้ยงดหู นมู า ถึงแมจ้ ะตีหนูบ้างกเ็ พื่อส่ัง

สอนให้หนูเป็นคนดีหนูไม่โกรธท่านหรอกหนูจะเลี้ยงดู
ท่านเปน็ การตอบแทน

ดีแล้วจ๊ะ.... การกตญั ญเู ป็น
คุณสมบตั ิของคนดี ครชู นื่ ชมจริงๆ

สงสารแต่เพอื่ นหนูพ่อแมไ่ ม่ได้
แต่งงานกนั ตามกฎหมาย เขาจะเปน็ ลกู
ใครคะ

ถ้าอยากรู้ต้องติดตามในกรอบที่ 4
ตอนนี้ไปทำแบบฝึกหัดในกรอบที่ 2 กันก่อน
ดีกว่า

ผมชอบแอบอ่านไดค้ วามรู้ดจี ัง

เอกสารประกอบการเรียน 16
เร่ือง กฎหมายเก่ียวกบั ครอบครัว

กรอบท่ี 2
แบบฝกึ หัด เรื่องสิทธิและหน้าท่ีของบิดามารดาและบุตร

นักเรยี นลองดซู ิครบั วา่ ขอ้ ไหนถูกขอ้ ไหนผิด
แล้วทำเครือ่ งหมาย ✓ หน้าข้อความทีเ่ หน็ ว่าถูก
แล้วทำเครอ่ื งหมาย  หน้าข้อความท่เี หน็ วา่ ผิด

.......... 1. บิดา มารดาของอุดรมสี ทิ ธิเรยี กอุดรคืนจากอุดมซง่ึ กักอดุ รไวเ้ พือ่ ใชแ้ รงงาน
.......... 2. บิดา มารดาไม่มีสิทธิทำโทษบุตร ทำได้แค่ว่ากล่าวตักเตือน
.......... 3. สุชินไม่มีบิดา สุชินมีสิทธิใช้ชื่อสกุลของสุนีย์ผู้เป็นมารดา
.......... 4. บิดา มารดาของสุขุมไม่แบ่งทรัพย์สนิ ให้ สุขมุ สามารถฟ้องรอ้ งบดิ า มารดาได้
.......... 5. บุตรมีหน้าที่ต้องอุปการะเลี้ยงดูบิดา มารดา

ครคู ะ หนพู จิ ารณาดูแล้ว
วา่ ตอ้ งถูกหมดแนน่ อน

เอกสารประกอบการเรยี น 17
เร่อื ง กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครัว

กรอบที่ 3
เฉลยแบบฝึกหดั เร่อื งสิทธแิ ละหน้าท่ีของบิดามารดาและบตุ ร

ดเู ฉลยตรงนีน้ ะครับคนเก่ง

✓ 1. บิดา มารดาของอุดรมีสทิ ธเิ รียกอุดรคืนจากอุดมซง่ึ กักอุดรไว้เพ่ือใช้แรงงาน
 2. บิดา มารดาไมม่ สี ิทธิทำโทษบุตร ทำได้แคว่ า่ กล่าวตกั เตือน
✓ 3. สชุ ินไม่มีบดิ า สุชินมีสทิ ธิใชช้ อื่ สกุลของสุนยี ์ผเู้ ป็นมารดา
 4. บดิ า มารดาของสุขุมไมแ่ บง่ ทรพั ยส์ ินให้ สุขุมสามารถฟ้องร้องบดิ า มารดาได้
✓ 5. บตุ รมีหนา้ ท่ีต้องอปุ การะเลี้ยงดูบิดา มารดา

เห็นไหมคะ คณุ ครขู า หนทู ำถูก
หมดทกุ ข้อเลย ไมไ่ ดด้ เู ฉลยด้วย

เกง่ มากคนดี ครขู อปรบมอื ให้

เอกสารประกอบการเรียน 18
เรื่อง กฎหมายเกี่ยวกับครอบครวั

กรอบที่ 4
บุตรที่ชอบด้วยกฎหมาย

ครูคะ หนดู ูละครทวี ี นางอจิ ฉาวา่ นางเอก
เป็นลกู เมียนอกสมรส ลูกนอกสมรสเป็นอยา่ งไรคะ

หนูสนใจค่ะ อยากร้วู ่า
นางเอกจะเป็นลกู ใคร

ลูกนอกสมรสคอื ลูกท่เี กดิ จากพ่อแมท่ ี่ไม่ได้จดทะเบียน
สมรสกันน่ะซิ ถา้ หนสู นใจเร่อื งความสัมพันธท์ างกฎหมายของคนที่
เป็นพอ่ แมล่ กู กนั ครูจะอธิบายให้ฟัง

กฎหมายบัญญัติว่า บุตรที่เกิดจากบิดามารดาทไ่ี ดจ้ ด
ทะเบยี นสมรสกันเป็นบตุ รท่ชี อบด้วยกฎหมายของบิดามารดา
บุตรทเี่ กิดจากบิดามารดาไมไ่ ดจ้ ดทะเบยี นสมรสกัน เป็นบุตรชอบ
ดว้ ยกฎหมายของมารดาเสมอไป แต่จะเป็นบตุ รชอบด้วยกฎหมาย
ของบิดาไดก้ ด็ ้วยเหตใุ ดเหตุหนง่ึ ดังนี้

1. เม่ือบดิ ามารดาไดจ้ ดทะเบยี นสมรสกันภายหลงั
2. เม่อื บิดาไดจ้ ดทะเบยี นรับรองวา่ เปน็ บุตร
3. เมือ่ ศาลพพิ ากษาว่าเป็นบตุ ร

เอกสารประกอบการเรยี น 19
เรอื่ ง กฎหมายเกี่ยวกับครอบครัว

อย่างนนั้ นางเอกกเ็ ป็นบุตรทช่ี อบดว้ ย
กฎหมายของมารดาเท่านนั้ แตถ่ ้าบดิ าของนางเอก
ไปจดทะเบยี นสมรสกับมารดานางเอกหรอื ไปจด
ทะเบยี นรบั รองวา่ เปน็ บตุ ร นางเอกก็เปน็ บตุ รท่ี
ชอบด้วยกฎหมายของบิดาด้วยโดยไม่ตอ้ งพ่ึงศาลใช่
ไหมคะ

ใชแ่ ลว้ เกง่ มาก เมอ่ื เป็นบดิ า มารดา
และบุตรกนั แล้วกม็ ีสิทธแิ ละหนา้ ทตี่ ่อกนั ตามท่ีเรา
ได้ศึกษามาแลว้ ในกรอบที่ 1

อ้อ....ครูคะ ลุงกับป้าหนูท่านไม่มีลูกจะมา
ขอน้องหนูไปเปน็ ลูกอะไรธรรมๆ นี่แหละมดี ้วยหรอื
คะ

มีจะ๊ ... เขาเรยี กว่าบุตรบุญธรรม ลงุ กบั ป้ากเ็ ปน็ พ่อ
แม่บญุ ธรรม อยากรอู้ ดใจไว้ก่อนไปทำแบบฝกึ หัดกรอบท่ี 5
แล้วครจู ะอธิบายใหฟ้ งั

เอกสารประกอบการเรยี น 20
เรื่อง กฎหมายเกย่ี วกับครอบครวั

กรอบท่ี 5
แบบฝกึ หดั เรอ่ื งบตุ รชอบด้วยกฎหมาย

นักเรยี นครบั อ่านเรอ่ื งต่อไปน้แี ลว้ ตอบคำถามนะครับ

นายเสนาะอยู่กินฉนั ท์สามภี รรยากับนางสนม โดยไมไ่ ด้จดทะเบยี นสมรสกันมีบตุ รช่ือ เด็กชายสนอง

คำถาม

1. เด็กชายสนอง เป็นบตุ รท่ชี อบดว้ ยกฎหมายของใคร
2. ถ้านายเสนาะต้องการใหเ้ ด็กชายสนองเปน็ บุตรท่ีชอบด้วยกฎหมายของตน นายเสนาะจะต้องทำ

อยา่ งไร

มี 2 ข้อเองและคำถามกง็ ่ายมาก
ลงมอื ทำเลยครบั

เอกสารประกอบการเรยี น 21
เรอ่ื ง กฎหมายเกีย่ วกบั ครอบครวั

กรอบท่ี 6
เฉลยแบบฝกึ หดั เร่อื งบุตรชอบด้วยกฎหมาย

ดูเฉลยตรงนนี้ ะครบั คนเกง่

1. เดก็ ชายสนอง เปน็ บุตรทชี่ อบดว้ ยกฎหมายของ นางสนม
2. ถ้านายเสนาะต้องการใหเ้ ด็กชายสนองเป็นบุตรท่ีชอบดว้ ยกฎหมายของตน นายเสนาะจะต้องทำอย่าง

ใดอยา่ งหน่ึง ดังนี้
1) จดทะเบียนสมรสกับนางสนม
2) จดทะเบยี นรบั รองว่าเด็กชายสนองเป็นบตุ ร

หนตู อบถกู ทกุ ข้อคะ่ แลว้ หนูกร็ ู้แลว้ ว่า
เพอื่ นของหนู เป็นบุตรท่ีชอบดว้ ยกฎหมายของ
แมเ่ ขาคนเดยี ว

เกง่ มาก ตอบไดถ้ ูกต้องและวเิ คราะห์
เรื่องของเพอ่ื นได้ ครขู อปรบมอื ให้นะครบั

เอกสารประกอบการเรียน 22
เรอ่ื ง กฎหมายเก่ียวกบั ครอบครวั

กรอบท่ี 7
บุตรบุญธรรม

ครคู ะ พ่อแม่บุญธรรมลูกบุญธรรมคือ
อะไรคะ เหมือนพอ่ เลี้ยง แมเ่ ลยี้ ง ลูกเล้ยี ง ใน
ละครไทยไหมคะ

ไม่เหมือนหรอก พอ่ เลย้ี ง แมเ่ ลย้ี ง ลกู เล้ียง
เปน็ เรื่องของลูกจรงิ ท่ีตดิ มากบั ฝา่ ยใดฝ่ายหนึ่ง
แตพ่ ่อบุญธรรม แมบ่ ญุ ธรรม ลูกบญุ ธรรม เป็นเร่ืองของ
บคุ คลตา่ งสายเลอื ดมีความสัมพนั ธ์ทางกฎหมายต่อกนั
ในฐานะบิดามารดาและบตุ ร เขาเรยี กว่า บิดามารดา
บุญธรรมและบตุ รบญุ ธรรม

การรบั บตุ รบญุ ธรรม มหี ลกั เกณฑ์อย่างไรบา้ งคะ

เอกสารประกอบการเรียน 23
เรอื่ ง กฎหมายเก่ยี วกับครอบครวั

การรบั บตุ รบุญธรรม มหี ลกั เกณฑ์ ดงั นี้

1. บคุ คลทจ่ี ะได้รับบตุ รบุญธรรมไดจ้ ะต้องมีอายุไม่ต่ำกวา่ ยีส่ บิ หา้ ปแี ละมอี ายแุ ก่
กว่าบุตรบุญธรรมอยา่ งนอ้ ยสบิ หา้ ปี ถ้าบุตรบญุ ธรรมมีอายไุ มน่ อ้ ยกว่าสิบห้าปี
บตุ รบญุ ธรรมผนู้ ้ันจะตอ้ งใหค้ วามยนิ ยอมด้วย

2. การรบั ผูเ้ ยาวเ์ ปน็ บตุ รบุญธรรม จะกระทำไดต้ อ่ เม่อื ได้รับความยนิ ยอมของ
บิดาและมารดาของผจู้ ะเปน็ บตุ รบุญธรรม

3. ผู้จะรบั บุตรบญุ ธรรมหรอื ผ้จู ะเปน็ บตุ รบญุ ธรรม ถ้ามคี ูส่ มรสจะตอ้ งได้รบั ความ
ยินยอมจากคู่สมรส

4. บุตรบญุ ธรรมมฐี านะเชน่ เดียวกบั บตุ รชอบดว้ ยกฎหมายของผู้รับบุตรบญุ ธรรม
แตไ่ มส่ ูญสทิ ธิหนา้ ท่ใี นครอบครวั ทใี่ ห้กำเนดิ มา

5. ผเู้ ยาว์เป็นบตุ รบุญธรรมของบคุ คลใดอยู่ จะเป็นบุตรบญุ ธรรมของผู้อืน่ อกี ใน
ขณะเดียวกนั ไม่ได้ เวน้ แต่เปน็ บตุ รบุญธรรมของคสู่ มรสผรู้ บั บุตรบญุ ธรรม

6. การรบั บุตรบุญธรรมจะสมบรู ณต์ ่อเมอื่ ไดจ้ ดทะเบียนตามกฎหมาย

เอกสารประกอบการเรยี น 24
เร่ือง กฎหมายเก่ียวกับครอบครวั

แสดงว่า ผู้รับบุตรบุญธรรมจะต้องมีอายุไม่ต่ำกว่า
ยี่สบิ หา้ ปี และต้องมีอายุแก่กวา่ ผู้ที่จะเปน็ บุตรบุญธรรมอย่าง
น้อยสิบห้าปี การรับผู้เยาว์เป็นบุตรบุญธรรมจะต้องได้รับ
ความยนิ ยอมจากบดิ ามารดาของผู้จะเป็นบตุ รบญุ ธรรมดว้ ย

เกง่ มาก เธอเขา้ ใจถกู แลว้ แต่
ลองไปทำแบบฝึกหดั กรอบที่ 8 ดซู ิวา่
ความร้จู ะคงทนไหม

ผมช่วยหาคำตอบครับ
อา้ ว .... เปิดเลยไป เจอเร่อื งหม้นั
ต้องแอบอา่ นกอ่ น

เอกสารประกอบการเรยี น 25
เรื่อง กฎหมายเก่ยี วกับครอบครัว

กรอบท่ี 8
แบบฝึกหดั เร่ืองบุตรบุญธรรม

นักเรยี นครบั ขีดเส้นใต้ข้อความที่
ถูกต้องนะครับ

1. ผทู้ จ่ี ะไดร้ ับบุตรบุญธรรมตอ้ งมอี ายไุ มต่ ำ่ กวา่ (สบิ ห้า, ยีส่ บิ ห้า) ปี
2. ผทู้ ่จี ะรบั บุตรบุญธรรมตอ้ งมอี ายแุ ก่กวา่ บตุ รบญุ ธรรมอย่างนอ้ ย (สบิ ห้า, ยี่สบิ หา้ ) ปี
3. ถา้ บตุ รบุญธรรมอายไุ มน่ อ้ ยกวา่ (สิบหา้ , ยี่สบิ ห้า) ปี บุตรบญุ ธรรมต้องให้ความยนิ ยอมดว้ ย
4. คสู่ มรสของผู้จะรับบตุ รบญุ ธรรม (จำเปน็ , ไมจ่ ำเป็น) ต้องใหค้ วามยินยอมกอ่ นทจ่ี ะรบั

บตุ รบุญธรรม
5. เมอื่ เปน็ บุตรบุญธรรมแลว้ (สูญเสยี , ไม่สญู เสีย) สิทธแิ ละหนา้ ทีใ่ นครอบครวั ที่ให้กำเนิด
6. เม่ือเปน็ บุตรบญุ ธรรมของคนใดอยู่ สามารถเป็นบุตรบญุ ธรรมของ (ผ้อู ื่น, ค่สู มรสของผรู้ ับ

บุตรบุญธรรม) ไดอ้ กี

อ่านคำถามแลว้ ง่ายมาก
ใช่ไหม ใครทำเสรจ็ แลว้ ไปดูเฉลย
ในกรอบท่ี 9 เลยครับ

เอกสารประกอบการเรยี น 26
เรื่อง กฎหมายเก่ยี วกับครอบครวั

กรอบท่ี 9
เฉลยแบบฝึกหดั เร่ืองบุตรบญุ ธรรม

ดเู ฉลยตรงนีน้ ะครบั คนเก่ง

1. ผู้ที่จะไดร้ บั บุตรบญุ ธรรมต้องมีอายไุ ม่ตำ่ กว่า (สบิ ห้า, ยี่สบิ หา้ ) ปี
2. ผทู้ ่ีจะรับบตุ รบุญธรรมตอ้ งมอี ายแุ กก่ ว่าบุตรบุญธรรมอยา่ งนอ้ ง (สิบห้า, ยี่สบิ ห้า) ปี
3. ถ้าบตุ รบุญธรรมอายไุ ม่นอ้ ยกวา่ (สิบห้า, ยี่สบิ หา้ ) ปี บุตรบุญธรรมต้องให้ความยินยอมด้วย
4. คู่สมรสของผู้จะรบั บตุ รบุญธรรม (จำเปน็ , ไมจ่ ำเป็น) ตอ้ งให้ความยินยอมก่อนท่ีจะรับ

บตุ รบุญธรรม
5. เม่ือเปน็ บตุ รบญุ ธรรมแลว้ (สญู เสยี , ไมส่ ูญเสีย) สิทธแิ ละหนา้ ทีใ่ นครอบครัวทใี่ หก้ ำเนิด
6. เม่อื เป็นบตุ รบุญธรรมของคนใดอยู่ สามารถเปน็ บุตรบญุ ธรรมของ (ผ้อู ืน่ , คสู่ มรสของผู้รับบตุ ร

บญุ ธรรม) ได้อกี

เกง่ มาก ... ครขู อปรบมือใหก้ ับ
คนที่ทำถกู หมดทุกข้อ ส่วนคนทท่ี ำข้อ
ไหนไม่ถูกกลบั ไปศึกษากรอบที่ 7 ใหม่
นะครบั

เอกสารประกอบการเรียน 27
เร่อื ง กฎหมายเก่ยี วกบั ครอบครวั

กรอบท่ี 10
การหมัน้

ครูครับ พรงุ่ น้ีผมขออนุญาต
หยดุ หน่งึ วนั ครบั พ่สี าวผมจะมหี นมุ่
มาหมน้ั

ครูคะ การหมัน้ คอื อะไรคะ

การหม้ันคือ การที่ฝ่ายชายกับฝ่าย
หญงิ ทำสญั ญาว่าจะทำการสมรสกัน

ใครทีร่ ักกันก็หม้ันกันได้เลยใชไ่ หมคะ

ไม่ใช่ครบั การหมน้ั ตอ้ งเปน็ ไปตามเงือ่ นไขท่ี
กฎหมายกำหนด คอื ชายและหญิงต้องมีอายอุ ยา่ งน้อยสิบเจ็ด
ปบี ริบรู ณ์ แตถ่ า้ ยงั ไม่บรรลนุ ติ ภิ าวะ คือ อายยุ ังไม่ครบยี่สิบ
ปีบรบิ รู ณ์ถือว่ายังเปน็ ผู้เยาวอ์ ยจู่ ะตอ้ งได้รบั ความยนิ ยอมจาก
ท้งั บิดาและมารดา

เอกสารประกอบการเรียน 28
เรอ่ื ง กฎหมายเก่ียวกบั ครอบครัว

ถ้าบดิ าหรือมารดาของผเู้ ยาว์
คนใดคนหนง่ึ ตายหรือตายทั้งสองคน
ก็อดหม้นั สิครบั

ก็ให้คนทมี่ ีชีวติ อย่ยู ินยอม แต่ถ้าตายทง้ั สองคนก็
ใหผ้ ู้ปกครองเป็นผ้ใู ห้ความยินยอม รวมถงึ กรณที ี่บิดา
มารดาถูกถอนอำนาจการปกครองด้วยเช่นกนั

หมายความวา่ ถา้ บิดามารดาของผู้เยาวค์ นใดคน
หนง่ึ ถกู ถอนอำนาจการปกครองกใ็ ห้คนทไ่ี มถ่ ูกถอนเป็น
ผูใ้ ห้ความยนิ ยอม แตถ่ า้ ถกู ถอนทัง้ สองคนกใ็ ห้ผู้ปกครอง
เป็นผใู้ ห้ความยินยอมใชไ่ หมคะ

ถกู ตอ้ งครบั เกง่ จงั เลยลกู ศษิ ยค์ รู เงือ่ นไขยงั มี
อกี นะ คอื ถ้าบิดามารดาของผ้เู ยาวไ์ มไ่ ด้จดทะเบียน
สมรสกัน มารดาจะเป็นผ้ใู ห้ความยินยอมและถา้ ผเู้ ยาว์
เปน็ บตุ รบุญธรรมกต็ อ้ งให้ผ้รู ับบตุ รบญุ ธรรมเป็นผใู้ ห้
ความยนิ ยอมการหมนั้ ของผ้เู ยาว์ทปี่ ราศจากความยนิ ยอม
เปน็ การหมน้ั ที่ไม่สมบรู ณ์อาจถูกเพกิ ถอนได้

เอกสารประกอบการเรยี น 29
เรือ่ ง กฎหมายเกย่ี วกบั ครอบครัว

พถี่ ามผมว่า แฟนเขาเอาแหวนมาเป็น
ของหมัน้ และแมเ่ รียกสินสอดไปแสนหนึ่งของ
หมน้ั กบั สินสอดคืออะไรครับ

ของหมั้น คือทรัพย์สินที่ฝ่ายชายให้แก่ฝ่ายหญิงเพื่อเป็น
หลักฐานการหมั้นและประกันว่าจะสมรสกับหญิงนั้น ของหมั้นให้ตก
เป็นสิทธแิ กฝ่ ่ายหญงิ เม่อื ทำการสมรสแลว้ เมอื่ มกี ารหมน้ั แลว้ ถ้าฝ่าย
ใดผิดสัญญาหม้ันอีกฝ่ายหนึ่งมสี ิทธเิ รียกให้รับผดิ ให้ค่าทดแทนได้ ใน
กรณีที่ฝ่ายหญิงผิดสัญญาหมั้น ให้คืนของหมั้นแก่ฝ่ายชายด้วย ส่วน
สินสอดเป็นทรัพย์สินซึ่งฝ่ายชายให้แก่บิดามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรม
หรอื ผ้ปู กครองของฝ่ายหญิงแล้วแต่กรณี เพื่อตอบแทนการท่ีหญิงยอม
สมรสด้วย

หม้ันแล้วไมม่ าแตง่ ฟอ้ งศาลบงั คบั ให้มาแตง่ ได้
ไหมคะหรือแตง่ เลยไม่ตอ้ งหมั้นก่อนไดห้ รือเปล่าคะ
วยั รุ่นใจรอ้ น

ใจเยน็ ๆ พ่สี าว

แต่งงานนะ่ เปน็ ประเพณียงั ไมผ่ กู พนั กนั ทางกฎหมายเหมือนคำ
ว่าสมรสซ่งึ รายละเอยี ดจะอย่ใู นกรอบที่ 13 ตอนนรี้ ้แู ค่ว่าการหมัน้ ไม่เปน็
เหตุท่จี ะร้องขอให้ศาลบงั คับให้สมรสได้เพราะการใช้ชีวิตร่วมกันเปน็ การ
สมัครใจ ถ้าใชก้ ฎหมายบงั คบั จะกอ่ ให้เกิดแต่ปญั หา ส่วนจะสมรสกนั
โดยไมต่ อ้ งหมนั้ กไ็ ดเ้ พราะกฎหมายมไิ ด้บงั คบั ให้หม้ันกอ่ น

เอกสารประกอบการเรยี น 30
เรื่อง กฎหมายเกีย่ วกับครอบครวั

ครูคะ ถ้าหม้ันแลว้ จะ
หย่ากันไดไ้ หมคะ

หยา่ ใช้กบั การสมรส สว่ นการหม้ันนั้นถ้าไม่ประสงค์จะ
สมรสกันก็ยกเลิกสัญญาหมัน้ ส่วนของหมั้นจะคืนหรือไม่
คืนก็ต้องวา่ กันไปตามเหตขุ องการเลกิ สัญญาหมน้ั ดงั นี้

1) การเลิกสัญญาหมั้นด้วยความยินยอมทั้งสองฝ่าย
ฝา่ ยหญิงตอ้ งคืนของหมั้น และถ้ามีสินสอดก็ต้อง
คนื ใหแ้ กฝ่ า่ ยชายด้วย

2) ในกรณีมีเหตุสำคัญอันเกิดแก่หญิงคู่หมั้น ทำให้
ชายไม่สมควรสมรสกับหญิงนั้น ชายมีสิทธิบอก
เลกิ สัญญาหมน้ั ได้และให้หญงิ คนื ของหม้ันแก่ชาย
แต่ในกรณีมีเหตุสำคัญอันเกิดแก่ชายคู่หมั้นทำให้
หญิงไม่สมควรสมรสกับชายนั้นหญิงมีสิทธิบอก
เลิกสัญญาหมนั้ ได้ โดยไม่ตอ้ งคนื ของหมนั้ แก่ชาย

ผมถือคติ รกั ไมย่ ุง่ มงุ่ แต่เรยี น

3) การเลกิ สัญญาหมนั้ ด้วยเหตทุ ่ีคู่หมั้นตาย คู่หมั้นอกี ฝ่ายหนึ่งจะ
เรียกคา่ ทดแทนกนั ไม่ได้ สำหรบั ของหมัน้ หรือสนิ สอดนน้ั ไมว่ ่า
ชายหรือหญิงตาย ฝ่ายหญิงไม่ต้องคืนใหฝ้ า่ ยชาย

เอกสารประกอบการเรยี น 31
เรื่อง กฎหมายเกยี่ วกับครอบครวั

กระจ่างแจ้งเลยครบั กลบั ไปวันนี้
ผมตอ้ งไปขยายให้พ่อแมแ่ ละพี่ผม จะไดเ้ ขา้ ใจ
เร่ืองการหมน้ั ดขี ึน้

ดมี าก การให้ความรูแ้ ก่ผู้ท่ไี มร่ ู้เปน็ บญุ
กุศลอย่างยง่ิ แต่กอ่ นอนื่ ลองทดสอบความรูเ้ พ่ือ
เชอื่ มนั่ กนั สักหน่อยกอ่ นในกรอบที่ 11

เอกสารประกอบการเรยี น 32
เร่อื ง กฎหมายเกยี่ วกบั ครอบครวั

กรอบที่ 11
แบบฝึกหดั เรื่องการหมั้น

นักเรียนครบั อ่านกรณีตัวอย่าง
แล้ววเิ คราะหเ์ พ่อื ตอบคำถามนะครับ

บรุ ุษอายุ 25 ปี มารดาเสียชวี ิตแล้วจงึ อย่กู บั ยอดผู้เป็นบิดา ธิดาอายุ 18 ปี ค้าขายชว่ ยนิมิตรกบั สาย
ใจผู้เป็นบดิ า มารดา บุรษุ รักใครช่ อบพอกบั ธดิ า แต่ยังไม่พรอ้ มทจ่ี ะสมรสกันจึงจะหม้ันธดิ าไว้กอ่ น เพ่อื ความ
สบายใจของทุกฝ่ายโดยจะใชก้ ำไลทองเป็นของหม้นั

คำถาม

1. การหมั้นของบรุ ุษ ต้องไดร้ บั ความยินยอมจากใครหรอื ไม่เพราะเหตใุ ด
ตอบ .....................................................................................................................................

2. การหมัน้ ของธดิ าต้องไดร้ บั ความยินยอมจากใครหรอื ไม่เพราะเหตุใด
ตอบ .....................................................................................................................................

3. เมื่อบุรษุ และธิดาสมรสกันแลว้ กำไลทองจะเป็นของใคร
ตอบ .....................................................................................................................................

4. หากธดิ าเป็นโรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรง บรุ ษุ เหน็ วา่ ไมค่ วรสมรสด้วยจึงบอกเลกิ สญั ญาหมน้ั ในสว่ นของกำไล
ทองท่เี ปน็ ของหม้นั จะตอ้ งทำอย่างไร
ตอบ .....................................................................................................................................

5. ถ้าบรุ ุษหรอื ธิดาฝ่ายใดฝ่ายหนง่ึ เสยี ชวี ิตในสว่ นของกำไลทองทเ่ี ปน็ ของหมนั้ จะต้องทำอย่างไร
ตอบ .....................................................................................................................................

ต้องซือ่ สัตยต์ อ่ ตนเอง ทำเสร็จคอ่ ยดู
เฉลยในกรอบที่ 12 นะครบั

เอกสารประกอบการเรียน 33
เร่ือง กฎหมายเก่ยี วกบั ครอบครวั

กรอบท่ี 12
เฉลยแบบฝกึ หัด เรื่องการหม้นั

ดูเฉลยตรงนีน้ ะครบั คนเกง่

1. การหมั้นของบุรษุ ต้องได้รับความยินยอมจากใครหรือไม่เพราะเหตุใด
ตอบ การหมัน้ ของบุรษุ ไมต่ อ้ งไดร้ บั ความยนิ ยอมจากใคร เพราะบรุ ษุ บรรลนุ ติ ิภาวะแล้ว

2. การหมั้นของธิดาต้องไดร้ ับความยินยอมจากใครหรอื ไมเ่ พราะเหตใุ ด
ตอบ การหม้นั ของธดิ าตอ้ งไดร้ ับความยินยอมจากนมิ ิตและสายใจผ้เู ป็น บิดามารดา เพราะธดิ ายงั
ไม่บรรลุนิตภิ าวะ

3. เม่อื บุรุษและธิดาสมรสกันแลว้ กำไลทองจะเปน็ ของใคร
ตอบ กำไลทองเปน็ ของธดิ า

4. หากธิดาเป็นโรคติดตอ่ ร้ายแรง บุรษุ เห็นว่าไม่ควรสมรสดว้ ยจงึ บอกเลิกสญั ญาหม้ันในส่วนของกำไล
ทองท่ีเปน็ ของหมั้นจะต้องทำอยา่ งไร
ตอบ ธดิ าตอ้ งคืนกำไลทองใหก้ ับบุรุษ

5. ถ้าบรุ ุษหรือธิดาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียชวี ติ ในส่วนของกำไลทองทเี่ ปน็ ของหม้นั จะตอ้ งทำอย่างไร
ตอบ ฝ่ายหญิงไม่ต้องคนื กำไลทองใหก้ ับฝา่ ยชาย

ทำถูกตอ้ งทกุ ข้อไหมครับ บกพร่อง
ตรงไหน ย้อนกลบั ไปศึกษากรอบที่ 10 ใหม่
อีกครง้ั นะครบั

เอกสารประกอบการเรียน 34
เรอื่ ง กฎหมายเกย่ี วกบั ครอบครัว

กรอบที่ 13
การสมรส

การหมั้นคอื การท่ีผู้ชายกับผหู้ ญงิ สัญญาวา่ จะ
สมรสกนั แลว้ การสมรสคืออะไรครับ

การสมรส หมายถึง การทช่ี ายและหญงิ ตกลงจะอยเู่ ป็นสามี
ภรรยากันโดยไม่เกี่ยวข้องทางชู้สาวกับบุคคลอื่นใดอีก โดยมี
เงอื่ นไข ดังน้ี

1. ชายและหญิงต้องมอี ายุ 17 ปบี รบิ ูรณข์ น้ึ ไป
2. ถา้ หากยังไมบ่ รรลุนิติภาวะต้องได้รับความยินยอมจาก

บิดามารดา ผู้รับบุตรบุญธรรมหรือผู้ปกครอง
เชน่ เดียวกบั การหม้ัน
3. ถ้าอายุต่ำกว่า 17 ปี ต้องให้ศาลอนุญาตโดยตอ้ งมีเหตุ
อันสมควร
4. ชายและหญงิ ยนิ ยอมเป็นสามีภรรยากัน
5. ต้องมกี ารจดทะเบียนสมรส

พ่กี บั น้องสมรสกันไดไ้ หมครบั

เอกสารประกอบการเรยี น 35
เรอ่ื ง กฎหมายเกี่ยวกบั ครอบครวั

เอ.....แล้วแมห่ มา้ ย
จะสมรสใหม่ไดไ้ หมคะ

หญิงทส่ี ามีตายหรือหยา่ ร้างจะสมรสใหมไ่ ด้กต็ อ่ เมือ่ ส้นิ สุดการ
สมรสครั้งก่อนได้ผ่านพ้นไปแล้วไม่น้อยกว่า 310 วัน เพื่อจะได้ไม่เกิด
ปัญหาว่าบุตรที่เกิดมาเป็นบุตรใคร แต่ถ้าหากคลอดบุตรระหว่างน้ัน
หรอื สมรสกบั คู่สมรสเดมิ หรือมใี บรบั รองแพทยว์ า่ ไม่ได้ต้ังครรภ์ หรอื มี
คำส่ังศาลให้สมรสไดก้ ไ็ มต่ อ้ งรอระยะเวลาดงั กล่าว

ซึ่งบคุ คลต่อไปนี้สมรสกนั ไม่ได้
1. ชายหรือหญิงเป็นบุคคลวิกลจริตหรือเป็นบุคคลที่ศาลส่ัง
ให้เป็นคนไรค้ วามสามารถ
2. ชายหญิงเป็นญาติสืบสายโลหิตโดยตรงเป็นพี่น้องร่วม
บิดา มารดา เดียวกัน หรือเป็นพี่น้องร่วมแต่บิดาหรือ
มารดาเดียวกัน
3. ผ้รู ับบุตรบุญธรรมและบตุ รบญุ ธรรมจะสมรสกนั ไม่ได้
4. ชายหรอื หญงิ มคี ่สู มรสแลว้

การสมรสจะสน้ิ สุดเม่ือฝ่ายใดฝ่าย
หนงึ่ ตายหรอื มกี ารหยา่ หรอื ศาลพิพากษา
ให้เบิกถอนการสมรส

เอกสารประกอบการเรยี น 36
เรอ่ื ง กฎหมายเกีย่ วกบั ครอบครวั

ผมเข้าใจแล้วครับ การสมรสนั้นชายและหญิง
ต้องอายุ 17 ปีขึ้นไป ถ้ายังไมถ่ ึง 20 ปี ต้องได้รับความ
ยินยอม ข้อสำคัญต้องไปจดทะเบียนสมรสด้วย และพี่
นอ้ งแท้ๆ สมรสกันไม่ได้

เกง่ มาก เขา้ ใจไดถ้ ูกต้องคราวนีส้ มรสแลว้ กเ็ กิดครอบครัว
ใหมข่ น้ึ มาความสัมพันธ์ทางกฎหมายต่อกนั กเ็ พ่ิมข้ึน นอกจากสทิ ธิ
หนา้ ท่ีของบดิ ามารดาและบุตรที่ศกึ ษาไปแล้วยังมีการเป็นทายาท
ที่มีสิทธิรับมรดกอีก แต่ตอนนี้ทำแบบฝึกหัดกรอบที่ 14 ทบทวน
ความเขา้ ใจกนั กอ่ นนะครับ

ผมช่วยหาคำตอบครับ

เอกสารประกอบการเรยี น 37
เรอ่ื ง กฎหมายเกีย่ วกับครอบครัว

กรอบที่ 14
แบบฝึกหัด เรื่องการสมรส

นกั เรียนครบั ระบุสาระสำคัญตามหวั ขอ้ ทก่ี ำหนดใหห้ นอ่ ย
ครับ

เงอ่ื นไขการสมรส 1. ........................................................................
2. ........................................................................

........................................................................
3. ........................................................................

........................................................................
4. ........................................................................
5. ........................................................................

บคุ คลท่สี มรสไมไ่ ด้ 1. ........................................................................
การสนิ้ สดุ การสมรส 2. ........................................................................

........................................................................
3. ........................................................................

........................................................................
4. ........................................................................
5. ........................................................................

1. ........................................................................
2. ........................................................................
3. ........................................................................

ทำแบบฝึกหัดเสร็จแล้วตรวจคำตอบ
ในกรอบท่ี 15 ดว้ ยความซ่อื สัตยน์ ะครับ

เอกสารประกอบการเรยี น 38
เรอื่ ง กฎหมายเกยี่ วกบั ครอบครัว

กรอบที่ 15
เฉลยแบบฝกึ หัด เร่อื งการสมรส

ดูเฉลยตรงนนี้ ะครับคนเก่ง

เงอื่ นไขการสมรส 1. ชายและหญิงตอ้ งมีอายุ 17 ปีบรบิ ูรณข์ นึ้ ไป
บคุ คลท่ีสมรสไมไ่ ด้ 2. ถ้าหากยังไม่บรรลุนิติภาวะต้องได้รับความ
การสนิ้ สดุ การสมรส
ยินยอมจากบิดามารดา ผรู้ บั บุตรบุญธรรมหรือ
ผปู้ กครองเชน่ เดยี วกบั การหมนั้
3. ถา้ อายตุ า่ กว่า 17 ปี ตอ้ งใหศ้ าลอนญุ าตโดยตอ้ ง
มีเหตอุ นั สมควร
4. ชายและหญิงยินยอมเป็นสามภี รรยากนั
5. ตอ้ งมกี ารจดทะเบยี นสมรส

1. ชายหรือหญิงเป็นบคุ คลวิกลจริตหรือเป็นบุคคล
ทีศ่ าลส่งั ใหเ้ ป็นคนไรค้ วามสามารถ

2. ชายหญิงเป็นญาติสืบสายโลหิตโดยตรงเป็นพ่ี
นอ้ งรว่ มบิดามารดาเดียวกัน หรือเป็นพ่ีนอ้ งรว่ ม
แต่บิดาหรือมารดาเดียวกนั

3. ผรู้ บั บตุ รบญุ ธรรมและบุตรบุญธรรมจะสมรสกัน
ไมไ่ ด้

14.. ฝช่าายยหใดรฝือ่าหยญหิงนทง่ึ ม่ี ตีคาสู่ยมรสอย่แู ลว้
2. หยา่
3. ศาลพพิ ากษาใหเ้ พกิ ถอนการสมรส

ตอบไดห้ มดไหมเอ่ย ไม่ไดข้ ้อไหน ย้อนกลบั ไป
ศกึ ษากรอบที่ 13 ใหมอ่ ีกครงั้

เอกสารประกอบการเรยี น 39
เร่ือง กฎหมายเก่ียวกบั ครอบครวั

กรอบท่ี 16
มรดก

ครคู รบั วนั นี้ชาญชยั ไม่มาโรงเรียนครับ เขาขอลา
หยดุ ไปรบั มรดกครบั ผมสงสัยวา่ มรดกคอื อะไร ขอความ
กรณุ าครชู ่วยอธิบายหน่อยครบั

มรดก คือ ทรัพย์สินทุกชนิดของผู้ตาย ตลอดจนสิทธิหน้าท่ี
และความรับผดิ ชอบตา่ งๆ เวน้ แตต่ ามกฎหมายหรือโดยสภาพแล้วเป็น
การเฉพาะตัวผู้ตายโดยแท้ เช่น สิทธิในการมีปืน อย่างไรกด็ ีความรบั
ผิดของทายาทจะมีขอบเขตจำกัด คือ กฎหมายกำหนดว่าทายาทไม่
ตอ้ งรับผิดเกินกว่าทรัพยม์ รดกที่ตกทอดใหแ้ ก่ตน

ใครบา้ งทจ่ี ะไดร้ ับมรดก
และจะได้เม่อื ไรครับ

มรดกจะตกทอดแก่ทายาทเมอ่ื เจ้ามรดกถึงแก่ความตาย
ความตายในทีน่ ี้ คอื ตายหรือสน้ิ ชีวิตจริงๆ กับศาลส่งั ใหเ้ ปน็
บุคคลสาบสูญ ซึ่งผมู้ ีสิทธริ ับมรดก มีดงั น้ี

1. ทายาท
2. วัด ในกรณีทพี่ ระภิกษุมรณภาพโดยทไ่ี ม่ไดท้ ำพินยั กรรม

ไว้เป็นอย่างอื่น
3. แผ่นดิน เมือ่ ไมม่ ที ายาทมีชวี ิตเหลอื อยู่
4. ผ้รู ับพนิ ยั กรรม

เอกสารประกอบการเรยี น 40
เร่อื ง กฎหมายเก่ียวกับครอบครวั

ผู้มีสิทธิรบั มรดกมมี ากมายจะ
แบ่งกันอยา่ งไรคะ

การแบ่งมรดกต้องแบ่งตามพินัยกรรมให้ผู้รับ
พินัยกรรมก่อน ที่เหลือจึงจะแบ่งให้ทายาทโดยชอบธรรม
ถ้าผู้ตายทำพินัยกรรมยกให้คนอื่นหมด ทายาทโดยชอบ
ธรรมก็จะไม่ได้รบั มรดก

ทายาทโดยธรรมมีใครบา้ งคะ

ทายาทโดยธรรมซง่ึ มีสิทธิไดร้ บั มรดกมี 2 ประเภท คอื
1. ทายาททเี่ ปน็ ญาติ มี 6 ขั้นดงั น้ี
1) ผสู้ บื สนั ดาน คือ ลกู หลาน เหลน ลือ้
2) บิดามารดา
3) พีน่ อ้ งรว่ มบิดามารดาเดยี วกนั
4) พน่ี อ้ งรว่ มบดิ ามารดา หรือร่วมมารดาเดียวกนั
5) ปู่ ย่า ตา ยาย
6) ลงุ ปา้ น้า อา
2. ทายาททเี่ ปน็ คู่สมรสที่ถกู ต้องตามกฎหมาย

เอกสารประกอบการเรียน 41
เร่อื ง กฎหมายเก่ียวกับครอบครัว

ผู้มีสิทธิจะได้รับมรดกของสุชาติ คือ ภรรยาในฐานะทายาทที่
เปน็ คสู่ มรส บตุ รในฐานะทายาทข้นั ท่ี 1 บดิ ามารดาในฐานะทายาทขั้น
ที่ 2 ซึ่งมีสิทธิได้รับมรดกด้วยกันกับทายาท ขั้นที่ 1 คือ ไม่ตัดสิทธิซึง่
กันและกัน แต่พี่น้อง ลุงป้า น้าอา ซึ่งเป็นทายาทขั้นที่ 3 และ 6 ไม่มี
สิทธิได้รับ เพราะถูกตัดสิทธิโดยทายาทลำดับต้น คือ ขั้นที่ 1 และ 2
แล้ว

ชัดเจน แจ่มแจง้ แล้วครับ
ขอบพระคุณคุณครูมากครับ

สรุปแลว้ เมือ่ บคุ คลตายลง ทรพั ย์สินทุกชนดิ ของผู้ตาย
รวมทั้งสิทธิ หน้าทแี่ ละความรบั ผิดชอบเกี่ยวกับทรัพย์สินก็เป็น
มรดก โดยผู้มีสิทธิรับมรดกและส่วนแบ่งมรดก คือ ทายาท วัด
แผน่ ดิน และผรู้ ับพินัยกรรม แล้วแตก่ รณี

แจม่ แจง้ จรงิ ทำแบบฝึกหัด
ในกรอบที่ 17 แขง่ กับผมซิครบั

เอกสารประกอบการเรียน 42
เรื่อง กฎหมายเก่ยี วกบั ครอบครวั

กรอบที่ 17
แบบฝึกหดั เรือ่ งมรดก

นกั เรยี นครบั อ่านกรณตี วั อยา่ งแลว้
วิเคราะหเ์ พื่อตอบคำถามนะครับ

นิยมสมรสกับชมชอบ ทั้งคู่อยูบ่ ้านสมจติ รมารดาของชมชอบ นยิ มกับชมชอบ มีบตุ ร 2 คน คือ ชวนชม
และชวนชื่น พชิ ติ เปน็ บดิ าของนยิ มอาศัยอยกู่ ับอาคมและมาลี ซ่งึ เปน็ พช่ี ายและพ่สี ะใภข้ องนิยม ตอ่ มานิยมถงึ
แกก่ รรม

1. ผูม้ สี ทิ ธิได้รบั มรดกของนยิ มได้แก่
1) ........................................................ เหตุผล ...........................................................
2) ........................................................ เหตุผล ...........................................................
3) ........................................................ เหตุผล ...........................................................
4) ........................................................ เหตุผล ...........................................................

2. ถ้านิยมไม่มที ายาทท่ีมีชวี ิตเหลืออยู่ ผู้ท่ไี ด้รับมรดกของนิยม คอื
.......................................................................................................................................

ค่อย ๆ คิด พนิ จิ
พจิ ารณาใหร้ อบคอบจะได้
คำตอบท่ถี ูกตอ้ ง ครเู อาใจช่วย
นะครบั

เอกสารประกอบการเรียน 43
เร่อื ง กฎหมายเกย่ี วกับครอบครัว

กรอบท่ี 18
เฉลยแบบฝกึ หัด เรอื่ งมรดก

ดเู ฉลยตรงนีน้ ะครบั คนเก่ง

1. ผมู้ สี ิทธิได้รบั มรดกของนยิ มได้แก่

1) ชวนชม เหตุผล เปน็ ผ้สู ืบทอดสนั ดาน
เป็นผสู้ บื ทอดสนั ดาน
2) ชวนชืน่ เหตผุ ล เปน็ บดิ า
เปน็ คู่สมรส
3) พชิ ติ เหตผุ ล

4) ชมชอบ เหตผุ ล

2. ถา้ นยิ มไมม่ ีทายาททม่ี ีชีวติ เหลอื อยู่ ผู้ทีไ่ ด้รับมรดกของนยิ ม คอื แผน่ ดิน

อยา่ งนใี้ ชไ่ หมครบั

ยอดเย่ียมมาก ตอบถกู ทกุ ข้อเลย
อยา่ งนีอ้ นาคต นิตศิ าสตร์บัณฑติ แน่

เอกสารประกอบการเรียน 44
เรือ่ ง กฎหมายเก่ยี วกบั ครอบครัว

นักเรียนศึกษาจบแล้ว มาทดสอบกันหน่อยนะครับว่ามี
ความรู้ความเข้าใจมากนอ้ ยแค่ไหน โดยให้เลือกคำตอบที่ถกู ต้อง
ที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วทำเครื่องหมาย  ทับตัวอักษรใน
กระดาษคำตอบ

1. ข้อใดเป็นเงือ่ นไขการสมรส
ก. ชายและหญงิ ยอมเป็นสามีภรรยากนั
ข. ชายต้องมอบสินสอดของหมนั้ ให้หญิง
ค. ชายและหญงิ ต้องมีอายยุ ี่สบิ ปบี ริบรู ณ์ขึ้นไป
ง. ชายและหญิงต้องไดร้ บั ความยนิ ยอมจากบดิ ามารดา

2. บุคคลทีจ่ ะรับบตุ รบญุ ธรรมไดจ้ ะตอ้ งมอี ายไุ ม่ตำ่ กว่าก่ีปี
ก. ย่สี บิ ห้าปี
ข. สามสบิ ปี
ค. สามสบิ หา้ ปี
ง. ส่สี ิบปี

3. นมิ ติ รกับนภิ าเป็นสามีภรรยาทีไ่ ม่ได้จดทะเบียนสมรส ดงั นัน้ นิธผิ เู้ ปน็ บุตรจะเปน็ บุตรที่ชอบดว้ ย
กฎหมายของใคร
ก. นภิ า
ข. นิมติ ร
ค. นิมติ รกบั นิภา
ง. แล้วแต่นธิ จิ ะเลือก

เอกสารประกอบการเรียน 45
เรื่อง กฎหมายเกีย่ วกับครอบครัว

4. ข้อใดกล่าวถงึ ของหมั้นไมถ่ ูกตอ้ ง
ก. เมอ่ื คหู่ ม้ันตกลงเลิกสัญญาหมน้ั กนั ฝา่ ยหญิงต้องคนื ของหม้ันให้กบั ฝา่ ยชาย
ข. เมอ่ื หญิงคู่หม้ันตาย บดิ ามารดาของฝ่ายหญงิ คู่หมั้นต้องคืนของหม้นั ให้กับชายค่หู มัน้
ค. เมอ่ื หญิงคู่หมั้นไปแต่งงานกับชายคนอน่ื หญิงคู่หมัน้ ต้องคนื ของหมั้นใหก้ บั ชายคูห่ ม้ัน
ง. เมอ่ื ชายคู่หมัน้ แตง่ งานกบั หญิงอน่ื หญงิ คหู่ มน้ั ไม่ตอ้ งคืนของหมน้ั ให้กับชายคหู่ ม้ัน

5. บญุ เกิดไมม่ ที ายาทไมไ่ ดท้ ำพนิ ัยกรรมไว้ เมื่อบญุ เกดิ ตายมรดกจะตกทอดไปยังผใู้ ด
ก. วัด
ข. รัฐบาล
ค. แผน่ ดนิ
ง. โรงพยาบาล

6. บุตรนอกสมรสจะเป็นบุตรชอบด้วยกฎหมายของบดิ าเมอื่ ใด
ก. เมอื่ บุตรบรรลนุ ติ ภิ าวะ
ข. เมื่อบุตรใชน้ ามสกลุ บิดา
ค. เมอ่ื บดิ าส่งเสียให้ความอปุ การะ
ง. เม่ือบิดาจดทะเบยี นรบั รองวา่ เป็นบุตร

7. ใครเป็นผใู้ ช้อำนาจปกครองบตุ รทีย่ งั ไม่บรรลุนติ ภิ าวะ
ก. ผปู้ กครอง
ข. บดิ า มารดา
ค. ผทู้ ี่บุตรอาศยั อยดู่ ้วย
ง. ผู้ท่สี ง่ เสียเงนิ ทองเลี้ยงดู

8. ขอ้ ใดเปน็ การสมรสทถี่ ูกต้องตามกฎหมาย
ก. มีพธิ แี ตง่ งานกนิ เลย้ี งตามประเพณี
ข. มีการสู่ขอและหมนั้ กอ่ นรดนำ้ สังข์
ค. ชายและหญิงไดจ้ ดทะเบียนสมรสต่อหนา้ นายทะเบยี นท้องที่
ง. บดิ ามารดาหรอื ผู้แทนโดยชอบธรรมของหญิงให้ความยินยอม

เอกสารประกอบการเรยี น 46
เรื่อง กฎหมายเก่ียวกับครอบครวั

9. การรบั บตุ รบญุ ธรรมจะต้องทำอย่างไรจงึ จะสมบูรณ์
ก. ผขู้ อ้ มอื รบั ขวัญ
ข. ใหศ้ าลมคี ำพิพากษา
ค. จดทะเบียนตามกฎหมาย
ง. ลงบันทกึ ประจำวันทส่ี ถานีตำรวจ

10. ข้อใดถูกตอ้ ง เมอ่ื สมพรหม้ันกบั เพญ็ ศรี แลว้ ตอ่ มาเพ็ญศรไี ม่ยอมสมรสด้วย
ก. สมพรสามารถฟ้องศาลบังคับเพญ็ ศรใี ห้สมรสกบั ตนได้
ข. สมพรสามารถฟอ้ งศาลเรยี กของหมั้นคืนพร้อมกบั คา่ ปรบั ได้
ค. สมพรไมส่ ามารถฟ้องศาลบงั คบั เพญ็ ศรีให้สมรสกับตนได้
ง. สมพรไมส่ ามารถเรยี กของหมน้ั คนื ได้เพราะของหม้นั ไดต้ กเป็นสมบัติของเพ็ญศรไี ปแลว้

11. สรุ พลมอบเงินและทองใหบ้ ิดามารดาของอรทยั เพ่ือตอบแทนทอี่ รทัยยอมสมรสด้วยเงินและทองท่ี
มอบให้เรียกว่าอะไร
ก. สินสอด
ข. ของหมนั้
ค. สินน้ำใจ
ง. ของกำนลั

12. ขอ้ ใดเปน็ สิทธขิ องผู้ใช้อำนาจปกครอง
ก. ทำพินัยกรรมแทนบุตร
ข. จดั หาคู่สมรสใหเ้ มือ่ ถงึ เวลาอนั สมควร
ค. ทำโทษบุตรพอสมควร เพอ่ื วา่ กล่าวส่ังสอน
ง. ให้การอปุ การะเลย้ี งดูบุตรแม้วา่ จะบรรลนุ ติ ิภาวะแล้ว

13. การทีส่ มชายกับสมหญงิ ทำสัญญาว่าจะทำการสมรสกัน หมายถึงขอ้ ใด
ก. การสู่ขอ
ข. การหมัน้
ค. การสมรส
ง. การรักกัน

เอกสารประกอบการเรียน 47
เรื่อง กฎหมายเก่ยี วกับครอบครวั

14. ตามกฎหมายแลว้ ชายและหญงิ ต้องมีอายอุ ยา่ งนอ้ ยกปี่ จี ึงจะหม้นั ได้
ก. สบิ หา้ ปีบริบูรณ์
ข. สิบหกปบี รบิ รู ณ์
ค. สิบเจ็ดปบี รบิ รู ณ์
ง. สบิ แปดปีบรบิ รู ณ์

15. ทายาทจะต้องรับผิดในหนสี้ ินของเจ้าของมรดกเพียงใด
ก. เท่าที่พอจะรบั ได้
ข. เทา่ ที่ได้รับมรดกมา
ค. ไมต่ ้องรบั ผิดใด ๆ ทงั้ สิ้น
ง. รับผิดเตม็ จำนวนทีเ่ ปน็ หนี้

16. การสมรสสิ้นสุดลงเมื่อใด
ก. หยา่
ข. ภรรยามชี ู้
ค. แยกกันอยู่
ง. สามีมเี มียน้อย

17. เม่อื บญุ หลายตาย มรดกจะตกทอดไปยังผู้ใด
ก. วดั
ข. แผ่นดิน
ค. มลู นิธกิ ารกศุ ล
ง. ทายาทหรอื ผูร้ บั พนิ ัยกรรม

18. มรดกคอื อะไร
ก. เงินฌาปนกิจ
ข. เงนิ ประกนั ชวี ิต
ค. ทรพั ยส์ ินทุกชนดิ ของผ้ตู าย
ง. สงิ่ ทสี่ ืบทอดต่อมาจากบรรพบุรุษ

เอกสารประกอบการเรียน 48
เรอื่ ง กฎหมายเกย่ี วกบั ครอบครัว

19. บุคคลใดเปน็ ทายาททเ่ี ปน็ ญาติลำดับแรก
ก. พ่อแม่
ข. พี่นอ้ ง
ค. คู่สมรส
ง. ลูก หลาน

20. กรณีในข้อใดท่ีทำการสมรสไม่ได้
ก. ชายและหญงิ เป็นลูกพ่ลี ูกน้องกนั
ข. ชายหรอื หญงิ มีคสู่ มรสอยแู่ ลว้
ค. หญิงหม้ายสามีเสยี ชวี ิตมาแล้ว 2 ปี
ง. ชายหรอื หญงิ ฝ่ายหนงึ่ ฝ่ายใดเปน็ หมนั

เอกสารประกอบการเรยี น 49
เรื่อง กฎหมายเก่ียวกับครอบครวั

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

1. ก 11. ก
2. ก 12. ค
3. ก 13. ข
4. ข 14. ค
5. ค 15. ข
6. ง 16. ก
7. ข 17. ง
8. ค 18. ค
9. ค 19. ง
10. ข 20. ข

ได้คะแนนเท่าไรครับ ลองเปรียบเทียบกับ
คะแนนทดสอบก่อนเรียนดู จะเห็นการพฒั นา
ความรู้ ความเข้าใจในกฎหมายเก่ียวกับ
ครอบครัวของตัวนักเรียนได้ ครูขอชื่นชม
นักเรียนทุกคนท่ีมีความรูม้ ากขึน้ และท่ีสาคญั
คือมีความซอื่ สตั ยต์ อ่

เอกสารประกอบการเรยี น 50
เรอื่ ง กฎหมายเก่ียวกับครอบครวั

บรรณานุกรม

กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ.(2549). สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ม.3 (พิมพ์ครั้งที่ 8).
กรงุ เทพฯ : บรษิ ัทไทยรม่ เกลา้ จำกดั .

นยั นา เกดิ วชิ ัย.(2550). ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ประมวลกฎหมายอาญา. นครปฐม :
สำนักพิมพน์ ิตินัย.

ไพศาล ภ่ไู พบูลย์ อังคณา ตติรัตน์ และปนดั ดา มีสมบตั .ิ (ม.ป.ป.). สมั ฤทธม์ิ าตรฐานหนา้ ท่ี
พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวติ ในสังคม ม.3 (พิมพ์ครง้ั ที่ 3). กรุงเทพฯ : องั ษรเจรญิ ทศั น.์

มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ คณะนิตศิ าสตร.์ (ม.ป.ป.). กฎหมายเกี่ยวกบั วงจรชวี ติ .
คน้ เมือ่ มิถุนายน 18, 2549, จาก http://www.tulawcenter.com

วรพทิ ย์ มีมาก.(2548). หนา้ ทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนนิ ชีวิตในสังคม ม.3 กรุงเทพฯ :
สำนกั พิมพพ์ ฒั นาคุณภาพวิชากร.

สภาทนายความ. (ม.ป.ป.). กฎหมายเบอื้ งตน้ สำหรับประชาชน. กรุงเทพฯ : พมิ พอ์ ักษร.
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า. (ม.ป.ป.). กฎหมายสำหรบั ประชาชน.

ค้นเม่ือ มิถุนายน 20, 2549, จาก http://www.krisdika.go.th/
สำนกั อัยการจังหวดั เดชอดุ ม. (ม.ป.ป.). มรดก. ค้นเมื่อ กรกฎาคม 9, 2549 จาก
http://www.det.ago.go.th/
สุคนธ์ สินธพานนท.์ (2549). กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ชวี ติ ประจำวนั ม.1-ม.3. (พมิ พค์ ร้งั ท่ี 4).

กรงุ เทพฯ : บริษทั ไทยรม่ เกล้า จำกัด.
สคุ นธ์ สินธพานนท์ และคณะ. (2545). สมั ฤทธ์ิมาตรฐานสังคมศกึ ษา ศาสนาละวฒั นธรรม 1

ช่วงชั้นที่ 3 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1-3 กรงุ เทพฯ : อักษรเจรญิ ทศั น์.


Click to View FlipBook Version