The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปโครงการโคกหนองนารุ่นที่ 1-3 ภาคเรียนที่2/64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by puts_24, 2022-03-30 22:47:26

สรุปโครงการโคกหนองนารุ่นที่ 1-3 ภาคเรียนที่2/64

สรุปโครงการโคกหนองนารุ่นที่ 1-3 ภาคเรียนที่2/64


สรุปผลกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นท่ี 1-3



บทสรปุ ผบู้ ริหาร

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นที่ 1-3 มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้
นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก
หนอง นา”โมเดล 2. เพ่ือให้นักศึกษานาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในการดารงชีวิตประจาวันได้
โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการจานวน 700 คน จากล่มุ เป้าหมาย 600 คน ประกอบด้วย นักศึกษาระดับประถมศึกษา
มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยได้รับความอนุเคราะห์วิทยากรจากศูนย์เรียนรู้ทฤษฎีใหม่
หนว่ ยบัญชาการต่อสอู้ ากาศยานและชายฝ่งั สอ.รฝ เปน็ ผู้ใหค้ วามรู้ ทง้ั นไี้ ดข้ ้อสรุปผลดงั นี้

จากผลการดาเนินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นที่ 1-3 กศน.
อาเภอสัตหบี จากการส่มุ เก็บแบบสอบถามการประเมนิ ความพึงพอใจจากกลุ่มตัวอยา่ งจานวน 248 คน พบว่า
ผู้เข้าร่วมโครงการ บรรลุตามวัตถุประสงค์ คือ นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา”โมเดลและสามารถนาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้
ให้เกิดผลในการดารงชีวิตประจาวันได้ อยู่ในระดับ “ดีมาก” และผู้เข้ารว่ มโครงการมีความคิดเห็นในภาพรวม

อยู่ในระดับ “มาก” มีค่าเฉลี่ย (×̅) = 4.27 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s.d) มีค่า = 0.75 และมีความพึงพอใจ
ต่อการจัดโครงการ โคก หนอง นา โมเดล อยู่ในมาก ข้ึนไป ร้อยละ 85.20 ซึ่งบรรลุตามวัตถุประสงค์ของ
โครงการ ในการดาเนินโครงการในคร้ังนี้ได้สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ดังน้ี 1. มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 2. มาตรฐานการศึกษาตาม
อัธยาศัย 3. มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ประเด็นที่ 3.8 การส่งเสริม สนับสนุน
การสรา้ งสงั คมแหง่ การเรียนรู้ ของสานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

สรปุ ผลกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ที่ 1-3



คานา

นโยบายและจุดเน้นประจาปีงบประมาณ 2565 ด้านการน้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ
รวมทัง้ ส่งเสริมและสนบั สนุนการดาเนินงานโครงการ อนั เน่ืองมาจากพระราชดารทิ กุ โครงการ และโครงการอัน
เก่ียวเนื่องจากราชวงศ์ เช่น โคกหนองนาโมเดล ,คลองสวยนาใส ,พลังงานทดแทน(แสงอาทิตย์), จิตอาสา
พัฒนาชุมชน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ตามแผนฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โครงการ
ภายใต้แผนงานสร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก โครงการพัฒนาพืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคมท่ีได้รับผลกระทบจาก
การระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 น้ัน เป็นอีกหน่ึงเครื่องมือในการขับเคลื่อนการพัฒนางาน
ทางด้านการศึกษาที่จัดข้ึนให้กับบุคลากร นักศึกษา ประชาชน ผู้รับบริการของ กศน.อาเภอสัตหีบ โดยกศน.
อาเภอสัตหีบได้ดาเนินงานตามภารกิจของสานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี คือดาเนินการขยายผลการดาเนิน
โครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” ให้กบั นักศกึ ษาและประชาชนในพนื้ ท่ี น้นั

ดังนั้นเพื่อเป็นการประเมินผลถึงระดับคุณภาพและผลสัมฤทธ์ิของการดาเนินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ
ผู้เรียน โครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นท่ี 1-3 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อาเภอสัตหีบ จึงได้ดาเนินการสรุปผลการดาเนินโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”ขึ้นเพ่ือเป็นแนวทางในการ
พฒั นาการศึกษา ของสถานศกึ ษา ตอ่ ไป

กศน.อาเภอสตั หีบ
มกราคม 2565

สรปุ ผลกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุน่ ท่ี 1-3



สารบญั

เร่อื ง หน้า

บทสรุปผู้บริหาร ก

คานา ข

สารบญั ค

สารบญั ตาราง จ

บทท่ี 1 บทนา 1

1. หลกั การและเหตผุ ล 1

2. วตั ถปุ ระสงค์ 2

3. เป้าหมาย 2

4. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ 2

บทที่ 2 เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง 3

1. หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 3

2. แนวคิดและการดาเนนิ ชวี ติ ตามแนวพระราชดาริ 9

3. แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง ปรัชญาเศรษฐกจิ ทที่ าไดจ้ รงิ 12

4. โคก หนอง นา โม เดล 13

บทที่ 3 วธิ กี ารดาเนินงาน 17

1. เป้าหมาย 17

2. งบประมาณ 17

3. ระยะเวลาดาเนนิ การและสถานท่ีดาเนนิ การ 17

4. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ 17

5. วธิ ดี าเนินการ 17

6. การกาหนดเกณฑ์การให้คะแนน 17

บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 18

ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป 18

ตารางท่ี 1 แสดงจานวนและร้อยละ ของผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม แยกตามเพศ 18

ตารางที่ 2 แสดงจานวนและร้อยละของผู้รว่ มกจิ กรรม แยกตามอายุ 18

ตารางท่ี 3 แสดงจานวนและร้อยละของผ้รู ่วมกจิ กรรม แยกตามระดับการศึกษา 19

ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลสรุปผลความพึงพอใจต่อการจัดกจิ กรรมโครงการ 20

“โคก หนอง นา โมเดล” รุน่ ที่ 1 -3 ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

อาเภอสตั หบี อาเภอสัตหบี จังหวดั ชลบรุ ี

ตารางที่ 4 ค่าร้อยละระดบั ความความพงึ พอใจต่อการจดั กิจกรรมโครงการ 20

“โคก หนอง นา โมเดล” รุน่ ท่ี 1 -3 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย

อาเภอสตั หบี อาเภอสตั หีบ จังหวดั ชลบรุ ี

ตารางที่ 5 คา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดับความพึงพอใจต่อการจดั 21

กจิ กรรมโครงการ“โคก หนอง นา โมเดล” รนุ่ ที่ 1 -3 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสตั หีบ อาเภอสัตหีบ จงั หวดั ชลบุรี

สรุปผลกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุน่ ท่ี 1-3



สารบัญ(ตอ่ ) หน้า
21
เร่อื ง 22
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ 22
22
บทที่ 5 สรปุ และข้อเสนอแนะ
5.1 สถานภาพของผู้เขา้ อบรม 23
5.2 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู สรุปผลความพึงพอใจตอ่ การจัดกิจกรรมโครงการ “โคก หนอง นา 24
โมเดล” รนุ่ ที่ 1 - 3 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบ 25
อาเภอสัตหบี จงั หวัดชลบรุ ี 26
5.3 ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ
37
เอกสารอา้ งอิง
ภาคผนวก 41

ภาคผนวก ก. 56

โครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นที่ 1-3

ภาคผนวก ข
คาสงั่ แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นท่ี 1-3

ภาคผนวก ค
แบบรายงานผลโครงการ PDCA

คณะผูจ้ ัดทา

สรปุ ผลกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3



สารบัญตาราง หน้า
18
เร่ือง 18
ตารางที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละ ของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม แยกตามเพศ 19
ตารางที่ 2 แสดงจานวนและร้อยละของผู้ร่วมกิจกรรม แยกตามอายุ 20
ตารางท่ี 3 แสดงจานวนและร้อยละของผ้รู ว่ มกจิ กรรม แยกตามสถานภาพ
ตารางที่ 4 คา่ ร้อยละระดบั ความความพงึ พอใจต่อการจัดกิจกรรมโครงการ 21

“โคก หนอง นา โมเดล” รนุ่ ที่ 1 -3 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
อาเภอสัตหีบ อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
ตารางที่ 5 คา่ เฉลีย่ ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดับความพงึ พอใจต่อการจดั กิจกรรม
โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล” รนุ่ ท่ี 1 -3 ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัยอาเภอสตั หบี อาเภอสัตหีบ จงั หวดั ชลบุรี

สรปุ ผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุน่ ที่ 1-3

1

บทที่ 1
บทนา

1. หลักการและเหตผุ ล
จากรัฐบาลมีนโยบายเรียนดีอย่างมีคุณภาพ โดยสนับสนุนงบประมาณเป็นค่าใช้จ่ายให้นักเรียน

นักศึกษา ในหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยส่วนหน่ึงได้จัดสรรเงินเป็นค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ซึ่งมวี ัตถปุ ระสงค์เพ่อื พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ ีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นสงู ข้ึน และมคี ุณธรรม จริยธรรม สามารถใชช้ วี ิต
อย่างพอเพียงและอย่างมีความสุข สาหรับในส่วนของนโยบายและจุดเน้นการดาเนินงานกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนของสานักงาน กศน.ได้กาหนดวธิ ีการดาเนินกจิ กรรมต่างๆ ไว้ ดังน้ี (1) กจิ กรรมพฒั นาวิชาการ
(2) กิจกรรมพัฒนาทกั ษะชีวิต (3) กิจกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) (4)
กจิ กรรมเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (5) กิจกรรมที่แสดงออกถึงความจงรักภักดตี ่อชาติ ศาสนา
และสถาบันพระมหากษัตริย์ (6) กิจกรรมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง (7) กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรม
อาสายุวกาชาด (8) กิจกรรมด้านกีฬา และส่งเสริมสุขภาพ เพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านความรู้ความสามารถ
ในหมวดวิชาพนื้ ฐานและเพอ่ื ให้ผู้เรยี นสามารถคิดเปน็ ทาเปน็ และแกป้ ัญหาเปน็

นโยบายและจดุ เน้น กระทรวงศึกษาธิการ ในการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ด้าน
การจัดการศึกษาเพ่ือคุณวุฒิ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไขสถานการณ์เฉพาะ
หน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์จริงหรือจาก
สถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็นเพื่อเปิดโลก
ทัศน์มุมมองร่วมกนั ของผเู้ รยี นและครใู หม้ ากข้นึ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรอบร้แู ละทกั ษะชวี ติ เพื่อเป็นเครื่องมือ
ในการดารงชีวติ และสร้างอาชีพ อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั สุขภาวะและทศั นคติทีด่ ตี ่อการดูแลสุขภาพ และ
สานักงาน กศน. มีนโยบายและจุดเน้นประจาปีงบประมาณ 2565 ด้านการน้อมนาพระบรมราโชบายสู่การ
ปฏิบัติ รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดาริทุกโครงการ และ
โครงการอันเกี่ยวเนื่องจากราชวงศ์“หน่ึงชุมชน หน่ึงนวัตกรรมการพัฒนาชุมชนถ่ินไทยงาม” เพ่ือความกินดี
อยู่ดี มงี านทา เช่น โคกหนองนาโมเดล ,คลองสวยนาใส ,พลังงานทดแทน(แสงอาทิตย์), จิตอาสาพัฒนาชุมชน
ซ่ึงสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ตามแผนฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โครงการภายใต้แผนงาน
สร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก โครงการพัฒนาพืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎี
ใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เพ่ือฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมท่ีได้รับผลกระทบจากการระบาดของ
โรคติดเชอื ไวรสั โคโรนา 2019

สานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เป็นอีกหน่วยงานหน่ึงท่ีเล็งเห็นถึงความสาคัญของนโยบายดังกล่าว
และได้จัดทาโครงการพัฒนาครู กศน.แกนนาเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ขึ้น
ระหว่างวันที่ 8 - 9 ธันวาคม 2563 ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง ตาบลสองสลึง อาเภอแกลง จังหวัด
ระยอง เพ่ือน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่มาปรับใช้เพ่ือแก้ไขปัญหาและ
สร้างความสมบูรณ์ ความกินดี อยู่ดี มีงานทาให้กับชุมชน โดยพัฒนาครู กศน.แกนนาเพ่ือเป็นต้นแบบและ
ขยายผลใหก้ บั ครู กศน. บคุ ลากรในสถานศกึ ษาในสงั กัด นกั ศกึ ษา กศน. และประชาชนผูส้ นใจในพ้นื ทนี่ ัน้

ดงั นัน้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบจึงไดเ้ ล็งเห็นความสาคัญใน
การขับเคล่ือนการดาเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายสานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี จึงได้มีการขยายผลไปยัง

สรุปผลกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุน่ ที่ 1-3

2
นกั ศึกษา กศน.อาเภอสตั หีบจึงจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น โครงการ “โคก หนอง นา” โมเดล ขึ้นเพื่อให้
ผเู้ รยี นสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้
2. วัตถุประสงค์

2.1 เพอ่ื ใหน้ ักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎี
ใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา”โมเดล

2.2 เพ่ือใหน้ ักศึกษานาความรู้ที่ไดร้ ับไปประยุกตใ์ ช้ใหเ้ กิดผลในการดารงชีวติ ประจาวันได้
3. เปา้ หมาย

3.1 เชิงปริมาณ นักศึกษา กศน.อาเภอสตั หีบ จานวน 600 คน
3.2 เชิงคุณภาพ นักศึกษา กศน.อาเภอสตั หบี ทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรมมีความรู้ ความเขา้ ใจในการน้อมนาหลกั
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”และสามารถนาไป
ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้
4. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ
- แบบทดสอบ หลงั เข้ารับการอบรม
- แบบประเมินความพึงพอใจ
- รายงานผลการจดั โครงการ

สรุปผลกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุน่ ท่ี 1-3

3

บทท่ี 2
เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

ในการจัดทารายงานสรุปผลโครงการ สู่ “โคก หนอง นา โม เดล” รุ่นท่ี 1 -3 คร้ังน้ี ผู้จัดทาได้
ทาการค้นควา้ เนอื้ หาเอกสารการศกึ ษาและงานวจิ ัยที่เก่ียวข้อง ดงั น้ี

1. หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
2. แนวคิดและการดาเนินชวี ติ ตามแนวพระราชดาริ
3. แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ปรัชญาเศรษฐกิจทท่ี าไดจ้ รงิ
4. โคก หนอง นา โม เดล

1. หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ความหมายและความเป็นมา
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวการดารงอยู่ และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่
ระดับครอบครวั ระดับชุมชนจนถึงระดบั รฐั ทั้งในการพฒั นา และบริหารประเทศใหด้ าเนินไปใน ทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกิจเพ่อื ให้ก้าวทันตอ่ โลกยุคโลกาภิวัตน์

ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบ
ภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก และภายใน
ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่ง ในการนาวิชาการต่าง ๆ มาใช้ใน
การวางแผน และการดาเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพ้ืนฐานจิตใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะเจา้ หน้าทีข่ องรัฐ นกั ทฤษฎี และนักธรุ กิจในทุกระดับให้มีสานึกในคณุ ธรรม ความซ่ือสัตย์สจุ รติ และ
ให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิต ด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้
สมดุล และพร้อมต่อการรองรับการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว และกว้างขวางทั้งด้านวัตถุ สิ่งแวดล้อม และ
วฒั นธรรมจากโลกภายนอกไดเ้ ป็นอยา่ งดี
ความเป็นมาของเศรษฐกจิ พอเพียง

คาว่า “เศรษฐกจิ พอเพียง” เป็นปรชั ญาทพี่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวภูมิพลอดุลยเดชทรงมีพระราช
ดารัสชี้แนะแนวทางในการดาเนินชีวิตให้แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี เพ่ือนาไปปฏิบัติใน
การดาเนินชีวิตในยามท่ีประเทศประสบปัญหาวิกฤติทางเศรษฐกิจใน พ.ศ.2540 ภายหลังเมื่อได้ทรงเน้นย้า
แนวทางการแก้ไขเพ่ือให้ประชาชนรอดพ้นและสามารถอยู่ได้อย่างมั่นคงและย่ังยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์
จากพระราชดารสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช ในวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2517 วา่
“…การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับข้ัน ต้องสร้างพ้ืนฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ ของ
ประชาชนส่วนใหญ่เบ้ืองต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ท่ีประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้
พื้นฐานจากม่ันคงพร้อมพอสมควร และปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญ และฐานะทาง
เศรษฐกิจขัน้ ที่สงู โดยลาดบั ต่อไป…”
ใน พ.ศ. 2540 เกิดปัญหาวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระราชทานพระราชดารัส
เน่ืองในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา เร่ือง
เศรษฐกิจพอเพยี งอีกครัง้ เพอื่ แนวทางแกป้ ัญหาใหก้ ับประเทศ

สรุปผลกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”ร่นุ ท่ี 1-3

4

“…การเป็นเสือนนั้ ไมส่ าคญั สาคัญอยู่ทเี่ รามเี ศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมีพอกินน้ัน หมายความว่าอุ้มชู
ตนเองได้ให้มีพอเพียงกับตนเอง อันนี้ก็เคยบอกวา่ ความพอเพียงไม่ได้หมายความว่า ทุกครอบครัวจะต้องผลิต
อาหารของตัว จะต้องทอผ้าใส่เอง อย่างนั้นมันเกินไป แต่ว่าในหมู่บ้านหรือในอาเภอจะต้องมีความพอเพียง
พอสมควร บางสิ่งบางอย่างท่ผี ลิตได้มากกว่าความต้องการ กข็ ายได้ แตข่ ายในท่ไี มห่ ่างไกลเทา่ ไร ไม่ต้องเสียค่า
ขนส่งมากนัก…”
คาว่า “พอเพียง” จากพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเต้าอยู่หัวฯ เน่ืองในโอกาสวัน เฉลิมพระ
ชนมพรรษา วนั ท่ี 4 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ณ ศาลาดุสิตดาลัย สวนจิตรลดา พระราชทานความหมายของคาว่า
“พอเพียง” ไวว้ ่า
“…คาว่าพอเพียงมีความหมายอีกอย่างหนึ่ง มีความหมายกว้างออกไปอีก ไม่ได้หมายถึงการมีพอสาหรับใช้เอง
เทา่ นั้น แตม่ คี วามหมายว่า พอมีพอกิน พอมพี อกินนี้แผลวา่ เศรษฐกจิ พอเพียงนน้ั เอง…”
“…ให้เพียงพอน้ีหมายความว่ามกี ินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือยไม่หรูหราก็ได้แต่วา่ พอ แม้บางอย่างอาจจะดูฟุ่มเฟือยแต่ก็
ทาใหม้ คี วามสขุ ถ้าทาไดก้ ็สมควรจะทา สมควรทจ่ี ะปฏบิ ัติ…”
“…Self-sufficiency นน้ั หมายความวา่ ผลิตอะไรมีพอที่จะใช้ ไมต่ ้องไปขอยืมคนอน่ื อยู่ได้ด้วยตนเอง…”
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาช้ีถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ต้ังแต่
ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถงึ ระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความ
พอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจาเป็นท่ีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบ
ใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายในภายนอก ท้ังนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความ
ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนาวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการ ทุกขั้นตอน และ
ขณะเดียวกัน จะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าท่ีของรัฐ นักทฤษฎี และนัก
ธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ท่ีเหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วย
ความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการ
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ท้ังด้านวัตถุ สังคม ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้
เป็นอย่างดี
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ประกอบไปด้วย 5 สว่ น ดังนี้

ส่วนท่ี 1. กรอบแนวคิด
เป็นปรัชญาที่ช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่ และปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเป็น โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถี
ชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการ
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอด
พน้ จากภัย และวิกฤต เพอ่ื ความม่นั คง และความยงั่ ยนื ของการพฒั นา
สว่ นท่ี 2. คุณลกั ษณะ
เศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนามาประยุกตใ์ ช้กบั การปฏบิ ัตติ นได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบัติบนทาง
สายกลาง และการพัฒนาอย่างเป็นขั้นตอน
ส่วนที่ 3. คานยิ าม
ความพอเพยี งจะต้องประกอบดว้ ย 3 คณุ ลักษณะ ดงั นี้
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง
และผู้อน่ื เช่นการผลิต และการบรโิ ภคทอ่ี ยู่ในระดับพอประมาณ

สรุปผลกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1-3

5

ความมีเหตผุ ล หมายถงึ การตัดสินใจเกยี่ วกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเปน็ ไปอย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้น ๆ อย่าง
รอบคอบ

การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้าน
ตา่ ง ๆ ทจ่ี ะเกิดข้ึนโดยคานึงถึงความเปน็ ไปไดข้ องสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดวา่ จะเกิดขนึ้ ในอนาคตทั้งใกล้ และ
ไกล

สว่ นที่ 4. เง่ือนไข
การตัดสินใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงน้ัน ต้องอาศัยท้ังความรู้ และ
คุณธรรมเป็นพ้ืนฐาน 2 เงื่อนไข ดังน้ี
เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่าน้ันมาพิจารณาให้เช่อื มโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ใน
ขั้นปฏิบัติ
เง่ือนไขคณุ ธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต
และมคี วามอดทน มีความเพยี ร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนินชีวิต
สว่ นท่ี 5. แนวทางปฏบิ ัติ / ผลท่คี าดวา่ จะได้รับ
จากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และย่ังยืน พร้อมรับ
ตอ่ การเปลยี่ นแปลงในทกุ ดา้ น ทั้งด้านเศรษฐกิจ สงั คม สง่ิ แวดล้อม ความรู้ และเทคโนโลยี
3 หว่ ง 2 เงอื่ นไข เศรษฐกจิ พอเพียง
แนวคิดหลกั ของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง ก็คือ การต้ังอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง ไมป่ ระมาท โดย
ท่ีจะต้องคานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ
รอบคอบ และคุณธรรม ไมส่ ดุ โต่งไปดา้ นใดดา้ นหนึง่ ซ่ึงทั้งหมดนรี้ วมกนั เป็นหลักทปี่ ฏิบัติได้
3ห่วง2เง่ือนไข ประกอบไปด้วยอะไรบ้างนั้น เราได้สรุปรวบยอดมาให้เข้าใจได้ง่ายๆ พร้อมท้ังนา
ภาพประกอบความเข้าใจ มาให้ดูด้วยเพื่อความเข้าใจท่ีแจ่มแจ้งข้ึน ซ่ึง3 ห่วง 2 เง่ือนไข นั้น แท้จริง
แล้ว เปน็ บทสรุปของเศรษฐกจิ พอเพยี ง นน่ั เอง คอื สรปุ ให้เข้าใจได้ง่ายๆ ดังต่อไปนี้
3 ห่วง คอื ทางสายกลาง ประกอบไปดว้ ย ดงั นี้
ห่วงที่ 1 คือ พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือว่าน้อย
จนเกินไปโดยต้องไม่เบยี ดเบยี นตนเอง หรอื ผ้อู ืน่ ใหเ้ ดอื ดรอ้ น
ห่วงท่ี 2 คือ มีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป
อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนคานึงถงึ ผลที่คาดวา่ จะเกดิ ข้ึนจากการกระทา
นั้นๆ อย่างรอบคอบ
ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการ
เปล่ียนแปลงด้านการต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดขึ้น
ในอนาคตทง้ั ใกลแ้ ละไกล
2 เงือ่ นไข ตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง ไดแ้ ก่
เงื่อนไขที่ 1 เง่ือนไขความรู้ คือ มีความรอบรู้เก่ียวกับ วิชาการต่างๆท่ีเกี่ยวข้องอย่างรอบ
ด้าน ความรอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพ่ือประกอบการ วางแผน และ
ความระมัดระวัง ในข้ันตอนปฏิบัติ คุณธรรมประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์
สุจรติ และมคี วามอดทน มีความเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดาเนนิ ชีวิต

สรุปผลกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ที่ 1-3

6

เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคณุ ธรรม คอื มีความตระหนกั ในคุณธรรม มคี วามซ่ือสัตย์สุจรติ และมีความ
อดทน มีความเพยี ร ใช้สติปญั ญาในการดาเนินชวี ิต

“ เศรษฐกิจพอเพียงจริงๆ คือ หลักการดาเนินชีวิตที่จริงแท้ที่สุด กรอบแนวคิดของหลัก
ปรัชญา มุ่งเน้นความม่ันคงและความยั่งยืน ของการพัฒนา อันมีคุณลักษณะท่ีสาคัญ คือ สามารถ
ประยุกต์ใช้ในทุกระดับ ตลอดจนให้ความสาคัญกับคาว่าความพอเพียง ท่ีประกอบด้วย ความ
พอประมาณ ความมีเหตุมีผล มีภมู ิคุ้มกันท่ีดีในตัว ภายใต้เงื่อนไขของการตัดสนิ ใจและการดาเนินกิจกรรมที่
ตอ้ งอาศยั เงอ่ื นไขความรู้และเง่ือนไขคุณธรรม ”

“ หากทุกฝ่ายเข้าใจกรอบแนวคิด คุณลักษณะ คานิยามของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างแจ่มชัดแล้ว ก็
จะง่ายข้ึนในการนาไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ และจะนาไปสู่ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ คือ การพัฒนาที่
สมดุลและย่ังยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดล้อม ความรู้และ
เทคโนโลยี
ปัจจยั ของเศรษฐกจิ พอเพียง
ปจั จัยทางเศรษฐกิจท่ีมีผลตอ่ การเปดิ เสรที างเศรษฐกิจของประเทศมีดงั น้ี

ความสามารถในการผลิตสินค้า ประเทศไทยสามารถผลิตสินค้าท่ีมีคุณภาพเพื่อการส่งออกได้อย่าง
หลากหลาย ทาให้สามารถกระจายการคา้ ไปสู่ตลาดต่างประเทศได้ ในขณะเดยี วกันกม็ ีความต้องการสินค้าทไ่ี ม่
สามารถผลิตได้เองในประเทศ หรือใช้ทนุ สูงในการผลิตจงึ ตอ้ งมกี ารนาเข้าจากต่างประเทศ
แรงงานที่มคี ุณภาพและค่าจ้างแรงขั้นต่าประเทศไทยมีแรงงานท่ีมีคณุ ภาพและค่าจ้างแรงงานยงั อยู่ในระดับต่า
ทาให้อุตสาหกรรมท่ีต้องใช้แรงงานของไทยมีต้นตุนการผลิตต่า ส่งผลดีต่ออุตสาหกรรมของไทยและ
อุตสาหกรรมท่ีเกิดจากการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ

นโยบายเปิดเสรีทางเศรษฐกิจรัฐบาลไทยมีนโยบายเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ ให้การสนับสนุนการเปิด
การค้าเสรี นโยบายกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจหลายประเทศดาเนิน
นโยบายกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ เพื่อไม่ให้สินค้าจากต่างประเทศมาแข่งขันกันสินค้าท่ีผลิตใน
ประเทศตนจึงทาให้ประเทศไทยต้องแสวงหาตลาดสง่ ออกแห่งใหม่การขยายตัวทางเศรษฐกจิ ของประเทศตา่ งๆ
ในโลกความต้องการสินค้าที่มีความหลากหลายในตลาดโลกเพ่ิมขึ้น เน่ืองจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ
ประเทศต่างๆ ในโลกอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเม่ือใดค่าเงินบาทมีแนวโน้มอ่อนตัวลงก็จะเอื้อ
ประโยชน์ต่อภาคการส่งออก ถา้ ค่าเงนิ บาทแขง็ ขนึ้ การสง่ ออกของไทยกจ็ ะลดลง

สรุปผลกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

7
การวางแผนพัฒนาเศรษฐกจิ

หมายถึง ส่ิงที่รัฐบาลได้จัดทาขึ้นล่วงหน้าแสดงถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย แผนการดาเนิน
นโยบาย และมาตรการต่างๆรวมท้ังข้ันตอนการดาเนินงานเก่ียวกับเศรษฐกิจในช่วงระยะเวลาหน่ึง เพื่อให้
เศรษฐกจิ ของประเทศเจริญเติบโตและพฒั นาตามเปา้ หมายและวตั ถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้

ประโยชนข์ องการวางแผนพัฒนาเศรษฐกจิ
การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจเป็นสิ่งท่ีมีประโยชน์ต่อการเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ด้วยเหตุผลท่ี
สาคญั 2 ประการคือ

1. ช่วยให้ประเทศจัดสรรทรัพยากรและปัจจัยการผลิตที่ประเทศมีอยู่ได้อย่างเหมาะสมและเป็น
ประโยชน์ตอ่ ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ

2. ทาให้ภาครฐั และภาคเอกชนมเี ปา้ หมายทีต่ รงกนั ในการพัฒนาเศรษฐกิจประเทศ
แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งประเทศไทย
หลังจากท่ีมีการปฏิวัติโดยเฉพาะคณะราษฎรเพื่อเปล่ียนแปลงการปกครองใน พ.ศ.2475 นายปรีดี พนม
ยงค์ หนึ่งในคณะผู้ก่อการเสนอ “เค้าโครงเศรษฐกิจ” หรือสมุดปกเหลืองต่อรัฐบาลเพ่ือให้ใช้เป็นแผนพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศ แต่เนื่องจากหลักการส่วนใหญ่ของเค้าโครงเศรษฐกิจมรลักษณะของเศรษฐกิจแบบ
สังคมนิยมซ่ึงเป็นเร่ืองใหม่สาหรับประเทศไทยในขณ ะนั้น จึงไม่ได้รับการยอมรับ ต่อเม่ือจอม
พลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็นนายกรัฐมนตรี รฐั บาลไทยในสมัยนั้นไดเ้ รมิ่ ตระหนกั ถึงความสาคญั ในเรื่องนี้ จึงได้
จัดตั้ง สภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ ขึ้นเม่ือ พ.ศ. 2502 มีหน้าที่ในการดาเนินการจัดทาแผลพัฒนา
เศรษฐกิจแห่งชาติ ปัจจุบันหน่วยงานน้ี คือ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
สังกัดนายกรัฐมนตรี

สรุปผลกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1-3

8

ปจั จยั ทางด้านเศรษฐกจิ
เศรษฐกิจของแต่ละประเทศมีสถานะที่แตกต่างกันไป ประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจไม่ดีจะกลายเป็น

ประเทศด้อยพัฒนาหรือกาลังพัฒนา ส่วนประเทศท่ีมีฐานะทางเศรษฐกิจดีก็จะกลายเป็นประเทศมหาอานาจ
และทาให้มพี ันธมิตรมากฐานะทางเศรษฐกิจน้ันเป็นพ้ืนฐานของอุตสาหกรรมทางยทุ โธปกรณ์และอุตสาหกรรม
หนักอ่ืน ๆ ปจั จยั ทางเศรษฐกิจที่ตอ้ งพจิ ารณา คือ ทรัพยากรและผลผลิตทางดา้ นอตุ สาหกรรม

ก. ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง แร่ธาตุ ได้แก่ ถ่านหิน น้ามัน แก๊สธรรมชาติ พวกโลหะ ได้แก่ เหล็ก
ทองแดง ฯลฯทรัพยากรธรรมชาติท่ีมีบทบาทอันสาคัญในเวทีการเมืองระหว่างประเทศปัจจุบัน คือ น้ามัน
ประเทศผู้ผลิตน้ามันกลายเป็นประเทศท่ีมีความสาคัญมาก และประเทศเหล่าน้ันมีการรวมตัวกันข้ึนเพื่อมี
อานาจตอ่ รองในด้านความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศ เช่น กลมุ่ โอเปค

ข. การผลิตทางด้านอุตสาหกรรม ประเทศท่ีได้เปรียบ คือ ประเทศผู้มีความสามารถในด้านการผลิตสูง
หมายถงึ ประเทศทม่ี คี วามสามารถทางด้านเทคโนโลยีสูง

ทฤษฎี/โครงการในพระราชดาริ
ทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ

อาจเปรียบเทยี บกบั หลกั เศรษฐกิจพอเพียง ซง่ึ มีอยู่ 2แบบ คอื แบบพื้นฐานกบั แบบก้าวหนา้
ความพอเพียงในระดับบุคคลและครอบครัวโดยเฉพาะเกษตรกร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพ้ืนฐานเทียบ
ไดก้ ับทฤษฎใี หม่ขน้ั ท่ี 1 ท่ีมุ่งแก้ปัญหาของเกษตรกรที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้า ต้องพ่งึ นา้ ฝนและประสบความเส่ียง
จากการท่ีนา้ ไม่พอเพียง แม้กระทั่งสาหรับการปลูกข้าวเพื่อบริโภค และมีข้อสมมติว่า มีทดี่ ินพอเพียงในการขุด
บอ่ เพื่อแก้ปัญหาในเรื่องดังกล่าวจากการแกป้ ัญหาความเส่ียงเรื่องน้า จะทาให้เกษตรกรสามารถมีขา้ วเพื่อการ
บริโภคยังชีพในระดับหน่ึงได้ และใช้ท่ีดินส่วนอื่น ๆ สนองความต้องการพื้นฐานของครอบครัว รวมทั้งขายใน
สว่ นที่เหลอื เพ่ือมีรายได้ที่จะใชเ้ ป็นค่าใช้จ่ายอ่ืน ๆ ท่ีไม่สามารถผลิตเองได้ ทั้งหมดนี้เป็นการสร้างภูมิคุ้มกันใน
ตัวให้เกิดข้ึนในระดับครอบครัว อย่างไรก็ตาม แม้กระท่ัง ในทฤษฎีใหม่ขั้นท่ี 1 ก็จาเป็นที่เกษตรกรจะต้อง
ได้รบั ความช่วยเหลือจากชมุ ชนราชการ มูลนธิ ิ และภาคเอกชน ตามความเหมาะสม
ความพอเพียงในระดับชุมชนและระดับองค์กร เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎี
ใหม่ขั้นท่ี 2 เป็นเร่ืองของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการที่ธุรกิจต่าง ๆ
รวมตัวกันในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เมื่อสมาชิกในแต่ละครอบครัวหรือองค์กรต่าง ๆ มีความ
พอเพียงข้ันพื้นฐานเป็นเบ้ืองต้นแล้วก็จะรวมกลุ่มกันเพ่ือร่วมมือกันสร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่มและส่วนรวมบน
พ้ืนฐานของการไม่เบียดเบียนกัน การแบ่งปันช่วยเหลือซ่ึงกันและกันตามกาลังและความสามารถของตนซึ่งจะ
สามารถทาให้ ชมุ ชนโดยรวมหรือเครือข่ายวิสาหกจิ น้นั ๆ เกิดความพอเพียงในวถิ ีปฏิบัติอยา่ งแท้จริง
ความพอเพียงในระดับประเทศ เป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบก้าวหน้า ซึ่งครอบคลุมทฤษฎีใหม่ข้ันที่ 3 ซึ่ง
ส่งเสริมให้ชุมชนหรือเครือข่ายวิสาหกิจสร้างความร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ ในประเทศ เช่น บริษัทขนาดใหญ่
ธนาคาร สถาบันวิจัย เปน็ ต้น
การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะเช่นนี้จะเป็นประโยชน์ในการสืบทอดภูมิปัญญา แลกเปลี่ยน
ความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพัฒนา หรือร่วมมือกันพัฒนา ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ทาให้
ประเทศอันเป็นสังคมใหญ่อันประกอบด้วยชุมชน องค์กร และธุรกิจต่าง ๆ ท่ีดาเนินชีวิตอย่างพอเพียง
กลายเป็นเครือข่ายชุมชนพอเพียงท่ีเชื่อมโยงกนั ด้วยหลกั ไม่เบียดเบียน แบ่งปันและช่วยเหลือซ่ึงกันและกันได้
ในท่สี ดุ

สรปุ ผลกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นท่ี 1-3

9

ทฤษฎใี หมข่ น้ั ตน้ ใหแ้ บง่ พ้ืนท่อี อกเปน็ 4 สว่ น ตามอัตราสว่ น 30:30:30:10 ซึง่ หมายถึง
พื้นที่ส่วนที่หน่ึง ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพ่ือใช้เก็บกักน้าฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการ

ปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเล้ยี งสัตว์และพชื นา้ ตา่ งๆ
พ้ืนท่ีส่วนที่สอง ประมาณ 30% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับครอบครัว

ให้เพยี งพอตลอดปี เพือ่ ตัดค่าใช้จา่ ยและสามารถพึง่ ตนเองได้
พ้ืนที่ส่วนที่สาม ประมาณ 30% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็น

อาหารประจาวัน หากเหลอื บรโิ ภคกน็ าไปจาหน่าย
พืน้ ท่สี ่วนที่ส่ี ประมาณ 10% เปน็ ที่อยูอ่ าศัย เลีย้ งสตั ว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอ่ืนๆ

ทฤษฎีใหม่ข้ันท่ีสอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในท่ีดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเร่ิมขั้นท่ี
สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กล่มุ หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกนั ดาเนินการในดา้ น

1. การผลติ (พันธ์ุพชื เตรยี มดิน ชลประทาน ฯลฯ)
2. การตลาด (ลานตากข้าว ย้งุ เคร่ืองสีข้าว การจาหนา่ ย)
3. การเปน็ อยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เคร่อื งนงุ่ ห่ม ฯลฯ)
4. สวสั ดิการ (สาธารณสขุ เงนิ กู้)
5. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศกึ ษา)
6. สังคมและศาสนา
ทฤษฎีใหม่ขั้นท่ีสาม เม่ือดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนา
กา้ วหน้าไปสู่ขั้นท่สี ามต่อไป คอื ติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เชน่ ธนาคาร หรือบริษทั ห้าง
ร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ท้ังน้ี ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือ
บรษิ ทั เอกชนจะไดร้ ับประโยชน์รว่ มกัน กลา่ วคือ

- เกษตรกรขายข้าวไดร้ าคาสงู (ไมถ่ ูกกดราคา)
- ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซ้ือข้าวบริโภคในราคาต่า (ซ้ือข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกร
และมาสีเอง)
- เกษตรกรซ้ือเคร่ืองอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก (เป็นร้าน
สหกรณร์ าคาขายส่ง)
- ธนาคารหรอื บริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบคุ ลากร เพ่อื ไปดาเนนิ การในกจิ กรรมต่างๆ ให้
เกิดผลดยี ิ่งขึน้

2. แนวคิดและการดาเนนิ ชีวิตตามแนวพระราชดาริ
แนวพระราชดาริในการดาเนินชีวติ แบบพอเพียง

1. ยดึ ความประหยัด ตดั ทอนคา่ ใช้จา่ ยในทกุ ดา้ น ลดละความฟมุ่ เฟือยในการใช้ชีวิต
2. ยดึ ถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ซือ่ สตั ย์สจุ รติ
3. ละเลกิ การแกง่ แยง่ ผลประโยชนแ์ ละแข่งขนั กันในทางการคา้ แบบตอ่ สู้กนั อย่างรนุ แรง
4. ไม่หยุดนิ่งท่ีจะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ด้วยการขวนขวายใฝ่หาความรู้ให้มีรายได้
เพม่ิ พูนขึ้น จนถึงขนั้ พอเพียงเป็นเปา้ หมายสาคญั
5. ปฏิบตั ติ นในแนวทางทดี่ ี ลดละสง่ิ ชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา

สรปุ ผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นท่ี 1-3

10

แนวทางการทาเกษตรแบบเศรษฐกจิ พอเพียง
ระบบเกษตรกรรมท่ีจะนาไปสู่การเกษตรย่งั ยืน โดยมรี ปู แบบทด่ี าเนินการมีลักษณะใกล้เคียงกัน และทาให้

ผู้ปฏิบัติมีความสับสนในการให้ความหมายและวิธีปฏิบัติที่ถูกต้อง ได้แก่ระบบเกษตรผสมผสานและระบบ ไร่
นาสว่ นผสม ในทน่ี ้ีจึงขอให้คาจากดั ความรวมท้งั ความหมายของคาทั้ง 2 คา ดังตอ่ ไปน้ี

ระบบเกษตรผสมผสาน (Integrated Farming System) เป็นระบบการเกษตรท่ีมีการเพาะปลูกพืชหรือ
การเล้ียงสัตว์ต่างๆ ชนิดอยู่ในพื้นท่ีเดียวกันภายใต้การเก้ือกูล ประโยชน์ต่อกันและกันอย่างมีประสิทธิภาพ
สูงสุด โดยอาศัยหลักการอยู่รวมกันระหว่างพืช สัตว์ และส่ิงแวดล้อมการอยู่รวมกันอาจจะอยู่ในรูป
ความสมั พันธร์ ะหว่างพชื กับพืช พืชกับสัตว์ หรือสัตวก์ บั สัตว์กไ็ ด้ ระบบเกษตรผสมผสานจะประสบผลสาเร็จได้
จะต้องมีการวางรูปแบบ และดาเนินการ โดยให้ความสาคัญต่อกิจกรรม แต่ละชนิดอย่างเหมาะสมกับ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม มีการใช้แรงงาน เงินทุน ท่ีดิน ปัจจัย การผลิตและ
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนรู้จักนาวัสดุเหลือใช้จากการผลิตชนิดหน่ึงมาหมุนเวียนใช้
ประโยชน์กับการผลิตอีกชนิดหนึ่งกับการผลิตอีกชนิดหน่ึงหรือหลายชนิดภายในไร่นาแบบครบวงจร ตัวอย่าง
กิจกรรมดังกล่าว เช่น การเลี้ยงไก่ หรือสุกรบนบ่อปลา การเล้ียงปลาในนาข้าว การเลี้ยงผึ้งในสวนผลไม้ เป็น
ตน้
ตามแนวคดิ ดงั กล่าวมีหลักการพ้ืนฐานทีส่ าคญั 2 ประการ คอื

1) ตอ้ งมกี ิจกรรมการเกษตรต้งั แต่ 2 กจิ กรรมข้นึ ไป
2) ต้องเกดิ การเก้ือกูลประโยชนร์ ะหวา่ งกจิ กรรมตา่ งๆ
ระบบไร่นาสวนผสม (Mixed/Diversefied/Polyculture Farming System) เป็นระบบการเกษตรที่มี
กิจกรรมการผลิตหลาย ๆ กิจกรรมเพ่ือตอบสนองต่อการบริโภคหรือลดความเสี่ยงจากราคา ผลิตผลท่ีมีความ
ไม่แน่นอนเท่าน้ัน โดยมิได้มีการจัดการให้กิจกรรมการผลิตเหล่านั้นมีการผสมผสานเกื้อกูลกันเพื่อ ลดต้นทุน
การผลิต และคานึงถึงสภาพแวดล้อมเหมือนเกษตรผสมผสานการทาไร่นาสวนผสมอาจมีการเก้ือกูลกันจาก
กิจกรรมการผลิตบ้าง แต่กลไกการเกิดขึ้นนั้นเป็นแบบ “เป็นไปเอง” มิใช่เกิดจาก “ความรู้ ความเข้าใจ”
อย่างไร ก็ตามไร่นาสวนผสม สามารถพัฒนาความรู้ความสามารถของเกษตรกรผู้ดาเนินการให้เป็นการ
ดาเนินการในลกั ษณะ ของระบบเกษตรผสมผสานได้เหตผุ ลที่มาของรูปแบบการเกษตรผสมผสานได้
ปรับดินใหม้ ีคุณภาพดว้ ยการรบั แสงแดดไมต่ อ้ งฟุ่มเฟอื ยเพื่อบารงุ ใหม่
หากพบว่าสภาพดนิ ในสวนไม่เอื้ออานวยให้ปลกู พืชเท่าไร แนะนาใหพ้ รวนดินและเปดิ หน้าดินรับแสงแดด
โดยตรง เพราะแสงแดดจะช่วยปรับสภาพดนิ ใหม้ ีสารอาหารท่ีเหมาะสมกับพืชหรือจะทาการผสมดินในข้ันตอน
ไปพร้อมๆ กันเลยกไ็ ด้
ความชุ่มชื้นของดนิ คือสง่ิ ทีต่ ้องรกั ษา
อกี หน่งึ วธิ กี ารทาสวนให้พอเพยี งน้นั กค็ อื การรักษาความชมุ่ ช้ืนของดินเอาไว้ หากเราปล่อยปละละเลยเร่ือง
เล็ก ๆ อย่างนี้ไปรับรองว่าคณุ ตอ้ งนอนก่ายหนา้ ผากบนกองบิลค่าน้าเป็นแน่ มาเริ่มกันท่ีวิธีแรกด้วยการรองใต้
กระถางด้านในด้วยกระดาษทิชชู แพมเพิร์สช้ินใหม่ หรือเสื้อถักไหมพรมตัวเก่าเอามาคลุมหน้าดินด้วยแกลบ
และปลูกหญ้าแฝกไว้รอบ ๆ สวน วิธีทั้งหมดนี้จะช่วยกักเก็บน้าไว้ในดินได้อย่างเหมาะสมและส่งผลให้พืช
พรรณเจริญเติบโตออกดอกออกผลอย่างสวยงามจากการทาเกษตรกระแสหลักโดยเฉพาะอย่างยิ่งการทา
เกษตรเชิงเด่ียวหรือการผลติ สนิ ค้า เกษตรชนิดเดยี ว เกิดปัญหาหลายๆด้านคอื
1) รายได้ของครวั เรือนไมม่ เี สถียรภาพ
2) เศษวัสดจุ ากพืชและมลู สัตวไ์ ม่ไดน้ าไปใช้ประโยชน์
3) การผลติ สินค้าเด่ียวบางชนิดใช้เงนิ ลงทุนมาก

สรุปผลกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”ร่นุ ที่ 1-3

11

4) ครวั เรอื นต้องพึ่งพงิ อาหารจากภายนอก
ดังน้ันจึงเกิดแนวคิดในการท่ีหาระบบการผลิตในไร่นา ที่สามารถใช้ประโยชน์จากพ้ืนที่ทากินขนาดเล็ก
เพ่ือลดความเส่ียงจากการผลิต ลดการพึ่งพิงเงินทุน ปัจจัยการผลิตและอาหารจากภายนอก เศษพืชและมูล
สัตว์ ซ่ึงเป็นผลพลอยได้จากกิจกรรมการผลิต ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในไร่นาและทาให้ผลผลิตและรายได้
เพ่ิมข้ึน
วัตถุประสงคข์ องการเกษตรผสมผสาน

1. เพอ่ื ให้เกดิ ความม่นั คงดา้ นรายได้
2. เพ่อื ลดการพงึ่ พาด้านเงนิ ทนุ ปจั จยั การผลติ และอาหารจากภายนอก
3. เพือ่ ให้เกิดการประหยัดทางขอบข่าย
4. เพิ่มรายไดจ้ ากพนื้ ที่เกษตรขนาดย่อยท่ีจากัด
นอกจากนี้ยังมี การเพ่มิ พูนความอดุ มสมบูรณข์ องทรัพยากรธรรมชาติ ลดการทาลายส่ิงแวดลอ้ ม ทาให้
เกษตรกรมคี วามเปน็ อิสระในการดารงชวี ติ
วิธกี ารแบ่งสดั ส่วนกิจกรรมเกษตรระบบผสมผสาน
เกษตรผสมผสานเป็นแนวทางหรือหลักในการบริหารจัดการทีด่ ินและน้าเพอื่ การเกษตรในที่ดนิ ขนาดเลก็ ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดารินี้เพื่อ
เปน็ การช่วยเหลือเกษตรกร การจัดการพื้นทแี่ บง่ ไดเ้ ปน็ 4 ส่วน คอื
30:30:30:10 ดังน้ี
ขุดสระเกบ็ กกั น้า
พ้ืนทปี่ ระมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกกั น้า เพื่อให้มีน้าใช้ สม่าเสมอตลอดปี โดยเก็บกักน้าฝนในฤดูฝน และ
ใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง หรือระยะฝนทิ้งช่วง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์ และพืชน้าต่างๆ เช่น ผักบุ้ง ผัก
กระเฉด โสน ฯลฯ
ปลูกข้าว
พ้ืนที่ประมาณ 30 % ให้ปลูกข้าวในฤดฝู น เพ่อื ใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับครัวเรือนให้เพียงพอตลอดปี
โดยไม่ต้องซอ้ื หาในราคาแพง เปน็ การลดค่าใชจ้ า่ ย และสามารพง่ึ ตนเองได้
ปลูกผลไม้ ไมย้ นื ตน้ พืชไร่ พชื ผกั
พ้ืนท่ีประมาณ 30 % ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชไร่ พืชผัก พืชสมุนไพร ฯลฯ อย่างผสมผสานกัน และ
หลากหลายในพื้นที่เดียวกัน เพ่ือใช้เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือจากการบริ โภคก็นาไปขายได้
เป็นทอ่ี ยูอ่ าศัย และอ่นื ๆ
พื้นท่ีประมาณ 10 % ใช้เป็นท่ีอยู่อาศัย เล้ียงสัตว์ ถนนหนทาง คันดิน โรงเรือนและส่ิงก่อสร้างอื่นๆ
รวมทั้งคอกเลี้ยงสัตว์ เรือนเพาะชา ฉางเก็บผลิตผลการเกษตร ฯลฯ นี่เป็นทฤษฎีปฏิบัติจริง พื้นที่เป็นนา
ทง้ั หมดหรือไรส่ วนดว้ ย
จดุ เด่นของการเกษตรผสมผสาน
๑) การลดความเสีย่ งและความไมแ่ นน่ อนของรายได้
๒) รายได้สมา่ เสมอ
๓) การประหยัดทางขอบขา่ ย คา่ ใชจ้ า่ ยในไรน่ าลดลง มรี ายได้สทุ ธเิ พม่ิ มากขึ้น
4) ลดการพงึ่ พิงจากภายนอก
๔) ลดการวา่ งงานตามฤดูกาล มงี านทาทัง้ ปี ทาให้ลดการอพยพแรงงาน

สรปุ ผลกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”ร่นุ ที่ 1-3

12

สรปุ
เกษตรผสมผสาน คือ ระบบการเกษตรที่มีการปลูกพืชและหรือมีการเล้ียงสัตว์หลายชนิด ในพื้นท่ีเดียวกัน

โดยที่กิจกรรมแต่ละชนิด จะต้องเกื้อกูลประโยชน์ต่อกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่
อย่างเหมาะสมเพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีความสมดุลของสภาพแวดล้อมและเพ่ิมพูนความอุดมสมบูรณ์
ของทรัพยากรธรรมชาติ เป็นกระบวนการที่มีการจัดการอย่างมีระบบสามารถนาไปบูรณาการใช้ได้กับทุกพ้ืนที่
และทุกภมู ศิ าสตร์ เปน็ แนวคิดท่ที าได้จรงิ แก้ปัญหาไดจ้ ริงและสามารถพัฒนาคุณภาพชีวติ ไดเ้ ป็นอย่างดี

3. แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง ปรัชญาเศรษฐกิจท่ีทาได้จรงิ
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิด ซึ่งมุ่งให้ทุกคนสามารถพ่ึงพาตัวเองได้ รวมถึงการพัฒนาให้ดี

ยิ่งข้ึน จนเกิดความย่ังยืน คาว่า พอเพียง คือ การดาเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดยต้ังอยู่บนหลักสาคัญสาม
ประการ คอื ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภมู คิ ุ้มกนั ท่ีดี
ความพอประมาณ

คือ การดารงชีวิตให้เหมาะสม ซ่ึงเราควรจะมีความพอประมาณท้ังการหารายได้ และพอประมาณใน
การใช้จ่าย ความพอประมาณในการหารายได้ คือ ทางานหารายได้ด้วยช่องทางสุจริต ทางานให้เต็ม
ความสามารถ ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ส่วนความพอประมาณในการใช้จ่าย หมายถึง การใช้จ่ายให้เหมาะกับฐานะ
ความเป็นอยู่ ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยหรือใช้จ่ายเกินตัว และในขณะเดียวกัน ก็ใช้จ่ายในการดูแลตนเอง และ
ครอบครวั อยา่ งเหมาะสม ไมอ่ ย่อู ยา่ งลาบาก และฝืดเคอื งจนเกนิ ไป
ความมเี หตุผล

ไม่ว่าจะเป็นการทาธุรกิจ หรอื การดารงชีวติ ประจาวนั เราจาเป็นต้องมีการตัดสินใจตลอดเวลา ซึ่งการ
ตัดสินใจท่ีดี ควรตั้งอยู่บนการไตร่ตรองถึงเหตุ รวมทั้งคานงึ ถึงผลที่อาจตามมาจากการตัดสินใจอย่างรอบคอบ
ไม่ใช่ตัดสนิ ใจตามอารมณ์ หรอื จากสิ่งที่คนอืน่ บอกมาโดยปราศจากการวิเคราะห์
การมภี มู ิคุ้มกนั ท่ดี ี

คือ การเตรยี มตวั ให้พร้อมรับกับความเปล่ยี นแปลง ในโลกท่ีไมม่ ีอะไรแนน่ อน ทัง้ สภาพลม ฟา้ อากาศ
ทีไ่ ม่เอ้ืออานวยต่อการทาเกษตร การเปลี่ยนแปลงในบรษิ ัทคู่ค้า การเลกิ จ้างพนักงานในบริษัทใหญ่ หรือแม้แต่
ความไม่แน่นอนของสถานการณท์ ั้งในและต่างประเทศท่มี ีผลตอ่ การลงทนุ เราจึงจาเป็นต้องเรยี นรู้ที่จะดารงอยู่
ได้ด้วยการพ่ึงพาตนเอง และตั้งอยู่ในความไม่ประมาทอยู่เสมอ เช่น เตรียมแผนสารองสาหรับแต่ละ
สถานการณ์ การมีรายได้หลายทางเพื่อลดความเสี่ยงในวันที่ถูกเลิกจ้าง หรือการกระจายความเสี่ยงในการ
ลงทุนโดยการดารงชีวติ ตามหลักการท้ังสามข้อน้ัน จาเป็นต้องมีความรู้และคุณธรรมประกอบด้วย ความรู้ช่วย
สร้างภูมิคุ้มกันที่เหมาะสม เช่น ความรู้ในการประกอบวิชาชีพช่วยให้ธุรกิจและการงานเจริญก้าวหน้า หรือ
ความรู้ในการลงทุนช่วยสร้างภูมิคมุ้ กันให้นักลงทุน ท้ังนี้ ความรแู้ ละประสบการณ์ จะช่วยทาให้เราตัดสินใจได้
อย่างเป็นเหตุเป็นผล ถึงแม้ว่า พื้นฐานความคิดและประสบการณ์ที่แตกต่างกันอาจทาให้เหตุผลของแต่ละคน
น้ันแตกต่างกัน แต่หากทุกคนยึดมั่นอยู่ในหลักคุณธรรม ก็จะทาให้การอยู่ร่วมกันในสังคมเป็นไปอย่างสงบสุข
อย่างที่กล่าวมาข้างต้น การพ่ึงพาตัวเองได้เป็นเพียงส่วนเร่ิมต้นของการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเม่ือทุก
คนสามารถดูแลตัวเอง และครอบครัวได้แล้ว ข้ันต่อไปอาจทาการพัฒนาธุรกจิ โดยมีการรวมกลมุ่ กนั ในวิชาชีพ
เดียวกัน เพ่อื แลกเปลี่ยนความรแู้ ละใหค้ วามช่วยเหลือซ่ึงกันและกนั ในการรวมกลุ่มกันนั้น ไม่จากัดเฉพาะการ
รวมกลุ่มของชาวบ้าน เกษตรกร ในรปู ของสหกรณ์ การทางานในเมืองก็สามารถมีการรวมกลุ่มกนั ได้ เช่น การ
แบ่งปันความรู้ ประสบการณ์ในการทาธุรกิจของกลุ่มอุตสาหกรรมเดียวกัน การแลกเปล่ียน แนวคิดการ

สรุปผลกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นท่ี 1-3

13
ลงทุน เพ่ือเป็นการต่อยอดความรู้ รวมไปจนถึงการแบ่งปันความช่วยเหลือส่งกลับคืนสู่สังคม ไปสู่กลุ่มท่ียัง
ต้องการความช่วยเหลืออยู่ เชน่ กิจกรรมจติ อาสา เพื่อสรา้ งสงั คมทีเ่ ขม้ แขง็ และอยูร่ ่วมกันอย่างสงบสขุ

4. โคก-หนอง-นา โมเดล

โคก-หนอง-นา โมเดล คือ การจัดการพืน้ ท่ีซึ่งเหมาะกับพื้นท่กี ารเกษตร ซ่งึ เป็นผสมผสานเกษตรทฤษฎใี หม่
เขา้ กับภูมปิ ญั ญาพ้นื บ้านท่ีอยู่อย่างสอดคลอ้ งกับธรรมชาตใิ นพ้นื ทีน่ ้นั ๆ โคก-หนอง-นา โมเดล เป็นการทใี่ ห้
ธรรมชาตจิ ดั การตวั มันเองโดยมี มนุษย์เป็นสว่ นสง่ เสรมิ ให้มันสาเร็จเรว็ ขึน้ อยา่ งเป็นระบบ
โคก-หนอง-นา โมเดล ซึง่ เป็นแนวทางทาเกษตรอนิ ทรีย์และการสรา้ งชวี ติ ทีย่ งั่ ยนื โดยมีองค์ประกอบดงั น้ี
1. โคก: พื้นท่สี งู
– ดนิ ท่ีขุดทาหนองน้านั้นให้นามาทาโคก บนโคกปลกู “ป่า 3อย่าง ประโยชน์ 4 อย่าง” ตามแนวทาง
พระราชดาริ
– ปลกู พืช ผัก สวนครัว เลี้ยงหมู เล้ียงไก่ เลี้ยงปลา ทาให้พออยู่ พอกิน พอใช้ พอรม่ เยน็ เป็นเศรษฐกจิ
พอเพียงข้ันพน้ื ฐาน ก่อนเขา้ สู่ขัน้ กา้ วหน้า คือ ทาบญุ ทาทาน เกบ็ รักษา คา้ ขาย และเชอ่ื มโยงเปน็ เครือข่าย
– ปลกู ทอี่ ยู่อาศัยใหส้ อดคล้องกับสภาพภูมปิ ระเทศ และภูมอิ ากาศ
2. หนอง: หนองนา้ หรือแหล่งน้า
– ขุดหนองเพ่อื กกั เกบ็ น้าไว้ใช้ยามหน้าแลง้ หรือจาเปน็ และเป็นท่รี ับน้ายามน้าทว่ ม (หลุมขนมครก)
– ขดุ “คลองไส้ไก”่ หรือคลองระบายน้ารอบพืน้ ท่ตี ามภมู ปิ ัญญาชาวบา้ น โดยขุดให้คดเค้ียวไปตามพื้นท่ี
เพอ่ื ใหน้ า้ กระจายเตม็ พน้ื ทเ่ี พิ่มความชุ่มชื้น ลดพลังงานในการรดนา้ ต้นไม้
– ทา ฝายทดน้า เพ่ือเก็บน้าเขา้ ไว้ในพ้นื ทีใ่ ห้มากท่สี ุด โดยเฉพาะเมื่อพน้ื ท่โี ดยรอบไม่มีการกกั เกบ็ น้า น้าจะ
หลากลงมายังหนองนา้ และคลองไสไ้ ก่ ใหท้ าฝายทดนา้ เกบ็ ไว้ใช้ยามหนา้ แล้ง

สรปุ ผลกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นท่ี 1-3

14
– พัฒนาแหล่งนา้ ในพ้นื ท่ี ทัง้ การขดุ ลอก หนอง คู คลอง เพ่ือกักเก็บน้าไวใ้ ช้ยามหน้าแล้ง และเพ่ิมการระบาย
น้ายามนา้ หลาก
3. นา:
– พืน้ ท่ีนานัน้ ให้ปลูกข้าวอนิ ทรียพ์ ้ืนบา้ น โดยเริม่ จากการฟ้ืนฟูดิน ดว้ ยการทาเกษตรอนิ ทรีย์ยั่งยืน คืนชวี ิต
เลก็ ๆ หรือจลุ นิ ทรยี ์กลบั คนื แผ่นดินใช้การควบคมุ ปริมาณน้าในนาเพ่ือคุมหญ้า ทาใหป้ ลอดสารเคมไี ด้
ปลอดภยั ทง้ั คนปลูก คนกิน
– ยกคนั นาให้มีความสงู และกว้าง เพ่ือใช้เปน็ ท่ีรับนา้ ยามนา้ ท่วม ปลกู พชื อาหารตามคนั นา
โดย กรมการพัฒนาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทย ไดม้ กี ารขับเคลื่อนโครงการ ตามแนวทาง “โคก หนอง นา
โมเดล” ทุกหมบู่ า้ น โดยมี 6 รูปแบบ ดงั ภาพประกอบ

สรุปผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

15
สรปุ ผลกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

16
สรปุ ผลกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

17

บทที่ 3

วธิ ีการดาเนินงาน

1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง

ประชากรในคร้ังนี้ คือนักศึกษา กศน.อาเภอสตั หบี จานวน 700 คน

กลุ่มตวั อย่าง ใชว้ ิธีการสุ่มตัวอยา่ ง โดยใชต้ าราง krejcie and morgan คอื นักศึกษา กศน.อาเภอ

สัตหบี ที่เข้าร่วมกิจกรรมจาก 700 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จานวน 248 คน

2. งบประมาณ

เงินงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2565 แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา

โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรม

การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน งบอุดหนุน ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รหัส

งบประมาณ 2000243016500124 แหล่งของเงิน 6511410 จานวนเงิน 7,200.- บาท (เจ็ดพันสองร้อยบาท

ถ้วน)

3. ระยะเวลาดาเนนิ การและสถานทด่ี าเนินการ

วนั ที่ 8,9,15 มกราคม 2565

4. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ

นายทัพพเทพ อรเนตร ครูผ้ชู ่วย กศน.อาเภอสัตหีบ

5. วิธดี าเนินการ

1. ประชมุ และวางแผนรว่ มกับบุคลากรทเ่ี กีย่ วข้อง

2. ขออนุมตั โิ ครงการ และวางแผนการดาเนนิ งาน

3. แตง่ ตังคณะทางานและเกีย่ วขอ้ ง

4. ดาเนินตามแผนงานโครงการ

5. รายงาน สรปุ และประเมินผลโครงการ

6. การกาหนดเกณฑก์ ารให้คะแนน

กาหนดเกณฑ์การใหค้ ะแนน ดงั น้ี

คะแนนระดับ 5 หมายถงึ มากท่สี ดุ

คะแนนระดบั 4 หมายถงึ มาก

คะแนนระดับ 3 หมายถึง ปานกลาง

คะแนนระดับ 2 หมายถงึ น้อย

คะแนนระดับ 1 หมายถงึ น้อยท่ีสดุ

เทยี บกบั เกณฑ์การแปลความหมายของคา่ เฉลี่ยดังนี้ (บญุ ชม ศรีสะอาด : 2553)

คา่ เฉลยี่ ความหมาย

1.00 – 1.50 มคี วามพึงพอใจน้อยท่ีสดุ

1.51 – 2.50 มีความพึงพอใจน้อย

2.51 – 3.50 มีความพึงพอใจปานกลาง

3.51 – 4.50 มีความพึงพอใจมาก

4.51 – 5.00 มีความพึงพอใจมากท่สี ดุ

สรปุ ผลกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1-3

18

บทที่ 4
ผลการดาเนนิ งาน

การสรุปผลการจัดกิจกรรมโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1 -3 สามารถสรุปผลการดาเนนิ งานได้
ดงั น้ี จากกลุม่ เป้าหมายจานวน 700 คน แจกแบบสอบถาม จานวน 248 ชุด ไดร้ บั แบบสอบถามกลับคนื มา
จานวน 248 ชดุ คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู มีดงั นี้

ตอนที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป

ตารางที่ 1 แสดงจานวนและรอ้ ยละ ของผ้เู ขา้ รว่ มกิจกรรม แยกตามเพศ

เพศ จานวน รอ้ ยละ
ชาย 151 60.88
หญงิ 97 39.12
รวม 248 100

จากตารางที่ 1 พบว่า ผเู้ ข้าร่วมโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1 -3 ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย
จานวน 151 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 60.88

ตารางที่ 2 แสดงจานวนและรอ้ ยละของผู้รว่ มกจิ กรรม แยกตามอายุ

ช่วงอายุ จานวน ร้อยละ
ต่ากว่า 15 ปี 2 0.80
16-25 ปี 186 75.00
26 - 30 ปี 36 14.52
31 - 40 ปี 16 6.46
41 ปีขึน้ ไป 8 3.22
รวม 248 100

จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผู้เขา้ ร่วมโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1 -3 ส่วนใหญ่มีช่วงอายุ
ระหว่าง 16-25 ปี มากท่ีสุดคิดเป็นร้อยละ 75.00 รองลงมามชี ว่ งอายุระหวา่ ง 26-30 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 14.52
และมีช่วงอายุระหว่าง 31-40 ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.46 ตามลาดบั

สรปุ ผลกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุน่ ที่ 1-3

19

ตารางที่ 3 แสดงจานวนและร้อยละของผรู้ ่วมกจิ กรรม แยกตามระดับการศกึ ษา

สถานภาพ จานวน ร้อยละ
1. ระดับประถมศึกษา 8 3.22
2. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 90 36.30
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 150 60.48
รวม 248 100

จากตารางท่ี 3 พบว่า ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นท่ี 1 -3 ส่วนใหญ่ เปน็ นักศึกษา
ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย มากทส่ี ดุ คิดเป็นร้อยละ 60.48 รองลงมา คือนักศกึ ษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้
คดิ เป็นร้อยละ 36.30 และนักศึกษาระดบั ประถมศกึ ษา คิดเป็นร้อยละ 3.22 ตามลาดบั

สรุปผลกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”ร่นุ ท่ี 1-3

20

ตอนท่ี 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสรปุ ผลความพึงพอใจต่อการจดั กจิ กรรมโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”
รุ่นที่ 1 -3 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสัตหบี อาเภอสัตหบี จงั หวัดชลบรุ ี

ตารางที่ 4 คา่ ร้อยละระดับความความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมโครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”
รนุ่ ท่ี 1 -3 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสตั หีบ อาเภอสัตหีบ
จงั หวดั ชลบุรี

รายการ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยท่ีสดุ
1.40 -
1. การจดั กิจกรรมในครง้ั นี้มปี ระโยชนต์ ่อ 52.20 35.90 10.50
2.90 0.50
ท่าน 1.40 -
-
2. ทา่ นไดม้ ีส่วนรว่ มในการจัดกิจกรรม 40.70 34.40 22.00 1.90 -

3. ท่านไดร้ บั ความร/ู้ ประโยชนจ์ ากการเข้า 48.80 34.00 15.30 1.00 1.00

ร่วมกจิ กรรมเพอื่ ไปปรับใช้ได้ 0.50 1.90
8.00 1.00
4. รปู แบบ/หวั ข้อ ในการจดั กิจกรรมมคี วาม 43.50 43.50 11.00 1.00
-
เหมาะสม 0.50
-
5. ระยะเวลาในการจัดกจิ กรรมมคี วาม 39.70 43.10 15.30 1.00
0.50
เหมาะสม

6. การประชาสัมพนั ธ์การจดั กิจกรรม 43.10 38.30 16.30

7. สถานท่ีการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม 45.90 37.30 14.80

8. วิทยากรสามารถให้ความรู้/ขอ้ มูล หรือ 48.80 37.80 12.40

ตอบข้อซกั ถามไดเ้ ป็นอย่างดี

9. วทิ ยากรมคี วามสภุ าพ เปน็ มติ ร และเป็น 48.80 41.60 9.10

กันเอง

10. ภาพรวมความพึงพอใจในการจัด 49.80 35.40 13.40

กิจกรรมคร้ังน้ี

จากตารางท่ี 4 พบว่าผู้เข้าร่วมกจิ กรรมโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นท่ี 1 -3 ศูนยก์ ารศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหบี อาเภอสัตหีบ จงั หวัดชลบรุ ี มีความพงึ พอใจในระดบั มากท่สี ดุ
โดยเรยี ง 3 อันดบั แรก ตามลาดบั ไดด้ งั นี้ 1) ไดร้ บั ความร/ู้ ประโยชน์จากการเข้ารว่ มกิจกรรมเพื่อไปปรบั ใชไ้ ด้
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 52.20 2) วทิ ยากรมีความสภุ าพ เป็นมติ ร และเปน็ กันเอง คิดเป็นร้อยละ 48.80 และ 3)
วทิ ยากรสามารถให้ความร/ู้ ข้อมลู หรอื ตอบข้อซักถามไดเ้ ป็นอย่างดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 48.80 และความพึงพอใจ
ในภาพรวมอยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 49.80 และมรี ะดับความพึงพอใจในภาพรวมในระดับมากขึ้น
ไป ร้อยละ 85.20 (49.80+35.40)

สรุปผลกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นท่ี 1-3

21

ตารางที่ 5 คา่ เฉล่ยี สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานและระดบั ความคดิ เหน็ ต่อการจัดกจิ กรรมโครงการ
“โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นท่ี 1 -3 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม
อัธยาศยั อาเภอสัตหบี อาเภอสตั หีบ จังหวัดชลบุรี

รายการกจิ กรรม ×̅ n = 248
s.d ระดับความ
1. การจดั กิจกรรมในครง้ั นี้มีประโยชน์ตอ่ ท่าน 4.46
2. ท่านไดม้ สี ่วนร่วมในการจดั กิจกรรม 3.84 พงึ พอใจ
3. ท่านได้รับความร/ู้ ประโยชน์จากการเข้าร่วมกจิ กรรมเพื่อ 4.25 0.71 มาก
ไปปรับใช้ได้ 0.79 มาก
4. รูปแบบ/หวั ข้อ ในการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม 4.23 0.79 มาก
5. ระยะเวลาในการจดั กิจกรรมมคี วามเหมาะสม 4.23
6. การประชาสัมพนั ธ์การจัดกจิ กรรม 4.24 0.70 มาก
7. สถานทก่ี ารจดั กจิ กรรมมีความเหมาะสม 4.33 0.80 มาก
8. วิทยากรสามารถให้ความรู้/ข้อมลู หรอื ตอบข้อซักถามได้ 4.29 0.50 มาก
เป็นอย่างดี 0.86 มาก
9. วิทยากรมีความสุภาพ เปน็ มติ ร และเป็นกันเอง 4.41 0.77 มาก
10. ภาพรวมความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมคร้งั นี้ 4.46
4.27 0.68 มาก
รวม 0.70 มาก
0.75 มาก

จากตารางที่ 5 พบวา่ ผรู้ ว่ มกิจกรรมจัดกิจกรรมโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” รุน่ ท่ี 1 - 3 ส่วน
ใหญ่มีความคิดเห็นอย่ใู นระดบั “มาก” เมื่อพิจารณารายข้อพบวา่ ส่วนใหญม่ ีความคิดเห็นอยู่ใน มาก โดยเรียง
จากความพึงพอใจในกจิ กรรมทีจ่ ัดจากค่าเฉล่ียมากไปหาน้อย สามอันดบั คือ 1) การจดั กิจกรรมในคร้ังนี้มี
ประโยชนต์ อ่ ผู้เขา้ อบรม คา่ เฉลีย่ 4.46 2) วทิ ยากรมีความสุภาพ เปน็ มติ ร และเปน็ กันเอง คา่ เฉลีย่ 4.41 และ
3) วิทยากรสามารถให้ความรู้/ข้อมูล หรือตอบขอ้ ซักถามได้เปน็ อย่างดี ค่าเฉลยี่ 4.29

ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ
1. เป็นโครงการท่ดี ี
2. เป็นกจิ กรรมทใ่ี ห้ความรตู้ า่ ง ๆ มากมาย
3. เป็นกจิ กรรมท่ีมปี ระโยชนส์ ามารถนาไปปรับใชใ้ นครวั เรือนได้

สรุปผลกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นท่ี 1-3

22

บทท่ี 5
สรุปและข้อเสนอแนะ

การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นที่ 1 -3 ศูนย์การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อให้นักศึกษามี
ความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา”
โมเดล 2. เพ่ือให้นักศึกษานาความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ให้เกิดผลในการดารงชีวิตประจาวันได้ มีผู้เข้าร่วม
โครงการ รวมท้ังสิ้น 700 คน และได้ทาการสุ่มตัวอย่างเพ่ือแจกแบบสอบถาม จานวน 248 คน ได้รับ
แบบสอบถามกลับคืนท่ีเป็นฉบับสมบูรณ์ จานวน 248 คน คิดเป็นร้อยละ 100 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บ
รวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม โดยแบ่งออกเป็น 3 ตอน ตอนท่ี 1 เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check
List) เกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผู้ร่วมกิจกรรม ได้แก่ เพศ อายุ และสถานภาพ ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถาม
แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating Scale) 5 ระดับที่ใช้วัดระดับความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นที่ 1 -3 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS
for W indows เพื่อหาค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (×̅) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s.d)
ซ่งึ ผลการศกึ ษาสามารถสรปุ ไดด้ งั น้ี

5.1 สถานภาพของผ้เู ข้าอบรม
5.1.1 พบว่า ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ที่ 1 -3 สว่ นใหญ่เป็นเพศชาย

จานวน 151 คน คิดเปน็ ร้อยละ 60.88 มีช่วงอายุระหวา่ ง 16-25 ปี มากที่สุดคิดเป็นรอ้ ยละ 75.00 รองลงมา
มีช่วงอายุระหว่าง 26-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 14.52และมีช่วงอายุระหว่าง 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 6.46
ตามลาดับ เป็นนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 60.48 รองลงมา คือนักศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น คิดเป็นร้อยละ 36.30 และนักศึกษาระดับประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 3.22
ตามลาดับ

5.2 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลสรปุ ผลความพงึ พอใจตอ่ การจัดกจิ กรรมโครงการ”โคก หนอง นา
โมเดล”รุ่นที่ 1 -3 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอสัตหีบ อาเภอสตั หบี จังหวัด
ชลบุรี

5.2.1. ค่าร้อยละความพึงพอใจของผ้เู ข้ารว่ มกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนโครงการ “โคก
หนอง นา โมเดล” รุ่นท่ี 1 -3 ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหบี อาเภอสตั หีบ
จังหวัดชลบุรี พบว่า มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดโดยเรียง 3 อันดับแรก ตามลาดับได้ดังน้ี 1) ได้รับ
ความรู้/ประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อไปปรับใช้ได้ คิดเป็นร้อยละ 52.20 2) วิทยากรมีความสุภาพ
เป็นมิตร และเป็นกันเอง คิดเป็นร้อยละ 48.80 และ 3)วิทยากรสามารถให้ความรู้/ข้อมูล หรือตอบข้อซักถาม
ได้เป็นอย่างดี คิดเป็นร้อยละ 48.80 และความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ
49.80 และมีระดับความพึงพอใจในภาพรวมในระดับมากข้ึนไป ร้อยละ 85.20 (49.80+35.40)

5.2.2. ค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ร่วมกิจกรรมการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นโครงการ
“โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นที่ 1 -3 พบว่า ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับ “มาก” เมื่อพิจารณารายข้อ

สรปุ ผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1-3

23
พบวา่ ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจอยู่ใน มาก โดยเรียงจากความพึงพอใจในกิจกรรมท่ีจัดจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย
สามอนั ดบั คอื 1) การจดั กจิ กรรมในครง้ั นมี้ ปี ระโยชน์ต่อผเู้ ขา้ อบรม ค่าเฉลีย่ 4.46
2) วิทยากรมีความสุภาพ เป็นมิตร และเป็นกันเอง ค่าเฉลี่ย 4.41 และ 3) วิทยากรสามารถให้ความรู้/ข้อมูล
หรือตอบข้อซกั ถามไดเ้ ปน็ อย่างดี คา่ เฉลยี่ 4.29

5.3 ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ
1. เป็นโครงการท่ดี ี
2. เป็นกจิ กรรมทใี่ ห้ความร้ตู า่ ง ๆ มากมาย
3. เปน็ กิจกรรมทม่ี ปี ระโยชน์สามารถนาไปปรบั ใช้ในครวั เรอื นได้

สรุปผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

24

เอกสารอ้างองิ

บุญชม ศรสี ะอาด. การวิจัยเบอื้ งตน้ . พิมพค์ รั้งท่ี 8. กรงุ เทพฯ: สุวีริยสาสน์, 2553.
ธานินทร์ ศลิ ปจ์ ารุ.การวจิ ัยและการวเิ คราะหข์ ้อมูลทางสถิติ SPSS.พิมพ์ครง้ั ที่ 7,กรุงเทพฯ: วี.อินเตอร์ พร้นิ ,

2550.
แนวคิดและการดาเนนิ ชวี ติ ตามแนวพระราชดาริ. สบื คน้ เมือ่ 23 ธนั วาคม 2563: http://kanpoly.ac.th

/joomla2/index.php.2563
แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกจิ ที่ทาได้จรงิ . สบื คน้ เม่อื 23 ธนั วาคม2563:

https://www.krungsri.com/th/plearplearn/ practical-self-sufficient-economy-
philosophy.2563
สานกั งานพัฒนาชุมชนอาเภอเมอื งสุโขทัย. โคก หนอง นา โมเดล คืออะไร. สบื ค้นเมื่อ 23 ธันวาคม 2563 :
https://district.cdd.go.th/muang-sukhothai.2563
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง. สืบค้นเม่ือ 23 ธันวาคม 2563: http://kanpoly.ac.th/
joomla2/index.php.2563

สรปุ ผลกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1-3

25

ภาคผนวก

สรปุ ผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

26

ภาคผนวก ก.

โครงการ”โคก หนอง นา โมเดล”รุน่ ที่ 1-3

สรปุ ผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ที่ 1-3

27

1. ช่ือโครงการ โครงการ “โคก หนอง นา” โมเดล รุน่ ท่ี 1-3

2. สอดคลอ้ งกับนโยบายและจดุ เนน้ การดาเนนิ งาน

สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ 2565 หลกั การข้อท่ี

1. ดา้ นการจัดการเรยี นรูค้ ณุ ภาพ

1.1 น้อมนาพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมท้ัง

ส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานโครงการ อัน

เน่ืองมาจากพระราชดาริทุกโครงการ และโครงการอัน

เกีย่ วเนือ่ งจากราชวงศ์

1.2 ขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้ท่ีสนองตอบยุทธศาสตร์

ชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีว่าการ และรัฐมนตรีช่วย

วา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร

3. สอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอัธยาศัย - มาตรฐานการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขน้ั

พนื้ ฐาน

ประเดน็ ที่ 1. ผ้เู รยี นการศึกษาขั้นพืน้ ฐานมีผลสัมฤทธิ์

ทางการเรยี นทดี่ ีสอดคล้องกบั หลกั สูตรสถานศึกษา

ประเด็นท่ี 2. ผู้เรยี นการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคณุ ธรรม

จริยธรรม ค่านยิ ม และคุณลักษณะทด่ี ตี ามที่สถานศึกษา

กาหนด

ประเดน็ ที่ 3. ผเู้ รียนการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานมีความสามารถ

ในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และ

แลกเปลย่ี นความคิดเห็นร่วมกับผ้อู น่ื

ประเด็นท่ี 4. ผู้เรยี นการศึกษาข้นั พ้นื ฐานมีความสามารถ

ในการสรา้ งสรรค์งาน ชน้ิ งาน หรือนวตั กรรม

ประเดน็ ท่ี 5. ผเู้ รียนการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานมีความสามารถ

ในการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัล

ประเด็นท่ี 6. ผเู้ รยี นการศึกษาข้นั พน้ื ฐานมสี ุขภาวะทาง

กาย และสนุ ทรียภาพ

ประเด็นที่ 7. ผู้เรียนการศึกษาขนั้ พื้นฐานมีความสามารถ

ในการอ่าน การเขยี น

ประเดน็ ท่ี 8. ผจู้ บการศึกษาขั้นพื้นฐานนาความรูท้ ักษะ

พน้ื ฐานทไ่ี ด้รบั ไปใชห้ รือประยุกต์ใช้

มาตรฐานท่ี 3 คุณภาพการบริหารจดั การของ

สถานศกึ ษา

ประเด็นท่ี 3.8 การสง่ เสรมิ สนบั สนุนการสรา้ งสังคมแห่ง

การเรียนรู้

สรปุ ผลกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1-3

28

โครงการ “โคก หนอง นา” โมเดล รนุ่ ที่ 1-3

4. หลักการและเหตุผล
จากรฐั บาลมีนโยบายเรียนดีอย่างมีคณุ ภาพ โดยสนับสนุนงบประมาณเปน็ คา่ ใช้จ่ายให้นกั เรยี น นักศึกษา ใน
หลักสูตรการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน โดยสว่ นหนึ่งได้จดั สรรเงินเปน็ ค่ากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น ซึ่งมี
วตั ถุประสงค์เพอื่ พัฒนาผู้เรยี นใหม้ ผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนสูงขน้ึ และมีคุณธรรม จรยิ ธรรม สามารถใชช้ ีวิต
อยา่ งพอเพียงและอย่างมคี วามสุข สาหรบั ในส่วนของนโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งานกจิ กรรมพัฒนา

คุณภาพผู้เรยี นของสานักงาน กศน.ได้กาหนดวิธกี ารดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ ไว้ ดังนี้ (1) กิจกรรมพฒั นาวชิ าการ
(2) กิจกรรมพัฒนาทกั ษะชีวิต (3) กิจกรรมเพ่ือพัฒนาความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ICT)(4)
กจิ กรรมเพื่อเตรียมความพร้อมส่ปู ระชาคมอาเซียน (5) กิจกรรมท่ีแสดงออกถึงความจงรักภักดตี ่อชาติ ศาสนา
และสถาบันพระมหากษัตริย์ (6) กิจกรรมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง (7) กิจกรรมลูกเสือ และกิจกรรม
อาสา ยุวกาชาด (8) กิจกรรมด้านกีฬา และส่งเสริมสุขภาพ เพ่ือให้ผู้เรียนมีพัฒนาการด้านความรู้
ความสามารถในหมวดวิชาพื้นฐานและเพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถคิดเป็น ทาเปน็ และแก้ปัญหาเปน็

นโยบายและจุดเน้น กระทรวงศึกษาธิการ ประจาปี 2564 ในการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย์ด้านการจัดการศึกษาเพื่อคุณวุฒิ เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สามารถแก้ไข
สถานการณ์เฉพาะหน้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) จากประสบการณ์
จริงหรือจากสถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนในเชิงแสดงความคิดเห็น
เพ่ือเปิดโลกทัศน์มุมมองรว่ มกันของผู้เรียนและครูให้มากขึ้น พัฒนาผู้เรยี นให้มีความรอบรแู้ ละทักษะชีวิต เพ่ือ
เป็นเคร่ืองมือในการดารงชีวิตและสร้างอาชีพ อาทิ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล สุขภาวะและทัศนคติท่ีดีต่อการ
ดแู ลสุขภาพ และสานักงาน กศน. มีนโยบายและจุดเน้นประจาปีงบประมาณ 2564 ด้านการน้อมนาพระบรม
ราโชบายด้านการศึกษาสู่การปฏิบัติ “หนึ่งชุมชน หนึ่งนวตั กรรมการพัฒนาชุมชนถิ่นไทยงาม” เพ่ือความกินดี
อยู่ดี มีงานทา เช่น โคกหนองนาโมเดล ,คลองสวยน้าใส ,พลังงานทดแทน(แสงอาทิตย์), จิตอาสาพัฒนาชุมชน
ซ่ึงสอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล ตามแผนฟ้ืนฟูเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โครงการภายใต้แผนงาน
สร้างความเข้มแข็งแก่เศรษฐกิจฐานราก โครงการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎี
ใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019

สานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี เป็นอีกหน่วยงานหน่ึงท่ีเล็งเห็นถึงความสาคัญของนโยบายดังกล่าว
และได้จัดทาโครงการพัฒนาครู กศน.แกนนาเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ข้ึน
ระหว่างวันท่ี 8 - 9 ธันวาคม 2563 ณ ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติสองสลึง ตาบลสองสลึง อาเภอแกลง จังหวัด
ระยอง เพื่อน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่มาปรับใช้เพื่อแก้ไขปัญหาและ
สร้างความสมบูรณ์ ความกินดี อยู่ดี มีงานทาให้กับชุมชน โดยพัฒนาครู กศน.แกนนาเพื่อเป็นต้นแบบและ
ขยายผลให้กับครู กศน. บุคลากรในสถานศึกษาในสังกดั นักศกึ ษา กศน. และประชาชนผสู้ นใจในพน้ื ที่นัน้

ดังน้ัน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหบี จึงไดเ้ ล็งเห็นความสาคญั ใน
การขับเคล่ือนการดาเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายสานักงาน กศน.จังหวัดชลบุรี จึงได้มีการขยายผลไปยัง
นักศึกษา กศน.อาเภอสัตหีบจึงจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น โครงการ “โคก หนอง นา” โมเดล ข้ึนเพื่อให้
ผ้เู รียนสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้
5. วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่ือใหน้ ักศึกษามีความรู้ ความเขา้ ใจตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2. เพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษานาความรู้ทไ่ี ดร้ บั ไปประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ กิดผลในการดารงชีวิตประจาวนั ได้

สรุปผลกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุน่ ท่ี 1-3

29

โครงการ “โคก หนอง นา” โมเดล รนุ่ ที่ 1-3

6. เปา้ หมาย
เชิงปริมาณ นักศึกษา กศน.อาเภอสัตหบี จานวน 3 ร่นุ ละๆ 200 คน รวม 600 คน
เชิงคณุ ภาพ นักศึกษา กศน.อาเภอสัตหบี ทเี่ ข้าร่วมกิจกรรมมคี วามรู้ ความเข้าใจในการน้อมนาหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”และสามารถนาไป
ประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจาวันได้

สรุปผลกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

7. วิธีการดาเนนิ งาน วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย
กจิ กรรมหลกั
- เพอ่ื รวบรวมกาหนด ผ้บู ริหารและ
1. ประชุมและวางแผนร่วมกับ แผนการจดั โครงการ ผู้ทเี่ กี่ยวขอ้ ง
บคุ ลากรทีเ่ ก่ียวขอ้ ง
3. ขออนุมตั โิ ครงการ และ เพอื่ ขอความเห็นชอบและ - ฝา่ ยงานด้านแผนงานแ
วางแผนการดาเนนิ งาน
4. แตง่ ตัง้ คณะทางานและ อนมุ ตั ิการดาเนนิ งาน นโยบาย
เกี่ยวขอ้ ง
เพื่อมอบหมายงานและ - ผู้บรหิ าร
5. ดาเนินตามโครงการ
กาหนดบทบาท หน้าที่ใน กศน.อาเภอ

การปฏบิ ตั ิงาน - ขา้ ราชครู

- ครู กศน.ตาบล

- ครู ศรช.

- เจา้ หน้าท่ผี เู้ ก่ยี วขอ้ ง

1. เพอ่ื ใหน้ ักศึกษามีความรู้ นักศึกษา กศน.อาเภอ

ความเข้าใจตามหลักปรชั ญา สตั หบี

ของเศรษฐกจิ พอเพียง

2. เพือ่ ใหน้ ักศกึ ษานาความรู้

ทีไ่ ด้รบั ไปประยุกต์ใชใ้ ห้

เกิดผลในการดารงชีวติ

ประจาวันได้

สรุปผลกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1-3

30

โครงการ “โคก หนอง นา” โมเดล รุ่นท่ี 1-3

เป้าหมาย พนื้ ทีด่ าเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ

20 คน กศน.อาเภอสตั หีบ 27 ธนั วาคม 2564 -

และ 20 คน กศน.อาเภอสตั หบี 27 ธันวาคม 2564 -

20 คน กศน.อาเภอสตั หีบ 27 ธันวาคม 2564 -

จานวน 3 รุ่นละ ศูนยก์ ารเรียนรู้ วนั ที่ 8,9,15 135,300.-
200 คน ทฤษฎใี หม่ หน่วย มกราคม 2565

รวม 600 คน บัญชาการต่อสู้
อากาศยานและ
รกั ษาฝัง่ ต.บางเสร่
อ.สัตหีบ จ.ชลบุรี

กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย

6. รายงาน สรุปและประเมินผล เพือ่ สรุปผลการดาเนินงาน กล่มุ งานการศกึ ษาพื้นฐา

โครงการ ตามเป้าหมาย

สรปุ ผลกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

31

โครงการ “โคก หนอง นา” โมเดล รุ่นที่ 1-3

เป้าหมาย พน้ื ทด่ี าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ

าน 3 คน กศน.อาเภอสัตหบี 16-31 มกราคม -

2565

32

โครงการ “โคก หนอง นา” โมเดล ร่นุ ท่ี 1-3

8. วงเงินงบประมาณโครงการ ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจาปี พ.ศ.2565 แผนงานยุทธศาสตร์สร้างความ

เสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้น

พื้นฐาน กิจกรรมการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน งบอุดหนุน ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

รหัสงบประมาณ 2000243016500124 แหล่งของเงิน 6511410 จานวนเงิน 135,300.- บาท (หนึ่งแสนสามหม่ืน

ห้าพันสามร้อยบาทถ้วน) รายละเอียดดงั นี้

โครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นที่ 1

- คา่ วิทยากร = 5,000.- บาท

- ค่าวสั ดุฝกึ = 6,000.- บาท

- คา่ ป้ายโครงการ = 300.- บาท

- คา่ อาหารวา่ งและเคร่ืองดืม่ จานวน 200 คน 2 มอ้ื ๆ ละ 25 บาท = 10,000.- บาท

- คา่ อาหาร กลางวนั จานวน 200 คน 1 ม้อื ๆละ 70 บาท = 14,000.- บาท

- คา่ ส่อื ประกอบการจดั กจิ กรรม = 10,000.- บาท

รวมท้ังส้นิ (ส่หี ม่ืนห้าพนั สามร้อยบาทถ้วน) = 45,300.- บาท

* หมายเหตุ: ทุกรายการขออนญุ าตถวั จ่ายตามทเี่ บิกจ่ายจริง

โครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” ร่นุ ที่ 2

- ค่าวิทยากร = 5,000.- บาท

- คา่ วัสดุฝกึ = 6,000.- บาท

- ค่าอาหารว่างและเครื่องด่ืม จานวน 200 คน 2 มอื้ ๆ ละ 25 บาท = 10,000.- บาท

- คา่ อาหาร กลางวนั จานวน 200 คน 1 มอ้ื ๆละ 70 บาท = 14,000.- บาท

- คา่ ส่ือประกอบการจัดกิจกรรม = 10,000.- บาท

รวมท้ังส้นิ (สหี่ มืน่ ห้าพนั บาทถ้วน) = 45,000.- บาท

* หมายเหตุ: ทกุ รายการขออนญุ าตถวั จา่ ยตามทเี่ บิกจ่ายจรงิ

โครงการ “โคก หนอง นา โมเดล” รุ่นท่ี 3

- คา่ วทิ ยากร = 5,000.- บาท

- ค่าวสั ดุฝึก = 6,000.- บาท

- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จานวน 200 คน 2 มอื้ ๆ ละ 25 บาท = 10,000.- บาท

- คา่ อาหาร กลางวนั จานวน 200 คน 1 ม้อื ๆละ 70 บาท = 14,000.- บาท

- ค่าสอ่ื ประกอบการจดั กิจกรรม = 10,000.- บาท

รวมท้ังสิ้น (สีห่ มนื่ ห้าพันบาทถ้วน) = 45,000.- บาท

* หมายเหตุ: ทกุ รายการขออนุญาตถัวจา่ ยตามทเ่ี บกิ จา่ ยจริง

9. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

กิจกรรมหลกั (ต.ค.- ธ.ค. (ม.ค.- ม.ี ค. (เม.ย.- มิ.ย. (ก.ค.- ก.ย.

พ.ศ. 2564) พ.ศ.2565) พ.ศ. 2565) พ.ศ. 2565)

ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน - 135,300.- - -

โครงการ “โคก หนอง นา” โมเดล รนุ่ ท่ี 1-3

สรปุ ผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ที่ 1-3

33
10. ผู้รับผิดชอบโครงการ

นายทัพพเทพ อรเนตร ครูผู้ช่วย
11. เครือข่าย

ศนู ยก์ ารเรียนร้ทู ฤษฎีใหม่ หน่วยบัญชาการตอ่ สู้อากาศยานและรักษาฝ่งั
12. โครงการท่ีเก่ียวข้อง

12.1 โครงการจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
12.2 โครงการจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง
13. ผลลัพธ์
13.1 นักศกึ ษามคี วามรู้ ความเข้าใจตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ประยุกต์
สู่ “โคก หนอง นา”โมเดล
13.2 นกั ศึกษานาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใชใ้ ห้เกดิ ผลในการดารงชวี ิตประจาวันได้
14. ดชั นีวดั ผลสาเร็จของโครงการ
14.1 ตัวชี้วัดผลผลิต

14.1.1. รอ้ ยละ 80 ของผ้เู ขา้ ร่วมโครงการมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกษตรทฤษฎีใหม่ประยุกตส์ ู่ “โคก
หนอง นา โมเดล”อยู่ในระดับพอใช้ - ดี

14.1.2 รอ้ ยละ 80 ของผู้เขา้ ร่วมโครงการมีพึงพอใจอยใู่ นระดบั มาก

สรุปผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1-3

34

โครงการ “โคก หนอง นา” โมเดล ร่นุ ท่ี 1-3

13.2 ตวั ชี้วดั ผลลพั ธ์
13.2.1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกษตรทฤษฎใี หมป่ ระยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล”
อยู่ในระดบั พอใช้ – ดี
13.2.2. ผู้เข้ารว่ มโครงการมพี ึงพอใจอยู่ในระดับมาก
13.2.3. นกั ศึกษา กศน.อาเภอสตั หีบ สามารถนาองค์ความรู้ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาคุณภาพผู้เรียนตาม

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมป่ ระยกุ ต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ปรับใชเ้ พ่อื แก้ไขปัญหา
และสร้างความสมบูรณ์ ความกินดี อยูด่ ี มงี านทาให้กบั ชมุ ชนได้
15. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ

- แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
- แบบทดสอบก่อน - หลงั เขา้ รับการอบรม
- รายงานผลการจัดโครงการ

ผเู้ สนอโครงการ

(นายทัพพเทพ อรเนตร)
ครผู ูช้ ว่ ย

ผู้เหน็ ชอบโครงการ

(นางสุพัด นาเจริญลาภ)
ครชู านาญการ

ผู้อานวยการ กศน.อาเภอสัตหบี

สรปุ ผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

35

กาหนดการ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นโครงการ“โคก หนอง นา” โมเดล รนุ่ ท่ี 1 -3 วันที่ 8,9,15 มกราคม 2565
ณ ศูนยเ์ รยี นร้ทู ฤษฎใี หม่ หน่วยต่อสูอ้ ากาศยานและรกั ษาฝั่ง ตาบลบางเสร่ อาเภอสัตหบี จงั หวัดชลบุรี

…………………………………………………………………………………………

วนั ท่ี 8,9,15 มกราคม 2565
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบยี น/เตรียมความพร้อม/ชี้แจงวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ/ทาแบบทดสอบ
กอ่ นการอบรม
08.30 – 09.00 น. กลา่ วเปิดโครงการ /บรรยายพเิ ศษ เร่ืองศาสตรพ์ ระราชากับเกษตรทฤษฎีใหมส่ ู่ “โคก
นอง นา” โมเดล โดยนางสรุ ัสวดี เลีย้ งสุพงศ์ ผอ.กศน.อาเภอสัตหีบ
09.00 – 12.00 น. – เศรษฐกจิ พอเพียงขนั้ พื้นฐาน
- ทฤษฎบี ันได 9 ข้นั สู่ความพอเพียง
- โคก
- การปลูกต้นไม้ 5 ระดบั
- เกษตรทฤษฎีใหม่ 3 ระดับ
- วางแผนปลูกป่า 3 อยา่ ง ประโยชน์ 4 อย่าง พออยู่
พอกนิ พอใช้ พอร่มเย็น
- หนอง
- นา
- แบง่ คนแบง่ งาน/ฝึกปฏบิ ัติ

หมายเหตุ - ตารางการอบรม สามารถเปลี่ยนแปลงไดต้ ามความเหมาะสม

แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ แบบทดสอบหลงั อบรม

สรุปผลกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1-3

กาหน

กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนโครงการ“โคก หนอง

ณ ศูนย์เรยี นรทู้ ฤษฎใี หม่ หนว่ ยต่อสอู้ ากาศยานและ

เวลา 08.00 – 08.30 น. 08.30
วนั
09.00
8,9,15
มกราคม ลงทะเบียน/เตรียมความพร้อม/ชแี้ จง กล่าวเปิดโครงการ /
2565 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ/ทาแบบทดสอบ เร่อื งศาสตร์พระราช
กอ่ นการอบรม ทฤษฎีใหม่สู่ “โคก
โมเดล โดยนางสรุ ัสว
ผอ.กศน.อาเภอสัตห

***หมายเหตุ*** 1. ตารางการอบรม สามารถเปล่ยี นแปลงไดต้ ามความเหม

สรุปผลกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ที่ 1-3

36

นดการ
นา” โมเดล รุน่ ที่ 1 -3 วนั ท่ี 8,9,15 มกราคม 2565
ะรักษาฝง่ั ตาบลบางเสร่ อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบรุ ี

0 - 09.00 -
น. 12.00 น.

/บรรยายพเิ ศษ – เศรษฐกจิ พอเพียงข้ันพื้นฐาน
ชากับเกษตร - ทฤษฎบี ันได 9 ข้นั สู่ความพอเพยี ง
นอง นา” - โคก
วดี เลีย้ งสพุ งศ์ - การปลูกตน้ ไม้ 5 ระดับ
หีบ - เกษตรทฤษฎีใหม่ 3 ระดบั
- วางแผนปลกู ปา่ 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง พออยู่ พอกิน พอใช้
พอรม่ เยน็
- หนอง
- นา
- แบ่งคนแบ่งงาน/ฝึกปฏบิ ัติ

มาะสม

37

ภาคผนวก ข
คาส่งั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดาเนินโครงการ
โครงการพัฒนาบุคลากร กศน.อาเภอสัตหบี
ด้านเกษตรทฤษฎใี หมป่ ระยกุ ตส์ ู่ “โคก หนอง นา โมเดล”

สรุปผลกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

38

คาส่ัง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหบี
ท่ี 004 / 2565

เรื่อง แตง่ ต้ังคณะกรรมการดาเนนิ กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรียน
โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ที่ 1-3
..........................................

ตามท่ี ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสัตหีบ ได้กาหนดจัดกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรยี นโครงการ “โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นที่ 1-3 ในวันท่ี 8,9,15 มกราคม 2565 ณ ศูนย์การเรยี นรู้
ทฤษฎีใหม่ศูนย์ฝึกทหารใหม่ สอ.รฝ ต.บางเสร่ อาเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้นักศึกษามี
ความรู้ ความเข้าใจตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้นักศึกษานาความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ให้
เกิดผลในการดารงชีวิตประจาวัน มาปรับใช้เพื่อแก้ไขปัญหาและสร้างความสมบูรณ์ ความกินดี อยู่ดี มีงานทา
ให้กับตนเอง

เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย จึงแต่งต้ังบุคคลเพื่อทาหน้าท่ี เป็นคณะกรรมการ
ดาเนนิ งานดังต่อไปน้ี

1. คณะกรรมอานวยการ ประกอบดว้ ย

1.1. นางสรุ ัสวดี เล้ียงสุพงศ์ ผอ. กศน. อาเภอสัตหีบ ประธานกรรมการ

1.2. นางสพุ ดั นาเจรญิ ลาภ ครชู านาญการ กรรมการ

1.3. นายทพั พเทพ อรเนตร ครูผชู้ ว่ ย กรรมการและเลขานุการ

มหี น้าท่ี ให้ คาปรึกษา แนะนา เสนอแนะแนวทาง แก้ไขปัญหา ในการจัดกิจกรรมให้

บรรลุตามเปา้ หมาย

2. คณะกรรมการจดั สถานที่ ประกอบด้วย
1. นายทพั พเทพ อรเนตร
2. นางสุจนิ ดา บพุ นิมิตร ครูผ้ชู ่วย ประธานกรรมการ
3. นางสาวประวณี า ดาวมณี
4. นางสาวสุภาวดี บางโสก หัวหนา้ กศน.ตาบลบางเสร่ กรรมการ
5. นางสภุ าภรณ์ นวมมา
6. นางสาวปารย์พิชชา เจรญิ ศรี หัวหนา้ กศน.ตาบลแสมสาร กรรมการ
7. นางสาวเกษนยี ์ เดชรักษา
8. นางสาวสุรภา เชาวนั ดี หัวหน้า กศน.ตาบลสตั หีบ กรรมการ
8. นางสาวนวลจันทร์ นาครกั ษ์
9. นางสาวรจรนิ ทร์ รม่ โพธ์ิ หัวหน้า กศนตาบลพลูตาหลวง กรรมการ
10. นางสาวกสุ มุ า เพชรสนี วล
ครู กศน.ตาบลสตั หีบ กรรมการ

ครู กศน.ตาบลพลตู าหลวง กรรมการ

ครู กศน.ตาบลนาจอมเทยี น กรรมการ

ครู ศรช.ตาบลสตั หีบ กรรมการ

ครู ศรช.ตาบลสตั หบี กรรมการ

ครู ศรช.ตาบลนาจอมเทยี น กรรมการ

สรปุ ผลกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”ร่นุ ที่ 1-3

39

11. นางปิยวดี เตชะวงศ์ ครู ศรช.ตาบลสตั หีบ กรรมการ

12.นางสาวจิราพร เพชรแก้ว ครู ศรช.ตาบลสัตหบี กรรมการ.

13. นางภัทชา เอ่ยี มอาษา ครอู าสาสมคั ร กศน. กรรมการ

14. นางไพลนิ ทรพั ย์ประเสริฐ ครูผสู้ อนคนพกิ าร กรรมการ

15. นางสาวศิริทรัพย์ กติ ตภิ ิญโญวัฒน์ บรรณารกั ษ์ กรรมการ

16. นายวีรากร มณีทรพั ยส์ คุ นธ์ หัวหน้า กศน.ตาบลนาจอมเทยี น กรรมการและเลขานกุ าร

มีหน้าท่ี จัดเตรียมสถานที่ จัดโต๊ะ เก้าอ้ี เวที การดาเนินงานรวมทั้งเคร่ืองขยายเสียง อานวยความ

สะดวกตลอดการจดั กจิ กรรม ฯลฯ

3. คณะกรรมการรบั ลงทะเบียน ประกอบด้วย

1. นางสภุ าภรณ์ นวมมา หัวหนา้ กศน.ตาบลพลตู าหลวง ประธานกรรมการ

2. นางสาวนวลจันทร์ นาครักษ์ ครู ศรช.ตาบลสตั หีบ กรรมการ

3. นางสาวจิราพร เพชรแกว้ ครู ศรช.ตาบลสตั หีบ กรรมการ

4. นางสาวกสุ มุ า เพชรสนี วล ครู ศรช.ตาบลนาบางเสร่ กรรมการ

5. นางปยิ วดี เตชะวงศ์ ครู ศรช.ตาบลสัตหีบ กรรมการ

6. นางสาวสรุ ภา เชาวันดี ครู กศน.ตาบลนาจอมเทยี น กรรมการ

7. นางสาวประวณี า ดาวมณี หัวหน้า กศน.ตาบลแสมสาร กรรมการและเลขานุการ

มหี น้าท่ี รบั ลงทะเบยี นผ้เู ข้าอบรม

4. คณะกรรมการบันทึกภาพ ประกอบด้วย

1. นางปยิ วดี เตชะวงศ์ ครู ศรช.ตาบลสตั หีบ ประธานกรรมการ

2. นางสาวรจรนิ ทร์ รม่ โพธ์ ครู ศรช.ตาบลสตั หีบ กรรมการ

3. นางสาวพรทิพย์ พลอยประไพ บรรณารักษอ์ ตั ราจา้ ง กรรมการ

4. นางสาวศริ ทิ รัพย์ กิตติภญิ โญวัฒน์ บรรณารักษ์ กรรมการและเลขานกุ าร

มีหน้าท่ี ถ่ายภาพการจดั กิจกรรม ทกุ ภารกจิ ประกอบการรายงานผลการจดั กิจกรรม

5. คณะกรรมการฝ่ายพิธกี ร ประกอบดว้ ย

1. นายทัพพเทพ อรเนตร ครูผชู้ ่วย ประธานกรรมการ

2. นายวีรากร มณยี ์ทรัพยส์ คุ นธ์ หวั หนา้ กศน.ตาบลนาจอมเทียน กรรมการ

3. นางสจุ ินดา บุพนมิ ิต หัวหนา้ กศน.ตาบลบางเสร่ กรรมการและเลขานกุ าร

มหี นา้ ที่ ดาเนนิ รายการตลอดการจดั กิจกรรมโครงการ

6. คณะกรรมการฝา่ ยอาหารอาหารว่างและเคร่ืองดม่ื ประกอบดว้ ย

1. นางภทั ชา เอี่ยมอาษา ครู อาสาสมัครฯ ประธานกรรมการ

2. นางสาวประวีณา ดาวมณี หวั หนา้ กศน.ตาบลแสมสาร กรรมการ

3. นางสาวสภุ าวดี บางโสก หัวหน้า กศน.ตาบลสัตหบี กรรมการ

4. นางไพลนิ ทรพั ยป์ ระเสรฐิ ครผู ู้สอนคนพกิ าร กรรมการและเลขานุการ

สรุปผลกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รุ่นท่ี 1-3

40

มีหน้าที่ จัดเตรียมอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่มสาหรับผู้เข้าร่วมโครงการ ตลอดจนดูแลความ

เรยี บรอ้ ยต่างๆท่เี ก่ยี วข้อง

7. คณะกรรมการฝ่ายการเงนิ /จดั หาวัสดุอปุ กรณ์ ประกอบดว้ ย

1. นางสุพดั นาเจริญลาภ ครชู านาญการ ประธานกรรมการ

2. นางสาวนวลจนั ทร์ นาครกั ษ์ ครู ศรช.ตาบลสตั หีบ กรรมการและเลขานกุ าร

มีหนา้ ที่ จัดซ้ือจัดจ้างจดั หาวสั ดุอุปกรณ์ รายงานการเบิกเงินตลอดโครงการ

8. คณะกรรมการฝา่ ยตดิ ตามและประเมินผล ประกอบดว้ ย

1. นายทัพพเทพ อรเนตร ครูผชู้ ่วย ประธานกรรมการ

2. นางสจุ ินดา บพุ นิมติ หัวหนา้ กศน.ตาบลตาบลบางเสร่ กรรมการ

3. นายวรี ากร มณีทรพั ย์สคุ นธ์ หัวหน้า กศน.ตาบลนาจอมเทยี น กรรมการและเลขานุการ

มีหน้าที่ จัดทาเอกสารรายงานตัว เอกสารวัดความพึงพอใจ และประเมินผลรายงานผลการจัดกิจกรรม

พรอ้ มสรุปผลเมื่อสิน้ สุดกจิ กรรม

เพือ่ ให้การดาเนนิ การเปน็ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย ใหบ้ คุ ลากรท่ีได้รบั การแต่งต้งั ปฏิบัติหนา้ ท่ีใหเ้ ป็นไปด้วย
ความเรยี บรอ้ ย

ทัง้ นี้ ตั้งแตว่ นั ท่ี 8-15 เดือน มกราคม 2565 เป็นตน้ ไป

สง่ั ณ วันท่ี 4 มกราคม 2565

(นางสุรัสวดี เลย้ี งสพุ งศ)์
ผอู้ านวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอสตั หีบ

สรุปผลกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3

41

ภาคผนวก ค
แบบรายงานผลโครงการ PDCA

สรุปผลกิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน โครงการ“โคก หนอง นา โมเดล”รนุ่ ท่ี 1-3


Click to View FlipBook Version