The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสารสัตวบาล ปีที่ 30 ฉบับที่ 126 ประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วารสารสัตวบาล, 2020-08-12 02:54:40

วารสารสัตวบาล ปีที่ 30 ฉบับที่ 126 ประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2563

วารสารสัตวบาล ปีที่ 30 ฉบับที่ 126 ประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2563

วารสาร สัตวบาล 1

2 วารสาร สัตวบาล

วารสาร สัตวบาล 3

วารสารสัตวบาล ปที่ 30 ฉบับท่ี 126 ประจำเดือน เมษายน - มถิ นุ ายน พ.ศ. 2563
ปหนูปวนกวนประสาท ส่ิงท่ีไมเคยคาดคิดวาจะเกิด ก็เกิดข้ึนไดคือ การระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำเอาปนปวนไปท้ังโลก เม่ือสิ้นสุดเดือนมิถุนายน
2563 มผี ูติดเชอื้ ทว่ั โลก รวม 210 ประเทศ จำนวน 10,426,075 ราย เสียชวี ติ 508,515 ราย
โดยประเทศทม่ี จี ำนวนผปู ว ยยนื ยนั 5 อนั ดบั แรก ไดแ ก สหรฐั อเมรกิ า 2,681,811 ราย บราซลิ
1,370,488 ราย รัสเซีย 647,849 ราย อินเดีย 568,315 ราย สหราชอาณาจักร 311,965 ราย
สว นประเทศไทย พบผปู ว ยยนื ยนั ตดิ เชอื้ จำนวน 3,171 ราย รกั ษาหายและแพทยใ หก ลบั บา น
3,059 ราย ผปู วยยนื ยนั ท่เี สียชวี ิต 58 ราย

จากวิกฤตของเจาไวรัสรายตัวน้ีก็คือ ไดสงผลกระทบตอเศรษฐกิจอยางมหาศาลที่
ทำใหคนตองตกงานเปนจำนวนมากในเวลาอันส้ัน ซึ่งสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแหง ชาติ ไดเ ปด เผยถงึ อตั ราการวางงานของคนไทยในชวงไตรมาส 1 ของป 2563
วา พิษโควิด-19 ทำใหคนเสี่ยงตกงาน 8.4 ลานคน ขณะที่ศูนยวิจัยกสิกรไทย มองวา
การตกงานจะมอี ตั ราสงู สดุ ในไตรมาส 2 ในชว งครง่ึ หลงั ของปน ้ี โดยกลมุ ทเ่ี สย่ี งตกงาน ไดแ ก
แรงงานในภาคการทองเท่ียว (ไมรวมสาขาการคาสง และการคาปลีก) จะไดรับผลกระทบ
ประมาณ 2.5 ลา นคน แรงงานในภาคอตุ สาหกรรม คาดวา จะมคี นวางงาน 1.5 ลานคน และ
การจางงานในภาคบริการอ่ืนท่ีไมใชการทองเที่ยว ในกลุมนี้คาดวา จะมีผูไดรับผลกระทบ
ประมาณ 4.4 ลา นคน ในสว นภาคเกษตร คาดวา จะไดร บั ผลกระทบจากภยั แลง รวม 6 ลา นคน
แบงเปน ในพ้นื ท่ที ี่เกิดภยั แลง 3.9 ลานคน และพ้นื ทอ่ี ืน่ ๆ 2.1 ลา นคน แตจากวกิ ฤตก็กลับมา
เปน โอกาสไดใ นภาคปศสุ ตั ว โดยเฉพาะสกุ ร ซงึ่ สมาคมผเู ลย้ี งสกุ รแหง ชาติ มองสถานการณ
โควดิ ของสหรฐั ฯ นา หว ง โดยทส่ี หรฐั ฯ ตอ งปด โรงฆา สตั วแ ละโรงงานแปรรปู มากถงึ 97 แหง
ทง้ั โรงชำแหละหมู 25 แหง โรงชำแหละไก 34 แหง โรงชำแหละววั 38 แหง ปรมิ าณเนอื้ สตั ว
ทห่ี ายไปกระทบกบั ปรมิ าณอาหารในสหรฐั ฯ และกระทบปรมิ าณอาหารโลก ขณะทโ่ี รค ASF
กระทบอตุ สาหกรรมหมทู ง้ั ภมู ภิ าคเอเชยี หลายประเทศขาดแคลนหนกั สง ผลราคาหมพู งุ ขน้ึ
ชี้หมูไทยปลอดโรค ASF ตลาดมีความตองการ จึงเปนโอกาสทองของการสงออกหมู
สำหรบั ในสว นของไกเนอ้ื จากการประเมินสถานการณโ ควิด-19 ตอความตอ งการสินคา ไก
ของไทยในตลาดโลก โดยพบวาความตองการสนิ คาเนื้อไกแ ละผลติ ภัณฑข องไทยจะมีเพิ่ม
มากขึ้น ซ่ึงไทยถือเปนผูผลิตไกเน้ือรายใหญของโลกอันดับ 8 ดวยกำลังการผลิต 2.8
ลา นตนั ตอ ปและเปน ผนู ำดา นการสง ออกเปน อนั ดบั 4ของโลกถอื วา ผลติ ไดเ กนิ ความตอ งการ
บรโิ ภคในประเทศ ทง้ั นยี้ งั มปี จ จยั บวกในตลาดจนี ทเ่ี ปน ตลาดสง ออกอนั ดบั 3 รองจากญปี่ นุ
และสหภาพยุโรป (อียู) ท่ีคาดวาปนี้จะสงออกไปจีนไดเพิ่มขึ้นอีก 35,000 - 40,000 ตัน
ขณะเดยี วกนั ทป่ี ระเทศเยอรมนั ไดต รวจพบพนกั งานของบรษิ ทั ทอนนสี  (Toennies) ซงึ่ เปน
โรงฆาสัตวแ ละแปรรูปเนือ้ สัตวร ายใหญป ระเทศ ตดิ เช้อื ไวรสั โควดิ -19 จำนวน 1,029 ราย

สดุ ทา ยขอใหพ นี่ อ งชาวสตั วบาล...จง...ส.ู ..ส.ู ..ส.ู ..
เพื่ออุดมการณใน “วิชาชีพสัตวบาล” ของพวกเรา...
ครับ...!!!

สวัสดคี รับ
ผศ.ไพบูลย ใจเดด็
[email protected]
โทร. 081-8743313

4 วารสาร สัตวบาล

ปท ่ี 30 ฉบบั ที่ 126 ประจำเดือน เมษายน-มถิ ุนายน พ.ศ. 2563

สารบัญContents

อตั ราคา ประชาสมั พันธ 6 การเลี้ยงไกเนื้อเชิงอุตสาหกรรม
16 (Industrial Broiler Management)
"วารสารสตั วบาล"
โคนม-เนอื้ : เพ่ิมกำไรใหฟารม โคนม และชว ยแกป ญหา
รูปแบบ e-magazine
ปกหนา กรอบลาง 3,500 บาท/คร้งั 26 การขาดเนอ้ื คณุ ภาพสงู ของประเทศ
ปกหนา ดา นใน 2,500 บาท/ครงั้ การใชมันเสนรวมกับน้ำมันปาลมดิบเพ่ือทดแทนขาวโพดใน
ปกหลังดานใน 2,000 บาท/ครง้ั
ปกหลังดา นนอก 2,000 บาท/ครัง้ 31 สูตรอาหารไกไขตอสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข
ในเลม เตม็ หนา 1,500 บาท/ครง้ั ผลของการใชเทคโนโลยีความดันสูงเพื่อยืดอายุการ
เก็บรักษาเนื้อหมูแชเย็น

42 รูปแบบจีโนไทปของยีน GHR ในโคลูกผสมพื้นเมืองไทย
50 กิจกรรมสมาคม

- คณะกรรมการบรหิ ารสมาคมสตั วบาลแหง ประเทศไทยฯ
ชแ้ี จง พระราชบญั ญตั วิ ชิ าชพี การสตั วบาล

- รายงานความกาวหนา พระราชบัญญัติวิชาชีพ

53 การสัตวบาล พ.ศ. ...........
ประชาสัมพันธ
- เบทาโกรยกระดบั ความใสใ จรับวิถีชวี ิต นวิ นอรมอล
ผานโครงการ BETAGRO #recover19
- “แมกซวนิ ” เครอื ซพี มี อบวัคซีนคมุ กาฬโรคมา 4,000
โดส ปศุสตั วผ นึกทกุ สมาคมมา วางมาตรการเขม
- โครงการทนุ ปรญิ ญาตรี เพอ่ื เกษตรกรรนุ ใหม (Smart
Farmer) ป 2564

57 - เจาะลกึ โรงเรอื นอแี วปวีถีใหม
แซบ-นัว ครัวสัตวบาล

60 ตอน น้ำพริกขี้กา-หมูกรอบขี้เมา
สัตวบาลกับภาษาอังกฤษ

62 ตอน เกรด็ -เกย่ี วกบั วัดวาอาราม
รับสมคั รสมาชิก

วารสาร สัตวบาล 5

¡ÒÃàÅéÂÕ §ä¡à‹ ¹Í×é àª§Ô ÍØμÊÒË¡ÃÃÁ

(Industrial Broiler Management)

2μ͹·Õè

นายศิขัณฑ พงษพิพัฒน SP-040220

โรงเรือนอีแวป และการใชงานสำหรบั ไกเน้อื (Evaporative Cooling House for Broiler)

“โรงเรอื นอแี วป ” โดยทว่ั ไป สามารถทำงานไดด แี ละมีประสทิ ธิภาพสูงเม่อื อากาศมอี ุณหภมู ิสูงและความ
ช้ืนต่ำ อยางไรก็ตาม การเล้ียงไกเน้ือในประเทศไทยซึ่งมีอากาศแบบรอนช้ืน สามารถใชโรงเรือนอีแวป อยางได
ผลและมีประสิทธิภาพในระดับท่ียอมรับได แตตองมีการคำนวณออกแบบและกอสรางโรงเรือนอยางถูกตอง
เหมาะสมกบั ชนดิ และประเภทสตั วเ ลย้ี ง สภาพภมู อิ ากาศในทอ งถน่ิ และมกี ารใชง านหรอื การควบคมุ สภาวะอากาศ
ในโรงเรือนอยางถูกตองเหมาะสมตามสภาวะอากาศที่เปนปจจุบัน เพ่ือความเขาใจในหลักการข้ันพื้นฐานของ
โรงเรือนอแี วป และการใชง านอยางถกู ตอ ง จงึ ขออธิบายและแนะนำพอสังเขป ดงั ตอไปน้ี

1. ลกั ษณะโรงเรอื นอแี วป เปน โรงเรอื นแบบปด มลี กั ษณะยาวตรงและสมำ่ เสมอ ใชก ารระบายอากาศแบบ

อโุ มงคลม (Tunnel Ventilation) โดยติดตงั้ พดั ลมดูดอากาศท่ีปลายดานหนึ่งและตดิ ต้ัง แผน ทำความเย็น (Cooling
pad หรือ Pad) ที่ปลายอกี ดา นหน่ึงของโรงเรอื นซึ่งอยตู รงขามกัน เม่อื พดั ลมดดู อากาศทำงาน ความกดดันอากาศ
ในโรงเรือนจะต่ำกวาภายนอกหรือมีความกดดันเปนลบ (Negative Pressure) ซ่ึงจะทำใหความกดดันบรรยากาศ
(Atmospheric Pressure) ที่อยูนอกโรงเรือนและมีความกดดันสูงกวา จะดันอากาศใหไหลเขามาในโรงเรือนผาน
Pad เนอ่ื งจากความกดดนั บรรยากาศมคี า คงตวั จงึ ทำใหอ ากาศไหลเขา และผา นตลอดเตม็ พน้ื ทห่ี นา ตดั ของโรงเรอื น
ดวยแรงดันอากาศท่ีเทากัน (กรณีไมมีแรงเสียดทานและสิ่งกีดขวางลม) และเปนไปอยางตอเน่ืองสม่ำเสมอ
(Potential Flow) การระบายอากาศในโรงเรือนจะเปน ไปอยางทั่วถึงกันโดยตลอด ทงั้ นี้ ข้ึนอยกู บั ความกดดนั ตาง
ระหวา งความกดดนั อากาศภายในและภายนอกโรงเรอื น ถา ความกดดนั ตา งมคี า นอ ยเกนิ ไปอาจทำใหอ ากาศไมไ หล
หรอื ถาความกดดนั อากาศตา งมีคา มากเกินไปพัดลมจะทำงานหนกั มากขึน้ ทำใหประสิทธิภาพพดั ลมตำ่ ลงและสง
ผลตอความคุมคาในการใชงาน ตามขอเท็จจริง ความเร็วลมแตละจุดในพื้นท่ีหนาตัดเดียวกันจะมีความเร็วลม
ไมเทากันหรือมีแรงดันอากาศในแตละจุดไมเทากัน ซ่ึงปญหานี้เกิดจากกระแสลมเดินทางในโรงเรือนไมสะดวก
เพราะแรงเสียดทานตามธรรมชาติและส่ิงกีดขวางทางเดินลม ทำใหกระแสลมเปล่ียนทิศทางการไหล การแกไข
ปญหาดังกลาว จึงอยูท่ีการออกแบบโรงเรือนและการติดตั้งอุปกรณตางๆในโรงเรือนใหถูกตองเหมาะสม
นอกจากน้ัน การออกแบบกอสรางโรงเรือนอีแวปตองคำนึงถึงสภาวะอากาศในทองถิ่นและเปาหมายการผลิตไก

6 วารสาร สัตวบาล

เน้อื ดวย เชน ในทอ งถ่นิ ทม่ี ีอากาศรอนชน้ื และมีเปา หมายการผลติ ไกเ นื้อขนาดน้ำหนักเฉลยี่ 2.50 กก. ควรเลี้ยงไก

ทค่ี วามหนาแนน ไมเ กนิ 28 กก./ตร.ม. โรงเรอื นควรมเี พดานสงู 2.20 เมตร เพอ่ื ประโยชนใ นการบงั คบั ลม ความเรว็

ลมเฉล่ียในโรงเรือนไมนอยกวา 2.7 m/s หรือ 540 ft/min มีอัตราการถายเทอากาศ (Air Change) ไมนอยกวา

90-100เทา ของปรมิ าตรโรงเรอื นตอ ชวั่ โมงความกดดนั อากาศในโรงเรอื นเปน ลบ(NegativePressure)และมคี า ความ

หเกพดารจดาำนัะนโตวดานงยพท(Dดั่ัวiลไfปมfeตrพeาnมัดtลปPมรreะแsสบsuทิบrธeAภิ) 1xา2พia.ทl5Fค่ี-a3วn7าม.ท5ก่ีนPดaยิ ดม(นั0ใ.สช05ถก ติ-ับ0โ(.Sร1tง5aเtรiincอื HPน2rOอesแี)sวขuปr้ันeจ)ตะใอชมนงีปการนาะรจสอรทิองิ หกธแภิรบอืาพไบมดโเทีรกงคี่นิ เวร3าอื 7มน.ก5อดPแี ดaวนั(ป 0ส.ใ1ถห5ติ คinไำ.มHนเ ว2กOณนิ )

ค40ุณPภaา(พ0.ด1ี6มinีป.Hระ2Oส)ิทจธากิภนาพัน้ ใจนงึ คกำานรวทณำคหวาาจมำนเยว็นนสPูงaแdลแะลคะาเพควื่อาใมหดโันรงลเรดอื ตน่ำอกีแรวณป มีใชีปรPะaสdิทลธอิภนาพกดรีะคดวราษเลสือูงกใ7ช Pad
mm

ทออากาศทำมุม 45 /ํ 45 ํ กบั แนวระนาบ Pad หนา 150 mm ใหใ ชความเรว็ ลมเฉลีย่ ผา น pad ไมเ กิน 1.5 m/s หรือ

3ต0ดิ 0ตfง้ั tเ/ตmม็ inดาหนรหอื นกอา โใรหงเ เกรดิอื คนวสามว กนดอดกี นั 2ลชดดุ ไมตเดิกตนิ ง้ั 3ท7ด่ี .า5นPขaา (ง0โ.1ร5งเiรnอื.Hน2โOด)ยกเวารน ตรดิะตยะง้ั หPาaงdจคาวกรดแา บนงหเปนาน โ3รงชเรดุ อื โนดปยชระดุ มแารณก

3 - 4 เมตร เพื่อปองกนั จุดอับลมและกระแสลมหมนุ ในบริเวณท่ตี ดิ ต้ัง Pad นอกจากนั้น ควรมีระบบสงนำ้ ทท่ี ำให

Padเปย กชน้ื อยา งทว่ั ถงึ โดยมนี ำ้ ไหลบนPadนอ ยทส่ี ดุ และไมท ำใหพ น้ื ในโรงเรอื นเปย กแฉะและควรมรี ะบบทง้ิ นำ้

(Bleed off) ท่ีถูกตองเหมาะสมกบั คณุ ภาพนำ้ ทใ่ี ชดวย

อนึ่ง ไมควรใชอุปกรณปลดผามานอัตโนมัติกับโรงเรือนอีแวปในทองถิ่นที่มีอากาศรอน เพราะอุปกรณ
ดังกลาวนิยมใชกับโรงเรือนแบบปดในทองถิ่นที่มีอากาศหนาว-อบอุน เพ่ือชวยระบายความรอนสะสมจากใน
โรงเรอื นขณะทรี่ ะบบไฟฟา ขดั ขอ ง แตส ภาพโดยทวั่ ไปของประเทศไทยซงึ่ มอี ากาศรอ นเปน สว นใหญ และอากาศ
ในโรงเรอื นอแี วป จะมอี ณุ หภมู ติ ำ่ กวา ภายนอกไมน อ ยกวา 8 - 12 Cํ ถา ใชอ ปุ กรณป ลดผา มา นอตั โนมตั ขิ ณะทร่ี ะบบ
ไฟฟาขัดของ จะชวยระบายความรอนออกจากโรงเรือน แตกลับจะนำความรอนจากภายนอกเขามาในโรงเรือน
มากกวา ดังน้ัน การใชอุปกรณปลดผามานอัตโนมัติในประเทศไทยจึงไมมีประโยชน และอาจกอใหเกิดปญหา
มากข้ึนถาอุปกรณปลดผามา นชำรดุ หรือขดั ของทำใหผา มา นตกลงมา

วารสาร สัตวบาล 7

2. เครอื่ งควบคมุ สภาวะอากาศในโรงเรอื น (Climate Controler) ควรเปน Microprocessor บรรจใุ นกลอง

กนั ฝนุ และน้ำในระดบั ไมนอยกวา IP56 มีอุปกรณตรวจวัดคาอณุ หภมู แิ ละความชืน้ (Temperature and Humidity
Sensors) ควรมีอุปกรณปองกันสนามแมเหล็กไฟฟา (Magnetic Field) และไฟฟากระชาก (Electric Surge)
มอี ปุ กรณเ กบ็ ขอ มลู (Memory Device) เพอื่ การตรวจสอบยอ นหลงั ไดไ มน อ ยกวา 14 วนั และมอี ปุ กรณต อ เชอ่ื มกบั
ระบบคอมพวิ เตอร (Computer Interface) เพือ่ การควบคุมสง่ั งานและการจดั เกบ็ ขอมูลท่ศี นู ยค วบคุม มโี ปรแกรม
การทำงานที่เปนปจจุบัน (Real Time) และสามารถปรับเปล่ียนไปตามสภาวะอากาศไดท้ังฤดูรอนและฤดูหนาว
แบบอตั โนมตั ิ (Auto-alternative Climate Control) ควบคมุ การทำงานของพดั ลมตามคา อณุ หภมู ไิ มน อ ยกวา 8 ระดบั
และสามารถควบคมุ การเปด -ปด พดั ลมตามคา HeatStressIndex(HSI)การควบคมุ การทำงานของปม นำ้ ตอ งสมั พนั ธ
กบั คา อณุ หภมู แิ ละความชนื้ การเปด -ปด ปม นำ้ ในขณะทอ่ี ณุ หภมู สิ งู กวา กำหนดตอ งเปน ไปตามคา ความชน้ื หรอื ใช
คา ความชน้ื เพอ่ื การปด หรอื เปด ปม นำ้ เทา นน้ั ทงั้ น้ี เพอื่ ไมใ ห Pad แหง มากเกนิ ไป เพราะถา Pad แหง ความรอ นจาก
ภายนอกจะเขา มาในโรงเรอื นอยา งเตม็ ทแ่ี ละกอ ใหเ กดิ ปญ หาตอ การเลย้ี งไกไ ด การควบคมุ ปม นำ้ โดยใชค า อณุ หภมู ิ
หรอื ใชเวลาในการเปด-ปดปมน้ำ มคี วามเสย่ี งท่ีจะกอ ใหเกดิ ปญ หาตอการเล้ียงไกมาก เชน (1) การใชคาอุณหภมู ิ
ควบคุมปมน้ำ อาจไมสัมพันธกับคาความชื้นอยางเหมาะสม ตามธรรมชาติ อากาศท่ีมีความช้ืนสูงกวา 75 %RH
หรือมีอุณหภูมิต่ำ 27 ํC (80.6 ํF) จะทำใหประสิทธิภาพการระเหยน้ำลดลง จึงอาจทำใหอุณหภูมิในโรงเรือน
ลดลงไดไมมาก แตความชืน้ สะสมในโรงเรือนอาจสงู ข้นึ มากและทำใหคา Heat Stress Index (HSI) สงู ขึ้นจนถงึ
ระดบั ทเ่ี ปน อนั ตรายตอ ไกไ ด เพราะโรงเรอื นอแี วป เปน โรงเรอื นปด และมปี รมิ าตรจำกดั ความชนื้ จงึ สะสมในระดบั
สงู ไดง า ย นอกจากนนั้ การเปด ปม นำ้ ขณะทอี่ ากาศมอี ณุ หภมู แิ ละความชน้ื สงู ยง่ิ เปน การเพมิ่ ความเสยี่ งมากขน้ึ และ
(2) การใชอุปกรณต้ังเวลา (Timer) ควบคุมปมน้ำ ยิ่งเปนสิ่งที่ไมควรทำ เพราะเวลาไมมีความสัมพันธกับสภาวะ
อากาศท่ีเปนจริง และไมอาจควบคุมการทำงานของปมน้ำไดอยางถูกตองเหมาะสม เชน Pad อาจเปยกแฉะมาก
ขณะทอ่ี ากาศมีความชน้ื สงู หรือ Pad อาจแหง มากขณะทีอ่ ากาศรอนและมคี วามชน้ื ต่ำ ซง่ึ เปนสาเหตุ
สำคัญทท่ี ำใหอ ุณหภูมิอากาศในโรงเรือนเกิดการแกวงตวั สูง (Temperature Fluctuation)
หรือชว งหา งระหวา งคาอุณหภูมิสูงสดุ และต่ำสดุ ตางกันมาก ไกจึงตองปรบั ตัว
ตามสภาวะอากาศอยูตลอดเวลา ทำใหเ กิดความเครยี ดสงู ซึ่งจะสง ผลตอ
สุขภาพและประสิทธภิ าพการผลติ ของไกเ น้ืออยา งกลีกเลย่ี งไมได

3. หลกั การควบคมุ สภาวะอากาศในโรงเรอื นอแี วป สำหรบั ไกเ นอ้ื การควบคมุ สภาวะอากาศในโรงเรอื น

อีแวป ตองคำนึงถึงอายุไกและสภาวะอากาศตามธรรมชาติในทองถิ่นดวย แมวาประเทศไทยจะอยูในทองถ่ินที่มี
อากาศแบบรอนช้ืน แตบางทองถ่ินในฤดูหนาวโดยเฉพาะตอนกลางคืน อากาศอาจหนาวเย็นจนมีอุณหภูมิต่ำกวา
สภาวะเหมาะสม (Comfortable Zone) หรือตำ่ กวา 18 ํC (65 Fํ ) แมจ ะเปนชวงเวลาทไี่ มนานกต็ าม แตก อ็ าจสรา ง
ความเสยี หายตอ ไกเ นอื้ ไดดงั นน้ั จงึ ขอแนะนำการจดั การควบคมุ สภาวะอากาศในโรงเรอื นโดยแบง เปน การควบคมุ
ในสภาวะอากาศรอ นและการควบคมุ ในสภาวะอากาศหนาว ดังนี้

1) การควบคมุ ในสภาวะอากาศรอน ไดแก สภาวะอากาศตามธรรมชาตมิ ีอณุ หภมู ิสูงกวา 25 ํC (77 Fํ )
หลักการควบคมุ สภาวะอากาศในโรงเรอื น มดี งั น้ี ระยะกกลกู ไกห รอื ชวงเวลาท่ีลูกไกมีอายุ 1 - 21 วัน ในชว งเวลา
นีร้ ะบบควบคุมความรอนในรา งกายลูกไก (Thermo-regulator) ยังเจริญไมเ ต็มที่ ลกู ไกจึงไมส ามารถควบคมุ ความ
รอนในรา งกายไดดี นอกจากนนั้ พลังงานความรอนทไ่ี ดจ ากอาหารก็ยังไมเ พียงพอตอ ความตองการ จงึ ตองอาศยั

8 วารสาร สัตวบาล

ความรอ นจากภายนอก เพอื่ ใหลกู ไกสามารถควบคุมอุณหภมู ิรา งกายได ดังนัน้ สภาวะเหมาะสมของลกู ไกจ งึ อยูท่ี
อุณหภูมิ 30 - 35 Cํ (86 - 95 ํF) และความชืน้ 50 - 70 %RH ทง้ั นี้ ขนึ้ อยกู บั เพศ พนั ธุ และแหลง กำเนดิ ของไกด วย
การกกลูกไกมีความสำคัญมาก เพราะถาลูกไกอยูในสภาวะอากาศหนาวเย็นมากเกินไป จะสงผลโดยตรงตอ
ระบบภมู คิ ุมโรค อตั ราการเจริญเตบิ โต และระบบฮอรโ มน ทำใหไกไมแ ขง็ แรง การเจริญเตบิ โตชา FCR สูง กรณี
เปนไกไขหรือไกพันธุก็จะสงผลถึงการผลิตและคุณภาพไขดวย การควบคุมอุณหภูมิกกลูกไก มีดังน้ี ใหควบคุม
อณุ หภูมิกกวันแรกท่ี 32 - 35 ํC (ดสู ภาวะอากาศในทองถนิ่ ดวย) หลงั จากนน้ั ใหลดอุณหภูมกิ กลงครั้งละ 1 Cํ ทกุ ๆ
5วนั และเมอ่ื ไกม อี ายมุ ากกวา 21วนั ความรอ นในรา งกายจะมากขน้ึ จงึ ควรงดการกกลกู ไก(ดสู ภาวะอากาศในทอ งถน่ิ ดว ย)
โดยทว่ั ไป ไกทีม่ ีอายุมากกวา 21 วัน จะเร่ิมระบายความรอนสว นเกนิ ท้ิงไป Donald, J. (5) กลา ววา ไกเนอื้ อายุ 7
สัปดาห นำ้ หนกั เฉลย่ี 4 Lb (1.82 kg) จำนวน 20,000 ตัว สามารถผลติ ความรอ นได 360,000 - 480,000 BTU/h
(90,720 - 120,960 kcal/h) และความชน้ื ประมาณ 1,000 gal/d (3,800 L/d) ซง่ึ ไกร ะยะหลงั กกหรอื ระยะเจรญิ เตบิ โต
จะมสี ภาวะเหมาะสมอยทู ่ี อณุ หภมู ิ 18 - 25 Cํ (65 - 77 Fํ ) และความชน้ื 40 - 70 %RH อยา งไรกต็ าม ทอ งถน่ิ ทม่ี อี ากาศ
แบบรอนช้ืน เชน ประเทศไทย อาจควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือนอแี วป ใหอ ยูทีร่ ะดับดังกลาวไมได จงึ ตองใช
วธิ คี วบคมุ อณุ หภมู ใิ นโรงเรอื นใหน งิ่ มากทส่ี ดุ เทา ทจ่ี ะทำได หรอื ควบคมุ ใหช ว งหา งระหวา งอณุ หภมู สิ งู สดุ -ตำ่ สดุ
มคี า ตา งกบั นอ ย ซง่ึ จะสง ผลใหไ กเ กดิ ความเครยี ดตำ่ เพราะไมม ภี าระหรอื มภี าระนอ ยในการปรบั ตวั ตามสภาวะอากาศ
โดยทั่วไป โรงเรือนอีแวป ที่มกี ารคำนวณออกแบบและกอ สรางอยา งถกู ตอง มกั ไมพบปญ หาในชว งเวลากลางวัน
เพราะพัดลมและปมน้ำทำงานเต็มท่ี แตก็อาจมีปญหาได ถาเครื่องควบคุมไมมีความแมนยำและ/หรือมีโปรแกรม
การควบคุมไมถูกตองหรือไมสนองตอบตอสภาวะอากาศท่ีเปนจริง (Real Time) สำหรับประเทศไทยโดยเฉพาะ
ในเขตภาคกลางซ่ึงมีอากาศรอนและความช้ืนสูง โรงเรือนอีแวปท่ีออกแบบกอสรางอยางถูกตองเหมาะสมและ
มีเครื่องควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือนท่ีถูกตองตามสภาวะท่ีเปนจริง สามารถทำอุณหภูมิเฉล่ียไมเกิน 30 ํC
และมีคา Heat Stress Index (HSI) ไมเกนิ 167

วารสาร สัตวบาล 9

อนึ่ง สาเหตุของปญหาจากโรงเรือนอีแวปท่ีเกิดขึ้นในชวงเวลากลางคืน เปนเพราะในชวงเวลาดังกลาว
อากาศตามธรรมชาตจิ ะเยน็ ลงและความชนื้ จะสงู ขนึ้ เปน ลำดบั ตงั้ แตห วั คำ่ เปน ตน ไป พดั ลมจะปด หรอื ทำงานลดลง
ตามคาอุณหภูมิที่ต้ังไว อัตราการระบายอากาศและความเร็วลมในโรงเรือนจะลดลงตามไปดวย ในขณะเดียวกัน
อากาศในโรงเรอื นจะมคี วามชนื้ สงู ขนึ้ เรอ่ื ยๆตามธรรมชาตแิ ละความชน้ื ทส่ี ะสมอยใู นโรงเรอื น แมว า ปม นำ้ จะหยดุ
ทำงานไปนานแลว กต็ ามจงึ ทำใหHSIมคี า สงู ขนึ้ เปน ลำดบั จากประสบการณข องผเู ขยี นพบวา ถา HSIมคี า สงู เกนิ กวา
172 - 175 อาจสงผลใหไกเน้ือขนาด 2.00 กก. หรือมากกวา ถึงแกความตายได ซึ่งอาจเปนท่ีมาของไกตายโดย
ไมทราบสาเหตุที่มักพบเห็นในตอนเชา การแกปญหา HSI ที่มีคาสูงมากเกินไป ทำไดดวยการเปดพัดลมเพ่ือเพิ่ม
อตั ราการระบายอากาศในโรงเรอื นความรอ นและความชน้ื กจ็ ะถกู ระบายออกไปจากโรงเรอื นไดม ากขน้ึ ขณะเดยี วกนั
ความเร็วลมในโรงเรือนก็จะสูงข้ึนดวย ทำใหอุณหภูมิในโรงเรือนลดต่ำลงตามหลักของ Wind Chill Effect
และทำใหค า HSIลดตำ่ ลงอยา งไรกต็ ามการเปด พดั ลมในยามวกิ าลเปน เรอื่ งทเี่ พมิ่ ภาระอยา งมากและถา ทำโดยบคุ คล
ทไ่ี มเ ขา ใจ อาจเกดิ ผลเสยี หรอื ไมท นั กาล ในทางปฏบิ ตั ิ จงึ ควรใช เครอื่ งควบคมุ สภาวะอากาศ (Climate Controller)
ท่ีมีโปรแกรมควบคุมและส่ังงานใหพัดลมเปดหรือทำงานมากขึ้นทันทีท่ี HSI มีคาสูงถึงคาท่ีตั้งไว แมวาอุณหภูมิ
อากาศยังคงต่ำกวา คา ทตี่ ัง้ ไวใ หเ ปด พดั ลมตามปกติ

2) การควบคมุ ในสภาวะอากาศหนาว ไดแ ก สภาวะอากาศตามธรรมชาตมิ อี ณุ หภมู ติ ำ่ กวา 18 Cํ (65 Fํ )
การควบคุมสภาวะอากาศในโรงเรือน มีดังนี้ การกกลูกไกในสภาวะอากาศหนาวเย็น สิ่งที่ตองทำอันดับแรกคือ
ลดการระบายอากาศในโรงเรือนลงใหเหลือนอยที่สุดเทาท่ีจะทำได เพื่อเก็บอากาศอุนไวในโรงเรือนใหนานท่ีสุด
แตต อ งสง ผลกระทบตอ คณุ ภาพอากาศในโรงเรอื นนอ ยทส่ี ดุ ควรหลกี เลยี่ งการใชเ ครือ่ งกกแกส ทปี่ ลอ ยอากาศเสยี
จากการเผาไหมไ วใ นโรงเรอื น เชน ควรใชเ ครอ่ื งกกแกส ทส่ี ามารถตอ ทอ ระบายอากาศเสยี ออกไปนอกโรงเรอื นได
หรือใชเคร่ืองกกไฟฟา เพราะการเผาไหมแกสและมีอากาศเสียในโรงเรือน ทำใหตองระบายอากาศเพิ่มขึ้น กรณี
ทีอ่ ากาศตามธรรมชาติมอี ณุ หภมู ติ ำ่ กวา 25 ํC (77 ํF) ใหใ ชว ธิ ีเปด พดั ลมแบบเปด-ปด เปนจังหวะเวลา (Pulsation)
แตต อ งคำนวณปรมิ าณลมทถี่ กู ระบายทง้ิ ไปซงึ่ เปน อากาศอนุ และการเปด ใหอ ากาศจากภายนอกซง่ึ เปน อากาศเยน็
ใหไ หลเขา มาในโรงเรือน ตองไมส งผลกระทบตอ อุณหภูมิในพน้ื ทก่ี กลูกไก และกระแสลมตองไมไหลผา นตวั ลกู
ไกโ ดยตรงหรือไหลผานตวั ลูกไกดวยความเรว็ ลมต่ำกวา 0.3 m/s หรือ 60 ft/m การเปดพัดลมชวงระยะเวลาสน้ั ๆ
ตอ งสามารถระบายอากาศเสยี ออกไปไดพ อสมควร และอากาศเยน็ ทไ่ี หลเขา มาในโรงเรอื นตอ งไมค รอบคลมุ พน้ื ท่ี
กกลูกไก (ใหค ำนวณเวลาการเปด -ปด พัดลมจากขอ มูลประสิทธภิ าพของพดั ลมทใี่ ชง าน) และการเปดพัดลมแตล ะ
ครั้งตองเกิด ความกดดันตาง ไมนอ ยกวา 12.5 Pa หรอื 0.05 inH2O อากาศจึงจะไหลถายเทได การใชผามา นปดท่ี
Pad เพอ่ื ลดพน้ื ทอ่ี ากาศไหลผา น จะชว ยทำใหค า ความกดดนั ตา ง สงู ขน้ึ ได วธิ ปี ด ผา มา นใหเ รม่ิ ปด จากดา นลา งขน้ึ ไป
(ใหคำนวณพ้ืนที่ปดผามานจากขอมูลประสิทธิภาพของ Pad ท่ีใชงาน) กรณีที่อากาศตามธรรมชาติมีความหนาว
เย็นมาก หรือมีอุณหภูมิต่ำกวา 18 ํC (64.4 ํF) ใหเพิ่มเวลาปดพัดลมใหนานข้ึน แตใชเวลาเปดพัดลมเทาเดิม
เมื่อไกอายุมากกวา 21 วัน และอากาศตามธรรมชาติยังคงมีอณุ หภมู ิตำ่ กวา 15 ํC (59 ํF) ใหเปดพดั ลมแบบเปด-ปด
เปนจังหวะเวลา แตตองคำนวณปริมาณอากาศท่ีถูกระบายท้ิงไปซ่ึงเปนอากาศอุน และการเปดใหอากาศจากนอก
ซง่ึ เปน อากาศเยน็ ใหไ หลเขา มาในโรงเรอื น จะตอ งสง ผลกระทบตอ อณุ หภมู ใิ นโรงเรอื นไมม ากนกั และไมค วรให
กระแสลมพัดผานตวั ไกโดยตรง หรอื กระแสลมท่ีไหลผา นตัวไกไมค วรเกนิ 0.3 m/s หรือ 60 ft/m และขณะท่ใี ช
โปรแกรมการระบายอากาศในระดบั ตำ่ หรอื เปด พดั ลมนอ ยตอ งควบคมุ คา ความกดดนั ตา ง ไมน อ ยกวา 12.5 Pa หรอื
0.05 inH2O

10 วารสาร สัตวบาล

อนึง่ คุณภาพอากาศในโรงเรอื นปดตามคำแนะนำของ FAO มีดังนี้ ออกซิเจน (O2) ไมน อยกวา 19.40%
คารบอนไดออกไซด (CO2) ไมเ กิน 0.30% คารบ อนมอนอกไซด (CO) ไมเ กิน 50 ppm แอมโมเนยี (NH3) ไมเ กิน
20 ppm และฝนุ ละออง ไมเ กิน 3.40 g/m3

การจดั การดูแลการกกลูกไก (Brooding Management)

การกกลูกไก ถือเปนงานที่สำคัญอยางยิ่ง ความสำเร็จของการกกลูกไกที่ดี จะเปนสัญญาณสงตอไปถึง
ความสำเร็จของการผลิตไกเนื้อที่ดีดวย ปจจัยที่เก่ียวกับการกกลูกไก ไดแก อุปกรณและสถานที่กกลูกไก และ
การจดั การดแู ลลกู ไกช ว งเวลาการกก ซงึ่ มเี ปา หมายสำคญั คอื ลกู ไกไ ดร บั ความอบอนุ อยา งสมำ่ เสมอ ลกู ไกไ ดร บั นำ้
และอาหารอยางเพียงพอ และการชวยเหลือดูแลลูกไกใหมีนิสัยและพฤติกรรมท่ีถูกตอง เชน การด่ืมน้ำ
และการกินอาหาร เพื่อประโยชนตอการจัดการดูแลเลี้ยงไกในลำดับตอไป หลักการจัดการดูแลเลี้ยงลูกไกชวง
เวลาการกก มีดังน้ี

1. การกกลกู ไกตอ งคำนงึ ถงึ สภาวะอากาศตามธรรมชาตใิ นทอ งถน่ิ โดยทว่ั ไปควรควบคมุ อณุ หภมู กิ กลกู ไก

อายุ 1 วนั ประมาณ 32 - 35 ํC จากนน้ั ใหลดอณุ หภูมกิ กลงตามลำดบั จนกวาลูกไกจะมอี ายุ 21 วัน การเปดไฟกก
ควรทำตามความจำเปนและเหมาะสมกับสภาวะอากาศในทองถ่ิน เชน การกกลูกไกในฤดูรอนหรือฤดูหนาว
ซง่ึ มคี วามแตกตา งกนั พอสมควร ในทางปฏบิ ตั ิ ควรวางแผนงานลว งหนา อยา งถกู ตอ งเหมาะสมตามสภาพแวดลอ ม
และควรฝก อบรมผดู แู ลการกกลกู ไกใ หม คี วามรอู ยา งเพยี งพอ ทง้ั นี้ เพอื่ ใหล กู ไกม คี วามสมบรู ณ แขง็ แรง ปลอดโรค
และมีการเจรญิ เติบโตทีด่ ี ซ่ึงจะเปนพื้นฐานของการเล้ียงไกเนือ้ ในลำดบั ตอ ไป

2. พ้ืนที่และการตดิ ตง้ั อุปกรณก กลูกไก โดยทั่วไป โรงเรอื นอีแวปจะตดิ ต้ัง pad ทดี่ า นหนา และพัดลมที่

ดานทายโรงเรอื น การเลี้ยงลกู ไกช ว งอายุ 7 วนั แรก ตองการพื้นท่ีเพียง 1/3 ของพื้นที่เลี้ยงไกทงั้ หมด ดังน้นั การใช
พ้ืนท่ีกกลูกไกจึงควรใชพื้นท่ีเทาที่จำเปนเพ่ือประหยัดพลังงานไฟฟาหรือแกสที่ใชทำความรอนในการกกลูกไก
ควรจัดพื้นที่และเคร่ืองกก (ข้ึนอยูกับชนิดและประเภทของเคร่ืองกกดวย) ใหเหมาะสมกับจำนวนลูกไก
ไมควรกกลูกไกหนาแนน มากเกนิ ไป เพือ่ ใหลกู ไกไดร ับความอบอุนอยางทว่ั ถึง การตดิ ต้งั เคร่อื งกกในพ้นื ท่กี ารก
กลกู ไกท ำได 2 แบบคอื แบบเครอ่ื งกกเดยี ว (Single Brooder Site) และแบบหลายเครอ่ื งกก (Multiple Brooder Site)
พื้นท่ีกกลูกไก ควรปดลอมดวยแผนปองกันลม (Wind Guard) ซึ่งเปนแผนทึบทำจากแผนเหล็กชุบสังกะสีหรือ
ไมอ ดั กไ็ ด ขนาดสงู 0.30 - 0.50 เมตร และยาว 1.20 - 1.50 เมตร เพอื่ ปองกนั ไมใหลมพัดผา นตวั ลูกไกโดยตรง และ
ปอ งกนั ลมไมใ หพ ดั พาความรอ นจากพน้ื ทกี่ กออกไปซง่ึ มผี ลโดยตรงตอ คา ใชจ า ยการกกลกู ไกเมอ่ื ไกโ ตขนึ้ ใหข ยาย
พื้นที่เล้ียงไกออกไปตามการเจริญเติบโตเปนคร้ังคราวจนเต็มพื้นท่ีในโรงเรือน ควรเลือกพื้นท่ีกกลูกไกท่ีบริเวณ
ดา นทา ยโรงเรอื น (ดา นทต่ี ดิ ตงั้ พดั ลม) และควรปวู สั ดรุ องพนื้ (แกลบ) สำหรบั การกกลกู ไกเ ทา ทจี่ ำเปน วสั ดรุ องพนื้
ทีย่ ังไมไ ดใ ชควรกองไวกอนอยานำมาปูพนื้ ทงั้ หมด เพอ่ื ไมใ หส กปรกกอ นการใชงาน การกกลูกไกใกลก ับพดั ลม

วารสาร สัตวบาล 11

ดดู อากาศ จะชว ยใหอ ากาศเสยี ทเี่ กดิ จากการเผาไหมแ กส ของเครอ่ื งกกและอากาศเสยี จากการเลย้ี งไก ถกู ระบายออก
จากโรงเรอื นไดเ รว็ ขน้ึ และอากาศในโรงเรอื นไมถ กู ปนเปอ นมากเกนิ ไป นอกจากนนั้ การกกลกู ไกใ นขณะทอี่ ากาศ
หนาวเยน็ ยงั สามารถใชว ธิ กี ารระบายอากาศในโรงเรอื นเปน บางสว น ดว ยการเปด -ปด พดั ลมแบบจงั หวะเวลา ทง้ั น้ี
ควรคำนวณใหพ ดั ลมทำงานระบายอากาศออกจากโรงเรอื นครง้ั ละ1/3-1/2ของปรมิ าตรโรงเรอื นทง้ั หมดเพอ่ื ใหอ ากาศ
หนาวเยน็ จากภายนอกไหลเขา มาในปรมิ าณเทา ทจ่ี ำเปน และสง ผลกระทบตอ พน้ื ทก่ี กลกู ไกน อ ยทส่ี ดุ เทา ทจ่ี ะทำได

3. การจดั การดแู ลลกู ไกข ณะทำการกก กอ นลกู ไกม าถงึ ฟารม ควรเปด เครอ่ื งกกใหไ ดอ ณุ หภมู ติ ามทต่ี อ งการ

เมอ่ื ลกู ไกม าถงึ ใหน บั จำนวนและนำเขา กกทนั ที ควรดแู ลใหล กู ไกไ ดร บั ความอบอนุ อยา งทว่ั ถงึ และสมำ่ เสมอทกุ ตวั
กรณลี กู ไกใ ชเ วลานานเกนิ 18 ชว่ั โมง โดยนบั ตง้ั แตเ วลาทล่ี กู ไกอ อกจากตฟู ก จนมาถงึ ฟารม หรอื ลกู ไกท ม่ี าถงึ ฟารม
มอี าการออนเพลีย ควรใชน ำ้ ตาลทรายชนิดที่ไมฟ อกสี (ถา มี) ผสมนำ้ ในอัตรา 5% ใหลกู ไกด ่มื เฉพาะชวงเวลา 12
ชวั่ โมงแรกทล่ี กู ไกเ ขา กก“นำ้ ตาลทราย”เปน อาหารพลงั งานสงู จะชว ยใหล กู ไกฟ น ตวั เรว็ ขนึ้ นำ้ ตาลทรายทไี่ มฟ อกสี
จะชว ยใหลูกไกม กี ารขับถา ยที่ดี ชวยลดปญหา “ขี้ติดตดู ” ในลูกไก และที่สำคัญ น้ำตาลทราย จะไปกระตนุ ระบบ
ทางเดนิ อาหารของลกู ไกใ หเ รม่ิ ทำงานและทำใหล กู ไกม คี วามอยากกนิ อาหารมากขน้ึ กรณลี กู ไกท ม่ี าถงึ ฟารม มคี วาม
เครียดหรือมีอาการเสียน้ำ (Dehydration) รวมดวย เชน หนาซีด แขงเหี่ยว ไมราเริงหรือมีอาการซึมผิดปกติ
ควรใหวิตามนิ ซี ในอตั รา 100 - 200 มิลลกิ รมั ตอนำ้ 1 ลติ ร (100 - 200 ppm) และอาจผสมเกลอื แร (Electrolytes)
ตามอตั ราทผ่ี ผู ลติ กำหนดรว มดว ยกไ็ ด ใหล กู ไกด ม่ื เฉพาะชว งเวลา 4 ชวั่ โมงแรกทลี่ กู ไกเ ขา กก การผสมนำ้ ตาลทราย
วติ ามนิ ซีและ/หรอื เกลอื แรควรผสมครงั้ ละพอประมาณหรอื ใหล กู ไกด มื่ หมดในเวลาไมเ กนิ 4ชว่ั โมงเมอื่ หมดแลว จงึ
ผสมใหใ หม ขอ ควรระวงั อยา ปลอ ยใหล กู ไกเ ลน นำ้ และไมค วรใหย าปฏชิ วี นะ เวน แตม ขี อ บง ชว้ี า ลกู ไกม กี ารตดิ เชอ้ื
หรอื ปว ยตามคำแนะนำของสตั วแพทย นอกจากนน้ั ควรเขม งวดตอ กฎระเบยี บคำสง่ั ขององคก รทร่ี บั ผดิ ชอบฟารม
และทำตามแผนงานหรอื โปรแกรมทก่ี ำหนดอยา งเครง ครดั ไมค วรเปลยี่ นแปลงแกไ ขเองโดยพลการ เพราะอาจเกดิ
ปญ หาขนึ้ ไดใ นภายหลงั การใหน ำ้ ลกู ไกร ะยะแรกของการกก ควรใชก ระตกิ นำ้ สำหรบั ลกู ไก เพอ่ื ความสะดวกและ
ประหยัดสารละลายที่เติมน้ำ ลูกไกควรไดด่ืมน้ำอยางเต็มที่และทั่วถึงกอนการใหอาหาร ลูกไกท่ีสมบูรณแข็งแรง
จะมอี าการรา เรงิ เดนิ คยุ เขย่ี วง่ิ เลน และอยกู ระจายกนั ในพนื้ ทกี่ กถา ลกู ไกย งั ดอู อ นเพลยี นอนหมอบหรอื นอนสมุ กนั
ควรกระตนุ ใหลูกไกต่นื ตวั และตอนลูกไกเ ขาไปอยูใกลเ คร่อื งกกหรอื เพิ่มอณุ หภูมกิ กใหส ูงขึ้น ท้ังนี้ ควรดสู ภาวะ
อากาศตามธรรมชาตปิ ระกอบดว ย กรณลี กู ไกม สี ภาพทว่ั ไปไมค อ ยดี ควรรอใหล กู ไกม อี าการดขี น้ึ กอ นจงึ ใหอ าหาร
ซง่ึ อาจใชเวลาประมาณ 3 - 4 ช่ัวโมง ข้ึนอยูกบั คณุ ภาพลูกไกทีม่ าถงึ ฟารม หลกั ปฏิบัตติ อ การกกลูกไกท่ีสำคัญคอื
ลกู ไกค วรไดเ รม่ิ กนิ อาหารพรอ มกนั ซง่ึ มคี วามสำคญั ตอ การเจรญิ เตบิ โตอยา งสมำ่ เสมอในฝงู ไก การทลี่ กู ไกไ ดก นิ
อาหารไมพ รอ มกนั จะสง ผลตอ การเจรญิ เตบิ โตในระยะแรกและตดิ เปน นสิ ยั ทำใหไ มก ระตอื ลอื ลน ในการกนิ อาหาร
ซงึ่ เปน ตน เหตสุ ำคญั ของปญ หา “ไกแ ตกไซด” การใหอ าหารลกู ไกค รงั้ แรกควรใหค รงั้ ละนอ ยๆ ดว ยวธิ โี ปรยอาหาร
ลงในถาดอาหาร อาจใชกลองลูกไกตัดขอบออกเพ่ือใชทำเปนถาดอาหาร หรือโปรยอาหารลงบนกระดาษปูพื้น
เพื่อใหล กู ไกเ ดินคยุ เข่ียอาหารกนิ ซึง่ ตอ งคอยเปล่ียนกระดาษปพู ืน้ ที่เปยกหรือเปอ ยยุย ทนั ทที พ่ี บเหน็ เพ่ือปอ งกัน
ปญ หาจากเชอ้ื รา การจดั การดแู ลลกู ไกร ะหวา งกก ใหด ทู อ่ี ณุ หภมู กิ กเปน หลกั เมอ่ื อณุ หภมู อิ ากาศเทา กนั หรอื สงู กวา
อุณหภูมิกก ก็ใหปดไฟกกเปนการชั่วคราวและใหเปดไฟกกอีกครั้งเม่ืออุณหภูมิอากาศต่ำกวาอุณหภูมิกก จนกวา
ลกู ไกมอี ายเุ กนิ 21วนั ผดู แู ลเลยี้ งลกู ไกควรหมนั่ สงั เกตอาการหรอื พฤตกิ รรมของลกู ไกสอี จุ จาระสภาพวสั ดรุ องพนื้
(แกลบ)การกนิ นำ้ และอาหารสมุ ตรวจการเจรญิ เตบิ โตเมอ่ื พบอาการหรอื สง่ิ ผดิ ปกติใหร บี คน หาสาเหตุและรายงาน
ตอผูรบั ผิดชอบลำดบั ท่ีสงู กวา ทงั้ น้ี เพอ่ื การแกปญหาอยา งถกู ตอ งเหมาะสมตอไป

12 วารสาร สัตวบาล

4. อปุ กรณกกลกู ไก เปน เครอ่ื งทำความรอ นเพือ่ ใหความอบอนุ แกล กู ไก ซง่ึ จำเปนตอการดำรงชีวติ และ

การเจรญิ เตบิ โตของลูกไกใ นชวงอายุ 21 วันแรก นับต้ังแตฟก ออกจากไข โดยท่วั ไปมี 2 แบบ ดังน้ี

1) แบบรังสีความรอน (Infrared Brooder) โดยใชอุปกรณไฟฟาหรือการเผาไหมแกสในโพรงของ
กระเบ้ืองหรือสเตนเลส เปนแหลงกำเนิดรังสีอินฟราเรด ซึ่งจะถูกสงออกมาในรูปของคลื่นแมเหล็กไฟฟา
(Electromagnetic Wave) ดวยวิธีการแผรังสี (Radiation) เมื่อรังสีอินฟราเรดตกกระทบวัตถุมันจะเปล่ียนจาก
พลงั งานแมเ หลก็ ไฟฟา เปน พลงั งานความรอ น จงึ เรยี กอกี ชอื่ หนงึ่ วา เครอื่ งทำความรอ นเฉพาะพนื้ ที่ (Spot Heating)
ซ่ึงลมจะไมมีอิทธิพลตอการแผรังสีความรอน เวนแตเมื่อรังสีอินฟราเรดไดตกกระทบวัตถุและเปลี่ยนเปนความ
รอนแลว ลมจึงจะพาความรอนน้ันไปได ดังน้ัน การกกลูกไกดวยเครื่องกกแบบนี้ จึงควรใชแผนปองกันลม
ปดบังลอมรอบพ้ืนท่ีกกลูกไก เพื่อปองกันไมใหลมพัดผานพื้นที่กกลูกไกโดยตรงและเพ่ือบังคับลูกไกไมใหอยู
หา งจากเครอ่ื งกกมากเกนิ ไปจงึ เปน เครอื่ งกกลกู ไกท เี่ หมาะสมกบั การใชง านในโรงเรอื นอแี วป ซง่ึ มกี ารระบายอากาศ
อยตู ลอดเวลา

2) แบบเปาลมรอ น (Hot Blower Brooder) เปนอุปกรณทใี่ ชข ดลวดความรอ นไฟฟา หรือการเผาไหม
แกส เปน แหลง กำเนดิ ความรอ นและใชพ ดั ลมภายในเครอ่ื งเปา ลมรอ นใหก ระจายออกไป ซงึ่ เปน วธิ กี ารพาความรอ น
(Heat Convection) การใชเครื่องกกแบบนี้ ตองติดตั้งเคร่ืองกกอยางถูกตองเหมาะสมและมีพัดลมชวยหมุนเวียน
อากาศอุนใหกระจายไปทั่วโรงเรือนอยางสม่ำเสมอ เคร่ืองกกแบบน้ีนิยมใชกับโรงเรือนปดในทองถ่ินท่ีมีอากาศ
หนาวเย็นซ่ึงมีอัตราการระบายอากาศต่ำมาก เพื่อเก็บอากาศอุนไวในโรงเรือนใหนานท่ีสุดเทาท่ีจะทำได จึงเปน
เครอื่ งกกทไี่ มเ หมาะสมกบั การใชใ นโรงเรอื นอแี วป ซง่ึ มกี ารระบายอากาศอยตู ลอดเวลา เพราะความรอ นสว นหนง่ึ
ถูกระบายทงิ้ ไปโดยเปลาประโยชน

แสงสวางและการจัดการสำหรบั ไกเนอ้ื (Light and Lighting Management for Broiler)

แสงสวาง เปนพลังงานรูปหน่ึง แพรกระจายออกไปดวยการแผรังสีในรูปของ คล่ืนแมเหล็กไฟฟา
(Electromagnetic Wave) แสงสวางท่ีคนสามารถมองเห็น (Visible Light) หรือแสงแดด เปนสวนหนึ่งของคลื่น
แมเหล็กไฟฟา มีความยาวคลื่นประมาณ 400 - 700 นาโนเมตร แสงสวางมีอิทธิพลตอการมองเห็น พฤติกรรม
การหลง่ั ฮอรโ มน และจงั หวะวงจรชวี ิต (Circadian Rhythm) ของไก เทคนิคและการใชประโยชนจากแสงสวางได
ถกู นำมาใชใ นการผลิตไกเ นอ้ื อยา งจรงิ จังมากกวา 20 ป แสงสวา งสามารถเขาสูการรับรหู รอื เปนสงิ่ เรา ตอไกได 2
ทางคือ แสงสวา งผานเขา ทางตาไปกระตุนประสาทสมั ผสั ทีจ่ อภาพ (Retinal Receptors) ในดวงตา และ แสงสวา ง
ทอ่ี ยใู นรปู คลน่ื แมเ หลก็ ไฟฟา จะทะลผุ า นกระโหลกศรี ษะเขา ไปกระตนุ ท่ี Pineal Gland และ Hypothalamus โดยตรง
การใชป ระโยชนจ ากแสงสวางแบง เปน 3 ดา น ดังนี้

วารสาร สัตวบาล 13

1. สขี องแสงสวา ง (Light Colors หรือ Electromagnetic Spectrum) ไก เปน สัตวทสี่ ามารถมองเหน็ สขี อง

แสงสวาง (Spectrum) ไดกวางกวาคน เชน สามารถมองเห็นแสง Ultraviolet ไดโดยท่ีคนมองไมเห็น และสีของ
แสงสวา งจะมีผลตอ พฤตกิ รรมของไก เชน แสงสนี ้ำเงิน (Blue Light) ชว ยลดอาการตน่ื เตน หรือทำใหไกม อี าการ
สงบลง แสงสนี ำ้ เงนิ -เขยี ว (Blue-Green Light) ชว ยกระตนุ การกนิ อาหารและการเจรญิ เตบิ โต แสงสแี ดง (Red Light)
ชว ยลดการจกิ ขน (Cannibalism) และแสงสสี ม -แดง (Orange-Red Light) ชว ยกระตนุ ระบบสบื พนั ธุ (Reproduction
System) เปน ตน

2. ความเขม แสงสวา ง (Light Intensities หรอื Brightness) ระดบั ความเขม แสงหรอื ความสวา ง มผี ลโดยตรง

ตอการมองเห็นหรอื การรบั รแู สงสวา งของไก ซึ่งจะสงผลตอ กระบวนการทางสรีรวทิ ยาในรางกาย (Physiological
Activity) ไกเปน สัตวท ่มี องเห็นในทมี่ ืดไดด ีกวาคน เชน แสงสวางเพยี ง 1 ลักซ ก็ทำใหไกส ามารถมองเห็นหรอื รับ
รูถึงแสงสวางน้ันได แตอยางไรก็ตาม การกระตุนระบบตางๆ ในรางกาย ใหทำงานไดดีและมีประสิทธิภาพ
ตอ งใชความเขมแสงในระดบั ทเ่ี หมะสม

3. ชวงเวลาแสงสวาง (Light Duration หรือ Dusk and Dawn) เปนชวงเวลา สวางและมืดในรอบวัน

มคี วามสำคัญตอ จังหวะวงจรชวี ิต (Circadian Rhythm) หรือกิจวัตรในการดำเนนิ ชวี ติ ของไก เชน การกนิ การนอน
การหล่ังฮอรโมน และการควบคุมการทำงานของอวัยวะตางๆในรางกาย ซ่ึงจะสงผลตอกระบวนการดำรงชีวิต
การเจรญิ เตบิ โต ภูมิคมุ โรค อารมณ และความสมบูรณเ พศ

โดยทว่ั ไป การเลยี้ งไกเ นอ้ื เชงิ อตุ สาหกรรม จะใชร ะยะเวลาเลยี้ งสน้ั หรอื ประมาณ 35 - 49 วนั ในทางปฏบิ ตั ิ
จงึ เนน ทป่ี ระสทิ ธภิ าพการผลติ เปน สำคญั คอื อตั ราการเจรญิ เตบิ โต อตั ราการบรโิ ภคอาหาร และอตั ราการเลยี้ งรอด
เปน ตน การเลย้ี งไกใ นโรงเรอื นอแี วป ซงึ่ เปน โรงเรอื นปด จงึ มแี สงสวา งเลด็ ลอดเขา ไปไดน อ ยมาก จงึ มกั นยิ มทำชอ ง
แสงยาวตลอดดา นขา งโรงเรอื นเพอื่ ใชแ สงสวา งในเวลากลางวนั ใหเ ปน ประโยชน อยา งไรกต็ าม โรงเรอื นทมี่ คี วาม
กวางมาก อาจทำใหความเขมแสงในโรงเรือนไมสมำ่ เสมอหรอื ไมเ พยี งพอตอการเลย้ี งไก ดังนัน้ ในชว งเวลากลาง
วันอาจตองเปด ไฟแสงสวาง (Artificial Light) บางสวนเพ่อื ใหม ีแสงสวางอยา งเพียงพอตลอดทงั้ โรงเรือน และใน
ชวงเวลากลางคืนตองเปดไฟแสงสวางเต็มที่เพ่ือชดเชยแสงสวางจากดวงอาทิตยที่ขาดหายไป ดังนั้น เคร่ืองวัด
ความเขมแสง (Light Meter หรือ Lux Meter) จึงมีความจำเปน เพ่ือการคำนวณออกแบบระบบไฟฟาแสงสวาง
อยางถูกตอง และการตรวจสอบความเขมแสงสวางเปนคร้ังคราว เพ่ือควบคุมความเขมแสงสวางใหมีไมนอยกวา
กำหนด จากเอกสารรายงานการทดลองเกี่ยวกบั การใชแสงสวา งในการผลิตไกเนื้อหลายฉบับ พอสรุปไดด งั น้ี

1) การใชส ขี องแสงสวา ง(LightColors)ชนดิ แสงเดยี่ ว(MonochromaticLight)ซง่ึ มคี า ความยาวคลนื่ แสง
(Wavelength) เฉพาะเจาะจงตอการใชงาน สามารถกระตุนการกินอาหารและการเจริญเติบโตของไกเน้ือไดดี
แตตองใชอยางถูกตองเหมาะสม เชน ตองรูและเขาใจเทคนิคการใชงานแสงเด่ียว ขอจำกัดการติดต้ังใชงาน
และมลู คา การลงทนุ อยา งไรกต็ าม จากการศึกษาเปรยี บเทยี บการใชแสงสขี าว (Daylight) ซึ่งเปนสวนผสมของแส
งทุกสีหรือแสงที่คนมองเห็น สามารถใชไดและใหผลท่ีตางกันไมมากนัก แตใชงานงาย ขอจำกัดนอย
และลงทุนตำ่ กวา ดงั นัน้ จึงแนะนำใหใชแ สงสวา งสีขาวกบั การเลีย้ งไกเ นือ้ ซ่ึงจะมีความคมุ คา มากกวา

14 วารสาร สัตวบาล

2) ความเขมแสงสวาง (Light Intensity) สงผลตออัตราการเจริญเติบโตและอัตราการบริโภคอาหาร
ของไกเน้ือนอยมาก แตการใชความเขมแสงสวางท่ีนอยเกินไป อาจสงผลตอพฤติกรรมและสุขภาพของไกได
และอาจขดั ตอ หลักสวัสดภิ าพสตั ว แตถา ใชความเขม แสงสวางมากเกินไป จะทำใหไกต ่นื ตัวอยเู สมอ ไกจะมกี าร
เคล่ือนไหวมากทำใหอัตราการใชอาหารมากขึ้น และไกอาจมีความกาวราวหรือจิกตีกันมากข้ึนทำใหเกิดการบาด
เจ็บหรอื มคี วามเสียหายสงู ขึ้น ซึง่ ลวนไมเ ปน ผลดีตอ การผลิตไกเนื้อ ดังนั้น ทางที่ดีควรจดั การเร่อื งความเขมแสง
อยางถกู ตองเหมาะสมตามคำแนะนำ อนึง่ การเปด ชอ งแสงสวางดานขางโรงเรอื น ควรจดั การอยางถูกตอง เพราะ
แสงสวางตามธรรมชาติมีความเขมแสงสูงมาก ประมาณ 100,000 ลักซ จึงไมควรเปดชองที่มีขนาดใหญเกินไป
หรือควรใชวัสดุพลางแสงชวยลดความเขมแสงสวางตามธรรมชาติลงบาง ท้ังนี้ อาจเกิดความยุงยากทางดาน
การจัดการมากข้ึน โดยเฉพาะโรงเรือนท่ีมีความกวางมาก จะควบคุมความเขมแสงสวางใหสม่ำเสมอกันไดยาก
ดงั น้นั จงึ ควรพิจารณาอยา งรอบคอบ เพื่อการผลิตไกเนอ้ื อยา งมปี ระสิทธิภาพ

3) ชว งเวลาแสงสวาง (Light Duration) มผี ลตออัตราการเจริญเตบิ โตและอตั ราการบรโิ ภคอาหารของ
ไกอยางมาก คำแนะนำการใหแสงสวาง นิยมบอกเปนจำนวนช่ัวโมงของเวลาใหแสงสวางในรอบวันตามระบบ
นาฬก า 24ชวั่ โมง โดยจะนบั เวลารวมกนั ทง้ั ชว งสวา งและมดื เชน ทอ งถนิ่ ทดี่ วงอาทติ ยข น้ึ เวลา 06:00 น.และตกเวลา
18:00น.จะมชี ว งสวา งตามธรรมชาติ12ชว่ั โมง/วนั ถา ตอ งการใหแ สงสวา ง17 ชว่ั โมง/วนั สำหรบั โรงเรอื นทมี่ ชี อ งแสง
จะตอ งเพมิ่ แสงสวา งจากธรรมชาติอกี 5 ช่ัวโมง/วนั โดยแบงการเปด ไฟแสงสวา งตอนเชา 2 ชัว่ โมง คอื เปด ไฟเวลา
04:00 - 06:00 น. และเปดไฟแสงสวา งในตอนเยน็ อีก 3 ชั่วโมง คือเปด ไฟเวลา 18:00 - 21:00 น. เปนตน การที่จะ
เปด ไฟแสงสวา งเพม่ิ ในเวลาใด ตอ งคำนงึ ถงึ ความสะดวกในการจดั การดแู ลเลย้ี งไกด ว ย อยา งไรกต็ าม เวลาการให
แสงสวางสำหรับการเล้ียงไกเนื้อไมมีสูตรตายตัว ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมในทองถ่ินและเปาหมายการผลิต
ไกเน้อื ของแตละฟารม ดว ย

คำแนะนำการใหแสงสวางสำหรับการเลี้ยงไกเน้ือในประเทศไทยโดยทั่วไป มีดังน้ี ในชวงเวลากกลูกไก
หรอื ลกู ไกม อี ายุ 7 วนั แรก ควรใหแ สงสวา ง 23 ชวั่ โมง/วนั (ปด ไฟแสงสวา ง 1 ชว่ั โมง/วนั ) โดยใชค วามเขม แสงสวา ง
20 - 40 ลักซ หลงั จากนั้น ลดความเขมแสงสวางลงเหลือ 10 - 20 ลักซ และใหแสงสวาง 17 - 20 ชั่วโมง/วนั ท้ังนี้
ขน้ึ อยกู ับอายุไกท ่ีจบั สงตลาดดวย เชน ถา จับไกสง ตลาดทอ่ี ายนุ อ ย (32 - 35 วนั ) ควรใหแ สงสวาง 20 ชัว่ โมง/วนั
ตั้งแตไกอายุ 8 วัน ถึงวันท่ีจับไก ถาจับไกสงตลาดที่อายุมาก (40 - 49 วัน) สามารถใหแสงสวางได 2 วิธีคือ
(1) ใหแสงสวางแบบคงที่ โดยใหแสงสวาง 17 ช่ัวโมง/วัน ตั้งแตอายุ 8 วัน จนถึงวันท่ีจับไก หรือ (2)
ใหแสงสวางแบบอตั ราลด โดยใหแสงสวาง 20 ชว่ั โมง/วนั ตงั้ แตไ กอายุ 8 - 32 วนั หลงั จากน้นั ใหล ดแสงสวา งลง
1 ชั่วโมง/วัน ทกุ ๆ 4 - 5 วนั โดยชวงเวลา 4 - 5 วันสดุ ทา ยกอ นจบั ไก ควรมแี สงสวา งไมน อยกวา 17 ช่วั โมง/วนั
ท้ังนี้ เพ่ือชวยลดอัตราความเสียหายในฝูงไกและประหยัดคาไฟฟา อยางไรก็ตาม การใหแสงสวางนอยกวา 14
ช่ัวโมง/วัน จะไมชวยเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการกินอาหารของไกแตอยางใด

*** โปรดตดิ ตามตอนท่ี 3 ในฉบับท่ี 127 ***

วารสาร สัตวบาล 15

⤹Á-à¹×éÍ: à¾ÔèÁ¡ÓäÃãËŒ¿ÒÏÁ⤹Á

áÅЪ‹ÇÂá¡Œ»˜ÞËÒ¡ÒâҴà¹×éͤسÀÒ¾ÊÙ§¢Í§»ÃÐà·È

สุนทราภรณ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต1

ความเหมาะสมของโคนม-เนื้อสำหรับการพัฒนาพนั ธโุ คนม
และการแกปญหาการขาดแคลนเน้อื โคคณุ ภาพสูงของประเทศไทย

อุตสาหกรรมโคนมของประเทศไทยมีปญหาเรื้อรังท่ีไมไดรับการแกไขอยางถูกตองและย่ังยืนคือการพัฒนาพันธุ
โคนมโดยมุงคัดเลือกผสมพันธุใหโคมีศักยภาพการผลิตนมตอตัวตอวันสูงแตเพียงอยางเดียวตลอดมา2 เปนผลใหโคนม
สว นใหญเ ปน โคฟรเี ชย่ี นเลอื ดสงู ซงึ่ มศี กั ยภาพในการผลติ นมในปรมิ าณมาก ผลทตี่ ามมากค็ อื ประสทิ ธภิ าพการผลติ ของโค
และผลตอบแทนในองคร วม ทเี่ กษตรกรควรไดร บั กลบั สวนทางกบั ศกั ยภาพการผลติ นมของโค เนอ่ื งจากแมโ คทมี่ ศี กั ยภาพ
การผลิตสูงตามกรรมพันธุ มักจะเปนโคฟรีเช่ียนเลือดสูงที่ไดรับการผสมพันธุยกระดับดวยพอพันธุที่ใหลูกท่ีมีศักยภาพใน
การใหน มสูงเพยี งดา นเดียว3 จงึ ขาดความสามารถในการใชอ าหารหยาบ (roughages) คุณภาพตำ่ ในขณะท่ีการผลติ นมมาก
ยอ มตอ งการใชโ ภชนะ (nutrients) ในการผลติ นมมากขนึ้ จงึ ไมอ าจไดร บั โภชนะพอเพยี งกบั การใหผ ลผลติ ตามศกั ยภาพทมี่ ี
อยไู ด แมจ ะมกี ารเสรมิ ดว ยอาหารขน (concentrates) ทมี่ โี ภชนะสงู ซง่ึ อาจจะอยใู นรปู อาหารสำเรจ็ รปู (Total-Mixed Ration,
TMR) หรอื อาหารสำเรจ็ รปู หมกั (Fermented TMR)4 ดว ยแลว กต็ าม กไ็ มอ าจจะชว ยได เพราะหากตอ งการใหโ คไดร บั โภชนะ
ที่จำเปนเพียงพอตอการผลติ นมมาก ก็ตอ งใชอ าหารขน (ซึ่งควรเปน เพยี งอาหารเสรมิ ) ในอตั ราสวนที่สูงมากและเกินความ
เหมาะสม กับระบบการยอยอาหารของโค ซึ่งเปนสัตวเคี้ยวเอื้องท่ีตองการอาหารที่มีความหยาบพอเหมาะสำหรับการ
ขยอกมาเค้ียวเอือ้ ง

1 Ph.D. (Genetics and Animal Science), University of Minnesota, Minneapolis and St. Paul, Minnesota, USA
M.S. (Dairy Science (Breeding)), Louisiana State University, Baton Rouge, Louisiana. USA
ก.ส.บ. เกยี รตนิ ิยมอันดบั 2 (สัตวบาล) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรงุ เทพมหานคร

2 มกี ารประกวดแขง ขนั โคทีร่ ดี นมไดม ากในเวลา 2-3 วนั ชงิ ถวยพระราชทานฯ เปน ตน
3 การคดั เลือกอยูบนขอ มลู ของโคทไ่ี ดรับการเล้ยี งดใู นสภาพความเปน อยูใ นโซนอบอนุ ซ่งึ มีอาหารหยาบคุณภาพดี
4 อาหารสำเร็จรปู หมักมีผลดมี ากสำหรบั โคขนุ แตย ังไมไดรับการยนื ยนั ทางวชิ าการวา จะมผี ลดีตอโครดี นมและผลติ ลูกมาก
นอ ยแคไ หน

16 วารสาร สัตวบาล

การที่ไมไดรับอาหารเพียงพอกับความตองการสำหรับการผลิตนมตามศักยภาพที่ถูกกำหนดโดยพันธุกรรม ทำให
โคตองดึงโภชนะท่ีสะสมอยูในรางกายดวยการสลายกระดูก กลามเน้ือและไขมันจากรางกายมาทำการผลิตนม ทำใหเกิด
การขาดสมดลุ ยข องพลงั งาน (negative energy balance) เปน ผลใหโ คมสี ขุ ภาพทรดุ โทรม ทำให หลงั จากเรม่ิ การใหน มตง้ั แต
ในแล็ค (lactation) แรก โคกลุมนี้จึงมักเพ่ิมโอกาสการ เปนโรคเตานมอักเสบ (mastitis) โรคไขนม (milk fever)
และการมปี ญ หากบี อกั เสบ (claw problems)5 ตลอดจนตกอยใู นภาวะการผสมตดิ ยาก ซง่ึ ทำใหเ กษตรกรตอ งเสยี คา ใชจ า ยเปน
คา ยาบำรงุ คา นำ้ เชอ้ื และคา บรกิ ารผสมเทยี มซำ้ ๆ เพม่ิ ขน้ึ เกนิ กวา ปกติ แตก ย็ งั ไมส ามารถชว ยใหโ คผลติ ลกู และรดี นมไดท กุ ป
ตามธรรมชาตขิ องโคได เปนผลให ผลผลิตโดยรวมในวงจรชวี ิตการผลติ ของโคทีม่ ีศกั ยภาพทางพันธุกรรมในการใหนม
ตอวันสูงเกินไปน้ี ยังต่ำกวาศักยภาพทางพันธุกรรมท่ีมี และใหผลตอบแทนในองครวมไดต่ำกวา การเลี้ยงโค “ลูกคร่ึง”
ทสี่ ามารถใชอ าหารคณุ ภาพตำ่ ไดด พี อทจี่ ะไดร บั โภชนะพอเพยี งกบั ความตอ งการสำหรบั การผลติ นมตามศกั ยภาพทมี่ ซี ง่ึ ไม
สูงมากเกินไป อีกดวย

โค “ลูกคร่งึ ” ทง้ั ที่เกดิ จากสายโคเน้อื หรอื โคนม เปน โคอภชิ าตพิ นั ธุ (heterotic breed) ทมี่ ีความแข็งแกรง ทนทาน
สามารถเจรญิ เตบิ โตและใหผ ลผลติ ในสภาพแวดลอ มทขี่ าดความอดุ มสมบรู ณ และมโี รคพยาธเิ มอื งรอ นชกุ ชมุ ไดด เี กนิ พนั ธุ
พอแม อันเปนอภิชาติสมบัติ (heterosis หรือ hybrid vigor) ที่ไดจากการผสมขามชนิดพันธุ (species crossing) ระหวาง
โคเมืองหนาว (Bos taurus) กับวัวเมืองรอน (Bos indicus) จึงทำใหโค “ลูกครึ่ง” ท้ังจากสายโคเน้ือและสายโคนมมี
ประสทิ ธภิ าพการผลติ สงู ภายใตก ารเลย้ี งดแู บบปกตทิ ว่ั ไปของเกษตรกรสว นใหญข องประเทศไทยและของ AECไดเ ปน อยา งดี

อยางไรกต็ าม แมโ คนม “ลูกคร่ึง” จะมศี กั ยภาพการผลติ นมและมคี วามตอ งการโภชนะพอดีกบั ที่จะสามารถไดจาก
อาหารคณุ ภาพตำ่ ทมี่ อี งคป ระกอบเหมาะสมกบั การยอ ยได ในปรมิ าณทเี่ หมาะกบั การกนิ ได และความจขุ องกระเพาะของโค
ทำใหม ีชวี ิตทีส่ มบรู ณและสามารถใหล ูกปล ะตวั และผลติ นมไดป ละแล็ค (หรืออยางนอ ยไดลูกและรีดนมได 5 ครั้งใน 6 ป)
ตลอดชีวิตการผลิตตามปกติของโคไดก็จริง แตก็มีปญหาในการรักษา อภิชาติสมบัติของโคนม “ลูกครึ่ง” ในรุนลูกหลาน
เชน กัน

อนึ่งเพ่ือใหไดผลตอบแทนจากโคนม “ลูกครึ่ง” อยางเต็มศักยภาพโค “ลูกครึ่ง” ตองมีรูปทรง (conformation)
ไปทางโคเน้อื ดว ย เพอ่ื ใหไ ดผลตอบแทนจากการผลิตเนอ้ื จากลกู โคผแู ละโคเมยี คดั ออกและปลดระวางดวย

ดังน้ันจึงตองพัฒนาพันธุโคนมใหเปนฝูงโคนมท่ีมีความเปนโค “ลูกครึ่ง” ที่มีลักษณะเปนโคนม-เนื้อซึ่งสามารถ
ผลิตนมไดพอเพียงและผลิตเน้ือสวนท่ีเปนที่ตองการของตลาดในสัดสวนที่สูงดวยและยังตองสามารถรักษาอภิชาติสมบัติ
ของโค “ลกู คร่งึ ” ไวด วย

5 Pryce et. al.1997

วารสาร สัตวบาล 17

โคนม-เน้ือสามารถชว ยแกปญ หาการขาดแคลนเนื้อโคคณุ ภาพสูง

การดำเนินการพัฒนาโคนม-เนื้อ “ลูกคร่ึง” นอกจากจะพัฒนาการผลิตนมใหมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึนแลว ยังจะชวย
แกปญหาการการขาดแคลนโคขุนไดดวย เพราะประเทศไทยมีฐานแมโคนมฟรีเชี่ยนเลือดสูงอยูประมาณ 500,000 ตัว
มากกวาฐานแมโคนมกวา 2 เทาตัว และหากผสมโคฟรีเชียนเลือดสูงในฝูงโคนมกับพันธุโคเนื้อในก็จะไดลูกโคนม-
เนอ้ื ทเ่ี หมาะกบั การขนุ ทนั ที อยา งเชน ทป่ี ฏบิ ตั อิ ยใู นประเทศนวิ ซแี ลนด6 ซง่ึ การขนุ ลกู โคนมนเ้ี คยมปี ระสบการณใ หเ หน็ แลว
ในสหรัฐอเมริกา วาการขุนลกู โคทผี่ านการเลีย้ งดูดว ยอาหารขน แบบลกู วัวนม (calf-fed) มาตงั้ แตเ ลก็ ๆแลวขุนตอถงึ 12-14
เดอื นกจ็ ะสามารถผลิตโคขุนทม่ี เี นื้อคณุ ภาพดีมเี นือ้ นุม (tender) และมีไขมนั แทรกดี (well marbled)7ได ซง่ึ ยังไดผ ลดกี วา
การขุนลกู โคเนือ้ ท่ีใหแมเลี้ยงตามปกติ ซึง่ ตอ งขนุ ถงึ อายุทสี่ ูงข้นึ จงึ จะไดคณุ สมบัตดิ งั กลาว

ดังน้ันการใชโคนมมารวมในการผลิตและพัฒนาพันธุโคเน้ือดวย ซึ่งเปนหนทางแกปญหาในระยะสั้นอยางตรงจุด
และทันที ท้ังยังสามารถใชเปนฐานในการพัฒนาการผลิตโคนม-เน้ือในระยะยาวควบคูไปกับแผนงานและโครงการพัฒนา
โคเน้อื ท่ีกำลงั ดำเนินการอยูไดด ว ย

วิธีการพฒั นาฝงู โคนม-เนอ้ื “ลูกครึ่ง” ในประเทศไทย

การดำเนินการพัฒนาพันธุโคนม-เนื้อในประเทศไทยควรเปนการผสมยกระดับพันธุโคในฝูงโคนมเดิมดวยโคเน้ือ
พนั ธสุ ังเคราะหโ ดยมีขัน้ ตอนดงั น:ี้

การคดั เลือกพันธุสังเคราะห (Selection of Synthetic/Composite breeds)
ในการพัฒนาพันธุโคโคนม-เน้ือจากฝูงโคนม จำเปนตองคัดเลือกพันธุโคเนื้อท่ีเปนพันธุสังเคราะห (Synthetic
หรือComposite breeds) ที่ไดพิสูจนแลววาเหมาะสำหรับการเลี้ยงดูตามสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย และไดรับความ
นยิ มจากเกษตรกรผเู ลย้ี งโคเนอ้ื อยดู ว ย ทง้ั ยงั ตอ งเปน พนั ธทุ ม่ี กี ารคดั เลอื กใหม นี ำ้ นมมากและมคี วามเชอ่ื งสามารถรดี นมไดด ว ย
ซ่ึงในขณะนี้เห็นวาโคท่ีมีคุณลักษณะที่ตองการท่ีมีอยูในประเทศและเปนท่ีนิยมของเกษตรกรผูผลิตโคเน้ือคือโคพันธุ
บฟี มาสเตอร (Beefmaster) ซึ่งเปน โคพนั ธุสงั เคราะหแ บบรวมพนั ธุ (composite breed) ดวยเหตุผลหลกั ๆ ดงั นี้8:

6 Lee-Jones and Hanson. 2017
7 Felix, et. al. 2017
8 ดรู ายละเอยี ดท่มี า คุณสมบัติ และความเหมาะสมไดจากเอกสารอา งอิงที่ 1

18 วารสาร สัตวบาล

1) ดว ยมกี ารคดั เลอื กคณุ ลกั ษณะเตา นมและการใหน มมากอยา งเครง ครดั ตลอดมาตง้ั แตใ นฝงู โคดงั้ เดมิ ทงั้ ไดค ดั เลอื ก
ความเชื่องดวยทำใหสามารถใชโคบีฟมาสเตอรเปนโคนมไดดีดวย จนทำใหในสหรัฐอเมริกาเอง แมจะถือวาบีฟมาสเตอร
เปนพันธุ โคเน้ือ (beef breed) แตกไ็ ดจัดใหบ ฟี มาสเตอรเ ปน “โคทุตยิ ประสงค” (dual purpose cattle) และใชเปน “โคนม-
เนือ้ ” (dairy-beef cattle)9 ผลิตท้งั เนอื้ และนมดว ย

2) คณุ ลกั ษณะโคนม-เนอ้ื ของบฟี มาสเตอรน ส้ี ามารถนำไปใชป รบั พนั ธโุ คนมในฝงู โคนมปจ จบุ นั ทม่ี สี ายเลอื ดพนั ธุ
โคเมอื งหนาวอยสู งู ลงเสยี บา ง10หรอื แมก ระทงั่ ผสมยกระดบั ใหก ลายเปน โคนม-เนอ้ื (dairy-beef dual purpose cattle) ทเ่ี ลย้ี งงา ย
เหมาะสำหรับสภาพแวดลอม อาหารและการเลี้ยงดูท่ีเปนธรรมชาติ และใหผลตอบแทนคุมคากวาท่ีเปนอยูเดิม ในระบบ
การเลย้ี งดูทปี่ ฏิบัติอยโู ดยเกษตรกรไทยในปจจุบนั 11

3) การนำโคบีฟมาสเตอรมาใชเปนโคนมหรือนำมาพัฒนาโคนม เปนการเพ่ิมการผลิตลูกโคสำหรับขุนไดอีกดวย
สวนแมโคเม่ือปลดระวางก็สามารถเปนวัวท่ี “ขุนข้ึน” ไดดีอีกเชนกัน เปนการเพิ่มรายไดและผลตอบแทนใหแกเกษตรกร
และเปน การเพม่ิ ปรมิ าณการผลิตนมและเน้อื โคของประเทศไปดว ย

4) การปรบั ปรงุ พนั ธโุ คนม ดว ยพนั ธบุ ฟี มาสเตอรจ ะทำใหโ ครนุ ลกู หลานไดร บั คณุ สมบตั ทิ ด่ี ดี า นความสมบรู ณพ นั ธุ
(fertility) ท่ีจะชวยลดปญหาการผสมไมติดและการมีลูกหาง ซ่ึงเปนปญหาหลักในการผลิตโคนมในบานเราได เพราะ
โคพนั ธุบีฟมาสเตอรไ ดผา นการคดั เลือกแบบเขม ขน ดานความสมบรู ณพ นั ธุ มานานกวา 1 ศตวรรษ ในสภาพการเลีย้ งดูท่ี
“ทรุ กนั ดาร” กวา การเล้ยี งโคนมในบา นเรามาก12 ซง่ึ จะทำใหการเล้ยี งโคนมมปี ระสิทธิผลเพ่ิมข้นึ อยา งมาก

5) โคพันธุบีฟมาสเตอรไดรับการคัดเลือกใหเปนโคที่ใหลูกแรกคลอดมีน้ำหนักนอยแตโตเร็วและใหน้ำหนักหยา
นมสงู กวา พนั ธอุ นื่ ทำใหส ามารถผสมกบั โคสาวไดโ ดยไมม ปี ญ หาคลอดลกู ยากแตล กู โคจะยงั โตเรว็ และมนี ำ้ หนกั หยา นมสงู

9 เทา ทีท่ ราบฝร่ังเรยี กแต “dairy-beef” อยา งเดยี วไมเ รียกกลบั กนั อาจจะเปนเพราะโคใหน มกอนจะใหเ นื้อกไ็ ด (เดาเอา)
10 นาจะมกี ารยอมรบั โดยเกษตรกรมากกวาการใชโ คลูกผสม ฟรเี ช่ยี น 75% ดงั ที่มีการสง เสริมอยใู นขณะนื้ เพราะบฟี มาสเตอร
สามารถใหลกู ท่ีมีคุณสมบัตสิ ม่ำเสมอกนั มากกวาและใหผลผลิตท้งั เนอื้ และนมทำใหมีรายไดด กี วาดวย
11 มชี อ งวา งทค่ี วรจะพฒั นาไดใ นอนาคตหากทางรฐั และผรู บั ซอ้ื นมสามารถกำหนดกฏเกณฑท ป่ี ฏบิ ตั แิ ละควบคมุ ไดอ ยา งจรงิ จงั
12 ในปจจุบันทุงเล้ียงสัตว (ranches) ตางๆถูกแบงยอยใหลูกหลาน ซ่ึงผูท่ีตองการเล้ียงโคตองพัฒนาเปนแปลงหญา (pasture)
และมีการจัดการแบบฟารมโค และเทาที่สังเกตไดทุก ranches ที่ผูเขียนไดไปเย่ียมมาเร็วๆน้ีจะมีฟารมแยกกัน 4-5 ฟารม
(บางฟารมเปนทีเ่ ชา ) ขนาด 200-2,000 ไร ทอี่ ยูหางกนั 5-20 ก.ม. และระหวา งแตล ะฟารมก็คัน่ ดว ยบานคนและโรงงาน ไมเห็นมี
ranches อยา งท่ีเคยเห็นสมัยที่ไปเรียนหรอื ไปคดั เลือกซือ้ โคบราหม ันเมอ่ื สมยั 50-60 ปกอน

วารสาร สัตวบาล 19

6) ในประเทศไทยไดมีประสบการณ13 ในการใชพอพันธุโคพันธุบีฟมาสเตอรคุมฝูงโคเน้ือในทุงหญาไดผลดี
โดยไมตองเลี้ยงดูเปนพิเศษ ฉะนั้นจึงจะสามารถใชคุมฝูงหรือจับผสมในฝูงโคนมไดดีดวย ซึ่งจะชวยแกปญหาการผสมติด
ยากในโคนมท่ปี ระสบอยูในปจจบุ ันไดดว ย

7) จากประสบการณในการใชโคพันธบุ ีฟมาสเตอรเพ่อื พัฒนาอภิชาติสมบตั ใิ นโคเนอื้ “ลูกครึ่ง” ไดผลเปนทพี่ อใจ
อยา งมากในหมผู ูประกอบการและเกษตรกรผเู ลย้ี งโคเนอื้ 14

8) กรมปศุสัตวม ีน้ำเชือ้ แชแ ขง็ (frozen semen) พรอ มใหบ รกิ ารอยูแลวทงั้ ทผ่ี ลติ เองและนำเขา โดยเฉพาะอยางยง่ิ
ผลการใชน ำ้ เชอ้ื ผลติ เอง15ทผ่ี า นมาใหผ ลเปน ทพ่ี อใจของเกษตรกรอยา งมากเพราะลกู โคสว นใหญม รี ปู รา งลกั ษณะสมำ่ เสมอกนั
มากแมแ มพ นั ธุจะแตกตางพนั ธุกัน อีกท้ังลูกโคเจริญเติบโตเร็วกวาโครนุ แม

การสรรหาฟารมตวั อยางและการวจิ ัย

เน่ืองจากไดมกี ารสง เสริมพฒั นาพนั ธโุ คนมโดยมุงการผลติ น้ำนมสงู มานานกวา 50 ปไดฝ งความเชอื่ ของเกษตรกร
จนยากทจ่ี ะเปลยี่ นแปลงแกไ ขทง้ั ผทู ม่ี คี วามรบั ผดิ ชอบดา นนโยบายและการพฒั นาพนั ธโุ คนมกย็ งั คงเปา หมายเดมิ ๆทต่ี อ งการ
ใหโคสามารถใหนมสงู ท่ีสดุ เทาทีจ่ ะเปน ไดไ ว ดังนนั้ การจะเปล่ียนหลักการพัฒนาพันธทุ ี่มีอยเู ดมิ เปนการพัฒนาพันธุใหโ ค
สามารถใหผ ลผลติ พอดกี บั อาหารและสภาพแวดลอ ม (optimum production) จำเปน ตอ งมตี วั อยา งใหเ หน็ โดยมขี อ มลู ชดั เจน
จึงจำเปนตองหาฟารมตัวอยาง เพ่ือทำการวิจัยเปรียบเทียบผลผลิตในองครวมใหเห็น โดยมีการเก็บขอมูลเปรียบเทียบครบ
ทกุ ดา นเชน ปรมิ าณนำ้ นม สขุ ภาพโค ความมอี ายยุ นื และ จำนวนลกู โคทเ่ี กดิ ในชว งชวี ติ โค รายจา ยและรายรบั ตอ โคแตล ะกลมุ
ตลอดจนสขุ ภาพจิตของเจาของผเู ล้ยี งโค เปนตน การเปรียบเทียบขอ มลู ขางตนสามารถทำไดโดยในแตละฟารมใหสุมเลอื ก
โคท่ีจะใชวิธีผสมพันธุตามแนวทางเดิมและการผสมดวยน้ำเชื้อโคพันธุบีฟมาสเตอรอยางละครึ่ง ซ่ึงควรใชเวลาดำเนินการ
ประมาณ 5 ปกจ็ ะไดข อมูลคอ นขางสมบูรณ (หากเกษตรกรตองการจะเพมิ่ โคทผี่ สมดว ยบีฟมาสเตอรในกลางคนั เพราะเหน็
ดกี ค็ วรอนุญาต)

13 ท่ไี รก ำนัลจุล จ. เพชรบรู ณ และไทยเสรีฟารม (Ts Farm) จ. กำแพงเพชรและอาจจะทอ่ี ื่นทีผ่ ูเขยี นยงั ไมไดพบเห็น
14 ดขู อมูลจากฟารมชวนชืน่ และอน่ื ๆไดจากเอกสารอา งองิ ที1่
15 ยังไมม ีการปลอยน้ำเชื้อนำเขา ออกมาบริการ

20 วารสาร สัตวบาล

การทดลองในฟารม ตวั อยา ง/วจิ ยั นค้ี วรดำเนนิ การกระจายไปตามแหลง โคนมตา งๆโดยหลายหนว ยงานและสถานศกึ ษา
ซง่ึ คาดวา จะสามารถปรบั ความเชอ่ื ของผคู วบคมุ นโยบาย นกั สง เสรมิ และเกษตรกรเองกอ นการสนิ้ สดุ ทดลอง (ซงึ่ ควรใชเ วลา
ดำเนนิ การประมาณ 5 ป)

การแทรกซมึ ความเขาใจสูเ กษตรกรโดยตรง

หากองคกรท่ีรับผิดชอบโดยตรง (กรมปศุสัตว และองคการสงเสริมกิจการโคนมแหงประเทศไทย (อสค.)) สนใจ
แนวทางการพัฒนาพันธุโคนมโดยใชโคเนื้อพันธุบีฟมาสเตอร ก็สามารถดำเนินการไดทันทีโดยชักนำใหเกษตรกรผูเลี้ยง
โคนมที่มีลักษณะเปนผูนำ (Pilot Farmer) ผสมโคนมของตนเองดวยน้ำเช้ือโคพันธุบีฟมาสเตอรโดยเลือกผสมโคท่ีมีเลือด
โคเมอื งหนาว (ฟรเี ชย่ี น)มากทส่ี ดุ ประมาณ 1 ใน 10 ของโคในฟารม เปน อยา งนอ ย กจ็ ะไดเ หน็ ผลการเจรญิ เตบิ โตของลกู โค
และเหน็ ผลผลติ นมเมื่อมกี ารรดี นมในรนุ ลกู ซงึ่ เม่ือถงึ จดุ นั้นเกษตรกรคงหันมาเดินตามแนวทางนี้เปนสว นใหญ

การคัดเลอื กผสมพนั ธโุ คนม-เนอื้

หากการดำเนินการขางตนเปนผลสำเร็จและฝูงโคนมในประเทศกลายเปนโคนม-เน้ือเปนสวนใหญและใหผลผลิต
ดีตามเปาหมายโดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีการผสมยกระดับถึงชวงท่ี 3 (Filial 3, F3) ก็ควรมีการคัดเลือกผสมพันธุภายในฝูง
และแลกเปล่ียนพอพันธุกันเองได เพื่อไมตองพ่ึงน้ำเชื้อโคพันธุบีฟมาสเตอรอีกตอไปและสามารถใชพอพันธุผสมตาม
ธรรมชาตไิ ดเ ปน การประหยดั และเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผสมตดิ ดว ย ทง้ั นต้ี อ งมกี ารกำหนดคณุ ลกั ษณะทจ่ี ำเปน ใหเ หมาะสม
ในการคดั เลือกพันธใุ หเ ปน อนั หนง่ึ อนั เดยี วกัน ก็จะเกดิ ฝูงโคนมท่มี อี ดุ มลกั ษณะใกลเคียงกนั ทวั่ ประเทศได

บทสง ทาย

ในปจ จบุ นั ประเทศตา งๆทไ่ี ดพ ฒั นาพนั ธโุ คและเทคนคิ การผลติ นมถงึ ขนั้ สดุ ยอดแลว กำลงั หนั มาเดนิ สายกลางเพอ่ื
การผลติ นมแบบพอดพี อเพยี ง (optimum production) ทใี่ หป ระโยชนส งู สดุ ตอ ผเู ลย้ี งโคและผบู รโิ ภค ตลอดจนความเปน อยทู ดี่ ี
(welfare) ของโคและความเปน มิตรที่ดีตอ สง่ิ แวดลอม (environmental friendly) โดยการหนั มาเลย้ี งโคนม-เน้ือแทนโคนม
เพอ่ื ผลติ ทง้ั นมและเนอ้ื ในระบบการเลย้ี งดใู กลธ รรมชาตขิ องโคทส่ี ดุ เพอ่ื ใหโ คใหผ ลผลติ นมพอดกี บั อาหารทใ่ี กลธ รรมชาติ
การกนิ ของโคและมสี ุขภาพท่ีดีมีลูกถ่ีใหผ ลตอบแทนในองคร วมสูงสดุ ตอ ผเู ล้ยี ง

อนงึ่ ลกู โคนมเพศผทู ่ผี านการเลีย้ งดดู วยอาหารแทนนม (milk replacers) และไดกนิ อาหารจากธญั ญพืช (grain-fed)
มาต้ังแตยังอายุนอยนั้น เมื่อขุนถึงอายุ 12-14 เดือน จะสามารถใหเนื้อคุณภาพดีมีไขมันแทรก (marbling) และมีความนุม
(tenderness) มากกวาลูกโคเนื้อที่เล้ียงใหกินนมแมและกินหญาเม่ือหยานมตามปกติเสียอีก จึงเปนหนทางท่ีจะเพิ่มปริมาณ
เน้อื คุณภาพอยางมปี ระสิทธิภาพอีกทางหน่ึงดวย

วารสาร สัตวบาล 21

สำหรับประเทศไทยซึ่งมีภูมิอากาศไมเหมาะสมกับการผลิตหญาท่ีเปนอาหารธรรมชาติของโคใหมีคุณภาพสูง
ทดั เทยี มกบั ตา งประเทศในโซนอบอนุ ทงั้ ไมเ หมาะสมกบั โคเมอื งหนาวทใ่ี หน มมากดว ย ยง่ิ มคี วามจำเปน ทจ่ี ะตอ งเลยี้ งโคท่ี
ใหผลตอบแทนดีท่สี ดุ ในสภาพอาหารท่ีพัฒนาใหไ ดเหมาะสมกับธรรมชาตกิ ารกนิ ของโค และในสภาพแวดลอมทร่ี อ นชน้ื
ในบานเรา ซ่ึงควรจะเปนโคนม-เนื้อ (dairy-beef cattle) พันธุ “ลูกคร่ึง” ท่ีสามารถใชอาหารหยาบคุณภาพต่ำไดดีพอใน
สภาพภมู อิ ากาศรอ นชื้น มคี วามทนทานตอ โรคและพยาธเิ มอื งรอน และมีศักยภาพการใหน มในปรมิ าณพอดกี บั อาหารทถี่ ูก
สุขลักษณะของโค และสามารถใหลูกถี่และทั้งลูกและแมสามารถเปนโคขุนท่ีมีศักยภาพในการผลิตเน้ือสูงดวย เพ่ือใหได
ผลตอบแทนในองคร วมไดสูงสดุ

ดงั น้นั จึงมคี วามจำเปน ตองเปล่ยี นความคิดของเกษตรกรผเู ล้ยี งโคนม ใหพ อใจกบั โคที่ใหน มพอดีใหล กู ถ่ีและขนุ ขนึ้
แทนโคทใ่ี หน มตอ ตวั ตอ วนั สงู สดุ ซง่ึ ในการน้ี อสค. ตอ งเปลย่ี นแปลงมาตรฐานในการประกวดโคจากการใหน มตอ ตวั ตอ วนั
สูงสดุ เปน การประกวดฟารมทม่ี โี คสุขภาพดใี หผ ลตอบแทนสูงสุดทัง้ การเงินและสุขภาพจิตของผเู ลย้ี งแทน แลว ใหบริการ
ผสมเทียมดวยน้ำเช้ือโคเนื้อพันธุสังเคราะหที่มีประสิทธิภาพในการผลิตเนื้อท่ีดี มีลูกแรกเกิดน้ำหนักนอยคลอดงาย
ซ่ึงในขณะน้ีโคท่ีไดคุณสมบัติดังกลาวไดแกโคพันธุสังเคราะห “บีฟมาสเตอร” ที่กรมปศุสัตวมีน้ำเช้ืออยูแลวและเปนที่
ตองการของผเู ล้ียงโคเนอ้ื สว นใหญอยูม าก

จงพัฒนาพนั ธใุ หไดส ัตวท ่ีใหผ ลผลิตและผลตอบแทนทีด่ ที สี่ ุด
ในสภาพแวดลอ มท่ไี ดพ ฒั นาแลว
จง มองไกล ไฝรู สูงาน
ประสานสามคั คี
ทำดี เพอื่ สวนรวม

22 วารสาร สัตวบาล

เอกสารอางอิง

1. สนุ ทราภรณ รตั นดลิ ก ณ ภเู กต็ . 2561. บฟี มาสเตอร: ทำไมและใชอ ยา งไรจงึ จะไดป ระโยชนส งู สดุ . วารสารสตั วบาล
ฉบบั ท่ี 121 ประจำเดือนพฤษภาคม-สงิ หาคม 2561. กรุงเทพฯ

2. Buckley,F.,S. Walsh and P. Dillon. 2008. Comparison of breed of dairy cow under grass-based spring milk
production system. Final report Project number 4980. Teagasc, Dairy Production Research Centre.Fermoy,
Co. Cork, Irland

3. Delaby, L., P. Faverdin, G. Michel, C. Desehaus and J.L. Peyruad. 2009. Effects of different feeding strategies on
lactation performance of Holstein and Normande dairy cows. Animal Science 3:891-905.

4. Dillon,P., F. Buckley, P O’Connor, D. Hegarty and M. Rath. 2003. A comparison of different dairy cow breeds
on seasonal grass-based system of milk production: Milk production, live weight, body condition score and DM
intake. Livestock Production Science 83: 21-33.

5. Drouillard, J. S. 2018. Current situation and future trends for beef production in the United State of America.
Asian-Australasian Journal of Animal Sciences 31(7): 1007-1016

6. Eng, K.S. 2005. Dairy Beef Production Past, Present & Future. Eng Inc & -K- Ranches, San Antonio, Texas. Steers
Proceedings, University of Minnesota Dairy…, 2005 e– xtension. Iastate.edu

7. Evans, R.D., P. Dillon, L Shalloo, M. Wallace and J. Garrick. 2004. An economic comparison of Dual-Purpose
and Holstein Friesian cow breeds in a seasonal grass-based system under different milk production scenarios.
Irish Journal of Agriculture and Food Research 43: 1-16

8. Felix, Tara L., Lynn F. Kime, Jay K. Harper and John Comerford. 2017. Dairy-Beef Production. PenState Extension.
9. Fulkerson, W.J., T.M. Davision, S.C. Garcia, G. Hough, M.E. Goddard, R. Dobos and M. Blockey. 2008.

Holstein-Friesian dairy cows under a permanently grazing system: Interaction between genotype and environment.
Journal of Dairy Science 91:826-839.
10. Geiser, Jared and Brenda Boetel. 2017. Dairy Cattle Impact on Beef Supplies. Posted in A, ACMC, Cattle, Dairy,
Industry News. November 6, 2017
11. Greenwood, P.L., G.E. Gardner, D.M. Ferguson. 2018. Current situation and future prospects for Australian beef
industry-A review. Asian-Australasian Journal of Animal Sciences 31(7): 992-1006
12. Haiger, A. and W. Knaus. 2010. A comparison of dual-purpose Simmental and Holstein-Friesian dairy cows in
milk and meat production: 1st comm. Milk production without concentrates. Zuchtungskunde 82: 131-143
13. Horn, M., Andreas Steinwider, Johan Gasteiner, Leopold Podstatzky, Alfred Haiger, Werner Zollitsch.2013.
Suitability of different dairy cow types for an Alpine organic and low-input milk production system. Livestock
Science 151:135-146.

วารสาร สัตวบาล 23

14. Kaptijn, Gerdine and Egbert Lantinga. 2018. Evaluation of the Performance of dual-purpose cows in European
pasture-based systems. Master thesis, University of Wageningen. Farming System Ecology Group. The Netherlands.

15. Lee-Jones, D. and S. Hanson. 2017. New Zealand Cattle and Beef Production Annual report 2017. GAIN Report
No: NZ1705. USDA Foreign Agricultural Service, Global Agricultural Information Network. 2017.

16. Medugorac. I., A. Medugorac, I. Russ, C.E. Viet-Kencsh, P. Tarberlet, B. Luntz, H.M. Mix and M. Forster. 2009.
Genetic diversity of European cattle breeds highlights the conservation value of traditional unselected breeds with
high effective population size. Molecular ecology 18:3394-3410.

17. Montgomerie, W.A. 2002. Experiences with dairy cattle crossbreeding in New Zealand. Paper prepared for the
53rd Annual Meeting of European Association for Animal Production, Cairo, 1-4 September 2002

18. Peden, Robert. 2519. Beef Farming. Te Ara - the Encyclopedia of New Zealand http://www. TeAra.govt.nz/en/beef-farming
19. Pryce, J., R. Veerkamp, R. Thomson, W. Hill and G. Simm. 1997. Genetic aspects of common health disorders

and measures of fertility in Holstein-Friesian dairy cattle. Animal Science 65:353-360.
20. Reklewski, Z., H. Jasiorowski, M. Stolzman, A. De Laurans.1985. 1985. Testing of different strains of Friesian

cattle in Poland II. Beef performance of male crossbreds of different Friesian cattle strains under intensive feeding
conditions. Livestock Production science 12(2): 117-119.
21. Roche J. R., D.P. Berry and E. S. Kolver. 2006. Holstein-Friesian strain and feed effects on milk production, body
weight and body condition profiles in grazing dairy cows. Journal of Dairy Science 89:3532-3543.
22. Roche J. R., N.C. Friggens, J.K. Kay, M.W. Fisher, K.J. Stafford and D.P. Berry. 2009. Invited review:
Body condition score and its association with dairy cow productivity, health and welfare. Journal of Dairy Science
92:5769-5801.
23. Royal, M.D., A.P.F. Flint and J.A. Wooliams. 2002. Genetics and phenotypic relationships among endocrine and
traditional fertility traits and production traits in Holstein-Friesian dairy cows. Journal of Dairy Science 85:958-967.
24. Syrstad, O. 1993. Evaluation of dual purpose (milk and meat) animals. World Animal Review 77:56-59
25. Theunissen, B. 2012. Breeding for nobility or for production? Culture of dairy breeding in Netherlands,1945-1995.
Isis 103: 278-309.
26. Vickers, M.?. Better Return Programme: Beef production from the dairy herd. Agriculture & Horticulture
Development Board Beef & Lamb, Stoneleigh Park, Warwickshire CV8 2TL
27. Windig, J.J., M.P.L. Calus, B. Beerda, R.F. Veerkamp. Genetic correlations between milk production and health
and fertility depending on herd environment. Journal of Dairy Science
28. Zarnecki, A., J. Jamrozik and H.D. Norman. 1991. Comparison of ten Friesian strains in Poland for yield traits
from first parities. Journal of Dairy Science 74: 2303-2308.

24 วารสาร สัตวบาล

¡ÒÃãªÁŒ ѹàÊŒ¹Ã‹ÇÁ¡ºÑ ¹Óé Á¹Ñ »ÒÅÁ ´Ôºà¾×èÍ·´á·¹¢ŒÒÇâ¾´ã¹ÊÙμÃÍÒËÒÃ䡋䢋

μ‹ÍÊÁÃöÀÒ¾¡ÒüÅÔμáÅФسÀҾ䢋

Use of Cassava Meal and Crude Palm Oil to Substitute for Maize in

Laying Ration on Performance and Egg Quality

ทศพร อินเจริญ1* ขัตติยา ลานแปง1 และณรกมล เลาหรอดพันธ2
Tossaporn Incharoen1* Khattiya Lanpang1 and Norakamol Laorodpun2
1ภาควิชาวิทยาศาสตรการเกษตร คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก ประเทศไทย 65000
2สาขาสัตวศาสตร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก ประเทศไทย 65000
1Department of Agricultural Science, Faculty of Agriculture Natural Resources and Environment,

Naresuan University, Phitsanulok, Thailand 65000
2School of Animal Science, Faculty of Food and Agricultural Technology,

Pibulsongkram Rajabhat University, Phitsanulok, Thailand 65000
*Corresponding author: [email protected]

Abstract
The objective of this experiment was to determine the effect of using cassava meal and crude palm oil to substitute
for maize in laying ration on performance and egg quality. One hundred and twenty 60 weeks old Hy-Line Brown laying
hens were divided into four dietary groups, each with 10 replicates of 3 birds. Birds were fed diet containing cassava meal
+ crude palm oil in ration at 0% + 1.8% (T1), 10% + 2.1% (T2), 20% + 2.3% (T3) and 30% + 2.6% (T4) for 10 weeks of
experimental period. Results showed that a significant data on egg performance and egg quality was not observed among
groups, except feed cost per 1 kilogram of egg decreased (P<0.05) in T2, T3 and T4 groups. Similarly, yolk index was
higher (P<0.05) in T2 and T3 groups. Yolk color was lower (P<0.05) in T2, T3 and T4 groups, respectively. The present
results suggest that cassava meal can be maximal used at 30% in laying ration to substitute for maize when included 2.6%
crude palm oil without an adverse impact on egg performance and egg quality. Exceptionally, yolk color tended to decrease
(P<0.05) when increasing dietary cassava meal levels.

Keywords: cassava meal, crude palm oil, maize replacer, egg performance, egg quality

วารสาร สัตวบาล 25

บทคดั ยอ
วตั ถปุ ระสงคข องการทดลองนเ้ี พอ่ื ศกึ ษาผลของการใชม นั เสน รว มกบั นำ้ มนั ปาลม ดบิ เพอ่ื ทดแทนขา วโพดในอาหาร
ไกไขตอ สมรรถภาพการผลติ และคณุ ภาพไข ใชไกไ ขส ายพนั ธุ Hy-Line Brown อายุ 60 สัปดาห จำนวน 120 แบง ออกเปน
4 กลมุ ๆ ละ 10 ซ้ำๆ ละ 3 ตัว ประกอบดวย กลุมทไ่ี ดร บั อาหารทใี่ ชมนั เสน บด + นำ้ มันปาลม ดิบ ท่ีระดับ 0 + 1.8 (T1), 10 +
2.1 (T2), 20 + 2.3 (T3) และ 30 + 2.6 (T4) เปอรเ ซ็นต ตามลำดบั ระยะเวลาทดลอง 12 สัปดาห จากผลการทดลองชี้ใหเ ห็นวา
ขอมูลสวนใหญท่ีเก่ียวของกับสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไขมีคาไมแตกตางกัน (P>0.05) ยกเวน ตนทุนคาอาหารตอ
การผลิตไข 1 กิโลกรัมมคี า ลดลงในกลมุ T2, T3 และ T4 (P<0.05) สอดคลอ งกับ คา ดัชนีไขแ ดงทเี่ พ่มิ ขนึ้ (P<0.05) ในกลมุ
T3 และ T4 แตในทางตรงกันขา ม สีไขแ ดงมคี าลดลง (P<0.05) ในกลุม T2, T3 และ T4 ตามลำดับ จากการศึกษานีส้ รปุ ไดว า
สามารถใชม นั เสน ทดแทนขา วโพดในสตู รอาหารไกไ ขไ ดส งู ถงึ 30 เปอรเ ซน็ ต เมอ่ื ใชร ว มกบั นำ้ มนั ปาลม ดบิ 2.6 เปอรเ ซน็ ต
โดยไมส ง ผลเสยี ตอ สมรรถภาพการผลิตไขและคณุ ภาพไขโดยรวม ยกเวนคาสีของไขแ ดงท่ีมีคา ลดลงเมื่อเพมิ่ ระดบั มันเสน
ใหส งู ขน้ึ
คำสำคัญ : มันเสน นำ้ มันปาลมดบิ ทดแทนขา วโพด สมรรถภาพการผลติ ไข คุณภาพไข

คำนำ
ขา วโพดเปน ธญั พชื เศรษฐกจิ ทม่ี คี วามสำคญั ตอ อตุ สาหกรรมอาหารสตั วแ ละการผลติ ปศสุ ตั วเ ปน อยา งมาก สว นใหญ
แลวนิยมใชเปนวัตถุดิบแหลงพลังงานประเภทคารโบไฮเดรตในอาหารสัตว โดยสามารถใชไดสูงสุดถึง 60 เปอรเซ็นต
ในสตู รอาหารสตั วป ก จากสถานการณปจ จุบนั ผลผลติ ขาวโพดเลี้ยงสตั วท ผี่ ลติ ไดภ ายในประเทศ มเี พยี ง 4.61 ลานตันตอป
ซ่ึงไมเพียงพอตอปริมาณความตองการใชในการผลิตอาหารสัตว จึงมีความจำเปนตองมีการนำเขาวัตถุดิบทดแทนชนิดอ่ืน
จากตางประเทศมาใช เชน ขาวสาลี และกากขาวโพดหมักจากการผลิตเอทานอล เพ่ือใหวัตถุดิบมีปริมาณเพียงพอสำหรับ
การผลิตอาหารสัตว และรักษาเสถียรภาพในการแขงขันดานตนทุนการผลิต (กรมการคาภายใน, 2560) ดวยเหตุนี้การหา
แนวทางเพ่ิมการใชประโยชนจากแหลงวัตถุดิบอาหารสัตวราคาถูกที่มีอยูภายในประเทศ และมีศักยภาพในการนำมาใช
ทดแทนขา วโพดจงึ มคี วามจำเปนอยา งยงิ่
มันสำปะหลัง มีช่ือวิทยาศาสตร Manihot esculenta Crantz เปนแหลงคารโบไฮเดรต ท่ีสำคัญอันดับ 5 ของโลก
รองจากขาวสาลี ขาวโพด ขาว และมันฝรั่ง เมื่อเปรียบเทียบองคประกอบทางเคมีของมันสําปะหลังกับขาวโพดแลว
พบวา มคี ณุ คา โภชนะใกลเ คยี งกนั โดยสว นใหญป ระกอบดว ยแปง เปน แหลง คารโ บไฮเดรททยี่ อ ยไดง า ย มเี ยอ่ื ใยประมาณ
4 เปอรเ ซน็ ต แตม รี ะดบั มโี ปรตนี คอ นขา งตำ่ (อทุ ยั และคณะ, 2540) ปจ จบุ นั มนั สำปะหลงั นยิ มนำมาใชเ ปน วตั ถดุ บิ อาหารสตั ว
ในรูปของมันเสนและมันอัดเม็ด มีงานวิจัยท่ีกลาวไววาสามารถใชมันเสนบดทดแทนขาวโพดในอาหารไกไขไดสูงถึง 40
เปอรเ ซน็ ตโดยไมส ง ผลกระทบตอ สมรรถภาพการผลติ และคณุ ภาพไข(Kyawt,2014)ยงิ่ ไปกวา นน้ั แลว การใชม นั เสน ทดแทน
ขาวโพดในอาหารสัตวปกไมกระทบตอสมดุลของโปรตีนในอาหารผสมแตอยางใด (Oruwari et al., 2003) อยางไรก็ตาม
Gomes et al. (2005) ไดกลา วไวว า เนอื่ งจากมนั สำปะหลงั มไี ขมันเปน องคป ระกอบเพยี ง 0.1 เปอรเ ซ็นต ในขณะทีข่ าวโพด
มีไขมันสูงถึง 6 เปอรเซ็นต จึงทำใหขาดกรดไขมันจำเปน และมีความเปนฝุนสูง นอกจากนั้นแลวมันเสนยังขาดรงควัตถุ
ที่ใหสีสม-แดง ในขณะท่ีขาวโพดมีแคนตาแซนตินเปนองคประกอบ แมไกสามารถนำรงควัตถุไปสะสมในฟองไขเพ่ือให
ไขแ ดงมสี เี หลอื งเขม หรอื สสี ม ซง่ึ เปน คณุ ลกั ษณะของไขไ กท ผ่ี บู รโิ ภคตอ งการ อยา งไรกด็ นี ำ้ มนั ปาลม ดบิ นยิ มใชเ ปน วตั ถดุ บิ
แหลงพลงั งาน และมีแคโรทีนอยดเ ปนองคประกอบสงู ถงึ 500-700 มิลลิกรมั ตอกิโลกรัม นับไดว า เปนแหลง แคโรทีนอยด
จากพชื ทีพ่ บมากทสี่ ุด ประกอบไปดว ยรงควัตถทุ มี่ ที ้ังสีเหลอื ง สม แดง และสม-แดง และจดั เปนสารตอ ตา นอนมุ ูลอิสระมี
ประโยชนตอสุขภาพรางกาย โดยแคโรทีนอยดท่ีพบในน้ำมันปาลมดิบเปนชนิด อัลฟา และ เบตา ประมาณ 35 และ 56
เปอรเ ซน็ ต ตามลำดบั (Rao, 2000) ยง่ิ ไปกวา นน้ั นำ้ มนั ปาลม ดบิ ยงั อดุ มไปดว ยเรตนิ อล มากกวา ทพ่ี บในแครอทและมะเขอื เทศ
ถึง 15 และ 300 เทา ตามลำดับ (Nagendran et al., 2000) การศึกษานี้มวี ตั ถปุ ระสงคเ พือ่ ศึกษาผลของการใชม ันเสน รวมกับ
นำ้ มนั ปาลมดิบเพอื่ ทดแทนขาวโพดในอาหารไกไ ขต อ สมรรถภาพการผลติ และคุณภาพไข
26 วารสาร สัตวบาล

วธิ ีการดำเนนิ งานวจิ ัย

ใชไ กไขสายพันธุ Hy-Line Brown เลยี้ งบนกรงตับภายในโรงเรอื นแบบระเหยไอเยน็ (Evaporative cooling system)
ไกท กุ ตวั ไดร บั วคั ซนี ตามโปรแกรมทแ่ี นะนำโดยกรมปศสุ ตั ว การเลย้ี งดปู ฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำของคมู อื การจดั การประจำพนั ธุ
กอ นเรม่ิ การทดลองจะทำการบนั ทกึ ขอ มลู ผลผลติ ไขเ ปน ระยะเวลา 4 สปั ดาห เพอ่ื ตรวจสอบเปอรเ ซน็ ตไ ขส ำหรบั ใชเ ปน เกณฑ
ในการจัดกลุมการทดลอง เมอ่ื อายุครบ 60 สัปดาห ไกท ม่ี เี ปอรเซ็นตไขใ กลเ คยี งกนั จำนวน 120 ตวั จะถูกแบงออกเปน 4
กลุมๆ ละ 10 ซ้ำๆ ละ 3 ตัว ประกอบดวย กลุมทไี่ ดร ับอาหารทีใ่ ชมนั เสนบด + นำ้ มนั ปาลม ดบิ ทีร่ ะดบั 0 + 1.8 (T1), 10 +
2.1 (T2), 20 + 2.3 (T3) และ 30 + 2.6 (T4) เปอรเ ซน็ ตต ามลำดับ ดงั แสดงใน Table 1 คำนวณและเตรยี มอาหารทดลองใหมี
คณุ คา โภชนะไมต ำ่ กวา ความตอ งการตามทไี่ ดร ะบไุ วใ นคมู อื ประจำพนั ธุ โดยปรบั ระดบั โปรตนี หยาบ 18 เปอรเ ซน็ ต และคา
ME 2,850 kcal/kg จดั เตรยี มอาหารและนำ้ ใหไ กก นิ อยา งเตม็ ทต่ี ลอดระยะเวลาการทดลอง 12 สปั ดาห โดยมโี ปรแกรมการให
อาหารจำนวน 2 ครัง้ ตอวนั คอื เวลา 07.00 น. และ 16.00 น. และใหแสงสวา ง วันละ 17 ชั่วโมง บันทึกปริมาณอาหารท่ีกนิ
จำนวนไขและนำ้ หนกั ไขเพอ่ื นำขอ มลู ทไ่ี ดม าคำนวณหาสมรรถภาพการผลติ ไขทำการสมุ ไขจ ำนวน10ฟอง/กลมุ สปั ดาหล ะ
2 ครัง้ เพ่อื นำมาการวเิ คราะหคุณภาพไขด วยเครอื่ งวเิ คราะหไขอ ัตโนมตั ิ (EMT-7300, Robotmation Co. Ltd., Tokyo, Japan)
เกบ็ ขอ มลู คณุ ภาพไข เชน นำ้ หนักไขเ ฉล่ยี ดัชนีรูปทรงไข ไขข าว ไขแ ดง เปลอื กไข สไี ขแ ดง และหนว ยฮอก (Haugh units)
รวมทง้ั ความหนาและความแขง็ ของเปลอื กไข เปน ตน เมอ่ื รวบรวมขอ มลู สมรรถภาพการผลติ และคณุ ภาพไขท ง้ั หมดเสรจ็ สน้ิ
ขอ มลู ดงั กลา วจะนำไปวเิ คราะหห าคา ความแปรปรวน (AnalysisofVariances,ANOVA)ตามแผนการทดลองแบบสมุ สมบรู ณ
(Completely Randomized Design, CRD) และเปรียบเทียบคา ความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยดว ยวธิ ี Duncan’s New Multiple
Range Test

ผลการวจิ ัยและวจิ ารณผลการวิจยั

การใชม นั เสน รว มกบั นำ้ มนั ปาลม ดบิ เพอ่ื ทดแทนขา วโพดในอาหารไกไ ขต อ สมรรถภาพการผลติ ไข พบวา ปรมิ าณ
อาหารท่ีกนิ ตอวนั ผลผลติ ไขตอวัน มวลไข และอตั ราการเปลีย่ นอาหารเปนน้ำหนกั ไข 1 กิโลกรัม ของทุกกลุมทดลองมีคา
ไมแ ตกตา งกันทางสถิติ (Table 2) สอดคลองกับ Kyawt (2014) ท่ีรายงานวา สามารถใชม ันเสนบด (cassava meal) ทดแทน
ขาวโพดในอาหารไกไขไดถึง 40 เปอรเซ็นต โดยไมสงผลกระทบตอสมรรถภาพการผลิตและคุณภาพไข ซึ่งคลายคลึงกับ
Oruwari et al. (2003) ท่ีกลา ววา การใชม ันเสนทดแทนขา วโพดในอาหารสตั วป กไมก ระทบตอ สมดุลของโปรตีนในอาหาร
ผสมแตอ ยางใด Okpanachi et al. (2012) ทดลองใชส ว นผสมของมันเสน บด กากเบียร และน้ำมันปาลม ตามสัดสว น 60, 35
และ 5 เปอรเ ซน็ ต ตามลำดบั ในสตู รอาหารไกเ นอ้ื ไดส งู สดุ ถงึ 30 เปอรเ ซน็ ต โดยปราศจากผลเสยี ตอ สมรรถภาพการเจรญิ เตบิ โต
และคาโลหิตวิทยา อยางไรก็ตาม Anaeto and Adighibe (2011) ระบุวา การใชมันสำปะหลังในสูตรอาหารไกไขท่ี 33.38
เปอรเซ็นต สงผลกระทบเชิงลบตอเปอรเซ็นตผลผลิตไข ซ่ึงขัดแยงกับผลการศึกษานี้ ท่ีพบวา สามารถใชมันเสนทดแทน
ขาวโพดไดสงู ถงึ 30 เปอรเ ซน็ ต เมอื่ ใชรวมกบั นำ้ มนั ปาลม ดบิ ท่ี 2.6 เปอรเ ซน็ ต ในสูตรอาหาร ทงั้ นีอ้ าจเปน เพราะเกิดความ
สมดลุ ของกรดไขมนั ทเ่ี ปน องคป ระกอบในนำ้ มนั ปาลม ดบิ หรอื อาจเกดิ จากการทไ่ี กส ามารถใชป ระโยชนพ ลงั งานจากนำ้ มนั
ปาลม ดบิ ไดด ขี น้ึ เมอ่ื เทยี บกบั วตั ถดุ บิ ประเภทแปง เนอ่ื งจากแหลง นำ้ มนั ใหพ ลงั งานไดส งู กวา คารโ บไฮเดรตถงึ 2.25 เทา โดย
ประมาณ (NRC, 1994) เม่อื ประเมนิ ผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ จากผลการทดลองนี้ พบวา ตนทุนคาอาหารตอ การผลิตไข 1
กโิ ลกรมั มคี า ลดลงในกลมุ T2, T3 และ T4 อยา งมนี ยั สำคญั ทางสถติ เิ มอ่ื เปรยี บเทยี บกบั กลมุ T1 ซง่ึ ชใ้ี หเ หน็ วา การใชม นั เสน
รวมกบั น้ำมันปาลมดิบเพอ่ื ทดแทนขา วโพดเปน อกี แนวทางหนงึ่ ทีจ่ ะชว ยลดตนทนุ การผลิตไกไ ขไ ด

วารสาร สัตวบาล 27

Table 1 Ingredients and calculated chemical composition of the experimental diets

Item Experimental diets
Ingredients T1 T2 T3 T4
50.0 38.0 26.4 14.40
Maize 11.7 11.7 11.7 11.7
Broken rice 1.8 2.1 2.3 2.6
Crude palm oil1/ - 10.0 20.0 30.0
Cassava meal 19.1 20.8 22.2 23.9
Soybean meal (45% CP) 7.9 7.9 7.9 7.9
Fish meal (57% CP) 7.1 7.1 7.1 7.1
Calcium carbonate 1.8 1.8 1.8 1.8
Dicalcium phosphate 0.1 0.1 0.1 0.1
Salt 0.3 0.3 0.3 0.3
Premix2/ 0.2 0.2 0.2 0.2
DL-Methionine 91.8 91.9 91.9 92.0
Calculated chemical composition 18.0 18.0 18.0 18.0
DM, % 4.7 4.7 4.6 4.6
Crude Protein, % 2.6 2.8 2.9 3.0
Ether extract, % 3.7 3.8 3.8 3.8
Crude fiber, % 0.5 0.5 0.5 0.5
Calcium, % 2,850 2,850 2,850 2,850
Available phosphorus, % 14.87 14.58 14.26 13.97
ME, kcal/kg
Feed cost, baht/kg

1/ Cost of crude palm oil = 25 baht/kg
2/ Supplied per 100 kg of diet, vitamin A (15,000,000 IU); vitamin D3 (3,000,000 IU); vitamin E (2600 IU); vitamin
K (35g); vitamin B1 (2.5g); vitamin B2 (6.5g); vitamin B6 (275.5g); vitamin B12 (26mg); pantothenic acid (11.04g);
nicotinic acid (35g); biotin (15.1mg), choline chloride (250g); Copper (1.6g); Manganese (60.2g); Iron (1.6g); Zinc
(45g); Iodine (400mg) and Selenium (160mg).

Table 2 Influence of maize-based diets substituted with graded levels of cassava meal
and crude palm oil on egg performance of laying hens (Mean +_ SE)

Item T1 Experimental diets1/
Feed consumption, g/(hen*day) 83.01 +_ 3.34 T2 T3 T4
Hen-day egg production, % 77.26 +_ 2.48 77.15 +_ 3.58 81.24 +_ 2.13 87.83 +_ 2.43
Egg mass, g egg/ (hen*day) 43.78 +_ 1.49 78.10 +_ 3.11 76.43 +_ 2.29 80.00 +_ 2.09
FCR (kg feed/kg egg) 1.90 +_ 0.05 45.19 +_ 1.87 43.79 +_ 1.01 44.31 +_ 1.08
Feed cost (baht) : 1 kg egg 28.25 +_ 0.56a 1.79 +_ 0.05 1.85 +_ 0.04 1.97 +_ 0.06
26.10v0.76b 26.38 +_ 0.49b 27.52 +_ 0.68b

1/ Percentage of cassava meal and crude palm oil at 0 + 1.8 (T1), 10 + 2.1 (T2), 20 + 2.3 (T3) and 30 + 2.6 (T4), respectively.
a-b Means value within a row having different superscripts are different by Duncan’s multiple rang test (P<0.05). Values

without superscripts are not significantly different (P>0.05).

28 วารสาร สัตวบาล

การใชมันเสนรวมกับน้ำมันปาลมดิบเพ่ือทดแทนขาวโพดในอาหารไกไขตอคุณภาพไข พบวา น้ำหนักไขเฉลี่ย
ดชั นรี ปู ทรงไข ไขข าว และความแข็งของเปลอื กไข มีคาไมแ ตกตางกันทางสถิติในทุกกลมุ ทดลอง (Table 3) อยา งไรกต็ าม
คา ดัชนีไขแดงมแี นวโนมสงู ขึ้นในกลมุ T2 และเพ่ิมขึน้ อยางมีนัยสำคัญในกลมุ T3 และ T4 (P<0.05) ซึง่ อาจเปนผลมาจาก
องคประกอบไขมันจากน้ำมันปาลมดิบในอาหารทดลองมีระดับเพ่ิมสูงข้ึน ทำใหแมไกสามารถนำเอาไขมันในอาหารไป
สะสมในไขแดงไดมากขึ้น จึงสงผลตอคาดัชนีไขแดงท่ีเพ่ิมขึ้นตามไปดวย ในขณะที่คาหนวยฮอกมีคาดีท่ีสุดในกลุม T1
เมือ่ เปรยี บเทยี บกบั กลมุ อ่ืนๆ อยา งไรก็ตามดัชนีเปลอื กไข และความหนาเปลือกไข มคี าลดลงในกลุม T2 และ T3 (P<0.05)
เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั กลมุ T1 ทงั้ นส้ี าเหตดุ งั กลา วมคี วามสมั พนั ธก บั ปรมิ าณอาหารทกี่ นิ ตอ วนั ทม่ี แี นวโนม ลดลง จงึ อาจสง ผล
ใหส ตั วไ ดร บั แคลเซยี มและฟอสฟอรสั ในปรมิ าณทล่ี ดลงตามไปดว ย เชน เดยี วกบั สไี ขแ ดงทม่ี คี า ลดลง (P<0.05) ในกลมุ T2,
T3 และ T4 ตามลำดบั ผลทเ่ี กดิ ขน้ึ ชใ้ี หเ หน็ วา ถงึ แมน ำ้ มนั ปาลม ดบิ จะมแี คโรทนี อยดเ ปน องคป ระกอบในระดบั สงู แตร งควตั ถุ
ดังกลา วยังมีปริมาณไมเ พยี งพอสำหรบั การนำไปสะสมในไขแดง

สรุปผลการวจิ ยั
จากการศึกษานี้สรุปไดวาสามารถใชมันเสนทดแทนขาวโพดในสูตรอาหารไกไขไดสูงถึง 30 เปอรเซ็นต
เมอื่ ใชรวมกับน้ำมันปาลม ดิบ 2.6 เปอรเ ซน็ ต โดยไมส ง ผลเสยี ตอ สมรรถภาพการผลติ ไขและคณุ ภาพไขโ ดยรวม ยกเวนคา
สีของไขแดงท่ีมีคาลดลงเมื่อเพ่ิมระดับมันเสนในสูตรอาหาร ทั้งน้ีควรมีการพิจารณาเพ่ิมเติมรงควัตถุธรรมชาติชนิดอ่ืนๆ
เขา มาในสูตรอาหารเพอ่ื แกไขขอดอยท่ีเกดิ ขน้ึ ดังกลา ว

กติ ตกิ รรมประกาศ
คณะผูวิจัยขอขอบพระคุณ คณะเกษตรศาสตร ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มหาวิทยาลัยนเรศวร
ทใ่ี หก ารสนับสนนุ งบประมาณ และเคร่อื งมอื ในหอ งปฏบิ ตั กิ ารสำหรบั การดำเนินการวิจยั

Table 3 Influence of maize-based diets substituted with graded levels of cassava meal
and crude palm oil on egg quality laying hens (Mean +_ SE)

Item T1 Experimental diets1/
Average egg weight (g) 58.55 +_ 0.43 T2 T3 T4
Egg shape index (%) 73.87 +_ 0.27 58.32 +_ 0.51 57.63 +_ 0.41 57.41 +_ 0.42
Albumen index (%) 62.87 +_ 0.55 74.07 +_ 0.26 73.45 +_ 0.24 74.87 +_ 0.36
Yolk index (%) 26.93 +_ 0.30a 62.57 +_ 0.65 62.61 +_ 0.56 62.70 +_ 0.67
Shell index (%) 10.03 +_ 0.13a 27.59 +_ 0.23ab 27.76 +_ 0.21b 27.79 +_ 0.23b
Shell thickness (mm) 0.32 +_ 0.01a 9.65 +_ 0.12b 9.63 +_ 0.10b 9.95 +_ 0.11ab
Shell breaking strength (kg/cm2) 4.02 +_ 0.10 0.30 +_ 0.01b 0.30 +_ 0.01b 0.31 +_ 0.01b
Yolk color 5.69 +_ 0.13a 3.68 +_ 0.12 3.85 +_ 0.13 3.74 +_ 0.09
Haugh units 82.35 +_ 0.87a 4.51 +_ 0.10b 3.66 +_ 0.08c 2.82 +_ 0.07d
79.41 +_ 1.40ab 78.09 +_ 0.85b 80.49 +_ 0.85ab

1/ Percentage of cassava meal and crude palm oil at 0 + 1.8 (T1), 10 + 2.1 (T2), 20 + 2.3 (T3) and 30 + 2.6 (T4), respectively.
a-b Means value within a row having different superscripts are different by Duncan’s multiple rang test (P<0.05).

วารสาร สัตวบาล 29

เอกสารอางองิ
กรมการคา ภายใน. 2560. กรมการคาภายในติดตามสถานการณข าวโพดเลี้ยงสตั วและสนิ คา เกษตรพรอมกำหนดมาตรการ

รองรบั ผลกั ดันราคาใหสงู ขน้ึ . [ระบบออนไลน]. Available http://www.dit.go.th/FILE/CONTENT_FILE/
256004251015302977482.pdf (16 พฤษภาคม 2561).
อทุ ยั คนั โธ สกุ ญั ญา จตั ตพุ รพงษ แ ละวไิ ลลกั ษณ ชาวอทุ ยั . 2540. การใชม นั สาํ ปะหลงั เปน อาหารสตั ว. มลู นธิ สิ ถาบนั พฒั นา
มนั สำปะหลงั แหง ประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภส มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร:ี นครปฐม. 99 น.
Anaeto, M. and L.C. Adighibe. 2011. Cassava root meal as substitute for maize in layers ration. Brazilian Journal of
Poultry Science 13(2): 153-156.
Gomes, E., S.R., Souza, R.P. Grandi and R.D. Silva. 2005. Production of thermostable glucoamylase by newly isolated
Aspergillus flavus A1.1 and thermomyces Lanuginosus A13.37. Brazilian Journal of Microbiology 36(1): 75-82.
Kyawt, Y.Y., H. Toyama, W.M. Htwe, S. Thaikua, Y. Imura and Y. Kawamoto. 2014. Effects of cassava substitute for
maize based diets on performance characteristics and egg quality of laying hens. International Journal of Poultry
Science 13(9): 518-524.
Nagendran, B., U.R. Unnithan, Y.M. Choo and K. Sundram. 2000. Characteristics of red palm oil, carotene-and vitamin
E-rich refined oil for food uses. Food and Nutrition Bulletin 21(2): 189-194.
National Research Council. 1994. Nutrient Requirements of Poultry. 9th ed.National Academy Press, Washington: D.C.
Okpanachi, U., A.A. Musa and K.E. Idachaba. 2012. Performance and hematological parameters of broilers fed graded
levels of a mixture of sun-dried cassava tuber meal, brewers’ dried grain and palm oil as a substitute for maize.
Journal of Veterinary and Animal Sciences 2(3): 95-100.
Oruwari, B.M., A.O. Anibo and D.M. Nkanta. 2003. Effect of replacing maize with cassava/brewers dried yeast blend
cassava yeast on performance of broiler chicks and feed cost in Southern Nigeria. Nigerian Journal of Animal
Production 30(2): 168-178.
Rao, N.B.S. 2000. Potential use of red palm oil in combating vitamin deficiency in India. Food and Nutrition Bulletin
21(2): 202-211.

30 วารสาร สัตวบาล

¼Å¢Í§¡ÒÃãªàŒ ·¤â¹âÅÂ¤Õ ÇÒÁ´Ñ¹ÊÙ§
à¾×èÍÂ×´ÍÒÂ¡Ø ÒÃࡺç Ã¡Ñ ÉÒà¹é×ÍËÁáÙ ªà‹ ¹ç

The Effect of High Pressure Processing (HPP) on Shelf-Life
Extension of Chilled Pork

ณัฐพร โชตยะกุล1* และถิรนันท ศรีกัญชัย2
Nattaporn Chotyakul1* and Tiranun Srikanchai2
1สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีแปรรูปอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร
สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน จังหวัดนนทบุรี ประเทศไทย 11120
2สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีฟารม คณะอุตสาหกรรมเกษตร
สถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน จังหวัดนนทบุรี ประเทศไทย 11120
1Department of Food Processing Technology Management, Faculty of Agro-Industry,
Panyapiwat Institute of Management, Nonthaburi, Thailand 11120
2Department of Farm Technology Management, Faculty of Agro-Industry,
Panyapiwat Institute of Management, Nonthaburi, Thailand 11120
*Corresponding author: [email protected].

Abstract
High pressure processing (HPP) in the food industry is clean technology. The application
of HPP has no negative impact on natural parameters such as physical and chemical properties,
color, flavor, and freshness. The use of HPP between 100-200 MPa to pork found that pressure
has no affected on protein denaturation. Moderate level of pressure 150 MPa for 1, 5, 10 min
and 200 MPa for 1 min decreased the percentage of drip loss in pork. However, at the same
pressure levels were not significantly different (P> 0.05) in pork color (L*, a*, b*), cutting
force and work of shear during the 14 days of storage at 4 ํC. The initial number of pathogens,
Escherichia coli and Salmonella sp. were not detected (<10 cfu/g) in pork. The Aerobic Plate
Count (APC) and coliforms increased from the initial after pressurization at 150 MPa for 1, 5,
10 min and 200 MPa for 1 min during the 14 days of storage at 4 Cํ . The storage time reached
5 days under 4 Cํ for pork after pressurization at 150 MPa for 5 min which the count of APC
was under the limit (5.67 log cfu/g) stipulated by the Agricultural Commodity and Food
Standards.
Keywords : High pressure processing, pork, shelf-life

วารสาร สัตวบาล 31

บทคัดยอ
ความดันสูงในอุตสาหกรรมอาหารจัดเปนเทคโนโลยีท่ีสะอาดซ่ึงไมมีผลกระทบตอ
คุณสมบัติทางกายภาพและเคมี คงความสด รักษาสี กลิ่น รส ไดใกลเคียงธรรมชาติมากที่สุด
การใชความดันสูงกับเนื้อหมูที่ระดับความดันระหวาง 100-200 MPa พบวาโปรตีนในเน้ือหมู
ยงั ไมส ญู เสียสภาพทางธรรมชาติ ทคี่ วามดัน 150 MPa นาน 1, 5, 10 นาที และ 200 MPa นาน 1
นาที คารอ ยละของการสูญเสยี น้ำ (drip loss) ของเนือ้ หมูลดลง ความดันสงู ทเ่ี วลาดงั กลา วไมมี
ผลอยางมีนัยสำคญั ทางสถติ ิ (P>0.05) ตอ คาสขี องเนอื้ หมู (L*, a*, b*) คา แรงตัด (cutting force)
และคา งานทใ่ี ชในการเฉอื น (work of shear) ตลอดการเก็บรักษาที่อณุ หภมู ิ 4 Cํ เปนเวลา 14
วนั การรายงานคา จลุ นิ ทรยี  Escherichia coli และ Salmonella sp. ไมพ บ (<10 cfu/g) ในเนอ้ื หมสู ด
จำนวน Aerobic Plate Count (APC) และ Coliforms มกี ารเพม่ิ จำนวนขนึ้ ภายหลังการใหค วาม
ดนั สงู ที่ 150 MPa นาน 1, 5, 10 นาที และท่ี 200 MPa นาน 1 นาที เมือ่ เก็บรกั ษาท่ีอุณหภูมิ 4 Cํ
เปนเวลา 14 วัน เนื้อหมูที่ผานความดันสูงท่ี 150 MPa นาน 5 นาที มีจำนวน APC
ซ่ึงสามารถเก็บรักษาไดประมาณ 5 วัน ตามมาตรฐานขอกำหนดของจำนวนจุลินทรียท้ังหมด
ของสำนกั งานมาตรฐานสินคา เกษตรและอาหารแหงชาติ (2547) ที่ 5.67 log cfu/g
คำสำคัญ : เทคโนโลยคี วามดันสงู เน้อื หมู อายุการเก็บรักษา

คำนำ
ผลติ ภณั ฑก ลมุ เนอ้ื สตั วจ ดั เปน ผลติ ภณั ฑท ม่ี คี วามเสย่ี งสงู ตอ การเสอ่ื มเสยี จากจลุ นิ ทรยี 
เนื่องจากเปนอาหารที่มีโปรตีนสูง มีคา pH ที่เหมาะสม และมีความช้ืนสูง คา water activity
(Aw) มากกวา 0.95 เหมาะสมกับการเจริญของแบคทีเรียท่ีทำใหเกิดโรคหลายชนิด (Fellow,
2009) เช้ือแบคทีเรียที่มักปนเปอนในเนื้อสัตว คือ Escherichia coli และ Salmonella sp.
ซึ่งสามารถเกิดข้ึนไดต้ังแตข้ันตอนการผลิตอาหารสัตว การเล้ียงสัตว การฆาสัตว การขนสง
เน้ือสัตว การเก็บรักษาเน้ือสัตวของผูจำหนายและผูบริโภคกอนแปรรูปเปนอาหาร (Kruk
et al., 2011) ดงั นน้ั เนอ้ื สตั วท ย่ี งั ไมผ า นความรอ นควรลา งกอ นนำมาเกบ็ ไวใ นตเู ยน็ เพอ่ื ควบคมุ
การเพม่ิ จำนวนของจลุ นิ ทรยี  ซง่ึ การแชเ ยน็ เปน กรรมวธิ ที ค่ี วบคมุ อณุ หภมู ขิ องอาหารไวร ะหวา ง
0-4 ํC เพ่ือลดอัตราการเกิดปฏิกิริยาทางชีวเคมีและการเปลี่ยนแปลงจากจุลินทรีย เพื่อชะลอ
การเนา เสยี และยดื อายกุ ารเกบ็ รกั ษาอาหารสด ในประเทศไทยเนอ้ื หมจู ดั เปน เนอ้ื ทน่ี ยิ มบรโิ ภค
ในลำดับตนๆ การเลอื กซ้อื และเลอื กบริโภคเนอ้ื หมทู สี่ ะอาด มคี ุณภาพ และปลอดภัยจึงเปนสิ่
งสำคญั สำหรับผบู รโิ ภค (Ayres, 2012)
เน่ืองจากความกาวหนาของเทคโนโลยีในปจจุบันบวกกับความตองการอาหารที่
ปลอดภัยและมีคุณภาพของผูบริโภคที่เพ่ิมข้ึน จึงมีการประยุกตใชเทคโนโลยีความดันสูงมา
ชว ยถนอมอาหารโดยลดปรมิ าณการใชว ตั ถเุ จอื ปนอาหาร ความดนั สงู ชว ยคงความสดใหมข อง
เนอื้ หมไู วไ ดน านขน้ึ และชว ยลดจำนวนจลุ นิ ทรยี ท ก่ี อ ใหเ กดิ การเนา เสยี จงึ ทำใหไ ดผ ลติ เนอื้ หมู
มีคุณภาพสูงข้ึน ถึงแมวาความดันสูงสามารถยืดอายุการเก็บรักษาอาหารไดแตหากใชระดับ
ความดนั ทส่ี งู มาก ทำใหเ กดิ การเปลย่ี นแปลงคณุ สมบตั ดิ า นเนอ้ื สมั ผสั และคณุ ภาพทางประสาท
สัมผัส (Elamin et al., 2015)
32 วารสาร สัตวบาล

ดังน้ันงานวิจัยน้ีจึงมีความทาทายในการนำเทคโนโลยีความดันสูงมาประยุกตใชกับ
เน้ือหมูเพื่อทำลายจุลินทรียท่ีกอใหเกิดการเนาเสีย เพ่ือยืดอายุการเก็บรักษาเน้ือหมูสด โดยมี
ขอจำกัดคือการรักษาคุณภาพและลักษณะทางกายภาพไมใหเปลี่ยนแปลง เม่ือเปรียบเทียบกับ
เน้อื หมสู ดทไี่ มผ า นกระบวนการใหความดันสงู

อปุ กรณและวธิ ีการ
การเตรยี มตวั อยา งเนือ้ หมู

การทดลองที่ 1 : ศึกษาสภาวะความดันสูงที่เหมาะสม ตัวอยางเนื้อหมูจัดเตรียมจาก
โรงตดั แตง เนอื้ บรษิ ทั ซพี เี อฟ (ประเทศไทย)จำกดั (มหาชน)จ.เชยี งใหมการเตรยี มตวั อยา งเนอ้ื
หมมู ี 2 สว น คอื สนั นอกและสะโพก ตัดแตงขนาด 3 x 3 เซนติเมตร (~18.5 กรมั /ชน้ิ ) บรรจุลง
ถงุ ทนความดนั สงู ชนดิ โพลเี อทิลีน (Polyethylene, PE) และปด ผนึก (Sealing) ภายใตส ภาวะ
สญุ ญากาศ บรรจุตัวอยา งลงในกลอ งโฟมใสน้ำแขง็ เพอ่ื รักษาอณุ หภูมิที่ 4 Cํ และขนสงมายงั
หอ งปฏิบัตกิ ารคณะอตุ สาหกรรมเกษตร ม.เชยี งใหม ภายใน 1 ช่วั โมง กอ นเขา สูก ระบวนการ
ใหความดนั สงู

การทดลองท่ี 2 : ศกึ ษาผลของความดนั สงู ทเ่ี หมาะสมตอ อายกุ ารเกบ็ รกั ษาและลกั ษณะ
ปรากฏ ตวั อยางเน้ือหมสู ันนอกไดรบั ความอนุเคราะหจ ากโรงงานแปรรปู สุกรแปดรว้ิ บรษิ ทั
ซพี ีเอฟ (ประเทศไทย) จำกดั (มหาชน) โดยคดั เลือกหมทู ม่ี อี ายุ 24 สปั ดาห เก็บตวั อยางเน้ือหมู
สนั นอก โดยตดั แตง ขนาดเทา ชน้ิ เนอ้ื สเตก หนา2เซนตเิ มตร(~120-150กรมั /ถงุ )บรรจลุ งถงุ ทน
ความดันสงู (Polyethylene + Nylon 70) จำนวน 3 ช้นิ /แพค (~400 กรัม) และปด ผนึก (Sealing)
ภายใตสภาวะสูญญากาศ บรรจุตัวอยางลงในกลองโฟมใสน้ำแข็งเพื่อรักษาอุณหภูมิที่ 4 ํC
และขนสงมายังหองปฏิบัติการอุทยานวิทยาศาสตรภาคเหนือตอนลาง ม.นเรศวร ภายใน 1
ช่วั โมง กอนเขา สูกระบวนการใหค วามดันสงู
การทดลองที่ 1 : ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมของความดันสูงที่มีผลตอลักษณะปรากฏของเน้ือ
หมแู ชเ ยน็

การทดลองที่ 1 (Figure 1) ออกแบบโดยการวางแผนแบบ factorial design และ central
composite design (CCD) เพอื่ ทำใหส ามารถวิเคราะหผลการทดลองแบบ full factorial design
ไดโ ดยไมต องทำการทดลองซ้ํา โดยตัวแปรท่ศี กึ ษามี 2 คา คอื ความดัน (100, 200, 300 MPa)
x เวลา (1, 5, 10 นาที) ที่อณุ หภูมิ (25 ํC) จำนวนการทดลองทั้งหมด 12 การทดลอง (Table 1)
ตัวอยางเน้ือหมูท่ีผานการบรรจุลงถุงทนความดันสูงแลวถูกใสลงใน HPP vessel ครั้งละ 3
ตัวอยาง ในตำแหนงแนวตั้ง (บน-กลาง-ลาง) และทดสอบดวยเคร่ืองความดันสูงท่ีความจุ
0.3 ลิตร (Stansted Fluid Power Ltd, Essex, UK) โดยใชนำ้ ท่ีควบคุมอณุ หภูมิ ไมเ กนิ 25 Cํ
เปน ตัวกลางสงผา นแรงดัน (pressure media)

วารสาร สัตวบาล 33

Figure 1 Schematic diagram of experimental design I

Table 1 Experimental designs and results of CCD

Run Factors (code value) Conditions (actual value) Experiment
(PreXss1ure) (TXim2 e) Pressure Time Factorial portion
11 1 (MPa) (min)
21 -1 Axial point
3 -1 1 271 8 Center point
4 -1 -1 271 2
5 -1.414 0 130 8
6 1.414 0 130 2
70 -1.414 100 5
80 1.414 300 5
90 0 200 1
10 0 0 200 9
11 0 0 200 5
12 0 0 200 5
200 5
200 5

34 วารสาร สัตวบาล

การทดลองท่ี 2 : ศึกษาสภาวะความดันสูงท่ีมตี ออายุการเก็บรกั ษาและลักษณะปรากฏ
การทดลองท่ี 2 (Figure 2) ออกแบบโดย ใช Factorial design เพ่ือศกึ ษาปจจัยหลัก

โดยศึกษาระดบั ความดันสูง 2 ระดับ คอื 150 และ 200 MPa เปนระยะเวลา 1, 5, และ 10 นาที
ท่ีอุณหภูมิ 4 ํC จำนวนการทดลองท้ังหมด 6 การทดลอง โดยระดับความดันที่ใชอางอิงจาก
การทดลองที่ 1 คือ ระดับชวงที่ไมทำใหโปรตีนในเน้ือสัตวเสียสภาพ และเน่ืองจากการเพ่ิม
ระดบั ความดนั ทุกๆ 100 MPa ทำใหอ ณุ หภมู ขิ องนำ้ ท่ใี ชเ ปน ตัวสง ผานความดันเพิม่ ข้ึน 3 Cํ
โดย อาจสงผลตอการเสยี สภาพของโปรตีน การทดลองที่ 2 จึงปรับระดบั อณุ หภูมขิ องนำ้ ลง
เหลือ 4 Cํ นำตวั อยางเนือ้ หมทู ี่ผานการบรรจุลงถงุ ทนความดนั สูงแลว ใสลงใน HPP vessel
คร้ังละ 5 แพค (3 ช้ิน/แพค) ทดสอบดว ยเครื่องความดันสงู ท่ีมีขนาดความจุ 5 ลติ ร (BaoTou
KeFa High Pressure Technology Co., Ltd (KEFA), China) โดยใชน ำ้ ทค่ี วบคมุ อณุ หภมู ไิ มเ กนิ
4 Cํ เปน ตัวกลางสงผานแรงดัน (pressure media)

Figure 2 Schematic diagram of experimental design II
การศกึ ษาอายกุ ารเกบ็ และคณุ ภาพระหวา งการเกบ็ รกั ษา จากการทดลองท่ี 1 ในการเลอื ก
สภาวะของความดันสูงที่เหมาะสม นำเนื้อหมูท่ีผานกระบวนการใหความดันสูงจากสภาวะที่
คัดเลอื กแลวมาทดลองตอ ในการทดลองที่ 2 จากนน้ั เกบ็ รกั ษาท่อี ณุ หภูมิ 4 ํC เปน เวลา 14 วัน
โดยตรวจวเิ คราะหตัวอยางทุกๆ 1, 3, 5, 7, และ 14 วัน โดยมกี ารเปรยี บเทยี บผลกบั เนือ้ หมกู ลุม
ควบคุมท่ีไมผานการใหความดนั สูงโดยบรรจใุ นถงุ ทนความดันสูง (Polyethylene + Nylon 70)
ภายใตสภาวะสญุ ญากาศและเกบ็ ท่ีอณุ หภมู ิ 4 Cํ โดยวดั ดา นเนื้อสมั ผัสดวยเคร่ือง Stable Micro
System Texture Analyzer ใชใ บมดี ชนดิ Warner-Bratzler Blade สำหรบั การวดั คา แรงตดั ผา นเนอ้ื
(cutting force, kg) และคาความเหนียวผา นแรงเฉอื น (work of shear, kg.s) วัดคา pH (pH meter,
รุน Mettler Toledo S2 Seven2GoTM Portable pH Meters) วดั คาสดี วยเครื่อง Minolta chroma
meter (CR-300, Konica Minolta, Osaka, Japan) จำแนกเปนคาความสวาง (Lightness ; L*)
คาความแดง (redness, a*) และคา ความเหลอื ง (yellowness; b*) การวดั การสญู เสยี นำ้ ระหวาง
การแชเ ยน็ (drip loss) และการตรวจวเิ คราะหท างดานจุลนิ ทรียโ ดยวิธี AOAC (2016) สำหรบั
Aerobic Plate Count (ATP), Escherichia coli (E. coli), Salmonella sp. และ Coliforms

วารสาร สัตวบาล 35

ผลการทดลอง
และวจิ ารณ

การทดลองที่ 1
จากผลการทดลองทอ่ี อกแบบไว การเลอื กสภาวะความดนั สงู ทเ่ี หมาะสมตามขอ จำกดั

คอื เนอ้ื หมตู อ งคงคณุ ลกั ษณะทางกายภาพ ดา นความสดและโปรตนี ไมส ญู เสยี สภาพธรรมชาติ
(denature) จนไมเ ปน ทย่ี อมรบั ของผบู รโิ ภคเมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั เนอ้ื หมกู ลมุ ควบคมุ โดยพบวา
ทร่ี ะดบั ความดนั ระหวา ง 100-200 MPa ยงั คงทำใหล กั ษณะปรากฏของเนอ้ื หมสู ดไมเ ปลย่ี นแปลง
ไปจากเดิม ลกั ษณะปรากฏของเน้ือหมทู ี่ผา นความดนั ระดบั 100-130 MPa เปน เวลา 2-10 นาที
ยงั คงความสดเทยี บเทาเนอื้ หมูทีไ่ มผา นความดัน และความดันท่รี ะดับ 200 MPa นาน 1 นาที
โปรตนี ในเนอ้ื หมเู รม่ิ เปลย่ี นสภาพเลก็ นอ ยซง่ึ โดยรวมจากการสงั เกตลุ กั ษณะปรากฏนน้ั ยอมรบั ได
แตเม่ือเวลาในการใหความดันนานข้ึน 2-5 นาที ทำใหใหโปรตีนเปลี่ยนสภาพมากขึ้นจน
ลกั ษณะปรากฏดา นความสดของเนอื้ เปลย่ี นแปลงไป และทร่ี ะดบั ความดนั สงู ขนึ้ 271-300 MPa
โปรตีนในเน้ือหมูเกดิ การสูญเสยี สภาพทางธรรมชาติ (Figure 3)

Figure 3 The effect of HPP on pork at (A) Control (B) HPP 100 MPa/5min (C)
HPP 200 MPa/1 min (D) HPP 271 MPa/8 min

การทดลองที่ 2
จากผลการทดลองใน Table 1 ระดับความดนั 100 และ 130 MPa ท่ีเวลาตา งๆ ไมม ีผล

กระทบตอ ลกั ษณะปรากฏของเนอ้ื หมู ทง้ั นหี้ ากตอ งการควบคมุ ปรมิ าณจลุ นิ ทรยี ก ลมุ เปา หมาย
การใชระดับความดันต่ำอาจไมเพียงพอ ดังน้ันการทดลองที่ 2 จึงกำหนดสภาวะการทดลองท่ี
ระดบั ความดนั ภายในชว งทเ่ี น้อื หมู ยังคงคณุ ลักษณะความสดเหมือนเดมิ ซง่ึ ไดจ ากการสังเกตุ
ในการทดลองที่ 1 โดยเพิ่มระดบั ความดนั ขึน้ เปน 150 MPa ถึง 200 MPa ทเี่ วลาตา งๆ นาน 1,
5, และ 10 นาที โดยผลการทดลองทค่ี วามดนั 150 MPa นาน 1, 5, 10 นาที และ 200 MPa นาน
1 นาที พบวาเน้ือหมูยังคงความสดเทียบเทาเน้ือหมูท่ีไมผานการใหความดันสูง แตผลของ
ระดับความดนั 200 MPa นาน 5 และ 10 นาที ทำใหโปรตีนในเน้อื หมูเสยี สภาพทางธรรมชาติ
จึงไมส ามารถทำการวิเคราะหผลดา นอ่ืนๆ ตอ ไปได ซึ่งสอดคลองกบั Ma (2013) และ Souza
(2011) ที่กลาววาการใชระดับความดันสูงมากกวา 200 MPa กับเนื้อสดเร่ิมมีผลใหโปรตีน
ไมโอไฟบริลลารเ สยี สภาพ
36 วารสาร สัตวบาล

Table 2 The effect of high pressure processing at 4 Cํ on drip loss (%)
and pH value of pork (Mean +_ SD, n=3)

Pressure Time Drip loss pH values
(MPa) (min) (%) Day1 Day3 Day7 Day14
Control - 2.78+_0.47a 5.17+_0.08a 4.37+_0.07a 5.75+_0.14a 5.70+_0.02a
150 1 2.45+_0.38a 4.83+_0.09b 4.42+_0.13a 5.76+_0.07a 5.84+_0.15a
150 5 1.76+_0.37ab 5.01+_0.18ab 4.26+_0.29a 5.90+_0.42a 5.85+_0.34a
150 10 1.23+_0b 4.90+_0.06ab 2.51+_0.44b 5.76+_0.22a 5.74+_0.12a
200 1 1.99+_0.57a 4.79+_0.07b 3.34+_1.32ab 5.75+_0.10a 5.76+_0.09a
200 5 NA NA NA NA NA
200 10 NA NA NA NA NA

NA = Not Available
a,b Different letter within a column indicates significant difference (P≤0.05) among values by Tukey’s
Test

การศกึ ษาผลกระทบจากการใชค วามดนั สงู ตอ คา การสญู เสยี นำ้ (drip loss) ของเนอื้ หมู
ทอ่ี ณุ หภมู ิ 4 Cํ (Table 2) พบวา เนอ้ื หมทู ผ่ี า นการใหค วามดนั สงู มคี า รอ ยละของการสญู เสยี นำ้
(drip loss) นอยกวาเนื้อหมูท่ีไมผานการใหความดันสูง ซ่ึงจากงานวิจัยของ Souza (2011)
ไดสรุปวาการใชความดันสูงกับเน้ือสัตวชวยชะลอการเกิดเมตาบอลิซึมในกลามเนื้อสัตว
ภายหลงั ขบวนการเปลย่ี นแปลงหลงั การฆา (post-mortem) ซง่ึ มผี ลดตี อ การอมุ นำ้ ของเนอื้ สตั ว
ทช่ี ว ยเพมิ่ คณุ ลกั ษณะเฉพาะของผลติ ภณั ฑ และจากการทดลองพบวา ทรี่ ะดบั ความดนั เดยี วกนั
ระยะเวลาในการใหค วามดนั มผี ลตอ การรักษาการอุมนำ้ ของเน้ือหมู

จากผลการทดลอง (Table 2) เน้ือหมูที่ผานความดันสูงและเก็บไวที่อุณหภูมิ 4 ํC
เปน เวลา 14 วัน มีคา pH อยรู ะหวาง 2.51-5.90 เมื่อเปรยี บเทยี บกบั ตวั อยางควบคมุ ทม่ี ีคา pH
4.37-5.75 อยา งไรกต็ ามคา pH ของเนอ้ื ไมม คี วามแตกตา งกนั ทางสถติ อิ ยา งมนี ยั สำคญั (p>0.5)
เม่อื เกบ็ ไวท่อี ณุ หภมู ิ 4 ํC นานกวา 7 วัน จากงานวจิ ัยของ Sazonova et al. (2017) พบวาคา pH
ในเนอ้ื หมลู ดลงทันทภี ายใน 24 ช่วั โมง เม่ือเพ่ิมระดับความดนั สงู และเวลาทีน่ านขึน้ เนือ่ งจาก
สงผลในการกระตุนกระบวนการเกิดไกลโคไลซิส หลังจากนั้น pH จะคอยๆ เพิ่มสูงขึ้น
ซงึ่ พบการเกดิ ขน้ึ ในลกั ษณะเดยี วกนั กบั เนอื้ ววั เนอ้ื แกะ เนอ้ื ไก และเนอื้ ปลาทนู า ซง่ึ สอดคลอ ง
กบั ผลการทดลองท่ีพบวา หลงั จากการใหความดนั สงู กบั เนอื้ หมภู ายใน 3 วนั แรกนัน้ คา pH จงึ
ลดลงกวา เนอื้ หมูทไ่ี มผานกระบวนการใหความดันสูง

สขี องเนอื้ หมสู ดจดั เปน ปจ จยั ทมี่ อี ทิ ธพิ ลอยา งยง่ิ ตอ ผบู รโิ ภคในการเลอื กซอ้ื จากผลการ
วเิ คราะหการใชความดันสูงตอคาสีของเนอื้ หมูสนั นอก (Table 3) ทีร่ ะยะเวลา 1, 3, 7, และ 14
วัน ตอคาสีของเน้ือหมูพบวา ความดันสูงมีผลตอคาความสวาง (L*) อยูในชวง 49.92-57.00
คาสแี ดง (a*) อยใู นชวง 0.23-3.02 และคาสีเหลอื ง (b*) อยใู นชวง 8.50-11.73 เม่อื เปรียบเทียบ
กบั เนื้อหมูท่ไี มผา นความดันสูงซึ่งมคี า L* , คา a* และคา b* อยูใ นชว ง 44.40-54.57, 0.48-4.33
และ 7.99-11.85 ตามลำดบั โดยจากผลการทดลองเนอ้ื หมมู สี ซี ดี ลงเพยี งเลก็ นอ ย แตโ ดยรวมผล
ของการใชความดันสูงท่ีระดับ 150 MPa นาน 1, 5, 10 นาที และ 200 MPa นาน 1 นาที
ไมม ผี ลอยา งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ (P>0.05) ตอ คา สขี องเนอ้ื หมตู ลอดการเกบ็ รกั ษาเปน เวลา 14 วนั

วารสาร สัตวบาล 37

ผลของการใชค วามดันสูงตอ คา Texture analysis ของเน้ือหมสู นั นอกในระยะเวลาการ
เก็บรักษาทอี่ ุณหภมู ิ 4 Cํ เปน เวลา 14 วนั พบวาการใชค วามดนั สงู ทร่ี ะดับ 150 และ 200 MPa
นาน 1, 5, และ 10 นาที ไมม ผี ลอยา งมนี ัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ของคาแรงตัด (cutting force)
และคางานทใ่ี ชในการเฉือน (work of shear) เมือ่ เปรียบเทียบกับเน้อื หมกู ลุมควบคมุ

ปริมาณจุลินทรีย Aerobic Plate Count (APC) ในเนื้อหมูท่ีบรรจุในสภาวะสุญญากาศ
เร่มิ ตน ท่ี 5.39 log cfu/g ในขณะท่จี ำนวนจลุ นิ ทรีย Escherichia coli และ Salmonella sp. ในเนื้อ
หมูสดท่ีตรวจพบมีปริมาณนอยกวา 10 cfu/g ในการศึกษาอายุการเก็บรักษาเน้ือหมูแชเย็นหลัง
การใหค วามดนั สูงเปนระยะเวลา 14 วัน พบวา ท่รี ะดบั ความดนั 150 และ 200 MPa นาน 1, 5, 10
นาที จำนวน Aerobic Plate Count (log cfu/g) มีจำนวนเพิ่มข้ึนตามระยะเวลาการเก็บรักษา
(Figure 3A) สอดคลอ งกบั ผลการวิจัยของ Sazonova et al. (2017) พบวา ทร่ี ะดบั ความดัน 50-300
MPa ทร่ี ะยะเวลา 1-15 นาที ไมมีผลตอ การลดจำนวนของ Aerobic Plate Count เม่ือเทียบกับตัว
อยา งควบคมุ และจากการวเิ คราะหป รมิ าณ Coliforms ในตวั อยา งเนอ้ื หมบู รรจใุ นสภาวะสญุ ญากาศ
เร่ิมตนท่ี 2.34 log cfu/g ซ่ึงใหผลใกลเคียงกับการรายงานผลของ Malinowska-Pañczyk and
Kolodziejska (2013) ทพี่ บ Coliforms จำนวน 2.50 log cfu/g ในตวั อยางเนอ้ื หมูเริม่ ตน (Figure
3B)ซงึ่ การใชค วามดนั 60MPaที่-5 Cํ ไมม ผี ลตอ การลดจำนวนของColiformsแตก ารเพมิ่ ความดนั
ในระดับ 193 MPa ท่ี -20 ํC จำนวน Coliforms ที่ตรวจพบ <10 cfu/g และมีการเพ่มิ จำนวนขึน้
ภายหลงั การเกบ็ รกั ษาทอ่ี ณุ หภมู ิ 4 Cํ เปน เวลา 6 วนั ซง่ึ โดยปกตจิ ลุ นิ ทรยี จ ะไมเ พม่ิ จำนวนทนั ที
ภายหลังการผานความดันสูงแตจะคอยๆ เพ่ิมจำนวนขึ้นเม่ือเวลาผานไป จากการทดลอง
พบวาปรมิ าณ Aerobic Plate Count (Figure 3A) และ Coliforms (Figure 3B) มีการเพิ่มจำนวน
ขน้ึ ภายหลงั การใหค วามดนั สงู ที่150และ200MPaนาน1,5,และ10นาทีหลงั จากเกบ็ รกั ษาทอ่ี ณุ หภมู ิ
4 ํC เปนเวลา 14 วัน และเนื่องจากระดับของความดันไมสูงเพียงพอในการยับยั้งจุลินทรีย
เนื่องจากมีขอจำกัดในการรักษาสภาวะไวเพื่อไมใหโปรตีนสูญเสียสภาพทางธรรมชาติ ทั้งน้ี
เนอื้ หมูทผี่ า นความดันสงู ท่ี 150 MPa นาน 5 นาที สามารถเก็บรกั ษาทีอ่ ณุ หภมู ิ 4 Cํ ได นานกวา
5 วนั ภายใตข อกำหนดจำนวน Aerobic Plate Count (cfu/g) เมอ่ื เปรยี บเทยี บกับเนอื้ หมูทไ่ี มผ าน
การใหค วามดันซงึ่ เก็บไดไมเ กนิ 5 วนั
38 วารสาร สัตวบาล

Table 3 The effect of high pressure processing at 4 ํC
on color characteristics of pork (Mean+_SD, n=3)

Pressure Time Day1 Day3 Day7 Day14
(MPa) (min) L*
46.38+_4.24a 54.57+_1.46a
Control - 52.94+_2.39a 44.40+_5.09b 48.82+_2.45a 53.90+_2.44a
150 1 49.92+_2.44a 52.41+_0.81ab 51.92+_2.30a 53.63+_4.23a
150 5 53.04+_1.50a 51.80+_2.13ab 50.89+_3.87a 57.00+_2.99a
150 10 51.71+_0.73a 53.21+_3.15ab 53.42+_2.18a 54.52+_0.87a
200 1 56.44+_4.65a 54.09+_1.68a
200 5 NA NA
200 10 NA NA NA NA
0.48+_0.50a NA NA 4.33+_1.75a
Control - 1.21+_0.49a 3.03+_2.47a
150 1 0.74+_0.78a a* 2.84+_2.03a
150 5 1.93+_0.15a 1.39+_0.53a 1.64+_0.33a 3.02+_2.46a
150 10 0.23+_1.28a 1.38+_0.28a 1.09+_0.97a 2.64+_0.92a
200 1 NA 2.02+_1.85a 0.83+_1.00a NA
200 5 NA 2.44+_0.40a 1.31+_1.83a NA
200 10 7.99+_0.79b 0.53+_1.49a -0.01+_1.42a 11.85+_1.78a
10.06+_0.78a 11.33+_1.63a
Control - 8.88+_0.71ab NA NA 10.81+_1.74a
150 1 10.39+_0.35a NA NA 11.73+_1.82a
150 5 9.01+_0.87ab 11.24+_0.64a
150 10 NA b* NA
200 1 NA 8.39+_0.46b 9.55+_0.62a NA
200 5 9.94+_0.19ab 9.69+_1.12a
200 10 10.32+_1.07a 8.50+_1.43a
10.68+_0.40a 9.59+_1.12a
9.44+_0.85ab 9.12+_1.17a

NA NA
NA NA

NA = Not Available
a,b Different letter within a column indicates significant difference (p≤0.05) among values by
Tukey’s Test
L* = Lightness (black, 100-white)
a* = Redness (reddish / greenish)
b* = Yellowness (yellowish / bluish)

วารสาร สัตวบาล 39

Figure 3 The effect of high pressure processing on number of Aerobic Plate Count, log
cfu/g (A) and Coliforms, log cfu/g (B) in pork during storage at 4 ํC for 14 days

สรุปผลการวิจยั
จากการศกึ ษาผลของความดนั สงู ที่ 150 และ 200 MPa ตอ ลกั ษณะปรากฏและการยบั ยง้ั
จลุ ินทรียในเนื้อหมูท่ีเกบ็ รกั ษาในอณุ หภมู ิ 4 Cํ เปน เวลา 14 วนั เนื้อหมทู ผี่ านการใหความดัน
สูงมีคารอยละของการสูญเสียน้ำ (drip loss) นอยกวาเนื้อหมูที่ไมไดผานการใหความดันสูง
และระดับความดันท่ีทดสอบไมมีผลอยางมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) ตอคาสีของเนื้อหมู
ตลอดการเก็บรักษาเปนเวลา 14 วัน เชน เดยี วกบั คาแรงตัด (cutting force) และคา งานท่ใี ชใน
การเฉอื น (work of shear) และคา pH การวเิ คราะหป รมิ าณ Aerobic Plate Count และ Coliforms
มกี ารเพม่ิ จำนวนข้ึนภายหลังการใหความดนั สูงที่ 150 และ 200 MPa นาน 1, 5, และ 10 นาที
หลังจากเก็บรักษาท่ีอุณหภูมิ 4 ํC เปนเวลา 14 วัน ซ่ึงสำนักงานมาตรฐานสินคาเกษตรและ
40 วารสาร สัตวบาล

อาหารแหงชาติ (มกอช., 2547) ไดกำหนดมาตรฐานจำนวนจุลินทรียท้ังหมดในเน้ือหมูไมเกิน
5.67 log cfu/g และ Coliform ไมเกนิ 3.67 log cfu/g โดยในการทดลองนี้ เนอ้ื หมูสามารถเก็บ
รักษาทอ่ี ณุ หภมู ิ 4 Cํ ไดนานกวา 5 วนั ภายใตมาตรฐานดงั กลาวเมอ่ื ผา นความดนั สงู ที่ 150 MPa
นาน 5 นาที ในการวิจัยคร้ังนี้ ระดับของความดันสูงอาจยังไมเพียงพอในการยับย้ังจุลินทรีย
เนื่องจากมีขอจำกัดในการรักษาสภาวะไวไมใหโปรตีนในเนื้อหมูสูญเสียสภาพทางกายภาพ
รวมดวย จึงควรมีการศึกษาเพ่มิ เติมตอไปรวมถึงผลกระทบของความดันสูงตอการเปล่ยี นแปลง
กลิน่ ของเน้ือหมู

กิตติกรรมประกาศ
ขอขอบคณุ บรษิ ัท ซีพีเอฟ (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) อาจารย ดร. อิสระ พลจงั หรดี
นางสาวธนิตา ธนะกมลประดิษฐ และนายชนิ ดนยั อัศวไพศาลตระกลู ทสี่ นับสนุนและใหความ
รว มมอื ในการทำงานวจิ ัยครั้งน้ี

เอกสารอา งอิง
Ayres, J.C. 2012. Low Temperature Microorganisms as Indexs of Quality of Fresh Meat. In:

L. Slanetz, C.O. Chichester, A. R. Gaufin and Z. J. Ordal (eds.). Microbiological
Quality of Foods. Academic Press, New York Press. 132-148 p.
Elamin, W.M., J.B. Endan, Y.A. Yosuf, R. Shamsudin and A. Ahmedov. 2015. High pressure
processing and equipment evolution: a review. Journal of Engineering Science and
Technology Review 8(5): 75-83.
Fellow, P.J. 2009. Food Processing Technology: Principles and Practice. 3rd eds. CRC Press,
New York. 928 p.
Kruk Z.A., H. Yun, D.L. Rutley, E.J. Lee, Y.J. Kim and C. Jo. 2011. The effect of high
pressure on microbial population, meat quality and sensory characteristics of chicken
breast fillet. Food Control 22(1): 6-12.
Ma, H. and D.A. Ledward. 2013. High pressure processing of fresh meat-Is it worth it? Meat
Science 95(4): 897-903.
Malinowska-Pañczyk, E. and I. Kolodziejska. 2013. The influence of moderate pressure and
subzero temperature on the shelf life of minced cod, salmon, pork and beef meat.
Food Technology and Biotechnology 51(4): 570-576.
Sazonova, S., R. Galoburda and I. Gramatina. 2017. Effect of high pressure processing on
microbial load in pork. Research for Rural Development. 1(1): 238-243.
Souza, C.M., D.D. Boler, D.L. Clark, L.W. Kutzler, S.F. Holmer, J.W. Summerfield, J.E.
Cannon, N.R. Smit, F.K. McKeith and J. Killerfer. 2011. The effect of high pressure
processing on pork quality, palatability, and further processed products. Meat Science
87(4): 419-427.

วารสาร สัตวบาล 41

ÃٻẺ¨Õâ¹ä·»¢Š Í§Â¹Õ GHR ã¹â¤ÅÙ¡¼ÊÁ¾é¹× àÁ×ͧä·Â

Genotype of GHR Gene in Crossbred Thai Native Cattle

มนตดนยั ชานนั โท1 วัชรวิทย มีหนองใหญ2 และปย มาศ ผองแกว2*
Mondanai Chanuntho1, Watcharawit Meenongyai2 and Piyamas Phongkaew2*

1นสิ ติ ปรญิ ญาตรี สาขาวิชาสตั วศาสตร ภาควิชาเกษตรและทรพั ยากร
คณะทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละอุตสาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วทิ ยาเขตเฉลมิ พระเกยี รติ

จังหวัดสกลนคร, 47000, ประเทศไทย
2อาจารยประจำ สาขาวชิ าสัตวศาสตร ภาควชิ าเกษตรและทรพั ยากร คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร

มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วทิ ยาเขตเฉลมิ พระเกยี รติ จงั หวดั สกลนคร, 47000, ประเทศไทย
1, 2 Program in Animal Science, Department of Agriculture and Resources, Faculty of Natural Resources and

Agro-Industry, Kasetsart University, Chalermphrakiat Sakon Nakhon Province Campus, 47000, Thailand
*Corresponding author: [email protected]

Abstract
The objective of this study was to investigate the genotypes of GHR gene associated with growth traits and feed
conversion ratio. The twelve of crossbred Thai Native x Brahman (NB) and crossbred Thai Native x Wagyu (NW) beef
cattle in growing phase were used in this study. The analysis of GHR gene was determined using PCR-RFLP technique
digested with HpyCH4III. The result showed that GHR gene exhibited 2 alleles with A and G. The allele frequency was
0.62 and 0.38, respectively. The genotype was found 3 of AA, AG and GG. The genotype frequencies were 0.34, 0.58 and
0.08, respectively. The genotype-phenotype analysis of two crossbred Thai Native cattle found that all of three genotypes
were not significant different for weaning weight whereas the genotype AA and AG showed a tendency (P=0.06) to
higher ADG than GG. In addition, the genotype AA and AG showed a tendency (P=0.07) to lower FCR than GG.
The results of this study can used as a guideline to predict the growth traits of beef cattle during growing phase for the
selection and improvement of crossbred beef cattle based on the genetic of Thai Native cattle.
Keywords: average daily gain, genetic marker, crossbred Thai Native cattle, weaning weight
42 วารสาร สัตวบาล

บทคดั ยอ
งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือตรวจสอบรูปแบบจีโนไทปของยีน GHR กับลักษณะการเจริญเติบโตและอัตราการ
เปลี่ยนอาหารเปนน้ำหนัก โดยทดลองในโคเนื้อระยะกำลังเจริญเติบโตพันธุลูกผสมพ้ืนเมืองไทย x บราหมัน (NB)
และพันธลุ ูกผสมพ้นื เมืองไทย x วากิว (NW) จำนวน 12 ตัว ดว ยเทคนคิ PCR-RFLP โดยใชเ อนไซมตัดจำเพาะ HpyCH4III
พบวายีน GHR แสดงอัลลีล 2 รูปแบบ คือ อัลลีล A และอัลลีล G มีความถี่อัลลีลเทากับ 0.62 และ 0.38 ตามลำดับ
และใหร ปู แบบจโี นไทป 3 แบบ ไดแ ก AA AG และ GG มคี วามถจี่ โี นไทป 0.34 0.58 และ 0.08 ตามลำดบั โดยพบวา โคลกู ผสม
NB แสดงรูปแบบจีโนไทป AG และ GG เทานั้น สวนโคลูกผสม NW แสดงรูปแบบ จีโนไทป AA และ AG เทาน้ัน
เม่ือวิเคราะหรูปแบบจีโนไทปกับลักษณะปรากฏของโคลูกผสมท้ังสองสายพันธุ พบวาน้ำหนักหยานมของจีโนไทปทั้ง 3
รปู แบบไมม คี วามแตกตางกนั ทางสถิติ แตพ บวา รูปแบบจีโนไทป AA และ AG มีแนวโนม (P=0.06) นำ้ หนกั ตวั เฉลยี่ ตอวนั
สงู กวา จโี นไทป GG ขณะทมี่ แี นวโนม (P=0.07) อตั ราการการเปลย่ี นอาหารเปน นำ้ หนกั ตำ่ กวา จโี นไทป GG ผลการศกึ ษานี้
สามารถใชเปนแนวทางในการทำนายลักษณะการเจริญเติบโตในโคไดต้ังแตอายุนอย เพ่ือประโยชนดานการคัดเลือกและ
ปรับปรุงพนั ธโุ คเน้ือลูกผสมโดยมีพนั ธุกรรมพ้นื ฐานเปน โคพนื้ เมอื งไทย
คำสำคัญ : โคลกู ผสมพ้นื เมอื งไทย เครอื่ งหมายพันธกุ รรม นำ้ หนักหยานม นำ้ หนักตวั เฉล่ยี ตอ วัน

คำนำ
การเล้ียงโคเน้ือเพ่ือผลิตโคขุนในประเทศไทยนิยมนำโคพันธุตางประเทศมาใชในการผลิต เชน พันธุ บราหมัน
พันธุชาโรเลย พันธุแองกัส พันธุวากิว เปนตน เน่ืองจากโคพันธุตางประเทศมีลักษณะการเจริญเติบโตเร็วและใหน้ำหนัก
ซากทดี่ ี (Opatpatanakit and Sethakul, 2010) และเนอื่ งดว ยโคพน้ื เมอื งไทยมขี นาดตวั เลก็ มกี ารเจรญิ เตบิ โตชา และมลี กั ษณะ
คุณภาพซากบางลักษณะดอยกวาโคพันธุตางประเทศ เชน ลักษณะไขมันแทรก ลักษณะความนุมเนื้อ (Soria et al., 2010)
จงึ ไมน ยิ มทจ่ี ะนำมาเลย้ี งเปน โคขนุ อยา งไรกต็ ามโคพนื้ เมอื งไทยมลี กั ษณะทด่ี ีไดแ กมคี วามสมบรู ณพ นั ธุสามารถใหล กู ไดป ล ะ
1 ตัว มีลักษณะการเลี้ยงลูกเกง รวมถึงมีความทนทานตอสภาพอากาศ เช้ือโรค และแมลงในเขตภูมิประเทศรอนช้ืนไดดี
(Tumwasorn et al., 1982) จงึ ไดม นี กั วจิ ยั นำ โคพนื้ เมอื งไทยซง่ึ เปน โคเขตรอ น มาใชเ ปน พนั ธกุ รรม โคพน้ื ฐานในการพฒั นา
พันธุเพื่อสรางโคลูกผสมระหวางโคพื้นเมืองไทยกับโคพันธุตางประเทศ เชน พันธุกำแพงแสน (ปรารถนา, 2544)
คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดดำเนินการปรับปรุงพันธุกรรมโคโดยใช
โคพันธุพ้ืนเมืองไทยเปนฐานพันธุกรรม เพ่ือสรางโคลูกผสมเขตรอน (พื้นเมืองไทย x บราหมัน) และโคลูกผสมเขตรอน
กับเขตหนาว (พนื้ เมอื งไทย x วากวิ ) สำหรับใชเ ปนโคตน น้ำในการผลติ โคขนุ คณุ ภาพดีใหแ กเ กษตรกร เพ่ือใหก ารปรับปรงุ
พันธุโคเปนไปตามวัตถุประสงค จึงไดมีการศึกษาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะการเจริญเติบโต และอัตราการเปล่ียนอาหารของ
โคลูกผสมเหลาน้รี วมกับเทคนคิ ดานพันธศุ าสตรป ระชากร

วารสาร สัตวบาล 43

ลักษณะการเจริญเติบโตเปนลักษณะท่ีมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เน่ืองจากมีผลตอน้ำหนักตัวของโคเม่ือครบ
กำหนดระยะเวลาขนุ แตล กั ษณะการเจรญิ เตบิ โตเปน ลกั ษณะทมี่ คี วามกา วหนา ในการปรบั ปรงุ พนั ธนุ อ ยเนอื่ งจากเปน ลกั ษณะ
ท่ีมียีนควบคุมการแสดงออกหลายตำแหนง และตองอาศัยขอมูลเกี่ยวกับการเจริญเติบโตมาใชในการประเมินพันธุกรรม
รวมดวย (ทองสา, 2555) การใชเคร่ืองหมายพันธุกรรมที่มีความสัมพันธกับลักษณะการเจริญเติบโต เปนทางเลือกหน่ึงที่
สามารถนำมาใชใ นการประเมนิ พนั ธกุ รรม เพอ่ื ใชค ดั เลอื กพนั ธโุ คไดต ง้ั แตโ คมอี ายนุ อ ย ชว ยเพม่ิ ความแมน ยำในการคดั เลอื ก
พนั ธแุ ละปรบั ปรงุ พนั ธุในปจ จบุ นั ไดม กี ารศกึ ษายนี ทม่ี คี วามสมั พนั ธก บั ลกั ษณะการเจรญิ เตบิ โตเพอ่ื นำมาใชเ ปน เครอื่ งหมาย
พันธุกรรมชวยในการคัดเลือกพันธุ ไดแก ยีน Insulin like growth factor 1 (IGF-1) (De la Rosa Reyna et al., 2010),
ยีน Melanocortin 4 receptor (MC4R) (Zhang et al., 2009), ยนี The transcription factor pituitary-1 (POU1F1) (Xue et al.,
2006) และยีน Growth hormone receptor (GHR) (Maskur et al., 2014) เปน ตน โดยยนี GHR เปนยนี ท่ีทำหนา ทีค่ วบคุมการ
ทำงานของรีเซปเตอร (receptor) ที่อยูบนผิวของเซลลเปาหมาย เก่ียวของกับการสรางโกรธฮอรโมน (Growth hormone)
ซงึ่ เปน ฮอรโมนท่ีสงเสรมิ การเพิ่มปรมิ าณและขยายขนาดของเซลล กระตุน การเจริญเตบิ โตในสตั วหลายชนดิ (Litrat et al.,
2005) โดยพบวา การแสดงออกของยนี GHR มผี ลตอ การทำงานของยีน IGF-1 ดวย (Locatelli and Bianchi, 2014) มีงานวจิ ยั
รายงานวาการกลายของยีน GHR อาจจะสงผลตอความสามารถในการจับและสงสัญญาณตอการกระตุนทำงานของ
โกรธฮอรโ มนในเซลลเปา หมาย (DiStasio et al., 2005) นอกจากนี้ Hale et al. (2000) ยังรายงานวา การกลายของยนี GHR
ทตี่ ำแหนงโปรโมเตอรวามีความสมั พันธก บั ลักษณะการเจริญเติบโตในโคเนอ้ื สวน Curi et al. (2006) และทองสา (2555)
ไดศ กึ ษาความสัมพันธระหวางรูปแบบพหสุ ัณฐานของยีน GHR ทส่ี ัมพนั ธก บั ลกั ษณะการเจริญเติบโตในโคเนอ้ื เขตรอนแล
ะลกู ผสมโคเขตหนาวดว ยเอนไซมต ดั จำเพาะชนดิ AluI พบวา ความสมั พนั ธข องรปู แบบยโี นไทปก บั ลกั ษณะการเจรญิ เตบิ โต
ในโคทีศ่ กึ ษายงั มคี วามแตกตา งกัน Maj et al. (2004) พบวาการกลายยีนในตำแหนง 5΄-noncoding ของยนี GHR มีความ
สัมพนั ธต ออตั ราการเตบิ โตและลักษณะซากในโคเน้อื พนั ธลุ มิ ซู ิน ชาโรเลย และเฮยี ฟอรด นอกจากนี้ Maskur et al. (2014)
พบวา การกลายยนี GHRทต่ี ำแหนง exon8และintron8เปน สาเหตใุ หเ กดิ การแทนทเ่ี บสแบบA/Gทำใหเ กดิ รปู แบบพหสุ ณั ฐาน
(Polymorphism) ของยีน ซึ่งรูปแบบจีโนไทปของยีน GHR มีความสัมพันธกับน้ำหนักหยานม (weaning weight)
และน้ำหนกั ตวั เฉลย่ี ตอ วนั (average daily gain) ในพนั ธโุ คเขตรอนและพันธโุ คลกู ผสมเขตรอ นกบั เขตหนาว จากขอ มูลท่ี ก
ลาวมาพบวา รูปแบบจโี นไทปข องยีน GHR ท่เี ก่ยี วของกบั ลกั ษณะการเจริญเตบิ โตมคี วามหลากหลายและแตกตา งกนั ในโค
แตละพันธุ ดังน้นั การศึกษานี้จึงมีวตั ถุประสงคเ พ่อื ตรวจสอบรปู แบบจโี นไทปของยนี GHR กบั ความสัมพนั ธข องน้ำหนัก
หยานม (weaning weight, WW) น้ำหนกั ตัวเฉล่ียตอ วนั (average daily gain, ADG) และอัตราการเปล่ยี นอาหารเปน น้ำหนกั
(feed conversion ratio, FCR) ในโคลูกผสมพันธุพ้ืนเมืองไทย x บราหมัน และโคลูกผสมพันธุพื้นเมืองไทย x วากิว
ระยะกำลังเจรญิ เติบโต ดว ยเทคนคิ PCR-RFLP เพือ่ ใชประโยชนจ ากขอมลู ในการประเมนิ พันธุกรรมโคลกู ผสมพื้นเมอื งท่ี
ผลิตขนึ้

อปุ กรณแ ละวธิ กี าร
สัตวทดลอง

โคลูกผสมในระยะกำลงั เจรญิ เติบโต 2 สายพนั ธุ ไดแก โคลกู ผสมพันธุพ นื้ เมืองไทย x บราหมัน (NB) จำนวน 6 ตวั
อายปุ ระมาณ 1 ป นำ้ หนกั เฉลยี่ 93.16 กโิ ลกรัม และโคลกู ผสมพื้นเมอื งไทย x วากิว (NW) จำนวน 6 ตวั อายปุ ระมาณ 1 ป
6 เดือน มีน้ำหนักเฉลี่ย 112.25 กิโลกรัม โดยโคถูกเล้ียงดูที่ฟารมสัตว คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ในคอกขังเดี่ยวขนาด 2 x 3 ตารางเมตร
ไดรับอาหารสูตรรวม (TMR) และน้ำอยางเต็มที่ เปนเวลา 84 วัน ทำการบันทึกขอมูล ไดแก น้ำหนักหยานม (WW)
น้ำหนกั ตวั เฉล่ยี ตอ วัน (ADG) และลกั ษณะอัตราการเปล่ียนอาหารเปนน้ำหนัก (FCR) โดยจะช่ังน้ำหนกั โคทกุ ๆ 28 วัน
44 วารสาร สัตวบาล

การเก็บตวั อยา งเลอื ดและการเพิม่ ปรมิ าณยีน
เจาะเลอื ดโคทเ่ี สน เลอื ดดำบรเิ วณลำคอ (jugular vein) ปรมิ าณ 1 ลบ.ซม. และเกบ็ ตวั อยา งเลอื ดในหลอดเกบ็ ตวั อยา ง

ทมี่ ี 0.5 mM EDTA เปน สารปอ งกนั การแขง็ ตวั ของเลอื ด นำเลอื ดแชน ำ้ แขง็ จนกวา จะขนสง ไปยงั หอ งปฏบิ ตั กิ าร ทำการสกดั
DNA ตามวิธีการ TIANamp Genomic DNA Kit (TIANGEN Biotech®, PRC) และตรวจสอบคุณภาพ DNA
ทส่ี กดั ไดบ นเจลอะกาโรส ความเขม ขน 1%ซง่ึ DNAทส่ี กดั ไดจ ะถกู นำมาเพม่ิ ปรมิ าณชน้ิ สว นของยนี เปา มายโดยกระบวนการPCR
ดว ยไพรเมอรท ่ีมลี ำดบั เบสอยูบริเวณ exon 8 และ intron 8 (170271-170611 bp) ของยนี GHR (Maskur et al., 2014) ดังน้ี

F : 5΄-GGGCTAGCAGTGACATTATT-3΄และ R : 5΄-ACCTCTGGGTCCTGGAATAAA-3΄
โดยวงรอบของ PCR ประกอบดว ย 95 ํC 5 นาที 1 รอบ ตามดว ย 34 รอบของ 95 ํC 45 วินาที 56 Cํ 45 วนิ าที 72 Cํ
45 วนิ าที และ 72 Cํ 5 นาที 1 รอบผลติ ภณั ฑ PCR ทไ่ี ดจ ะถกู นำไปยอ มสชี นดิ SYBR Gold (Invitrogen®, USA) และตรวจสอบ
ขนาดของชิน้ ยีนท่ถี กู เพมิ่ ปริมาณดวยเจลอะกาโรสความเขมขน 2% ภายใตแ สงอัลตราไวโอเลตดว ยเครอื่ งวเิ คราะหภาพเจล
การวิเคราะหเครื่องหมายพันธกุ รรม
ผลิตภณั ฑ PCR ท่ไี ดถูกนำไปตดั ดว ยเอนไซมตัดจำเพาะชนิด HpyCH4III (NEB®, USA) ตามคำแนะนำในคมู ือ
การใชเอนไซมตัดจำเพาะ ผลท่ีไดจากการตัดดวยเอนไซมตัดจำเพาะจะถูกนำไปแยกความแตกตางของขนาดชิ้นสวน
ดวยเจลอะกาโรสความเขม ขน 3% โดยใชส ียอม SYBR Gold (Invitrogen®, USA) ตรวจสอบผลที่ไดภายใตแสงอัลตรา
ไวโอเลตดว ยเครอ่ื งวเิ คราะหภ าพเจลผลของแถบดเี อน็ เอทไ่ี ดจ ะถกู นำไปวเิ คราะหค วามถอ่ี ลั ลลี และความถจ่ี โี นไทปข องยนี
GHR และวิเคราะหคา Hardy-Weinberg equilibrium (HWE) ดว ยโปรแกรม Genepop on the web 4.6 (Raymond and
Rousset, 1995; Rousset, 2008)

การวิเคราะหจีโนไทปกับลกั ษณะปรากฏที่ศึกษา
วเิ คราะหจ โี นไทปก บั คา เฉลย่ี ของลกั ษณะปรากฏทศ่ี กึ ษา (phenotype) โดยเปรยี บเทยี บรปู แบบจโี นไทปท พี่ บในโค

ท้ังสองสายพันธุกับคาเฉลี่ยลักษณะน้ำหนักหยานม อัตราการเติบโตเฉลี่ยตอวัน และอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนน้ำหนัก
โดยใชวิธีกำลังสองนอยที่สุด (Least square means) ดวยโปรแกรมทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ P<0.05 และแนวโนม
ที่ระดบั นัยสำคัญ P<0.1 (SAS, 2009)

วารสาร สัตวบาล 45

ผลการวิจยั และวจิ ารณผลการวิจยั
ความถีจ่ โี นไทปแ ละความถอี่ ลั ลลี

การเพิ่มปริมาณชนิ้ สว นของยีนเปา หมายดวยเทคนิค PCR พบวายนี GHR มขี นาด 341 คเู บส ผลการทดสอบ HWE
พบวาประชากรอยูในสมดลุ (P>0.05, χ2 = 1.85) เมอื่ ตัดผลิตภณั ฑ PCR ของยนี GHR ดว ยเอนไซมต ัดจำเพาะ HpyCH4III
พบวา ใหรูปแบบยนี 2 รูปแบบ คอื อลั ลลี A มีขนาด 341 คเู บส และอลั ลลี G มขี นาด 287 คเู บส โดยมคี วามถีข่ องอัลลีลเทากับ
0.62 และ 0.38 ตามลำดับ (Table 1) ซึง่ พบวา ความถีอ่ ลั ลลี G มีคา ต่ำกวาอลั ลลี A สอดคลองกับความถอี่ ัลลีลทรี่ ายงานโดย
Maskur et al. (2014) ท่ีศึกษายีน GHR ในโคบาหลี (A=0.532 และ G=0.468) โดยใชไ พรเมอรแ ละเอนไซมตัดจำเพาะชนดิ
เดยี วกนั เมอ่ื วเิ คราะหร ปู แบบจโี นไทปข องยนี GHR ในโคลกู ผสมพนื้ เมอื งไทยทง้ั สองสายพนั ธุ พบวา มที ง้ั หมด 3 แบบ ไดแ ก
AA AG และ GG (Figure 1) โดยมคี วามถี่จโี นไทปเทา กบั 0.34 0.58 และ 0.08 ตามลำดับ เมอื่ พจิ ารณารูปแบบจโี นไทปพ บ
วา โคลกู ผสมพนื้ เมอื งไทยxบราหม นั (NB)แสดงจโี นไทปGGและAGแตไ มพ บจโี นไทปAAในขณะทโ่ี คลกู ผสมพน้ื เมอื งไทย
x วากิว (NW) พบจีโนไทป AA และ AG แตไมพ บจีโนไทป GG ดงั นัน้ แสดงใหเ ห็นวา รปู แบบจโี นไทปแบบโฮโมไซกัส
(homozygous) ระหวา งโคลกู ผสมเขตรอ น (พน้ื เมอื งไทย x บราหม นั ) และโคลกู ผสมรอ นกบั เขตหนาว (พนื้ เมอื งไทย x วากวิ )
มคี วามแตกตางกนั ซง่ึ จากการศกึ ษายีน GHR ของ Curi et al. (2006) เมอ่ื ใชเ อนไซมต ัดจำเพาะ AluI พบวา รปู แบบจีโนไทป
AluI (N/N) ถกู พบในโค Nellore ซ่งึ เปนโคเขตรอน มคี าความถ่จี ีโนไทปสงู ถึง 0.835 ในขณะทีจ่ ะไมพบจีโนไทปรปู แบบ
AluI (+/+), AluI (+/-) และ AluI (-/-) สวนรปู แบบจโี นไทป AluI (N/+) และ AluI (N/-) จะถกู พบในโคลกู ผสมระหวางโค
เขตรอนกับโคเขตหนาว พันธุชาโรเลย ซิมเมนทอล และแองกัส และมีคาความถี่จีโนไทปสูง ขณะที่โดยรูปแบบจีโนไทป
AluI(N/N)จะถกู พบไดน อ ยและมคี า ความถจ่ี โี นไทปต ำ่ กวา (0.000-0.167)จโี นไทปร ปู แบบอนื่ ดงั นน้ั จงึ แสดงใหเ หน็ วา รปู แบบ
จโี นไทปในโคเขตรอนและโคลูกผสมเขตรอนกับเขตหนาวมคี วามแตกตา งกนั

Table 1 Allele and genotype frequencies of GHR/HpyCH4III gene in crossbred Thai Native x Brahman
and crossbred Thai Native x Wagyu cattle

Gene N Allele frequencies Genotype frequencies χ2 (HWE)
GHR 12 GA AA AG GG 1.85
0.38 0.62 0.34 0.58 0.08

46 วารสาร สัตวบาล

Figure 1 PCR-restricted-fragment length polymorphism in the bovine GHR gene using HpyCH4III of
six crossbred Thai Native x Brahman (NB1-NB6) and six crossbred Thai Native x Wagyu (NW1-NW6) cattle.

U is uncut PCR product. M is 100 bp. Ladder marker.
The uncut allele is 341 bp, the cut alleles are 341 bp (designated as A) and 287 bp (designated as G)

อทิ ธพิ ลของรูปแบบจโี นไทปตอ ลักษณะการเจรญิ เตบิ โต
เม่ือตรวจสอบความสัมพันธของน้ำหนักหยานม (WW) กับรูปแบบจีโนไทปของโคท้ังสองสายพันธุ

พบวา รปู แบบจโี นไทป GG ใหน ำ้ หนกั หยา นมสงู กวา รปู แบบอน่ื (Table 2) แตไ มม คี วามแตกตา งกนั ทางสถติ ิ (P>0.05)
กบั รปู แบบจโี นไทปอ น่ื ซงึ่ ผลการศกึ ษาทไ่ี ดส อดคลอ งกบั งานวจิ ยั ของ Maskur et al. (2014) ทพ่ี บวา แมจ โี นไทป GG
ของโคบาหลีจะมีนำ้ หนกั หยานมสงู กวา รปู แบบ AG และ AA แตไ มมคี วามแตกตา งกันทางสถติ ิ

Table 2 Weaning weight (WW), average daily gain (ADG) and feed conversion ratio (FCR)
obtained for the genotypes of the GHR/HpyCH4III polymorphism in crossbred Thai Native x Brahman

and crossbred Thai Native x Wagyu cattle

Traits Genotype SEM Pr>F
AA AG GG
WW (kg) 103.38 101.93 105.50 9.00 0.99
ADG (kg/day) 0.93X 0.69X 0.36Y 0.07 0.06
FCR 6.16Y 7.63Y 13.13X 0.81 0.07

XY Genotype means in the same group and column differ (P<0.10)

วารสาร สัตวบาล 47

สำหรับน้ำหนักตัวเฉลี่ยตอวัน (ADG) พบวารูปแบบจีโนไทป GG มี ADG ต่ำกวาจีโนไทปรูปแบบอื่น
และมคี วามแตกตา งจากจโี นไทป AG และ AA แบบมแี นวโนม ทางสถติ ิ (P=0.06) ขณะทจี่ โี นไทป GG มี FCR สงู กวา รปู แบบ
AG และ AA แบบมแี นวโนม ทางสถติ ิ (P=0.07) เชน กัน (Table 2) ผลการศึกษาครัง้ น้ีขัดแยงกบั งานวิจัยของ Maskur et al.
(2014) ทีพ่ บวารูปแบบจีโนไทป GG ในโคบาหลมี ีคา ADG สูงกวาจีโนไทปร ูปแบบอนื่ อยา งมีนัยสำคญั ทางสถิติ อยา งไรก็
ตามงานวิจัยน้ีแสดงความสัมพันธของน้ำหนักตัวเฉล่ียตอวันและอัตราการเปลี่ยนอาหารเปนน้ำหนักกับรูปแบบจีโนไทป
ของโคลูกผสมพืน้ เมือไทยสอดคลอ งกบั งานวจิ ยั ของ Curi et al. (2006) ซง่ึ ไดรายงานวารปู แบบจโี นไทป AluI (N/+) และ
AluI (N/-) ซึ่งพบในโคลูกผสมเขตรอนกับเขตหนาวแสดงน้ำหนักเม่ือครบอายุฆาและน้ำหนักตัวเฉลี่ยตอวัน (ADG)
สงู กวา รปู แบบจีโนไทป AluI (N/N) ท่ีพบในโคเขตรอนอยา งมีนัยสำคญั ยิง่ ทางสถติ ิ (P<0.05) แสดงใหเห็นถงึ รูปแบบจีโน
ไทปของยีน GHR ท่ีพบในโคเขตรอนและโคลูกผสมเขตรอนกับเขตหนาวมีความแตกตางกันอยางชัดเจน รวมถึงมีความ
สัมพันธกับลักษณะการเจริญเติบโตในโค โดยรูปแบบจีโนไทปที่พบในโคลูกผสมเขตรอนกับเขตหนาวจะใหลักษณะการ
เจรญิ เตบิ โตในระยะหลงั หยา นม ระยะขนุ รวมถงึ นำ้ หนกั ตวั เฉลยี่ ตอ วนั สงู กวา จโี นไทป ทพี่ บในโคเขตรอ นอยา งมนี ยั สำคญั
ย่งิ ทางสถิติ (P<0.01) Curi et al. (2006)

งานวิจัยคร้ังนี้แสดงใหเห็นวายีน GHR มีความเปนไปไดในการนำไปใชประโยชนดานการประเมินพันธุกรรมโค
ลกู ผสมพนื้ เมืองไทย x บราหม ัน และลกู ผสมพ้นื เมืองไทย x วากวิ ของนำ้ หนักตัวเฉล่ยี ตอ วันและอัตราการเปลยี่ นอาหาร
เปนน้ำหนักได ตั้งแตโคอายุนอย อยางไรก็การศึกษาคร้ังน้ียังมีขอจำกัดในดานจำนวนตัวอยางท่ีใชศึกษาเนื่องจากเปน
ระยะเร่ิมตนของการทดลองผลิตโคลูกผสมท้ังสองสายพันธุ จึงมีจำนวนตัวอยางนอย ดังน้ันการเพิ่มจำนวนโคลูกผสม
ทั้งสองสายพนั ธใุ นการศึกษาเพ่มิ เตมิ ในอนาคตเปน ส่ิงจำเปน เพอ่ื ทจ่ี ะทำใหไ ดข อ มูลของยนี GHR เพ่ิมข้นึ และสามารถนำ
ผลการศกึ ษาไปใชป ระโยชนไ ดม ากขึ้นตอ ไป

สรปุ ผลการวิจัย
รูปแบบจีโนไทปโฮโมไซกัสของโค ลูกผสมพื้นเมืองไทย x บราหมัน และลูกผสม พ้ืนเมืองไทย x วากิว
มีความแตกตางกัน ซ่ึงรูปแบบจีโนไทป AA และ AG เปนรูปแบบท่ีมีแนวโนมใหน้ำหนักตัวเฉลี่ยตอวันและอัตราการ
เปลีย่ นอาหาร เปนนำ้ หนกั ทด่ี ี

กิตตกิ รรมประกาศ
ขอบคณุ หนว ยวจิ ยั ชน้ั สงู เพอ่ื การผลติ ปศสุ ตั วแ ละสตั วป ก และฟารม สตั ว คณะทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละอตุ สาหกรรม
เกษตร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จงั หวดั สกลนคร ทไี่ ดใ หค วามอนเุ คราะหโคลูกผสมพนื้ เมอื ง
สำหรับการศึกษาในงานวิจัยน้ี ขอบคุณนายวิทวัส กาศเกษม สำหรับการดูแลดานการเล้ียงโค ขอบคุณนางสาวพัชริตตา
ชัยคำภา นางสาวนิธภิ รณ มินะสงห และนางสาวปย าภรณ ชาอนิ ทร สำหรับการเก็บตวั อยา งเลอื ดโค
48 วารสาร สัตวบาล

เอกสารอา งอิง

ทองสา บวั สุข มนตชยั ดวงจินดา ยพุ ิน ผาสุก และ ไพโรจน ศิริสม. 2555. การศึกษาเคร่ืองหมายพนั ธกุ รรมที่สัมพนั ธกับ
ลักษณะการเจรญิ เติบโตในโคตาก. วารสารแกนเกษตร 40(ฉบับพิเศษ 2): 357-361.

ปรารถนา พฤกษะศร.ี 2544. โคเนื้อพันธกุ ำแพงแสน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วทิ ยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.
Curi, R.A., H.N. Oliveira, A.C. Silveira, C.R. Lopes. 2006. Association between IGFI, IGF-IR and GHRH gene

polymorphisms and growth and carcass traits in beef cattle. Life Science Products 94(3): 159-167.
De la Rosa Reyna, X.F. H.M. Montoya, V.V. Castrellón, A.M.S. Rincón, M.P. Bracamonte and W.A. Vera. 2010.

Polymorphisms in the IGF1 gene and their effect on growth traits in Mexican beef cattle. Genetics and
Molecular Research 9(2): 875-883.
DiStasio, L., G. Destefanis, A. Brugiapaglia, A. Albera and A. Rolando. 2005. Polymorphism of the GHR gene in cattle
and relationship with meat production and quality. Animal Genetics 36(2): 138-140.
Hale, C.S., W.O Herring, H. Shibuya, M.C. Lucy, D.B. Lubahn, D.H. Keisler and G.S. Johnson. 2000. Decrease growth
in Angus steers with a short TG-microsatellite allele in the P1 promoter of growth hormone receptor gene.
Journal of Animal Science 78(8): 2099-2104.
Listrat, A., J.F. Hocquette, B. Picard, F. Ménissier, J. Djiane and H. Jammes. 2005. Growth hormone receptor gene expression
in the skeletal muscle of normal and double-muscled bovines during foetal development. Reproduction Nutrition
Development 45(4): 393-403.
Locatelli, V. and V.E. Bianchi. 2014. Effect of GH/IFG-1 on bone metabolism and osteoporsosis. International Journal
of Endocrinology: 235060.
Maj, A., N. Strzalkowska, K. Sloniewski, J. Krzyzewski, L. Oprzadek and L. Zwierzchowski. 2004. Single nucleotide
polymorphism (SNP) in the 5-noncoding region of the bovine growth hormone receptor gene and its association
with dairy production traits in a Polish Black and White cattle. Czech Journal of Animal Science 49(10): 419-429.
Maskur, R and C. Arman. 2014. Association of a novel single nucleotide polymorphism in growth hormone receptor gene
with production traits in Bali cattle. Italian Journal of Animal Science 13(4): 3461.
Opatpatanakit, Y. and J. Sethakul. 2010. Natural beef from Thai native cattle: From farmers to consumers. In: Prceedings
of the 14th AAAP Animal Science Congress, Pingtung, Taiwan, R.O.C.
Raymond, M. and F. Rousset. 1995. GENEPOP (version 1.2): population genetics software for exact tests and ecumenicism.
Journal of Heredity 86(3): 248-249.
Rousset, F. 2008. Genepop'007: a complete reimplementation of the Genepop software for Windows and Linux. Molecular
Ecology Resources 8(1): 103-106.
SAS. 2009. SAS/STAT Users Guide, Version 9.1. SAS Institute Inc. Cary, NC, USA.
Soria, L.A., P.M. Corva, M.J. Huguet, S. Miño and M.C. Miquel. 2010. Bovine μ–calpain (CAPN1) gene polymorphisms
in Brangus and Brahman bulls. Journal of Basic and Applied Genetics 21(1): 61-69.
Tumwasorn, S., K. Markvichitr, P. Innurak, P. Prucsasri, B. Rengsirikul and C. Chantalakhana. 1982. Comparative
Performances of Thai Indigenous Native Brahman Halfbred and Charolais Halfbred Cattle at Kamphaengsaen.
Proc. Anim. Sci. Res. The 20th Annual Conference, Kasetsart University, Bangkok. 363-376 p.
Xue, K., H. Chen, S. Wang, X. Cai, B. Liu, C.F. Zhang, C. Z. Lei, X. Z. Wang, Y.M. Wang and H. Niu. 2006. Effect of
Genetic Variations of the POU1F1 Gene on GrowthTraits of Nanyang Cattle. Acta Genetica Sinica 33 (10): 901-907.
Zhang, C.L., Y.H. Wang, H. Chen, X.Y. Lan, C.Z. Lei and X.T. Fang. 2009. Association between variants in the
5'-untranslated region of the bovine MC4R gene and two growth traits in Nanyang cattle. Molecular Biology
Reports 36(7): 1839-1843.

วารสาร สัตวบาล 49

ขา ว

กจิ กรรมสมาคม

สัตวบาลแหง ประเทศไทย

¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒúÃÔËÒÃÊÁÒ¤ÁÊÑμǺÒÅá˧‹ »ÃÐà·Èä·ÂÏ
ªáéÕ ¨§ ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ ÇÔ ªÔ ÒªÕ¾¡ÒÃÊÑμǺÒÅ

นายชยานนท กฤตยาเชวง นายกสมาคมสัตวบาลแหงประเทศไทย ในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พรอมดวยคณะกรรมการบริหารสมาคมสัตวบาลแหงประเทศไทยฯ
และคณะเจาหนาท่ีของกรมปศุสัตว เขาช้ีแจงตอคณะกรรมการกฤษฎีกา ในการพิจารณา พระราชบัญญัติวิชาชีพ
การสตั วบาล พ.ศ. ............... เมอ่ื วันท่ี 1 มิถุนายน 2563
50 วารสาร สัตวบาล


Click to View FlipBook Version