The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ปี 2565 นางสาววราภาพร กุลกุมภีล์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Warapaporn, 2023-07-02 00:53:46

นวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ปี 2565 นางสาววราภาพร กุลกุมภีล์

นวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี ปี 2565 นางสาววราภาพร กุลกุมภีล์

คํานํา เอกสารฉบับนี้ จัดทําขึ้น เพื่อนําเสนอผลงานการประกวดนวัตกรรมสรางสรรคคนดีตามโครงการ สงเสริม คุณธรรมจริยธรรม และคุณลักษณะอันพึงประสงคและคานิยมของชาติ (โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) ซึ่ง ผูรายงานไดเสนอขอมูลผลงาน จากการปฏิบัติหนาที่สําหรับใชประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการ มีการ นําเสนอขอมูลครอบคลุมตามหลักเกณฑและวิธีการ ขอขอบคุณ ผูอํานวยการโรงเรียน คณะครูนักเรียน โรงเรียนบานปากคลองโรงนาคและผูเกี่ยวของ ที่ให ความชวยเหลือ ใหคําปรึกษา แนะนํา ในการปฏิบัติงาน ขอขอบคุณทุกทานที่ใหการสนับสนุน ใหกําลังใจและให ความรวมมือในการปฏิบัติงานดวยดีตลอดมา จึงขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ วราภาพร กุลกุมภีล (นางสาววราภาพร กุลกุมภีล) ตําแหนง ครู โรงเรียนบานปากคลองโรงนาค ก


สารบัญ หนา ผลงานนวัตกรรมสรางสรรคคนดี ความสําคัญของผลงานนวัตกรรม ๑ จุดประสงคและเปาหมายของผลงานนวัตกรรม ๓ กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดําเนินงาน ๔ ผลการดําเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนที่ไดรับ ๑๒ ปจจัยความสําเร็จ ๑๒ บทเรียนที่ไดรับ (Lesson Learned) ๑๓ การเผยแพร/การไดรับการยอมรับ/รางวัลที่ไดรับ ๑๓ เงื่อนไขความสําเร็จ ๑๖ ภาคผนวก ภาพกิจกรรม ๑๗ ข


เอกสารประกอบการพิจารณาสงเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสรางสรรคคนดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ************ ชื่อผลงานนวัตกรรม “เสริมสรางคุณธรรมดวยกิจกรรมสรางสรรค” สอดคลองกับคุณลักษณะโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ความพอเพียง ความกตัญู ความซื่อสัตยสุจริต ความรับผิดชอบ อุดมการณคุณธรรม คุณธรรมอัตลักษณ ไดแก ความรับผิดชอบ ความมีระเบียบวินัย ใฝรู ความพอเพียง ประเภทผลงาน ผูบริหารสถานศึกษา ครู ชื่อเจาของผลงานนวัตกรรม นางสาววราภาพร กุลกุมภีล โรงเรียน / หนวยงาน โรงเรียนบานปากคลองโรงนาค สังกัด สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต1 โทรศัพท 038 – 397 – 425 โทรสาร 038 – 397 – 425 โทรศัพทมือถือ 095-0108171 Email [email protected] รายละเอียดเอกสารการนําเสนอผลงานนวัตกรรม 1. ความสําคัญของผลงานนวัตกรรมที่นําเสนอ 1.1 เหตุผลที่เกิดแรงบันดาลใจ ความจําเปน ปญหาหรือความตองการที่จัดทําผลงานนวัตกรรม คุณธรรมเปนพื้นฐานทางจิตใจและเจตคติ อันนําไปสูการกระทําที่ดีและถูกตอง คุณธรรมและเจตคติจะ เปนปจจัยใหเด็กพรอมที่จะเผชิญโลกในยุค Thailand 4.0 ไดอยางมั่นคงและมีความสุข การปลูกฝงคุณธรรมและ เจตคติใหแกเด็กตั้งแตวัยเยาวจะชวยใหเด็กพัฒนาคุณธรรมและเจตคติขึ้นในตัวเองอยางไดผล ครูจึงตองแสวงหา กลยุทธที่เหมาะสมกับวัยและความสนใจของเด็ก เพื่อปลูกฝงใหเด็กมีลักษณะนิสัย จริยธรรม คุณธรรม และเจตคติ ใหเกิดขึ้นในเด็กอยางมีประสิทธิภาพที่ดีและเหมาะสม ครูจะตองเปนผูมีความรูดี ตองใชกลวิธีการสอนที่ หลากหลาย ผสมผสานกันหลายรูปแบบ ทั้งวิธีตรง และวิธีสอดแทรกอยางตอเนื่อง เพื่อชวยใหเด็กเกิดการเรียนรู ไดดี นอกจากนี้ครูยังตองเปนผูปฏิบัติดี โดยทําตนเปนแบบอยางที่ดีแกเด็ก และปฏิบัติตนเปนกัลยาณมิตรตอเด็ก ดวย ครูไดเล็งเห็นความสําคัญเนื่องจากสถานการณการแพรระบาดโรคไวรัสโคโรนา 2019 ที่ผานมานั้น ทําให เด็ก ๆ มีพัฒนาการทั้งรางกายและจิตใจที่ถดถอยเปนอยางมาก บวกกับยุคสมัยใหมที่นําเทคโนโลยีเขามาใชกัน มากขึ้น เด็กๆ จึงไปสนใจกับเทคโนโลยีสมัยใหมมากกวาจะสนใจในเรื่องคุณธรรม ครูไดมองเห็นสภาพปญหาที่ เกิดขึ้น จึงทําใหครูเกิดแรงบันดาลใจที่จะพัฒนาเด็กทั้ง 4 ดานใหมีพัฒนาการที่ดีขึ้น ครูไดเห็นการจัดการเรียนการ สอนกับกิจกรรมตาง ๆ ซึ่งเด็ก ๆ ชอบกิจกรรมสรางสรรคเปนอยางมาก ครูจึงไดนํากิจกรรมสรางสรรคเพราะ กิจกรรมสรางสรรคจะชวยฝกเด็กใหมีสมาธิที่ดีขึ้น ไดลงมือปฏิบัติดวยตนเองและโดยสอดแทรกคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ มาจัดทํานวัตกรรมคุณธรรม ระดับปฐมวัย ที่สอดคลองกับ Pakklong Kid Model โดยใชนวัตกรรม PLC ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนมาใชในการจัดการเรียนการสอนและจัดการศึกษาปฐมวัย ๑


ควบคูไปดวยกันโดยผานกระบวนการเลนและเรียนรู ซึ่งครูสามารถสรางและออกแบบการจัดกิจกรรมได ตลอดเวลาที่หลากหลาย มีการติดตามผล และจัดอยางตอเนื่อง จะชวยสงเสริมพัฒนาการ และทักษะตาง ๆ ของ เด็กที่ดีได ซึ่งครูปฐมวัยควรคํานึงวาเด็กวัยอนุบาลเรียนรูผานการสัมผัสทั้ง ๕ การปลอยใหเด็กไดเรียนรูดวยตนเอง ออกแบบวางแผนดวยความคิดที่สรางสรรค แกไขปญหา ลงมือสรางผลงานดวยตนเองเด็กจะเกิดความภูมิใจใน ตนเองที่ทําไดสําเร็จ เด็กจะไดเรียนรูที่ดีและสะสมประสบการณ สิ่งที่สําคัญในการจัดกิจกรรมศิลปะใหกับเด็ก คือ การคํานึงถึงตัวเด็กและการเลือกกิจกรรมใหเหมาะสมตอความถนัด ความสนใจตามธรรมชาติกับพัฒนาการของ เด็กแตละคน กิจกรรมตองสามารถยืดหยุนได เพื่อเปดโอกาสใหเด็กไดแสดงความคิดตามจินตนาการและไดทํางาน อยางอิสระ ควรเนนการทํางานเปนกระบวนการมากกวาผลผลิต เชน เวลาที่เด็กไดวาด ไดเขียน และได แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อน ๆ อยางมีความสุขสนุกสนาน จะมีความสําคัญมากกวาผลงานที่คุณครูหรือ ผูปกครองคาดหวังวาจะตองสวยงาม เรียบรอยตามแบบอยาง เพราะการสรางสรรคผลงานของเด็กเปนการลองผิด ลองถูก และเรียนรูการแกปญหาตลอดเวลา สวนการแกปญหาของเด็กนั้นอาจมีถูกมีผิดบาง ตามแตความสามารถ ในการสรางสรรคที่มีอยูในตัวเด็ก ซึ่งจะชวยใหเด็กคอย ๆ พัฒนางานสรางสรรคไดดีขึ้นในระดับสูงตอไป และมี พัฒนาการและทักษะที่ดีเหมาะสมตามวัยพรอมกับมีคุณธรรมอยางสมบรูณ 1.2 แนวคิด หลักการสําคัญที่เกี่ยวของกับผลงานหรือนวัตกรรม โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เปนการดําเนินงานเพื่อสืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 ตามพระราชประสงคของสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 10 ซึ่งรัฐมนตรีวาการ กระทรวงศึกษาธิการ (นายแพทยธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป) ไดมอบหมายใหรัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงศึกษาธิการ (หมอมหลวงปนัดดา ดิศกุล) ดําเนินงานตามนโยบายภายใตกรอบยุทธศาสตรชาติเกี่ยวกับ เรื่องคุณธรรม โดยรวมกับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในฐานะผูรับผิดชอบการจัดการศึกษา สําหรับเยาวชนสวนใหญของประเทศใหเปนพลเมืองที่มีคุณภาพอีกทั้งรับผิดชอบในการจัดการศึกษาเพื่อใหเยาวชน ทุกคน มีความรู ความสามารถ เปนคนดี คนเกงและมีความสุข เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทางการ ดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชน ตั้งแตระดับครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับรัฐบาล โดยคํานึงถึงความ พอประมาณ ความมีเหตุผล และสรางภูมิคุมกันที่ดี เพื่อพรอมรับตอความเสี่ยง บนพื้นฐานของความรอบรู ระมัดระวังและคุณธรรม โรงเรียนบานปากคลองโรงนาค ไดตระหนักถึงความสําคัญวาโครงการ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และไดดําเนินการขับเคลื่อนเพื่อสงเสริม สนับสนุน และพัฒนางานดานคุณธรรม ผานกิจกรรมสงเสริมความ ดีตาง ๆ ของโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ใหสอดคลองกับแนวทางการดําเนินงานของสํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาชั้นพื้นฐาน โดยมอบหมายใหกลุมสงเสริมการจัดการศึกษาเปนผูรับผิดชอบในการ ขับเคลื่อนนโยบายและมีนโยบายใหโรงเรียนในสังกัดทุกโรงเรียนเขารวมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ และใน การพัฒนาเด็กปฐมวัยเปนชวงที่สําคัญและและจําเปนที่สุดในการพัฒนาสมองอยางตอเนื่องเปนลําดับขั้น การจัด กิจกรรมการเรียนรูใหเด็กพัฒนาทุกดานอยางองครวม และเจริญเติบโตอยางเต็มศักยภาพ สอดคลองกับการพัฒนา เด็กอยางเปนองครวมทั้งการพัฒนารางกาย อารมณ-จิตใจ สังคม สติปญญา และในทางสังคมของเด็กอันจะนําไปสู การสรางวินัยและวัฒนธรรมการอยูรวมกันอยางมีความสุข และเปนการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สําคัญในการสราง คุณธรรม จริยธรรมและจิตใจที่ดีงาม เปนการพัฒนามนุษย ครูผูสอนจึงไดมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใน ระดับชั้นอนุบาลปที่ 3 เพื่อสนองพระราชกระเสรับสั่งของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ที่วาชวยกันสรางคนดีให บานเมือง โดยมีการสอดแทรกการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในกิจกรรมที่สอนใหสอดคลองกับสภาพจริงของ โรงเรียน ๒


จากสภาพปญหาของเด็กระดับปฐมวัยของโรงเรียนบานปากคลองโรงนาคในปจจุบันเด็กขาดคุณธรรม เด็กบางคนมีพฤติกรรมที่ไมพึงประสงคผูสอนจึงคนหาวิธีการแกปญหาดวยกิจกรรมการสอนโดยผานกิจกรรมเสริม ศิลปะสรางสรรค เนนการจัดกิจกรรม Pakklong Kid Model โดยใชนวัตกรรม PLC ดานนวัตกรรมและ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอนมาใชในการจัดการเรียนการสอนและจัดการศึกษาปฐมวัยควบคูไปดวยกันโดย ผานกระบวนการเลนและเรียนรู เพื่อใหเด็กไดลงมือทํากิจกรรมดวยตนเอง Active Learning เปนการจัดการ เรียนการสอนแบบเนนพัฒนากระบวนการเรียนรู สงเสริมใหผูเรียนประยุกตใชทักษะและเชื่อมโยงองคความรูนําไป ปฏิบัติเพื่อแกไขปญหาหรือประกอบอาชีพในอนาคตหลักการ การจัดกิจกรรมเสรมประสบการณเปนการนําเอา วิธีการสอน เทคนิคการสอนที่หลากหลายมาใชออกแบบแผนการสอนและกิจกรรมกระตุนใหผูเรียนมีสวนรวมใน ชั้นเรียน สงเสริมปฏิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูเรียนและผูเรียนกับผูสอน เปนการพัฒนาผูเรียนในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และเปนกระบวนการสรางคนดีดวยคุณธรรมไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยครูปลูกฝงเด็ก ดวยคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ดังนี้ 1 ขยัน เด็กตองขยันมาโรงเรียน ไมขาดเรียน ขยันทําการบาน อานหนังสือ 2.ประหยัด ตองรูจักแบงใชแบงเก็บออม ประหยัดน้ํา และไฟ ใชสงของใหคุมคา 3.ซื่อสัตย ไมขโมยของผูอื่น เก็บของไดนําสงเจาของ 4.มีวินัย แตงกายถูกระเบียบ สงการบานทันเวลา 5.สุภาพ เด็ก ๆตองมีกิริยาสุภาพออนโยน เชนเดินผานผูใหญตองกเมตัว พูดจาไพเราะ 6.สะอาด เด็ก ๆ ตองแตงกายสะอาด เสื้อผาสะอาด เล็บมือ เล็บเทาสะอาด 7 สามัคคี ตองมีความรับผิดชอบตอการทํางานในกลุมจนสําเร็จ 8.มีน้ําใจ เด็กตองรูจักชวยเหลือผูอื่น ในการปลูกฝงคุณธรรมใหเกิดขึ้นแกเด็ก ครูจะตองเปนผูมีความรูดี ตองใชกลวิธีการสอนที่หลากหลาย ผสมผสานกันหลายรูปแบบ ทั้งวิธีตรง และวิธีสอดแทรกอยางตอเนื่อง เพื่อชวยใหเด็กเกิดการเรียนรูไดดี นอกจากนี้ครูยังตองเปนผูปฏิบัติดี โดยทําตนเปนแบบอยางที่ดีแกเด็ก และปฏิบัติตนเปนกัลยาณมิตรตอเด็กดวย ฉะนั้น การจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนเพื่อใหเด็กเกิดคุณธรรม ตองใหเด็กเห็นตัวอยางจากการ กระทําดวยตัวเอง เกิดการยอมรับ เกิดการเปลี่ยนแปลงความคิด เปลี่ยนพฤติกรรม 2. จุดประสงคและเปาหมายของนวัตกรรม 2.1 จุดประสงค 1. เพื่อใหนักเรียนตระหนักและเห็นความสําคัญของความซื่อสัตย สุจริต 2. เพื่อใหนักเรียนมีความรับผิดชอบผลงานของตนเอง มีความตั้งใจเพียรพยามในการเรียนและ การปฏิบัติงาน 3. เพื่อใหนักเรียนมีความพอเพียง พอประมาณดํารงชีวิตในประจําวันได ๓


2.2 เปาหมาย เชิงปริมาณ จัดกิจกรรรมการเรียนการสอนโดยใชแผนการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณเปนเวลา 1 ภาคเรียน เชิงคุณภาพ นักเรียนชั้นอนุบาล 3 โรงเรียนบานปากคลองโรงนาค จํานวน 25 คน มีคุณธรรมอัตลักษณ ความกตัญู อุดมการณคุณธรรม ดานความซื่อสัตยสุจริต ความรับผิดชอบ และความพอเพียงรอยละ 80 โดย ผานกระบวนการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรค 3. กระบวนการพัฒนานวัตกรรมหรือขั้นตอนการดําเนินการ โรงเรียนบานปากคลองโรงนาค โดยการบริหารงานของนางสาวบุญเอื้อ เอี่ยมรัตน ผูอํานวยการโรงเรียนบาน ปากคลองโรงนาค ไดบริหารสถานศึกษาแบบมีสวนรวมกับคณะครู และคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อจัด กระบวนการเรียนการสอนใหสอดคลองกับหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2561 โรงเรียนบานปากคลองโรงนาค มุงเนนใหเด็กเปนคนดี มีวินัย มีความสุข และ สามารถดารงชีวิตอยูในสังคมได อยางมีความสุข เด็กเขาใจและรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ อยางมีเหตุผล ใชชีวิตอยางสมดุล พรอมเติบโตสู สังคมโลกดวยวิถีพอเพียงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งมีModel ในการบริหารสถานศึกษาคือ “SAWAN Model ขับเคลื่อนความรูสูคุณธรรม” เปนเทคนิคที่ใชในการบริหารงานเพื่อพัฒนาโรงเรียน ใหเปน โรงเรียนคุณธรรม สําหรับโรงเรียนบานโนนสวรรคไดพัฒนามาจากหลักการบริหารแบบนี้ สวนรวมมีกระบวนการ ผลิตนวัตกรรม/ขั้นตอนการดําเนินงาน โดยใชกระบวนการ PDCA ดังนี้ตามคํานิยาม “Pakklong Kid Model” ดังนี้ การดําเนินงานตามวงจรคุณภาพเดมมิ่ง (Deming Cycle หรือ PDCA) คือ วงจรการบริหารงานคุณภาพ ประกอบดวย 1 ขั้นวางแผน ศึกษาหลักการ จุดมุงหมาย คุณลักษณะตามวัย และ โครงสรางหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เพื่อใหทราบเนื้อหาการจัดประสบการณ วัสดุ อุปกรณในการสงเสริมพัฒนาการและ ทักษะเด็กปฐมวัย จัดทําแผนการจัดประสบการณ วิเคราะหผลการประเมินพัฒนาการทั้ง 4 ดานของเด็กปฐมวัย ป ๔


การศึกษา ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ และ การสงเสริมการใชนวัตกรรม PLC ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการ สอน โดยใชกิจกรรมศิลปะสรางสรรค 2 ขั้นดําเนินการ โดยมีการดําเนินการการจัดกิจกรมตามหนวยการเรียนรูตามหลักการและแนว ทางการสงเสริมการใชนวัตกรรม PLC ดานนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ที่สงเสริมพัฒนาการและ ทักษะเด็กปฐมวัย โดยใชกิจกรรมศิลปะสรางสรรค P : Participation : การมีสวนรวมและลงมือปฏิบัติ อุทิศตนในการรวมมือ ของผูบริหาร ครู นักเรียน ผูปกครองและชุมชนในการจัดการศึกษาปฐมวัย A : Awareness : การสรางความตระหนัก ใหรับรู ในการสงเสริมและพัฒนาใหเด็กปฐมวัยเติบโตเปนคนดี มีวินัย มีปญญา มีความสุขอยางเหมาะสม และยั่งยืน ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ K : Knowledge : ประสานความรวมมือตกลงใจรวมกันในความชวยเหลือซึ่งกันและกันในในการ แลกเปลี่ยนเรียนรูซึ่งกันและกันในการสงเสริมและพัฒนาใหเด็กปฐมวัยเติบโตเปนคนดี มีวินัย มีปญญา มีความสุข อยางเหมาะสม และยั่งยืนตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 K : Know how : มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับสงเสริมและพัฒนาใหเด็กปฐมวัยเติบโตเปนคนดี มีวินัย มี ปญญา มีความสุขอยางเหมาะสม ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 L : Learning : การแสวงหาความรูการแสวงหาความรูอยางนุมลึก เพื่อใหมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ สงเสริมและพัฒนาใหเด็กปฐมวัยเติบโตเปนคนดี มีวินัย มีปญญา มีความสุขอยางเหมาะสม O : Open mind : มีการบริหารและจัดการการศึกษาปฐมวัยสูการปฏิบัติเพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยเติบโต เปนคนดี มีวินัย มีปญญา มีความสุขอยางเหมาะสม และยั่งยืน โดย 1. ประสานงานกับผูปกครองในการประชุมผูปกครองปฐมนิเทศในแนวทางการดําเนินกิจกรรมของ โรงเรียน ขอความรวมมือในการสงเสริมและพัฒนาใหเด็กปฐมวัยเติบโตเปนคนดี มีวินัย มีปญญา มีความสุขอยาง เหมาะสม 2. ครูมีการสงเสริม PLC โดยนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใชในการเรียนการสอนแบบบรูณาการ ระดับปฐมวัย เพื่อสงเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ดาน ใหเด็กเติบโตอยางมีคุณภาพ อยางเหมาะสมตามวัย ครูนํากิจกรรม สรางสรรคมาจัดทําเปนนวัตกรรมในการการจัดการเรียนรูของเด็ก ครูไดพบวากิจกรรมสรางสรรค เด็ก ๆ ชอบ ทําให เด็กเขาใจในกระบวนการจัดการเรียนการสอนมากขึ้น N : Network : มีการสรางเครือขายโดยมีบุคคลผูมีสวนรวม ไดแก ผูบริหาร ครู บุคลากร คณะกรรมการ สถานศึกษา ผูปกครองนักเรียน นักเรียน ชุมชน มีบทบาทในการ รวมคิด รวมวางแผน รวมปฏิบัติ รวม ประเมินผล และรวมชื่นชม ในการจัดการศึกษาปฐมวัยที่สูการปฏิบัติอยางยั่งยืน เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัยเติบโตเปน คนดี มีวินัย มีปญญา มีความสุขอยางเหมาะสม ดังนี้ 1. การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอยางนอยภาคเรียนละ 1 ครั้ง 2. การประชุมผูปกครองภาคเรียนละ 1 ครั้ง ๕


3. ผูปกครองพบครูประจําชั้นเรียนภาคเรียนละ 1 ครั้ง 4. การปฐมนิเทศผูปกครองและการจัดงานปจฉิมนิเทศเพื่อรายงานผลและเผยแพรงาน G : Good/governace : มีการสงเสริมหลักธรรมภิบาลในการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อพัฒนาเด็กปฐมวัย เติบโตเปนคนดี มีวินัย มีปญญา มีความสุขอยางเหมาะสม K : Knowing : มีความรอบรู มีสติ เขาใจอยางถองแท เกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย เพื่อพัฒนาเด็ก ปฐมวัยเติบโตเปนคนดี มีวินัย มีปญญา มีความสุขอยางเหมาะสม I : Intend : มีความตั้งใจมุงมั่นในการจัดการศึกษาปฐมวัยสูการปฏิบัติเติบโตเปนคนดี มีวินัย มีปญญา มี ความสุขอยางเหมาะสม D : Develop : หมั่นพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยสูการปฏิบัติ เพื่อสงเสริมและพัฒนาเด็กปฐมวัยเติบโต เปนคนดี มีวินัย มีปญญา มีความสุขอยางเหมาะสม PLC : Professional Learning Community การรวมตัว รวมมือรวมใจ และรวมเรียนรูรวมกันของครู ผูบริหาร ผูปกครอง และโรงเรียน บนพื้นฐานความสัมพันธแบบกัลยาณมิตร มีวิสัยทัศน คุณคา เปาหมาย และ ภารกิจรวมกัน โดยทํางานรวมกันแบบทีมการเรียนรูที่มีครูเปนผูนํารวมกัน และผูบริหารเปนผูดูแลสนับสนุนสูการ เรียนรูและพัฒนาวิชาชีพเปลี่ยนแปลงคุณภาพตนเอง สูคุณภาพการจัดการเรียนรูที่เนนความสําเร็จหรือประสิทธิผล ของเด็กเปนสําคัญและความสุขของการทํางานรวมกันของสมาชิกในชุมชนการเรียนรู โดยครูสรางนวัตกรรมและ เทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน สําหรับเด็กปฐมวัย โรงเรียน ผูบริหาร ครู ผูปกครองและชุมชน รวมมือวางแผนใน การจัดการเรียนสอนที่ผานมาจนถึงปจจุบันนี้ดังนี้ ๑. การประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาอยางนอยภาคเรียนละ 4 ครั้ง ๒. การประชุมผูปกครองภาคเรียนละ 4 ครั้ง ๓. ผูปกครองพบครูประจําชั้นเรียนภาคเรียนละ 4 ครั้ง ๔. ประชุมผูบริหาร และครู ทั้ง on - line และ on - site สัปดาหละ 4 ครั้ง เพื่อกํากับและติดตาม ๕. ครูสอนทั้ง on - line และ on - site เพื่อใหเด็กไดเรียนรูและทบทวนในสิ่งที่เรียน โดยครูจัดกิจกรรมที่ สงเสริมการเรียนรูพัฒนาการทั้ง 4 ดานใหกับเด็ก โดยครูนําเทคโนโลยีมาใชในการจัดการเรียนการสอน P:Professional : ผูเชี่ยวชาญชํานาญ คือ ครูผูมีประสบการณ ฝกฝนจนเชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการ สอน ระดับปฐมวัย สามารถพัฒนาเด็ก ระดับปฐมวัยใหมีความรูและมีพัฒนาการทั้ง 4 ดาน ครบอยางสมบรูณ L:Learning : การแสวงหาความรูการแสวงหาความรูอยางนุมลึก เพื่อใหมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับ สงเสริมและพัฒนาใหเด็กปฐมวัยเติบโตเปนคนดี มีวินัย มีปญญา มีความสุขอยางเหมาะสม C:Community: ชุมชน คือ การรวมตัวของสมาชิก ไดแก ผูบริหาร ครู ผูปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษา เพื่อชวยพัฒนาเด็กใหมีพัฒนาการที่ดี ทั้ง 4 ดานครบบริบรูณ ๖


ประเมินผลกิจกรรมที่สอดคลองกับเปาหมาย จัดทําขอมูลสารสนเทศใหหนวยงานที่เกี่ยวของทุกระดับทราบ การจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรค ศิลปะมีประโยชนตอเด็กปฐมวัย ชวยสงเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ดาน คือ พัฒนาการดานรางกาย เด็กจะ ไดพัฒนารางกายในสวนหลัก ๆ คือ การทํางานประสานสัมพันธระหวางมือกับตา กลามเนื้อมัดเล็ก พัฒนาการทางดานอารมณ คือการไดชื่นชมและสรางสรรคสิ่งที่สวยงาม พัฒนาการทางดานสังคม คือ เด็ก ไดทํางานรวมกับผูอื่น รูจักรอคอยที่จะใชอุปกรณรวมกับผูอื่นและเรียนรูการแบงปน พัฒนาการทางดาน สติปญญา คือ การเรียนรูเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ รูปทรง ความกวาง ความยาว ความสูง ขนาด (เล็ก-ใหญ) พื้นผิว (เรียบ-ขรุขระ-หยาบ) เปนตน ๗


กิจกรรมศิลปะสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัย คือ กิจกรรมการวาดภาพระบายสี การเลนกับสีชนิด ตาง ๆ การฉีก ตัด ปะ และงานประดิษฐ ฯลฯ ตามที่กลาวมานี้ลวนแตเปนกิจกรรมที่สงเสริมการแสดงออก ทางความคิด ที่เด็กไดสํารวจและจัดทํากับวัตถุโดยตรง เด็กสามารถออกแบบ ตกแตง กับชิ้นงานไดอยาง อิสระ โดยแบงเปนประเภทกิจกรรมตาง ๆ ไดดังนี้ การปน คือกิจกรรมที่ใชวัตถุที่เปนดินน้ํามัน แปงโด ดินเหนียว โดยคลึงใหเปนเสน ปนเปนแผน ปนเปนกอน กลมหรือสี่เหลี่ยม ปนตามเรื่องราวไมวาจะเปนสัตว สิ่งของ ตามเรื่องเลาจากนิทานปนตามจินตนาการ การฉีก ตัด ปะ กระดาษ เปนกิจกรรมที่นํากระดาษตาง ๆ มาฉีก ตัดและ ปะติดลงบนกระดาษใหเกิดเปนภาพตาง ๆ ตาม จินตนาการ กระดาษที่ใชสําหรับฉีกไมควรแข็งหรือเหนียวเกินไป เชน กระดาษสีมัน กระดาษหนังสือพิมพ กระดาษนิตยสาร เปนตน การฉีก ตัด ปะกระดาษทําไดหลายวิธี ไดแก ฉีกกระดาษเปนชิ้นติดซอนเรียงกัน หรือฉีกกระดาษเปนชิ้นติดลงบนภาพที่กําหนดให ฉีกกระดาษตามรูปที่วาดไวใหแลวใหเด็กฉีกกระดาษที่ เปนสวนเกินออก ฉีกกระดาษเปนรูปทรงเรขาคณิต เชน สี่เหลี่ยม สามเหลี่ยม วงกลม ฉีกหรือตัดกระดาษ อิสระเปนรูปตามจินตนาการ งานพับกระดาษ เปนการประดิษฐกระดาษใหมีลักษณะเปนภาพ 3 มิติ ซึ่งกิจกรรมนี้จะมีความยากขึ้นมาเล็กนอย ซึ่ง เปนกิจกรรมที่ ตองอาศัยการทํางานประสานสัมพันธระหวางกลามเนื้อมือ ตาและนิ้วมือ พับกระดาษใหเปน ภาพ ตามขั้นตอนซึ่งลําดับขั้นตอนนั้นไมควรยากเกินความสามารถของเด็ก กิจกรรมการพิมพภาพ การพิมพภาพดวยสวนตาง ๆ ของรางกาย เชน นิ้วมือ ฝามือ แขน ขอศอก ฯลฯ การพิมพภาพจากวัสดุ ธรรมชาติตาง ๆ เชน พืช ผัก ผลไม ฯลฯ การพิมพภาพจากวัสดุเหลือใชตาง ๆ เชน หลอด ฝาน้ําอัดลม ขวดน้ํา ฯลฯ รวมถึงการพิมพภาพดวยการขยํากระดาษ การขูดสี เชน ใหเด็กวางกระดาษบนใบไมหรือ เหรียญ แลวใชสีขูดลอกลายออกมาเปนภาพตามวัสดุนั้น ๆ งานประดิษฐเศษวัสดุ เปนการรวบรวมเศษวัสดุเหลือใช เชน กลองนม เศษกระดาษ กระดาษหอของขวัญ แกนกระดาษทิชชู ฯลฯ มาประดิษฐเปนสิ่งตาง ๆ ตามแบบอยางหรือตามจินตนาการไดอยางอิสระ กิจกรรมวาดภาพและระบายสี เปนกิจกรรมการสรางภาพ 2 มิติที่เด็กเขียนลงไปดวยความรูสึกของตัวเองใหเปนลายเสน รูปรางหรือ ลวดลายตาง ๆ ออกมาตามจินตนาการ แทนการใชคําพูด กิจกรรมการเลนกับสีน้ํา เปนการนําสีน้ํา สีโปสเตอร หรือสีผสมอาหารมาละลายกับน้ํา เพื่อนํามาสรางสรรคผลงานศิลปะ เชน การเปาสี การหยดสี การเทสี หรือการกลิ้งสี เปนตน ศึกษารูปแบบของการจัดกิจกรรม ๑. ระดมความคิด หาสาเหตุที่มาของปญหาและความความสําคัญ ๒. วัตถุประสงค (K P A) ๒.๑ ดานความรู (Knowleadge) ๘


๒.๒ ดานกระบวนการปฏิบัติ (Process) ๒.๓ ดานเจตคติ (Attitude) ๓. ปญหา ๔. สาเหตุของปญหา ๕. วิธีการแกไขปญหา ๖. หลักธรรมที่นํามาใช ๗. วิธีการวัดและประเมิน ขั้นที่ ๒ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู (Do) ขั้นตอนการออกแบบกิจกรรมศิลปะสรางสรรคมีขั้นตอนดังนี้ ๑. ขั้นตอนการนําเขาสูบทเรียน ๒. ขั้นตอนการเรียนรูโดยใชแผนการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคระดับชั้นอนุบาล ๓ ๓. ขั้นตอนการประเมินผลความสําเร็จทางการเรียนของผูเรียน ๔. วัดผลและประเมินผล วิธีวัดผล - สังเกตพฤติกรรมดานความซื่อสัตย สุจริต - สังเกตพฤติกรรมดานความรับผิดชอบ - สังเกตพฤติกรรมดานความพอเพียง เครื่องมือ - แบบสังเกตพฤติกรรมดานความซื่อสัตย สุจริต - แบบสังเกตพฤติกรรมดานความรับผิดชอบ - แบบสังเกตพฤติกรรมดานความพอเพียง นอกจากนี้ไดมีการดําเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ไดดําเนินการขับเคลื่อนอยางตอเนื่องโดยเฉพาะ การทําโครงงานไดดําเนินการตั้งแตปการศึกษา ๒๕๖๓ ซึ่งขณะนี้มีทั้งหมด ๓ โครงงาน ดังตอไปนี้ ตารางที่ ๑ แสดงคุณธรรมเปาหมายและโครงงานคุณธรรม คุณธรรมเปาหมาย โครงงานคุณธรรม ผูรับผิดชอบ Honesty: ความซื่อสัตยสุจริต ๑. หนูนอยมีวินัย นักเรียนชั้นอนุบาล ๓ Accountability: ความรับผิดชอบ ๒. ออมวันละนิด นักเรียนชั้นอนุบาล ๓ Sufficiency: ความพอเพียง ๓. โครงการผักสงวนครัวรั้วกินได นักเรียนชั้นอนุบาล ๓ ขั้นที่ ๓ ตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู( Check) ดานความสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรูเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรูสื่อการสอน การวัดและ ประเมินผล โดยผานกระบวนการ PLC ขั้นที่ ๔ ปรับปรุง (Action) ปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรูกิจกรรมศิลปะสรางสรรคตามที่ผูเชี่ยวชาญใหคําแนะนํา ๙


ขั้นที่ ๕ นําไปใช เมื่อจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ เพื่อสงเสริมคุณธรรมดานความรับผิดชอบ ความซื่อสัตยสุจริต และ ความพอเพียงแลว จึงนําไปใชจัดการเรียนการสอนในหองเรียนระดับชั้นอนุบาล 3 ตามขั้นตอนของ กระบวนการนวัตกรรม โดยควบคุมใหเปนไปตามขอกําหนดของนวัตกรรม นําผลการดําเนินงานตามขั้นตอน ของนวัตกรรมไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ ซึ่งหากพบวาผลการใชนวัตกรรมไมเหมาะสมจะเขาสูการปรับปรุง แกไขตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญตอไป จากการจากการสงเสริมการใชนวัตกรรม PLC และเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ภายใต“Pakklong Kid Model” ของโรงเรียนบานปากคลองโรงนาค ทําใหเกิดผลดังนี้ ๑.เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง ๔ ดานที่เหมาะสมตามวัย และ มีความรู ความเขาใจในการปฏิบัติตนตาม สถานการณยุคปจจุบันตามศักยภาพของแตละบุคคล ๒. ครูผูสอน ผูปกครอง ชุมชนและหนวยงานภายนอกที่เกี่ยวของกับโรงเรียนบานปากคลองโรงนาค เขาใจ เขาถึงและรวมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับปฐมวัยใหถูกตองตามหลักการจัดการศึกษามีความ ยั่งยืน และมีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับปฐมวัย ไมนอยกวารอยละ๘๕ ๓. โรงเรียนบานปากคลองโรงนาค มีเครือขายครูผูสอน ผูเรียน ผูปกครอง ชุมชนและหนวยงาน ภายนอกในตําบลอางศิลา มีสวนรวมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัยใหถูกตองตามหลักการจัดการศึกษา ผลการประเมินผลพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ปการศึกษา ๒๕๖๔ ที่ไดเขารับการประเมิน จํานวน ๙๗ คน มีผล การประเมินดังนี้ พัฒนาการ ผลการประเมินพัฒนาการ ดี พอใช ควรเสริม จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ ดานรางกาย 96 ๙8.67 1 1.33 - - ดานอารมณและจิตใจ 93 ๙5.88 4 4.12 - - ดานสังคม 96 ๙8.67 1 1.33 - - ดานสติปญญา 93 ๙5.88 4 4.12 - - รวม 97.28 2.72 - จากตารางแสดงคารอยละของผลการประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย ประจําปการศึกษา ๒๕๖๔ โรงเรียนบานปากคลองโรงนาค พบวา - ดานรางกาย ระดับดี รอยละ ๙8.67 ระดับพอใช รอยละ 1.33 ไมมีระดับควรเสริม - ดานอารมณ – จิตใจ ระดับดี รอยละ 95.88 ระดับพอใช รอยละ 4.12 ไมมีระดับควรเสริม - ดานสังคม ระดับดี รอยละ ๙8.67 ระดับพอใชรอยละ 1.33 ไมมีระดับควรเสริม - ดานสติปญญา ระดับดี รอยละ 95.88 ระดับพอใช รอยละ 4.12 ไมมีระดับควรเสริม - รวมเฉลี่ย ระดับดี รอยละ ๙7.28 ระดับพอใช รอยละ 2.72 ไมมีระดับควรเสริม สรุปสิ่งที่เรียนรูและการปรับปรุงใหดีขึ้น จากการสงเสริมการใชนวัตกรรม PLC และเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ภายใต“Pakklong Kid Model” สงผลใหผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน ผูปกครอง ชุมชนและหนวยงานภายนอกมีสวนรวมในการพัฒนา ๑๐


คุณภาพการศึกษาในระดับปฐมวัย โดยมีการสรางเครือขายในการแลกเปลี่ยนเรียนรูและแสดงความคิดเห็นในการ สงเสริม พัฒนา สนับสนุนการจัดการศึกษาปฐมวัย จนเกิดความนาเชื่อถือ และตรวจสอบไดอยางเปนรูปธรรม ที่ เนนการรวมแรงรวมใจ สามัคคี ในกิจกรรม สงเสริมการใชนวัตกรรม PLC และเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ระดับปฐมวัยของโรงเรียนบานปากคลองโรงนาค ใหพัฒนาตอไป จนสงผลทําใหโรงเรียนบานปากคลองโรงนาค เปนโรงเรียนปฐมวัยยุคใหม ที่เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง ๔ ดานเหมาะสมตามวัยของเด็กแตละคน เพื่อสราง รากฐานใหเด็กในการดํารงชีวิตอยางพอเพียง และอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุขในอนาคตตอไป ๑. สถานศึกษา ชุมชน และผูปกครองมีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในการจัดประสบการณการเรียนรูสําหรับ เด็กปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสูการปฏิบัติที่เลิศ โดยมีการสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัด การศึกษาปฐมวัยอยางเปนรูปธรรมที่สงเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ดานเหมาะสมตามวัยของเด็กแตละคน เพื่อสราง รากฐานใหเด็กในการดํารงชีวิตอยางพอเพียง และอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุขของ ตลอดจนใหการ สงเสริมดานตาง ๆ เชน การสนับสนุนงบประมาณ องคความรู อุปกรณตาง ๆ เปนตนในการจัดกิจกรรรมใหกับ เด็กปฐมวัย ๒. ครูและบุคลาการทางศึกษาปฐมวัย มีความรู ความเขาใจตอการสงเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ดาน เหมาะสมตามวัยของเด็กแตละคน เพื่อสรางรากฐานใหเด็กในการดํารงชีวิตอยางพอเพียง และอยูรวมกันในสังคม ไดอยางมีความสุขนําสูการจัดประสบการณเรียนรูภายในหองเรียน โดยเนนการปฏิบัติหรือการลงมือกระทําใน ชีวิตประจําวันอยางเหมาะสมกับวัย ตลอดจนการเปนแบบอยางที่ดีใหเด็ก ๓. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง ๔ ดานเหมาะสมตามวัยของเด็กแตละคน เพื่อสรางรากฐานใหเด็กในการ ดํารงชีวิตอยางพอเพียง และอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข สรุปสิ่งที่เรียนรูและการปรับปรุงใหดีขึ้น จากการสงเสริมการใชนวัตกรรม PLC และเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ภายใต “Pakklong Kid Model” สงผลใหผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน ผูปกครอง ชุมชนและหนวยงานภายนอกมีสวนรวมในการพัฒนา คุณภาพการศึกษาในระดับปฐมวัย โดยมีการสรางเครือขายในการแลกเปลี่ยนเรียนรูและแสดงความคิดเห็นในการ สงเสริม พัฒนา สนับสนุนการจัดการศึกษาปฐมวัย จนเกิดความนาเชื่อถือ และตรวจสอบไดอยางเปนรูปธรรม ที่ เนนการรวมแรงรวมใจ สามัคคี ในกิจกรรม สงเสริมการใชนวัตกรรม PLC และเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ระดับปฐมวัยของโรงเรียนบานปากคลองโรงนาค ใหพัฒนาตอไป จนสงผลทําใหโรงเรียนบานปากคลองโรงนาค เปนโรงเรียนปฐมวัยยุคใหม ที่เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง ๔ ดานเหมาะสมตามวัยของเด็กแตละคน เพื่อสราง รากฐานใหเด็กในการดํารงชีวิตอยางพอเพียง และอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุขในอนาคตตอไป ๑. สถานศึกษา ชุมชน และผูปกครองมีบทบาทสําคัญอยางยิ่งในการจัดประสบการณการเรียนรูสําหรับ เด็กปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสูการปฏิบัติที่เลิศ โดยมีการสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัด การศึกษาปฐมวัยอยางเปนรูปธรรมที่สงเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ดานเหมาะสมตามวัยของเด็กแตละคน เพื่อสราง รากฐานใหเด็กในการดํารงชีวิตอยางพอเพียง และอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุขของ ตลอดจนใหการ สงเสริมดานตาง ๆ เชน การสนับสนุนงบประมาณ องคความรู อุปกรณตาง ๆ เปนตนในการจัดกิจกรรรมใหกับ เด็กปฐมวัย ๒. ครูและบุคลาการทางศึกษาปฐมวัย มีความรู ความเขาใจตอการสงเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ดาน เหมาะสมตามวัยของเด็กแตละคน เพื่อสรางรากฐานใหเด็กในการดํารงชีวิตอยางพอเพียง และอยูรวมกันในสังคม ๑๑


ไดอยางมีความสุขนําสูการจัดประสบการณเรียนรูภายในหองเรียน โดยเนนการปฏิบัติหรือการลงมือกระทําใน ชีวิตประจําวันอยางเหมาะสมกับวัย ตลอดจนการเปนแบบอยางที่ดีใหเด็ก ๓. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทั้ง ๔ ดานเหมาะสมตามวัยของเด็กแตละคน เพื่อสรางรากฐานใหเด็กในการ ดํารงชีวิตอยางพอเพียง และอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข 4. ผลการดําเนินงาน/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนที่ไดรับ ผลที่เกิดตามจุดประสงค ๑. นักเรียนมีความตระหนักและเห็นความสําคัญของการซื่อสัตย สุจริต ๒. นักเรียนมีความรับผิดชอบผลงานของตนเอง มีความตั้งใจเพียรพยามในการเรียนและการ ปฏิบัติงาน ๓. นักเรียนมีความพอเพียง พอประมาณดํารงชีวิตในประจําวันได ผลที่เกิดขึ้นกับเด็ก เด็กมีการพัฒนาตนเองตามหลักคุณธรรมและมีความรูในการลงมือปฏิบัติ สงผลให นักเรียนมีความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย มีความตั้งใจและกระตือรือรนในการทํางาน ทํางานเสร็จและ สงงานตามเวลา รูจักชวยเหลือเพื่อนในหองเรียน รูจักใชสิ่งของอยางประหยัดใชสิ่งของที่มีอยูอยางคุมคา ตลอดจน รูจักวิธีการปลูกผักสวนครัวและนําผักที่ปลูกมาประกอบอาหารซึ่งจะชวยลดรายจายในครอบครัวได และผูเรียนได ลงมือทํากิจกรรมดวยตนเอง นอกจากนี้ยังมีคุณลักษณะอันพึงประสงค มีพฤติกรรมบงชี้ทางบวกเพิ่มขึ้น ผลที่เกิดกับครูครูไดมีการพัฒนาตนเองอยูเสมอ หมั่นศึกษาหาความรูอยูตลอดเวลาเพื่อใหรูเทาทัน เหตุการณ ทําหนาที่ที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถ เปนแบบอยางที่ดีใหนักเรียน ใชจายอยางประหยัด แตงกายถูกตองตามระเบียบและขอตกลงของโรงเรียน มีการพัฒนาตนเองในดานการจัดการเรียนการสอนให สอดคลองกับคุณธรรม มีน้ําใจตอเพื่อนครูดวยกัน รวมถึงมีการสรางเครือขายรวมกันภายในโรงเรียนและหนวยงาน อื่น สงผลใหครูไดรับความไววางใจจากผูปกครองและชุมชน ผลที่เกิดขึ้นกับผูปกครอง จากการที่นักเรียนมีการพัฒนาตนเองตามหลักคุณธรรม สงผลใหโรงเรียนไดรับ เสียงสะทอนจากผูปกครองวาบุตรหลานมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางที่ดีขึ้น มีความรับผิดชอบ ทํางานที่ ไดรับมอบหมายโดยผูปกครองไมตองคอยเตือนรูจักประหยัดอดออม ทํางานบานชวยผูปกครอง และรูจักใชสิ่งของ อยางรูคุณคามากขึ้น ประโยชนที่ไดรับ ในการดําเนินงานนวัตกรรมสรางสรรคคนดีไดใชวงจรคุณภาพ PDCA (วงจรเดมมิ่ง) สิ่งสําคัญที่จะทําให การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมนักเรียนประสบผลสําเร็จไดนั้น ครูเปนบุคคลสําคัญในการขับเคลื่อนนวัตกรรมนี้ จาก การที่ไดแลกเปลี่ยนเรียนรู (PLC) เปนแนวทางในการพัฒนาคุณธรรมใหนักเรียนมีความตระหนัก และปฏิบัติงานที่ ไดรับมอบหมายดวยตนเอง สามารถลงมือกระทําดวยตนเองโดยที่ครูคอยใหคําแนะนําและใหคําปรึกษา มี พฤติกรรมเชิงบวกมากขึ้น สามารถนําความรูที่ไดไปเผยแพรตอคนอื่นได และนักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค พัฒนาตนเองตามคุณธรรม เกิดเปนความประพฤติที่ดีงามเปนประโยชนตอตนเอง ๕. ปจจัยไปสูความสําเร็จ ๑. มีการวางแผนงานที่ดีเนนความมีสวนรวมในการทํากิจกรรม ทําใหการดําเนินงานในทุกกิจกรรมเปน ระบบ มีการโดยประชุมผูเกี่ยวของ อาทิ ผูปกครอง ตัวแทนชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ครู นักเรียน สงเสริม สนับสนุน สูการวางแผนโดยกําหนดวัตถุประสงค เปาหมาย กระบวนการ วิธีวัดผล ประเมินผล เครื่องมือวัดผล งบประมาณอยางชัดเจน เปนขั้นตอน ๑๒


๒. บทบาทของผูสอนในการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคจัดใหผูเรียนเปนศูนยกลางของการเรียนการ สอน กิจกรรมตองสะทอนความตองการในการพัฒนาผูเรียนและเนนการนําไปใชประโยชนในชีวิตจริงของผูเรียน มี การสรางบรรยากาศของการมีสวนรวม และการเจรจาโตตอบที่สงเสริมใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธที่ดีกับผูสอนและ เพื่อนในชั้นเรียน จัดสภาพการเรียนรูแบบรวมมือ สงเสริมใหเกิดการรวมมือในกลุมผูเรียน กิจกรรมการเรียนการ สอนใหทาทาย และใหโอกาสผูเรียนไดรับวิธีการสอนที่หลากหลาย ๓. บทบาทของผูเรียนในการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคผูเรียนไมไดเปนผูนั่งฟงผูสอนบรรยายอยาง เดียว แตเปนผูที่มีบทบาทสําคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมเพื่อใหเกิดการเรียนรู ดังนี้มีความรับผิดชอบ ใหความ รวมมือกับผูสอนในการจัดการเรียนรู มีสวนรวมในการทํากิจกรรม และมีความกระตือรือรนที่จะเรียนรูไดลงมือ ปฏิบัติ ในสถานการณจริงดวยตนเองเพื่อใหเกิดการเรียนรูดวยตนเอง ๔. บทบาทของผูปกครอง ผูปกครองตองมีความตระหนักในการพัฒนานักเรียนใหมีคุณธรรม ใหความ รวมมือกับครูผูสอน มีสวนรวมในการเรียนการสอนคอยกระตุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูดวยตนเอง ๕. ความพรอมดานงบประมาณในการจัดกิจกรรม การจัดหาวัสดุอุปกรณใหเพียงพอกับนักเรียนเพื่อให นักเรียนไดลงมือทําดวยตนเองซึ่งจะทําใหนักเรียนเกิดกระบวนการอารเรียนรูดวยตนเอง ๖. ความรวมมือจากทุกฝาย ทั้งบุคคลภายในโรงเรียนที่เปนฝายปฏิบัติ ไดแก ครู นักเรียน บุคลากร บุคคลภายในอกซึ่งเปนฝายสนับสนุน ไดแก วัด ผูปกครอง ชุมชน เปนตน ๖. บทเรียนที่ไดรับ (Lesson Learned) การจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคสําหรับเด็กปฐมวัยผูจัดตองยึดเด็กเปนสําคัญใหนักเรียนไดเปนผูศึกษา คนควา ลงมือปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง โดยมีครูเปนผูคอยดูแลอํานวยความสะดวกและใหคําแนะนําในการทํา กิจกรรม ซึ่งจะทําใหนักเรียนบรรลุผลสําเร็จในการเรียนและนักเรียนเกิดความเขาใจ เขาถึงคุณธรรม แลวนําไป ปฏิบัติ นักเรียนไดพัฒนาพฤติกรรมใหดีขึ้น และบูรณาการสูการพัฒนาดานอื่นๆ ตอไป ๗. การเผยแพร/การไดรับการยอมรับ/รางวัลที่ไดรับ ๗.1 จัดนิทรรศการแสดงผลงานดานศิลปะระดับปฐมวัย และเผยแพรลงในโซเซียล เชน LINE /FACEBOOK แผนกปฐมวัย โรงเรียนบานปากคลองโรงนาค ประชาสัมพันธโรงเรียน ในการประชุมผูปกครอง และการจัดกิจกรรมเปดบานวิชาการ (Open House) ๗.2 จัดทํา POWER POINT นําเสนอผลงานดีเดนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมสรางสรรคโดยใชสื่อที่ หลากหลาย เพื่อพัฒนากลามเนื้อเล็กสําหรับเด็กปฐมวัยใหกับเพื่อนครูปฐมวัยรับฟงในการประชุม PLC ของ โรงเรียนบานปากคลองโรงนาคและผูมาศึกษาดูงานของโรงเรียนบานปากคลองโรงนาค ๗.๓ มีการขยายผลและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมกัน ดานการจัดประสบการณการเรียนรูสําหรับเด็ก ปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสูการปฏิบัติที่เลิศ โดยมีการสรางความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการจัด การศึกษาปฐมวัยอยางเปนรูปธรรมที่สงเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ดานเด็กปฐมวัยดวยศิลปะสรางสรรคผาน กระบวนการเลนและเรียนรูมุงสูคุณภาพเด็กปฐมวัยโรงเรียนบานปากคลองโรงนาค ตอโรงเรียนตาง ๆ ใกลเคียงที่ จัดการศึกษาระดับปฐมวัยในเครือขายและนอกเครือขายพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย ๑๓


๗.๔ ทางกลุม Line ชองการจัดการความรู กลุมโรงเรียน กลุมผูปกครองนักเรียน ระดับปฐมวัย ๑๔


๗.๕ ทาง Facebook ผานเพจของโรงเรียนบานปากคลองโรงนาค และฝายปฐมวัยวัย โรงเรียนบานปากคลอง โรงนาค การไดรับการยอมรับ/ รางวัลที่ไดรับ ๑. โรงเรียน โรงเรียนบานปากคลองโรงนาคไดรับความรวมมือ การยอมรับ และศรัทธาจากผูปกครองนักเรียนชุมชนที่ มีตอโรงเรียนในการสงบุตรหลานเขาเรียนระดับปฐมวัยสงผลใหโรงเรียนมีจํานวนนักเรียนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งป การศึกษา ๒๕๖๒ ถึงปจจุบัน ชั้นเรียน ป ๒๕๖๒ ป ๒๕๖๓ ป ๒๕๖๔ ป๒๕๖๕ ชาย ชาย ชาย ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชั้นอนุบาล ๑ ๙ ๑๓ ๒๒ ๑๔ ๑๐ ๒๔ ๑๑ ๑๑ ๒๒ ๖ ๑๓ ๑๙ ชั้นอนุบาล ๒ ๑๔ ๑๖ ๓๐ ๑๕ ๒๑ ๓๖ ๑๕ ๗ ๒๒ ๑๓ ๑๒ ๒๕ ชั้นอนุบาล ๓ ๑๔ ๗ ๒๑ ๑๔ ๑๗ ๓๑ ๑๘ ๑๗ ๓๕ ๑๖ ๑๑ ๒๗ รวมทั้งสิ้น ๓๗ ๓๖ ๗๓ ๔๓ ๔๘ ๙๑ ๔๓ ๔๘ ๙๑ ๓๕ ๓๖ ๗๑ ๒. ครูและบุคลากรทางศึกษา ครูและบุคลากรทางศึกษา ระดับปฐมวัย โรงเรียนบานปากคลองโรงนาคไดรับยอมรับจาก ผูปกครองในการสงบุตรหลานเขาเรียนระดับปฐมวัย และเพื่อนครู สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชลบุรี เขต ๑ ในการเขาเปนคณะทํางานระดับปฐมวัย ตลอดจนเปนวิทยากรในการอบรมเชิงปฏิบัติการระดับ ปฐมวัยอยางตอเนื่อง ๓. เด็กปฐมวัย เด็กปฐมวัยของโรงเรียนบานปากคลองโรงนาค มีการเคารพตัวเองและผูอื่น มีความรับผิดชอบ มี อิสระทางความคิด มีทักษะความรวมมือ และมีความซื่อสัตยสุจริต บนพื้นฐานการอบรมเลี้ยงดูและสงเสริม พัฒนาการทั้ง ๔ ดานเด็กปฐมวัยดวยศิลปะสรางสรรคผานกระบวนการเลนและเรียนรูโดยเด็กรูจักสังเกตและ แสดงออกตามความถนัด ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนเด็กไดผอนคลายอารมณใหราเริงแจมใส และทํางานรวมกับ ๑๕


ผูอื่นไดและอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข ทําใหไดรับรางวัลตาง ๆ จากการแขงทักษะทางวิชาการระดับ ปฐมวัยทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดและโรงเรียน ๘. เงื่อนไขความสําเร็จ ความสําเร็จของการสงเสริมพัฒนาการทั้ง ๔ ดานเด็กปฐมวัยดวยศิลปะสรางสรรคผานกระบวนการเลน และเรียนรู ทําใหเด็กมีพัฒนาการที่ดีขึ้นและเปนที่ยอมรับของผูปกครอง และชุมชนเกิดจากปจจัย ดังนี้ 7.1 โรงเรียนบานปากคลองโรงนาคมีการกําหนดเปาหมายในการพัฒนาเด็กปฐมวัยอยางชัดเจน โดย มุงเนนพัฒนาการทั้ง ๔ ดานของเด็กปฐมวัยไดอยางเหมาะสมตามวัย เปดโอกาสใหเด็กไดลงมีทําดวยตนเองอยาง สรางสรรค สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมในการอยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข 7.๒ ดานการจัดการเรียนการสอน ไดรับการสงเสริมจากเพื่อนรวมงาน เปนที่ปรึกษา คอยใหกําลังใจและ ใหคําแนะนําในการออกแบบสื่อนวัตกรรม 7.๓ ชุมชน ประกอบดวยผูปกครอง ผูนําชุมชน คณะกรรมการสถานศึกษาและหนวยงานที่เกี่ยวของให เปนที่ยอมรับ มีความศรัทธาและใหการสนับสนุนดานงบประมาณในการพัฒนาโรงเรียน ตลอดจนมีสวนรวมในการ จัดการศึกษาปฐมวัย 7.๔ บรรยากาศภายในโรงเรียนเอื้อตอความสําเร็จ สงเสริมความคิดสรางสรรคตามจินตนาการใหเด็กรูจัก สังเกตและแสดงออกตามความถนัด ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนเด็กไดผอนคลายอารมณใหราเริงแจมใส และ ทํางานรวมกับผูอื่นได พัฒนาความมั่นใจ กลาแสดงออกและสงเสริมการใชภาษาในการอธิบายเกี่ยวกับผลงานของ ตนเอง ๑๖


ภาคผนวก ๑๗


- รางวัลที่ไดรับ จากการดําเนินการการจัดการศึกษาปฐมวัย ดานการจัดประสบการณการศึกษาปฐมวัย (ดาน ผูสอน) สูการปฏิบัติ สงผลใหขาพเจาไดรับรางวัลจากการแขงขันเกี่ยวกับการจัดประสบการณการศึกษา ปฐมวัย ทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัด และโรงเรียน ดังนี้ รางวัลชนะเลิศ ระดับปฐมวัย การประกวดแผนการสอนและสื่อการสอน โครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรม ๑๘


- รางวัลครูผูสอนนักเรียนไดรับรางวัลชนะเลิศ การแขงขันระบายสีภาพ ระดับชั้นอนุบาลศึกษาปที่ ๓ - รางวัลครูผูฝกสอนนักเรียนรวมกิจกรรมเตนประกอบเพลง หัวขอ อากาศดีด ไมมีควันบุหรี่ เนื่องในวันงดสูบ บุหรี่โลก ประจําปการศึกษา ๒๕๖๕ ๑๙


- รางวัลเชิดชูเกียรติสําหรับผูบริหาร ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่มีผลงานดานนวัตกรรมการ สอน ระดับปฐมวัย เนื่องในกิจกรรมวันครูแหงชาติประจําป๒๕๖๕ - รางวัลเชิดชูเกียรติ คุรุสดุดี ระดับสถานศึกษา สําหรับผูบริหาร ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ ปฏิบัติงานตามจรรยาบรรณวิชาชีพในระดับ ดีเดน เนื่องในกิจกรรมวันครูแหงชาติประจําป๒๕๖๕ ๒๐


- รางวัลไดรางวัลเหรียญทอง จากการประกวดคัดเลือกสถานศึกษาที่ปฏิบัติเปนเลิศ (Best Practices) ดานการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย - รางวัลไดรางวัลระดับเหรียญเงิน หนึ่งโรงเรียน หนึ่งนวัตกรรม ประจําป ๒๕๖๕ ๒๑


โรงเรียนผานการประเมินรับตราพระราชทานรอบที่ ๓ โครงการ“บานนักวิทยาศาสตรนอย ประเทศไทย” (ปการศึกษา ๒๕๖3 – ๒๕๖7) ตามพระราชดําริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - นักเรียนไดรับรางวัล จากกิจกรรมเตนประกอบเพลง หัวขอ อากาศดีด ไมมีควันบุหรี่ เนื่องในวันงดสูบบุหรี่ โลก ประจําปการศึกษา ๒๕๖๕ ๒๒


ภาพประกอบการพิจารณาสงเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสรางสรรคคนดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ๒๓


ภาพประกอบการพิจารณาสงเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสรางสรรคคนดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ๒๔


ภาพประกอบการพิจารณาสงเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสรางสรรคคนดี “โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.” ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ๒๕


บรรณานุกรม สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๖๐). แผนการศึกษาแหงชาติพ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙. (พิมพครั้งที่ ๒). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟค. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (๒๕๖๒). มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแหงชาติNational Standard for Early Childhood Care, Development and Education Thailand. กรุงเทพฯ: พริกหวาน กราฟฟค. สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๒). รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพคณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๖๑). คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ สําหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ป. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๓ โรงเรียนบานปากคลองโรงนาค ตามหลักสูตร การศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ (สําหรับเด็กอายุ ๓ – ๖ ป) กุลยา ตันติผลาชีวะ.รูปแบบการเรียนการสอนปฐมวัยศึกษา.-กรุงเทพฯ: เบรน-เบส บุค, ๒๕๕๑ บทความครูแหมม การจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรค สําหรับเด็กปฐมวัย© 2022 YOUNGCIETY. ALL RIGHTS RESERVED. . ๒๖


Click to View FlipBook Version