The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ป.3 เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pieng Pare, 2022-06-06 09:12:17

แผนคณิตศาสตร์

แผนคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ป.3 เรื่อง จำนวนนับไม่เกิน 100,000

แผนการจดั การเรียนรทู ่ี 1
เรื่อง ทดสอบกอนเรียน และการเตรยี มความพรอม

รหสั วชิ า ค 13101 รายวิชา คณิตศาสตร กลมุ สาระการเรียนรู คณติ ศาสตร
ชน้ั ประถมศึกษาปที่ 3/1 ภาคเรียนท่ี 1 ปการศึกษา 2565
หนว ยการเรยี นรทู ี่ 1 เรอ่ื ง จำนวนนบั ไมเกิน 100,000 เวลา 1 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู ตวั ชี้วดั
มาตรฐานการเรยี นรู
มาตรฐาน ค 1.1 เขา ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของจำนวน

ผลท่เี กิดขน้ึ จากการดำเนินการ สมบตั ขิ องการดำเนนิ การ และการนำไปใช
มาตรฐาน ค 1.2 เขา ใจและวิเคราะหแ บบรูป ความสัมพนั ธ ฟง กชันลำดับและอนุกรม และนำไปใช
ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู
ค 1.1 ป.3/1 อานและเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนังสือแสดงจำนวนนับไมเ กิน 100,000

และ 0

ค 1.1 ป.3/2 เปรยี บเทยี บและเรยี งลำดับจำนวนนับไมเกิน 100,000 จากสถานการณต า ง ๆ
ค 1.2 ป.3/1 ระบุจำนวนที่หายไปในแบบรปู ของจำนวนท่ีเพิ่มข้ึนหรอื ลดลงทลี ะเทา ๆ กนั
2. จุดประสงคการเรียนรู
เมื่อเรียนจบบทเรียนแลว นกั เรยี นสามารถ
2.1 อานและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจำนวนนบั ไมเ กนิ 100,000 และ 0 ได
2.2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนบั ไมเกนิ 100,000 และ 0 ได
2.3 บอกจำนวนท่ีหายไปในแบบรปู ของจำนวนที่เพิ่มข้ึนหรือลดลงทลี ะเทา ๆ กนั ได
2.4 เกดิ ความตระหนกั ถงึ ความสมเหตสุ มผลของคำตอบ
3. สาระสำคญั
3.1 การอา นจำนวนนับไมเ กิน 100,000 อานตามคาประจำหลกั จากซา ยไปขวา
3.2 การเขียนแสดงจำนวนอาจเขียนเปนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย หรือตัวหนงั สือ
3.3 จำนวนสี่หลักมีจำนวนท่ีอยหู ลกั หนวยหลกั สิบ หลักรอ ย และหลักพัน เชน 8,089
3.4 จำนวนหาหลกั มีจำนวนทอ่ี ยูห ลกั หนวย หลักสบิ หลกั รอ ย หลักพนั และหลกั หม่นื เชน 91,006
3.5 จำนวนหกหลกั มีจำนวนที่อยูหลักหนวย หลักสิบ หลักรอย หลกั พัน หลกั หม่ืน และหลกั แสน เชน
100,000
3.6 การเขยี นแสดงจำนวนในรูปกระจายเปน การเขียนในรูปการบวกคา ของเลขโดดในหลักตา ง ๆ ของ
จำนวนนน้ั
3.7 การเปรียบเทยี บจำนวนสองจำนวนจะใชค ำวา เทา กับ มากกวา นอยกวา ซึง่ แทนดวยเครอ่ื งหมาย = >
< ตามลำดับโดยพจิ ารณาดังนี้
- ถา จำนวนหลกั ไมเทา กัน จำนวนที่มีจำนวนหลักมากกวา จะมากกวา
- ถา จำนวนหลักเทากัน จำนวนทค่ี าของเลขโดดในหลักที่อยูซายสดุ มากกวา จะมากกวา แตถ าเลขโดด
ในหลักซายสุดมีคา เทา กนั ใหพจิ ารณาคาของเลขโดดในหลักถัดไปทางขวาทลี ะหลกั
3.8 การเรียงลำดบั จำนวนอาจทำไดโ ดยหาจำนวนท่ีมากที่สุดและนอยทีส่ ุดกอน จากน้ันนำจำนวนมา
เรียงลำดบั จากมากไปนอย หรือจากนอยไปมาก

3.9 แบบรูปของจำนวนทเ่ี พ่ิมขนึ้ หรือลดลงทลี ะเทา ๆ กนั เปน ชดุ ของจำนวนท่ีมีความสมั พนั ธก นั อยาง
ตอเนื่องในลกั ษณะท่เี พิม่ ข้ึนหรอื ลดลงทีละเทา ๆ กัน

3.10 การเพ่ิมข้ึนหรือลดลงทีละเทา ๆ กันสามารถพิจารณาไดจากนำจำนวนทมี่ คี า มากลบดวยจำนวนท่ีมคี า
นอ ยของจำนวนที่อยูติดกันจะมคี าเทากนั
4. สาระการเรียนรู

4.1 การอาน การเขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และตวั หนังสือแสดงจำนวน หลักคา ของเลขโดดในแต
ละหลักและการเขยี นตัวเลขแสดงจำนวนในรปู กระจาย

4.2 การเปรยี บเทียบและเรยี งลำดับจำนวน
4.3 แบบรปู ของจำนวนทเ่ี พิ่มขน้ึ หรอื ลดลงทีละเทา ๆ กัน
5. ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
5.1 การสอื่ สารและการสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร
5.2 การเชือ่ มโยง
6. สมรรถนะสำคญั ของผเู รียน
6.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
6.2 ความสามารถในการแกไขปญ หา
7. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค
7.1 มวี ินัย
7.2 ใฝเรยี นรู
7.3 มุงมั่นในการทำงาน
8. การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน
ขนั้ นำ
1. นกั เรียนทดสอบกอนเรียนโดยใชแ บบทดสอบ เร่ือง จำนวนนบั ไมเ กนิ 100,000 เพอ่ื ตรวจสอบความ
พรอ มและพ้ืนฐานของนกั เรยี น
ข้นั สอน
2. นกั เรียนใชข อ มลู ในหนังสือเรยี นเพ่อื กระตุนความสนใจเก่ียวกบั การแขง ขันกีฬาทีม่ ีผเู ขา ชมเปนจำนวน
มาก และเช่ือมโยงไปถึงเรื่องจำนวนทีม่ ีคามากตามจำนวนผูเ ขาชมการแขงขนั ฟตุ บอล โดยใชคำถาม เชน
− มีใครเคยไปชมกีฬาท่ีมผี ูเ ขาชมจำนวนมากบา งไหม
− นักเรยี นคดิ วา สนามกีฬาท่ีจัดแขง ขันฟุตบอลของทีมชาตจิ ะจุคนไดเ ทาไร
− จากภาพเปน การแขง ขนั ฟุตบอลกระชบั มติ รท่ีมีทมี เหยาและทมี เยือน นกั เรียนคิดวา ทีมสีอะไรเปน ทีม
เหยา ทีมสอี ะไรเปนทมี เยือน (ครูสามารถถามและใหความรูจากกรอบเกร็ดความรใู นเร่ืองทีมเหยา และทมี เยือน)
− จำนวนผูเขาชมของทีมเหยาและทมี เยอื น ทีมใดมีผเู ขา ชมมากกวา ทมี ใดมีผูเ ขาชมนอยกวา
− นักเรียนทราบไดอยา งไรวาจำ นวนใดมากกวา หรอื จำนวนใดนอ ยกวา
3. นักเรยี นรว มกนั สังเกตจำนวนผเู ขาชมของฝง ทมี เหยาและทีมเยือนทปี่ รากฏบนจอในสนามและนำไปสูการ
ทบทวนคาประจำหลกั ของเลขโดดในหลักหนว ย หลกั สิบ หลกั รอ ย และหลักพันเพอ่ื นำเขาสบู ทเรียน
4. ครใู ชหนงั สือเรียนหนา เตรียมความพรอมเพ่ือตรวจสอบความรพู น้ื ฐานของนักเรยี นเรื่องการเขยี นแสดง
จำนวนและการเปรียบเทียบจำนวนไมเ กิน 1,000 โดยในสวนแรกใหนักเรียนทบทวนการแสดงจำนวนดวยรปู แผน
ตารางรอยแผน ตารางสบิ และแผนตารางหนว ย โดยใหเ ขยี นตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทยและตัวหนังสอื
5. นกั เรียนตอบคำถามรว มกันเพือ่ ทบทวนเรอ่ื งการเขยี นในรูปกระจาย เชน
1) จากรูปแผนตารางแสดงจำนวน 147 ซง่ึ เขียนในรูปกระจายได 147 = 100 + 40 + 7

ข้ันสรุป
6. นักเรยี นรว มกนั ทบทวนความรเู รอื่ งการเปรียบเทยี บจำนวนโดยใชสถานการณรานคาขายของทีร่ ะลึก โดย

เปรียบเทียบราคาของส่งิ ของในแตละขอพรอมกบั การอธบิ าย เชน ครูอาจถามทลี ะขอดวยคำถาม
1) “รม กับ หมวก สง่ิ ใดมรี าคามากกวา นกั เรียนทราบได อยางไร” นักเรยี นอาจตอบวารม ราคา มากกวา

หมวก เพราะ 285 มากกวา 199
7. นักเรียนทำแบบฝกหัดเตรียมความพรอมในหนังสอื แบบฝกหัด คณติ ศาสตร ป.3 เลม 1 หนวยที่ 1 เรอื่ ง

จำนวนนบั ไมเกนิ 100,000

9. ส่ือการเรียนร/ู แหลงเรียนรู
9.6 หนงั สอื เรียน คณิตศาสตร ป.3 เลม 1 หนวยที่ 1 เรือ่ ง จำนวนนับไมเ กนิ 100,000
9.7 หนงั สอื แบบฝก หดั คณิตศาสตร ป.3 เลม 1 หนว ยที่ 1 เรอื่ ง จำนวนนับไมเ กนิ 100,000
9.3 แบบทดสอบ หนว ยท่ี 1 เรอื่ ง จำนวนนบั ไมเ กิน 100,000

10. การวัดและประเมนิ ผล เครื่องมือ ผู
จดุ ประสงคการเรียนรู ชน้ิ งาน/
สูตัวชว้ี ัด ภาระงาน วธิ กี ารประเมิน การประเมนิ ประเมนิ เกณฑป ระเมิน
- ทดสอบกอนเรยี น และ - แบบฝกหดั - ตรวจแบบฝกหัด - แบบฝก หดั - ครู - รอยละ 60 ผา น
เกณฑ
การเตรยี มความพรอม - กิจกรรมฝก - ตรวจกจิ กรรมฝก - กิจกรรมฝก - ระดบั คณุ ภาพ 2
- การนำเสนอผลงาน/ ทักษะ ทกั ษะ ผา นเกณฑ
ผลการทำกิจกรรม - แบบประเมนิ - ประเมินการ ทักษะ - ครู
- ระดบั คณุ ภาพ 2
- แบบประเมนิ นักเรียน ผา นเกณฑ

การนำเสนอ นำเสนอผลงาน การนำเสนอ - ระดับคุณภาพ 2
ผา นเกณฑ
ผลงาน /ผลการทำกจิ กรรม ผลงาน
- ระดบั คณุ ภาพ 2
- พฤตกิ รรมการทำงาน - แบบสงั เกต - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต ผานเกณฑ
รายบุคคล พฤติกรรมการ การทำงาน
ทำงานรายบุคคล รายบคุ คล พฤติกรรมการ - ครู

ทำงานรายบุคคล

- พฤติกรรมการทำงาน - แบบสงั เกต - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต
กลมุ พฤติกรรมการ การทำงานกลมุ
ทำงานกลมุ พฤติกรรมการ - ครู

ทำงานกลุม นักเรียน

- คณุ ลักษณะอันพึง - แบบประเมิน - สังเกตความมี - แบบประเมนิ
ประสงค คณุ ลักษณะ วนิ ัย ใฝเ รยี นรู และ
อนั พึงประสงค มุงมน่ั ในการทำงาน คณุ ลักษณะ - ครู

อนั พึงประสงค

เกณฑก ารประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
32
ประเด็นการ 4 (ดี) (กำลงั พัฒนา) 1
ประเมนิ (ดมี าก) (ตองปรบั ปรุง)

1. เกณฑการ ทำแบบฝก หัด/ ทำแบบฝก หัด/ ทำแบบฝกหดั / ทำแบบฝก หัด/
ประเมนิ การทำ แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง
แบบฝกหัด/ ถูกตอ งรอยละ 90 ขึน้ ไป ถูกตอ งรอยละ 80 - 89 ถูกตอ งรอยละ 60 - 79 ถกู ตอ งต่ำกวารอ ยละ 60
แบบทดสอบ
2. เกณฑการ ทำความเขา ใจปญ หา คิด ทำความเขาใจปญ หา คดิ ทำความเขา ใจปญ หา คดิ ทำความเขาใจปญ หา คดิ
ประเมินความ วิเคราะห วางแผน วิเคราะห วางแผน วิเคราะห วางแผน วเิ คราะห มรี องรอยของ
สามารถในการ แกป ญ หา และเลอื กใช แกป ญ หา และเลือกใช แกปญ หา และเลอื กใช การวางแผนแกป ญ หา แต
แกปญ หา วิธีการที่เหมาะสม โดย วธิ ีการทเี่ หมาะสม แต วิธกี ารไดบ างสว น คำตอบ ไมสำเร็จ

คำนงึ ถึงความสมเหตสุ มผล ความสมเหตุสมผลของ ทีไ่ ดยงั ไมมีความสมเหตุ
ของคำตอบ พรอมทง้ั คำตอบยังไมด ี ตรวจสอบ สมผล และไมมีการ
ตรวจสอบความถูกตอ งได ความถูกตอ งไมได ตรวจสอบความถกู ตอ ง
3. เกณฑการ ใชรปู ภาษา และ ใชร ูป ภาษา และ ใชรูป ภาษา และ ใชร ูป ภาษา และ
ประเมินความ สัญลักษณท าง สัญลักษณท าง สัญลักษณท าง สญั ลกั ษณท าง
สามารถในการ คณติ ศาสตรในการ คณติ ศาสตรในการ คณิตศาสตรในการ คณิตศาสตรในการ
สือ่ สาร ส่อื สอ่ื สาร สอ่ื ความหมาย ส่ือสาร ส่อื ความหมาย สื่อสาร สอ่ื ความหมาย สื่อสาร สอ่ื ความหมาย
ความหมายทาง สรปุ ผล และนำเสนอได สรปุ ผล และนำเสนอได สรปุ ผล และนำเสนอได สรุปผล และนำเสนอ
คณติ ศาสตร อยางถูกตอง ชดั เจน ถกู ตอง แตข าด ถูกตองบางสวน ไมไ ด
รายละเอียดทส่ี มบรู ณ
4. เกณฑการ ใชความรทู างคณติ ศาสตร ใชความรทู างคณติ ศาสตร ใชความรูทางคณติ ศาสตร ใชความรทู างคณิตศาสตร
ประเมนิ ความ เปนเครื่องมอื ในการ เปน เครอ่ื งมือในการ เปน เครือ่ งมอื ในการ เปน เครอ่ื งมอื ในการ
สามารถในการ เรยี นรคู ณติ ศาสตร เรียนรูคณติ ศาสตร เรยี นรูค ณติ ศาสตร เรียนรูคณติ ศาสตร
เชื่อมโยง เนือ้ หาตาง ๆ หรือศาสตร เนอ้ื หาตาง ๆ หรอื ศาสตร เนือ้ หาตา ง ๆ หรือศาสตร เนอื้ หาตา ง ๆ หรือศาสตร
อื่น ๆ และนำไปใชในชีวติ อื่น ๆ และนำไปใชใ นชีวติ อ่นื ๆ และนำไปใชในชีวิต อน่ื ๆ และนำไปใชในชวี ติ
จรงิ ไดอยา งสอดคลอง จรงิ ไดบางสว น จริง จรงิ
เหมาะสม
5. เกณฑการ รบั ฟง และใหเ หตผุ ล รบั ฟงและใหเ หตุผล รับฟงและใหเ หตุผล รบั ฟง และใหเ หตุผล
ประเมินความ สนบั สนุนหรือโตแยง สนบั สนนุ หรอื โตแยง สนบั สนุน หรือโตแ ยง สนับสนุน หรอื โตแยง
สามารถในการ เพื่อนำไปสู การสรุปโดย เพ่อื นำไปสู การสรุปโดย แตไมนำไปสกู ารสรปุ ท่ีมี ไมได
ใหเ หตุผล มขี อ เทจ็ จริงทาง มขี อ เท็จจริงทาง ขอเท็จจริงทาง
คณิตศาสตรร องรับได คณิตศาสตรรองรับได คณติ ศาสตรร องรับ
อยา งสมบรู ณ บางสวน
6. เกณฑการ มีความตั้งใจและพยายาม มคี วามตั้งใจและพยายาม มีความตงั้ ใจและพยายาม ไมม ีความตง้ั ใจและ
ประเมนิ ความ ในการทำความเขาใจ ในการทำความเขา ใจ ในการทำความเขา ใจ พยายามในการทำความ
มมุ านะในการ ปญ หาและแกป ญ หาทาง ปญหาและแกปญหาทาง ปญ หาและแกปญ หาทาง เขา ใจปญหาและ
ทำความเขาใจ คณิตศาสตร มีความ คณิตศาสตร แตไมมี คณติ ศาสตร แตไ มมี แกป ญ หาทาง
ปญหาและ อดทนและไมท อแทต อ ความอดทนและทอแทตอ ความอดทนและทอแท คณติ ศาสตร ไมมีความ
อุปสรรคจนทำให อุปสรรคจนทำให ตออปุ สรรคจนทำให อดทนและทอแทต อ

ประเด็นการ 4 ระดับคุณภาพ 1
ประเมนิ (ดีมาก) 32 (ตองปรบั ปรุง)
(ดี) (กำลงั พัฒนา)
แกปญ หาทาง แกปญ หาทาง แกป ญหาทาง แกปญ หาทาง อุปสรรคจนทำให
คณติ ศาสตร คณติ ศาสตรไดส ำเรจ็ คณิตศาสตรไดไมสำเร็จ คณติ ศาสตรไดไมส ำเร็จ แกป ญ หาทาง
เล็กนอย เปนสวนใหญ คณติ ศาสตรไดไมสำเรจ็
7. เกณฑการ มีความมุงมั่นในการ มคี วามมุง มนั่ ในการ มคี วามมุงมน่ั ในการ มีความมงุ ม่ันในการ
ประเมินความ ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานแตไมม ีความ
มงุ มัน่ ในการ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ รอบคอบ สง ผลใหงานไม
ทำงาน เรยี บรอย ครบถว น เรียบรอยสว นใหญ เรียบรอ ยสวนนอ ย ประสบผลสำเร็จอยา งท่ี
สมบรู ณ ควร
8. เกณฑการ มกี ารคน หาลักษณะท่ี มีการคน หาลักษณะท่ี มกี ารคน หาลักษณะท่ี มกี ารคน หาลักษณะที่
ประเมินการ เกิดขนึ้ ซำ้ ๆ อยา งมี เกิดข้นึ ซ้ำ ๆ อยางมี เกดิ ข้นึ ซำ้ ๆ อยา งมี เกดิ ขึ้นซำ้ ๆ อยา งดวย
คน หาลักษณะ หลักการทีถ่ ูกตอง และ หลักการท่ถี ูกตอง และ หลักการที่ถูกตอง และ หลกั การท่ีไมถูกตอง
ที่เกดิ ข้นึ ซ้ำ ๆ ประยุกตใ ชล กั ษณะ ประยุกตใชล กั ษณะ ประยุกตใ ชลกั ษณะ และประยุกตใ ชล ักษณะ
และประยุกตใช ดังกลาวเพ่ือทำความ ดงั กลา วเพ่ือทำความ ดังกลาวเพื่อทำความ ดงั กลา วเพ่ือทำความ
ลักษณะ เขา ใจหรือแกป ญ หาใน เขาใจหรือแกป ญ หาใน เขา ใจหรือแกป ญหาใน เขา ใจหรอื แกป ญ หาใน
ดงั กลาวเพ่ือทำ สถานการณต าง ๆ ได สถานการณต าง ๆ ได สถานการณตาง ๆ ได สถานการณต าง ๆ ไม
ความเขา ใจ อยา งถูกตองเหมาะสม อยา งถูกตองเหมาะสม อยา งถูกตองเหมาะสม ถูกตอง
หรือแกปญหา ครบถว นสมบรู ณ สว นใหญ สว นนอย
ในสถานการณ
ตา ง ๆ

แผนการจัดการเรยี นรทู ี่ 2
เรื่อง จำนวนนบั ไมเ กิน 100,000

รหัสวิชา ค 13101 รายวิชา คณิตศาสตร กลมุ สาระการเรยี นรู คณิตศาสตร
ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 3/1 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศึกษา 2565
หนวยการเรยี นรทู ี่ 1 เรื่อง จำนวนนบั ไมเกิน 100,000 เวลา 2 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู/ตวั ชว้ี ัด
มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ค 1.1 เขา ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผล

ทเ่ี กดิ ข้ึนจากการดำเนนิ การ สมบัตขิ องการดำเนินการ และการนำไปใช
ตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู
ค 1.1 ป.3/1 อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับไมเกิน

100,000 และ 0
2. จดุ ประสงคการเรียนรู
เมอ่ื เรยี นจบบทเรยี นแลว นกั เรยี นสามารถ

2.1 บอกคาประจำหลักของจำนวนได
2.2 บอกชอ่ื หลักได
2.3 เขยี นคาประจำหลักไดถ ูกตอ ง
2.4 รวมกจิ กรรมการเรียนการสอน และมเี จตคตทิ ด่ี ตี อวชิ าคณติ ศาสตร
2.5 ใชตัวเลขในการส่อื ความหมายและเชอ่ื มโยงความรูไดดี
3. สาระสำคัญ
จำนวน 1,000-9,999 มตี วั เลขสี่ตัว อยูในหลักพัน หลักรอ ย หลักสบิ และหลกั หนวย เราจงึ เรยี กวา
จำนวนทมี่ ีสห่ี ลัก ซึง่ สามารถอานและเขียนแทนดว ยตวั เลขฮินดูอารบกิ ตัวเลขไทย และตวั หนงั สือ
4. สาระการเรียนรู
4.1 การอาน การเขยี นตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจำนวน
4.2 วธิ ีการอาน การเขยี นตวั เลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตวั หนงั สือแสดงจำนวน
4.3 ตระหนกั ถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
5. ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร
5.1 การส่ือสารและการส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร
5.2 การเชือ่ มโยง
6. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน
6.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร
6.2 ความสามารถในการคิด
6.3 ความสามารถในการแกไขปญ หา
6.4 ความสามารถในการใชท ักษะชวี ติ
7. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค
7.1 มีวินัย
7.2 ใฝเ รยี นรู
7.3 มุง มน่ั ในการทำงาน

8. การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
ขน้ั นำ

1. ครูตดิ กระบอกกระดาษบนกระดาน 3 กระบอก(สมมติใหเปนแจกนั ) แบง เปนฝงซา ย 1 กระบอก และฝง
ขวา 2 กระบอก และติดบัตรคำสิบไวทฝี่ ง ซา ย และบัตรคำหนวยไวท ่ีฝง ขวา

2. ครตู ิดบตั รตวั เลข 12 บนกระดาน และถามนักเรียนวา “ถา ครมู ดี อกไม 12 ดอก ครูจะตอ งจัดใสแจกัน
ทางซา ยกี่ดอก และทางขวากี่ดอก” (ทางซาย 10 ดอก และทางขวาใบละ 1 ดอก ตามลำดบั )

3. ครใู สหลอดดอกไมล งในแจกนั ทางซาย 10 ดอก และทางฝง ขวาใบละ 1 ดอก
4. ครตู ดิ บัตรตัวเลข 23 บนกระดาน และถามนักเรียนตอวา “แลว ถาครมู ดี อกไมเ พิม่ เปน 23 ดอก และมี
แจกนั เพิ่มอีก 2 ใบ ติดไวทางดานซาย(หลกั สบิ ) 1 ใบ และทางขวา(หลักหนวย) 1 ใบ ครูจะตอ งจัดดอกไมอ ยางไร”
(ใสดอกไมเพม่ิ ในแจกันใหมท างซายอีก 10 ดอก และใสแ จกนั ใหมท างขวา 1 ดอก)
5. ครูใสหลอดดอกไมล งในแจกนั ใบใหมทางดา ยซาย 10 ดอก
6. ครตู ิดบตั รคำช่ือเรื่องคาประจำหลักและคาของเลขโดด บนกระดาน แลว ใหน ักเรียนบอกคาประหลกั ของ
จำนวน 23 ดังนี้

2 อยูในหลัก สบิ มีคาเปน 20
3 อยูในหลกั หนวย มคี าเปน 3
พรอ มกบั การทค่ี รูติดแถบประโยคน้ันบนกระดาน และเตมิ คำตอบลงในแถบประโยคนน้ั
ขั้นสอน
7. ครูติดรปู จาน(หลกั สบิ )และจาน(หลักหนวย) พรอมกับตดิ บัตรตัวเลข 45 บนกระดาน
8. ครูถามนักเรยี นวา “ถา ครูมีปลา 45 ตัว ครูจะตองจดั ปลาใสในจานหลักสบิ และจานหลักหนวยอยางละก่ี
ตวั ” (4 และ 5 ตัว ตามลำดบั ) โดยนกั เรียนทีจ่ ะไดต อบนนั้ จะตองเปน นกั เรยี นกลมุ ท่ีนั่งเรยี บรอ ย
9. ครตู ดิ รปู ปลาลงบนจานบนกระดาน
10. ครูติดแถบประโยคสำหรับเติมคำตอบ และใหนกั เรียนบอกคา ประจำหลัก และคาของเลขโดด
11. ครูตดิ บัตรตัวเลข 70 บนกระดาน
12. ครถู ามนักเรยี นวา “แลว ถา ครูมปี ลา 70 ตัว ครูจะตองจดั ปลาใสในจานหลักสบิ และจานหลักหนวย
อยา งละกต่ี ัว” ( 7 และ 0 ตัว ตามลำดบั ) โดยนักเรยี นทีจ่ ะไดต อบนนั้ จะตอ งเปนนักเรียนที่ยกมือขวาไดเรว็ ที่สุด
ขน้ั สรปุ
15. นกั เรยี นทำกจิ กรรมวิ่งแลวตอบ โดยครูจะแบงกลมุ นักเรยี นเปนฝง ซายและฝง ขวา และใหเ ขาแถวตอน
ลึกที่ทา ยหอง
16. ครูจะใหสัญญาณ และใหนักเรยี นหวั แถวว่ิงมาหนา หอ ง ซง่ึ จะมีโตะวางอยูท ั้งฝง ซา ยและฝง ขวา สวน
นักเรียนคนอ่นื ตองอยทู ่ีหลงั หองเหมือนเดมิ
17. เม่ือนักเรียนวิ่งมาถงึ โตะแลว ครูจะบอกตวั เลข และใหนกั เรยี นจัดลกู ปด ลงในถุงซปิ ล็อกหลกั สิบ และ
หลกั หนวยใหถกู ตอง ซงึ่ สีของลูกปด ในหลักสิบจะเปน สีชมพู สวนลูกปด ในหลักหนว ยจะเปน สฟี า เชน จำนวน 89
นักเรยี นจะตองใสลูกปดสชี มพูในถงุ ซปิ ล็อกหลักสิบจำนวน 8 เมด็ และใสล กู ปด สีฟาในถุงซปิ ล็อกหลักหนวยจำนวน
9 เม็ด
18. เม่ือนักเรยี นจัดลกู ปด ใสถุงซปิ ลอ็ กเรยี บรอยแลว ใหเขียนบันทึกลงในใบงานที่อยบู นโตะ
19. เม่ือเสร็จเรียบรอยแลว ใหว ่ิงไปแตะมอื เพื่อนที่อยูหลงั หอง และไปตอที่ทายแถว สว นเพ่ือนทไี่ ดรบั การ
แตะมือน้ัน จะตองว่งิ มาหนาหอ งเพ่ือทำกจิ กรรม
20. ฝง ใดทสี่ มาชิกทุกคนทำกิจกรรมเสร็จเรว็ ทสี่ ุดและถูกตอง จะไดร ับคะแนนสะสมไป

21. ครแู ละนักเรียนสรุปบทเรียนรวมกัน (คาประจำหลัก คือ คาท่ีใชสำหรบั บอกคา ของตัวเลขทอี่ ยใู นแตล ะ
หลกั เชน 48 เลข 4 อยใู นหลักสบิ มคี าเปน 40 เลข 8 อยใู นหลกั หนวย มคี า เปน 8)

22. นักเรียนทำแบบฝกหดั เตรียมความพรอมในหนังสือแบบฝกหัด คณิตศาสตร ป.3 เลม 1 หนวยที่ 1 เร่ือง
จำนวนนบั ไมเ กนิ 100,000

9. สื่อการเรยี นรู/แหลงเรยี นรู
9.1 กระบอกกระดาษ
9.2 บัตรคำ บัตรตัวเลข
9.3 รปู ภาพจาน ปลา
9.4 ลูกปด
9.5 ถุงซปิ ล็อค
9.6 หนังสือแบบฝก หัด คณิตศาสตร ป.3 เลม 1 หนว ยที่ 1 เรื่อง จำนวนนบั ไมเกิน 100,000

10. การวดั และประเมนิ ผล เคร่อื งมอื ผู
จดุ ประสงคการเรยี นรู ช้ินงาน/
สูต วั ชวี้ ัด ภาระงาน วิธกี ารประเมนิ การประเมนิ ประเมิน เกณฑประเมิน
- จำนวนนับไมเกนิ - แบบฝกหัด - ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝกหัด - ครู - รอยละ 60
ผานเกณฑ
100,000 - กิจกรรมฝก - ตรวจกจิ กรรมฝก - กิจกรรมฝก
- ระดบั คุณภาพ 2
- การนำเสนอผลงาน/ ทกั ษะ ทักษะ ทักษะ ผานเกณฑ
ผลการทำกิจกรรม - แบบประเมนิ - ประเมนิ การ
การนำเสนอ นำเสนอผลงาน - แบบประเมนิ - ครู - ระดับคณุ ภาพ 2
ผา นเกณฑ
การนำเสนอ นกั เรยี น
- ระดับคุณภาพ 2
- พฤติกรรมการทำงาน ผลงาน /ผลการทำกจิ กรรม ผลงาน ผานเกณฑ
รายบคุ คล - แบบสังเกต - สงั เกตพฤติกรรม
พฤติกรรมการ การทำงาน - แบบสงั เกต - ครู - ระดับคณุ ภาพ 2
ผานเกณฑ
พฤติกรรมการ

- พฤตกิ รรมการทำงาน ทำงานรายบุคคล รายบคุ คล ทำงานรายบุคคล
กลมุ - แบบสงั เกต - สงั เกตพฤติกรรม
พฤติกรรมการ การทำงานกลมุ - แบบสังเกต - ครู

พฤติกรรมการ นักเรยี น

- คุณลกั ษณะอนั พึง ทำงานกลุม ทำงานกลุม
ประสงค - แบบประเมิน - สังเกตความมี
คุณลักษณะ วนิ ยั ใฝเ รียนรู และ - แบบประเมิน - ครู

คุณลกั ษณะ

อนั พงึ ประสงค มุงมน่ั ในการทำงาน อนั พึงประสงค

เกณฑการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
32
ประเด็นการ 4 (ด)ี (กำลงั พัฒนา) 1
ประเมนิ (ดีมาก) (ตองปรบั ปรุง)

1. เกณฑการ ทำแบบฝก หัด/ ทำแบบฝกหดั / ทำแบบฝกหดั / ทำแบบฝก หัด/
ประเมนิ การทำ แบบทดสอบไดอ ยา ง แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง
แบบฝกหัด/ ถูกตอ งรอยละ 90 ขน้ึ ไป ถกู ตองรอ ยละ 80 - 89 ถูกตอ งรอ ยละ 60 - 79 ถกู ตอ งต่ำกวารอ ยละ 60
แบบทดสอบ
2. เกณฑการ ทำความเขา ใจปญ หา คดิ ทำความเขา ใจปญ หา คิด ทำความเขา ใจปญ หา คดิ ทำความเขาใจปญ หา คดิ
ประเมินความ วิเคราะห วางแผน วิเคราะห วางแผน วิเคราะห วางแผน วเิ คราะห มรี องรอยของ
สามารถในการ แกป ญ หา และเลือกใช แกปญ หา และเลอื กใช แกปญ หา และเลอื กใช การวางแผนแกป ญ หา แต
แกปญ หา วิธีการที่เหมาะสม โดย วธิ ีการทเ่ี หมาะสม แต วิธกี ารไดบ างสว น คำตอบ ไมสำเร็จ

คำนงึ ถึงความสมเหตสุ มผล ความสมเหตสุ มผลของ ทีไ่ ดยงั ไมมีความสมเหตุ
ของคำตอบ พรอมทง้ั คำตอบยงั ไมด ี ตรวจสอบ สมผล และไมมีการ
ตรวจสอบความถูกตอ งได ความถกู ตองไมไ ด ตรวจสอบความถกู ตอ ง
3. เกณฑการ ใชรปู ภาษา และ ใชรูป ภาษา และ ใชรูป ภาษา และ ใชร ูป ภาษา และ
ประเมินความ สัญลักษณทาง สญั ลกั ษณท าง สัญลักษณท าง สญั ลกั ษณท าง
สามารถในการ คณติ ศาสตรในการ คณติ ศาสตรในการ คณิตศาสตรในการ คณิตศาสตรในการ
สือ่ สาร ส่อื สอ่ื สาร สอ่ื ความหมาย ส่ือสาร สอ่ื ความหมาย สื่อสาร สอ่ื ความหมาย สื่อสาร สอ่ื ความหมาย
ความหมายทาง สรปุ ผล และนำเสนอได สรุปผล และนำเสนอได สรปุ ผล และนำเสนอได สรุปผล และนำเสนอ
คณติ ศาสตร อยางถูกตอง ชัดเจน ถูกตอง แตขาด ถูกตองบางสวน ไมไ ด
รายละเอยี ดที่สมบูรณ
4. เกณฑการ ใชความรทู างคณิตศาสตร ใชความรทู างคณิตศาสตร ใชความรูทางคณติ ศาสตร ใชความรทู างคณิตศาสตร
ประเมนิ ความ เปนเครื่องมือในการ เปนเครอ่ื งมอื ในการ เปน เครือ่ งมอื ในการ เปน เครอ่ื งมอื ในการ
สามารถในการ เรยี นรคู ณิตศาสตร เรยี นรูค ณติ ศาสตร เรยี นรูค ณติ ศาสตร เรียนรูคณติ ศาสตร
เชื่อมโยง เนือ้ หาตาง ๆ หรือศาสตร เนอื้ หาตาง ๆ หรือศาสตร เนือ้ หาตา ง ๆ หรือศาสตร เนอื้ หาตา ง ๆ หรือศาสตร
อื่น ๆ และนำไปใชใ นชวี ิต อ่ืน ๆ และนำไปใชใ นชีวติ อ่นื ๆ และนำไปใชในชีวิต อน่ื ๆ และนำไปใชในชวี ติ
จรงิ ไดอยา งสอดคลอ ง จริงไดบ างสวน จริง จรงิ
เหมาะสม
5. เกณฑการ รบั ฟง และใหเ หตุผล รบั ฟงและใหเหตุผล รับฟงและใหเ หตุผล รบั ฟง และใหเ หตุผล
ประเมินความ สนบั สนุนหรือโตแยง สนบั สนุน หรือโตแยง สนบั สนนุ หรือโตแ ยง สนับสนุน หรอื โตแยง
สามารถในการ เพื่อนำไปสู การสรปุ โดย เพ่อื นำไปสู การสรุปโดย แตไมนำไปสกู ารสรปุ ท่ีมี ไมได
ใหเ หตุผล มขี อ เทจ็ จริงทาง มีขอ เทจ็ จรงิ ทาง ขอเท็จจริงทาง
คณิตศาสตรร องรบั ได คณติ ศาสตรร องรับได คณติ ศาสตรร องรับ
อยา งสมบูรณ บางสว น
6. เกณฑการ มีความตั้งใจและพยายาม มีความตง้ั ใจและพยายาม มีความตงั้ ใจและพยายาม ไมม ีความตง้ั ใจและ
ประเมนิ ความ ในการทำความเขา ใจ ในการทำความเขา ใจ ในการทำความเขา ใจ พยายามในการทำความ
มมุ านะในการ ปญ หาและแกป ญ หาทาง ปญหาและแกปญหาทาง ปญ หาและแกปญ หาทาง เขา ใจปญหาและ
ทำความเขาใจ คณิตศาสตร มีความ คณติ ศาสตร แตไมมี คณติ ศาสตร แตไ มมี แกป ญ หาทาง
ปญหาและ อดทนและไมท อแทต อ ความอดทนและทอแทต อ ความอดทนและทอแท คณติ ศาสตร ไมมีความ
อุปสรรคจนทำให อปุ สรรคจนทำให ตออปุ สรรคจนทำให อดทนและทอแทต อ

ประเด็นการ 4 ระดับคุณภาพ 1
ประเมนิ (ดีมาก) 32 (ตองปรบั ปรุง)
(ดี) (กำลงั พัฒนา)
แกปญ หาทาง แกปญ หาทาง แกป ญหาทาง แกปญ หาทาง อปุ สรรคจนทำให
คณติ ศาสตร คณติ ศาสตรไดส ำเรจ็ คณิตศาสตรไดไมสำเร็จ คณติ ศาสตรไดไมส ำเรจ็ แกป ญหาทาง
เล็กนอย เปนสวนใหญ คณิตศาสตรไดไมสำเร็จ
7. เกณฑการ มีความมุงมั่นในการ มคี วามมุง มนั่ ในการ มคี วามมงุ มน่ั ในการ มีความมงุ มัน่ ในการ
ประเมินความ ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานแตไมมีความ
มงุ มัน่ ในการ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ รอบคอบ สง ผลใหงานไม
ทำงาน เรยี บรอย ครบถว น เรียบรอยสว นใหญ เรียบรอ ยสวนนอ ย ประสบผลสำเร็จอยางท่ี
สมบรู ณ ควร
8. เกณฑการ มกี ารคน หาลักษณะท่ี มีการคน หาลักษณะท่ี มกี ารคน หาลักษณะท่ี มีการคนหาลักษณะที่
ประเมินการ เกิดขนึ้ ซำ้ ๆ อยา งมี เกิดข้นึ ซ้ำ ๆ อยางมี เกดิ ข้นึ ซำ้ ๆ อยางมี เกดิ ข้นึ ซำ้ ๆ อยางดวย
คน หาลักษณะ หลักการทีถ่ ูกตอง และ หลักการท่ถี ูกตอง และ หลักการที่ถูกตอง และ หลกั การที่ไมถูกตอง
ที่เกดิ ข้นึ ซ้ำ ๆ ประยุกตใ ชล กั ษณะ ประยุกตใชล กั ษณะ ประยุกตใ ชล กั ษณะ และประยุกตใ ชล ักษณะ
และประยุกตใช ดังกลาวเพ่ือทำความ ดงั กลา วเพ่ือทำความ ดังกลาวเพ่ือทำความ ดังกลา วเพ่ือทำความ
ลักษณะ เขา ใจหรือแกป ญ หาใน เขาใจหรือแกป ญ หาใน เขา ใจหรือแกปญ หาใน เขาใจหรือแกป ญ หาใน
ดงั กลาวเพ่ือทำ สถานการณต าง ๆ ได สถานการณต าง ๆ ได สถานการณต าง ๆ ได สถานการณตาง ๆ ไม
ความเขา ใจ อยา งถูกตองเหมาะสม อยา งถูกตองเหมาะสม อยา งถูกตองเหมาะสม ถกู ตอง
หรือแกปญหา ครบถว นสมบรู ณ สว นใหญ สว นนอย
ในสถานการณ
ตา ง ๆ

แผนการจดั การเรยี นรทู ี่ 3
เร่ือง หลักและคา ของเลขโดดในแตละหลกั ของจำนวนนบั ไมเ กิน 100,000

รหัสวิชา ค 13101 รายวิชา คณิตศาสตร กลมุ สาระการเรียนรู คณิตศาสตร
ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 3/1 ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565
หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 เร่ือง จำนวนนับไมเกิน 100,000 เวลา 1 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู/ตวั ชว้ี ดั
มาตรฐานการเรยี นรู
มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของจำนวน ผล

ที่เกิดข้นึ จากการดำเนินการ สมบัตขิ องการดำเนินการ และการนำไปใช
ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู
ค 1.1 ป.3/1 อานและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และตวั หนงั สอื แสดงจำนวนนบั ไมเ กนิ 100,000

และ 0
2. จุดประสงคก ารเรียนรู
เมือ่ เรียนจบบทเรยี นแลว นักเรยี นสามารถ

2.1 บอกหลกั คาประจำหลัก และคา ของเลขโดดในแตละหลักของจำนวนนับได
2.2 อธิบายวิธีการเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายได
2.3 เขยี นตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจายได
2.4 ทำงานเปนระเบียบ สะอาดเรยี บรอ ย
2.5 นำความรไู ปใชใ นชวี ติ ประจำวนั
3. สาระสำคัญ
จำนวนทม่ี ี 4 หลัก เชน 2,440 เปน จำนวนทีอ่ ยใู นหลกั พนั หลักรอ ย หลักสิบ และหลักหนวย จำนวนที่มี 5
หลัก เชน 15,805 เปน จำนวนทีอ่ ยูในหลักหม่นื หลักพนั หลักรอ ย หลกั สิบ และหลักหนวย ซ่งึ เลขโดดแตละตัวจะมี
คา มากหรือนอย ข้นึ อยูกบั วา เปน ตัวเลขในหลกั ใด มีคา เทา ใด และการนำคาของเลขโดดในแตละหลกั มาเขียนใหอยู
ในรูปของการบวก เรยี กวา การเขยี นตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย
4. สาระการเรียนรู
4.1 การบอกหลัก คา ประจำหลัก และคาของเลขโดดในแตละหลักของจำนวนนับ
4.2 การเขยี นแสดงจำนวนในรูปกระจายเปน การเขียนในรปู การบวกคาของเลขโดดในหลักตา ง ๆ ของ
จำนวนน้ัน
4.3 ตระหนกั ถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
5. ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร
5.1 การส่ือสารและการส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร
5.2 การเช่ือมโยง
6. สมรรถนะสำคัญของผเู รียน
6.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
6.2 ความสามารถในการคิด
6.3 ความสามารถในการแกไ ขปญ หา
6.4 ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต

7. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค
7.1 มวี ินยั
7.2 ใฝเ รียนรู
7.3 มุง ม่นั ในการทำงาน

8. การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน
ขน้ั นำ

1. ครูทบทวนเน้ือหาบทเรยี นของคาบทแ่ี ลว (การเขียนในรูปกระจายคา สามารถเขียนได 2 รูปแบบ คอื การ
เขียนในรปู การกระจายคา แบบที่มคี าประจำหลกั กับการเขียนในรูปการกระจายคาตวั เลข)

2. ครูติดภาพสม และบัตรตวั เลขบนกระดาน จากน้ันสมุ นักเรียนจากไมเ รยี กชอื่ และถามนักเรียนวา “ถาครู
มสี มทงั้ หมด 25 ลูก ครูจะสามารถเขยี นการกระจายคา ไดอยางไรบาง” โดยใหน ักเรยี นออกมาเขยี นคำตอบบน
กระดาน (25 = 2 สิบ 5 หนว ย และ 25 = 20 + 5)

3. ครเู ปล่ียนจากเลข 25 เปน 58 และถามตอวา “แลว ถา ครูเพ่มิ จำนวนสมเปน 58 ลกู ครจู ะสามารถเขยี น
การกระจายคาไดอ ยางไรบาง”

4. ครสู ุมนักเรยี นจากไมเรยี กชอ่ื และใหน ักเรียนออกมาเขียนคำตอบบนกระดาน (58 = 5 สบิ 8 หนวย และ
58 = 50 + 8)
ขั้นสอน

5. ครเู ลา วา “แลว สมมติวา วันหนึง่ มคี นใจดีใหส มครมู า 1 เขง เขงน้นั บรรจสุ มทงั้ หมด 137 ลกู ครูจะ
สามารถเขียนการกระจายคาไดอ ยางไรบา ง”

6. ครูตดิ ภาพเขง สม และบตั รตวั เลขบนกระดาน
7. ตวั แทนนกั เรียนจากกลุม ท่ีนงั่ เรยี บรอ ยไดตอบคำถาม (137 = 1 รอย 3 สบิ 7 หนว ย และ 137 = 100 +
30 + 7)
8. ครเู ปลยี่ นจากเลข 137 เปน 480 และพูดวา “แลวถาคุณปาขางบานใจดใี หส ม ครูมาอีก เปน 480 ลกู ครู
จะสามารถเขียนการกระจายคาไดอยา งไรบา ง”
9. ตัวแทนนักเรยี นจากกลมุ ท่ียกมอื ขวาเร็วท่สี ดุ ไดตอบคำถาม (480 = 4 รอย 8 สิบ 0 หนว ย และ 480 =
400 + 80 + 0)
10. นักเรยี นทำกิจกรรมเธอเขียนฉนั ตอบ โดยครจู ะแบง นักเรยี นออกเปน 2 ทมี คือ ทีมชายและทมี หญงิ ให
ตวั แทนชาย-หญิงเปายิงชบุ ใครทช่ี นะใหเ ปนฝายเริ่มกอน
11. ฝา ยทเ่ี ร่มิ กอนจะใหห ยบิ บตั รตวั เลข ชบู ตั รไวท่ีบริเวณหนาผาก และหันหนาตัวเลขออก โดยทจ่ี ะตองไม
เห็นตัวเลขนนั้ สวนอกี ฝายหนึง่ จะตองเขยี นการกระจายของตัวเลขน้นั ๆ ตามรปู แบบท่ีครูกำหนด(ไมตองเขียน
คำตอบ)ลงในกระดานไวทบ อรด ฝายท่ไี ดห ยบิ บัตรตัวเลข จะตอ งตอบใหไดวาจำนวนดังกลา วนั้นคือจำนวนใด
12. ถาตอบถูก จะไดคะแนนท้ัง 2 ฝา ย แตถ าตอบผดิ แตฝ ายทเ่ี ขยี นการกระจายนั้นเขียนไดถูกตอ งแลว
ฝายนน้ั จะไดคะแนนเพิม่ อีก 1 คะแนน เปน 2 คะแนน สวนฝา ยที่ตอบผิดจะไมไดคะแนน
13. หากมกี ารตอบผิด เพราะอีกฝายเขยี นรปู การกระจายผิด จะไมมฝี า ยใดท่ีไดร บั คะแนน
14. ครสู รปุ คะแนนของทีมชายและทมี หญิง
ขั้นสรปุ
8. 15. ครูและนักเรยี นรว มกนั สรุปวาการเขยี นรูปกระจายตัวเลข (การเขยี นในรปู ผลบวกคา ของตัวเลขใน
หลักตา ง ๆ (หลักหนว ย หลักสิบ หลกั รอ ย) สามารถเขียนได 2 รปู แบบ คือ การเขียนในรูปการกระจายคา แบบท่มี ีคา
ประจำหลกั และการเขียนในรปู การกระจายคาตวั เลข)
9. นักเรียนทำแบบฝกหัดในหนังสือแบบฝกหัด คณิตศาสตร ป.3 เลม 1 หนวยท่ี 1 เรอื่ ง จำนวนนับไมเกิน
100,000

9. สอื่ การเรยี นร/ู แหลงเรยี นรู
9.1 รูปภาพสม เขง สม
9.2 แถบประโยคสำหรบั เติมคำตอบ
9.3 บตั รตวั เลข
9.4 กระดานไวทบอรด

9.5 หนังสอื แบบฝก หดั คณติ ศาสตร ป.3 เลม 1 หนวยท่ี 1 เร่ือง จำนวนนบั ไมเกนิ 100,000

10. การวดั และประเมนิ ผล
จุดประสงคการเรยี นรู ช้นิ งาน/ เคร่ืองมอื ผู
สูตวั ชีว้ ดั ภาระงาน วิธกี ารประเมนิ การประเมิน ประเมิน เกณฑประเมนิ

- หลักและคาของเลข - แบบฝก หดั - ตรวจแบบฝก หัด - แบบฝก หดั - ครู - รอ ยละ 60

โดดในแตละหลักของ - กจิ กรรมฝก - ตรวจกจิ กรรมฝก - กิจกรรมฝก ผา นเกณฑ

จำนวนนบั ไมเกนิ ทกั ษะ ทักษะ ทักษะ

100,000 - แบบประเมิน - ครู - ระดับคุณภาพ 2
- การนำเสนอผลงาน/ - แบบประเมนิ - ประเมินการ
ผลการทำกิจกรรม การนำเสนอ นำเสนอผลงาน การนำเสนอ นักเรียน ผา นเกณฑ
ผลงาน /ผลการทำกิจกรรม ผลงาน

- พฤตกิ รรมการทำงาน - แบบสงั เกต - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ครู - ระดับคณุ ภาพ 2
พฤติกรรมการ การทำงาน พฤติกรรมการ ผานเกณฑ
รายบคุ คล
ทำงานรายบุคคล รายบคุ คล ทำงานรายบคุ คล

- พฤตกิ รรมการทำงาน - แบบสังเกต - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ครู - ระดบั คณุ ภาพ 2
กลุม พฤติกรรมการ การทำงานกลุม พฤติกรรมการ นกั เรียน ผานเกณฑ
ทำงานกลมุ ทำงานกลุม

- คณุ ลักษณะอนั พึง - แบบประเมนิ - สังเกตความมี - แบบประเมนิ - ครู - ระดบั คณุ ภาพ 2
คณุ ลักษณะ วินัย ใฝเ รียนรู และ คุณลักษณะ ผานเกณฑ
ประสงค
อนั พงึ ประสงค มุงมนั่ ในการทำงาน อนั พึงประสงค

เกณฑการประเมนิ ระดบั คุณภาพ

ประเด็นการ 4 32 1
ประเมิน (ดมี าก) (ด)ี (กำลงั พัฒนา) (ตอ งปรับปรุง)
ทำแบบฝก หดั / ทำแบบฝกหัด/ ทำแบบฝก หดั / ทำแบบฝกหดั /
1. เกณฑก าร แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอ ยา ง แบบทดสอบไดอ ยา ง แบบทดสอบไดอยา ง
ประเมนิ การทำ ถกู ตอ งรอยละ 90 ขน้ึ ไป ถูกตอ งรอยละ 80 - 89 ถูกตองรอยละ 60 - 79 ถกู ตอ งตำ่ กวารอ ยละ 60
แบบฝกหัด/ ทำความเขาใจปญ หา คดิ
แบบทดสอบ วเิ คราะห วางแผน ทำความเขา ใจปญ หา คิด ทำความเขาใจปญ หา คดิ ทำความเขาใจปญ หา คดิ
2. เกณฑการ แกปญ หา และเลือกใช วเิ คราะห วางแผน วเิ คราะห วางแผน วิเคราะห มีรองรอยของ
ประเมินความ วธิ กี ารทีเ่ หมาะสม โดย แกป ญ หา และเลือกใช แกป ญหา และเลอื กใช การวางแผนแกปญ หา แต
สามารถในการ วธิ ีการที่เหมาะสม แต วิธีการไดบางสว น คำตอบ ไมส ำเรจ็
แกปญหา

ประเดน็ การ 4 ระดบั คุณภาพ 1
ประเมนิ (ดมี าก) 32 (ตองปรบั ปรุง)
(ด)ี (กำลงั พัฒนา)
คำนึงถงึ ความสมเหตุสมผล ความสมเหตสุ มผลของ ทไ่ี ดยงั ไมมีความสมเหตุ
ของคำตอบ พรอ มทั้ง คำตอบยังไมด ี ตรวจสอบ สมผล และไมมีการ
ตรวจสอบความถูกตองได ความถกู ตองไมไ ด ตรวจสอบความถกู ตอง
3. เกณฑการ ใชรูป ภาษา และ ใชร ปู ภาษา และ ใชร ูป ภาษา และ ใชร ปู ภาษา และ
ประเมนิ ความ สญั ลกั ษณท าง สญั ลกั ษณท าง สญั ลกั ษณทาง สัญลักษณทาง
สามารถในการ คณิตศาสตรในการ คณติ ศาสตรในการ คณติ ศาสตรในการ คณิตศาสตรในการ
สอ่ื สาร ส่อื สือ่ สาร ส่ือความหมาย สื่อสาร ส่ือความหมาย สื่อสาร ส่อื ความหมาย สอ่ื สาร สอ่ื ความหมาย
ความหมายทาง สรปุ ผล และนำเสนอได สรุปผล และนำเสนอได สรปุ ผล และนำเสนอได สรปุ ผล และนำเสนอ
คณติ ศาสตร อยา งถูกตอง ชดั เจน ถกู ตอง แตขาด ถูกตองบางสวน ไมไ ด
รายละเอยี ดทีส่ มบูรณ
4. เกณฑการ ใชความรูทางคณิตศาสตร ใชความรทู างคณติ ศาสตร ใชความรทู างคณติ ศาสตร ใชความรทู างคณิตศาสตร
ประเมนิ ความ เปนเคร่ืองมือในการ เปนเคร่ืองมือในการ เปนเครื่องมอื ในการ เปนเคร่อื งมือในการ
สามารถในการ เรยี นรคู ณติ ศาสตร เรยี นรูค ณิตศาสตร เรยี นรคู ณติ ศาสตร เรยี นรคู ณติ ศาสตร
เชื่อมโยง เนอื้ หาตา ง ๆ หรือศาสตร เน้อื หาตา ง ๆ หรอื ศาสตร เน้ือหาตาง ๆ หรือศาสตร เนอ้ื หาตา ง ๆ หรือศาสตร
อน่ื ๆ และนำไปใชในชวี ติ อืน่ ๆ และนำไปใชใ นชวี ติ อื่น ๆ และนำไปใชใ นชวี ิต อืน่ ๆ และนำไปใชในชีวิต
จรงิ ไดอยา งสอดคลอง จริงไดบางสว น จรงิ จริง
เหมาะสม
5. เกณฑการ รับฟง และใหเ หตุผล รบั ฟง และใหเ หตุผล รับฟงและใหเ หตุผล รับฟงและใหเหตุผล
ประเมนิ ความ สนับสนุนหรอื โตแยง สนบั สนนุ หรอื โตแ ยง สนับสนนุ หรือโตแ ยง สนับสนุน หรอื โตแ ยง
สามารถในการ เพือ่ นำไปสู การสรปุ โดย เพ่ือนำไปสู การสรุปโดย แตไมน ำไปสกู ารสรุปที่มี ไมไ ด
ใหเหตผุ ล มขี อ เทจ็ จรงิ ทาง มขี อ เท็จจริงทาง ขอเทจ็ จรงิ ทาง
คณติ ศาสตรร องรบั ได คณิตศาสตรรองรับได คณติ ศาสตรร องรบั
อยา งสมบูรณ บางสวน
6. เกณฑการ มคี วามตั้งใจและพยายาม มคี วามตั้งใจและพยายาม มคี วามตั้งใจและพยายาม ไมม ีความต้งั ใจและ
ประเมินความ ในการทำความเขาใจ ในการทำความเขา ใจ ในการทำความเขาใจ พยายามในการทำความ
มมุ านะในการ ปญ หาและแกปญหาทาง ปญหาและแกป ญหาทาง ปญหาและแกปญหาทาง เขาใจปญหาและ
ทำความเขาใจ คณิตศาสตร มีความ คณติ ศาสตร แตไมมี คณติ ศาสตร แตไ มมี แกป ญ หาทาง
ปญ หาและ อดทนและไมท อแทต อ ความอดทนและทอแทต อ ความอดทนและทอแท คณติ ศาสตร ไมม ีความ
แกปญ หาทาง อุปสรรคจนทำให อปุ สรรคจนทำให ตอ อุปสรรคจนทำให อดทนและทอแทตอ
คณติ ศาสตร แกป ญหาทาง แกปญ หาทาง แกปญ หาทาง อปุ สรรคจนทำให
คณติ ศาสตรไดสำเร็จ คณิตศาสตรไดไมสำเร็จ คณติ ศาสตรไดไมสำเรจ็ แกปญ หาทาง
เลก็ นอย เปน สว นใหญ คณติ ศาสตรไดไมส ำเร็จ
7. เกณฑการ มคี วามมุงมั่นในการ มีความมงุ มน่ั ในการ มีความมงุ มน่ั ในการ มคี วามมุง มนั่ ในการ
ประเมินความ ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานแตไมม ีความ
มงุ ม่นั ในการ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเร็จ รอบคอบ สง ผลใหง านไม
ทำงาน เรยี บรอ ย ครบถว น เรยี บรอยสว นใหญ เรยี บรอยสวนนอ ย ประสบผลสำเรจ็ อยา งท่ี
สมบูรณ ควร

ประเดน็ การ 4 ระดบั คุณภาพ 1
ประเมิน (ดีมาก) 32 (ตองปรับปรุง)
(ดี) (กำลงั พัฒนา) มีการคน หาลักษณะท่ี
8. เกณฑการ มกี ารคน หาลักษณะท่ี มกี ารคน หาลักษณะที่ มกี ารคนหาลักษณะที่ เกดิ ข้ึนซำ้ ๆ อยา งดว ย
ประเมินการ เกดิ ขน้ึ ซำ้ ๆ อยา งมี เกิดขนึ้ ซำ้ ๆ อยางมี เกิดขึ้นซำ้ ๆ อยา งมี หลกั การที่ไมถ ูกตอง
คนหาลกั ษณะ หลกั การท่ถี ูกตอง และ หลกั การที่ถูกตอง และ หลักการท่ถี ูกตอง และ และประยุกตใชลกั ษณะ
ทเ่ี กดิ ข้ึนซำ้ ๆ ประยกุ ตใชล ักษณะ ประยุกตใ ชลกั ษณะ ประยุกตใชลักษณะ ดังกลาวเพื่อทำความ
และประยุกตใช ดงั กลาวเพ่ือทำความ ดังกลา วเพ่ือทำความ ดังกลาวเพื่อทำความ เขา ใจหรอื แกปญ หาใน
ลักษณะ เขาใจหรือแกปญหาใน เขา ใจหรือแกป ญ หาใน เขาใจหรอื แกป ญ หาใน สถานการณตาง ๆ ไม
ดังกลาวเพ่ือทำ สถานการณตาง ๆ ได สถานการณตาง ๆ ได สถานการณตาง ๆ ได ถูกตอง
ความเขาใจ อยา งถูกตองเหมาะสม อยางถูกตองเหมาะสม อยางถูกตองเหมาะสม
หรอื แกป ญ หา ครบถวนสมบูรณ สวนใหญ สว นนอ ย
ในสถานการณ
ตา ง ๆ

แผนการจดั การเรียนรูที่ 4
เรือ่ ง การเปรียบเทียบจำนวน

รหสั วชิ า ค 13101 รายวิชา คณิตศาสตร กลุม สาระการเรยี นรู คณิตศาสตร
ช้นั ประถมศกึ ษาปที่ 3/1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปการศึกษา 2565
หนวยการเรยี นรูที่ 1 เรือ่ ง จำนวนนบั ไมเกนิ 100,000 เวลา 2 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนร/ู ตวั ชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผล

ที่เกิดข้ึนจากการดำเนนิ การ สมบัตขิ องการดำเนินการ และการนำไปใช
ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู
ค 1.1 ป.3/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับไมเกิน 100,000 จากสถานการณตา ง ๆ

2. จุดประสงคก ารเรยี นรู
เม่ือเรยี นจบบทเรยี นแลว นกั เรยี นสามารถ

2.1 เปรยี บเทยี บจำนวนไมเ กิน 10,00 ได
2.2 เปรียบเทียบจำนวนไมเ กิน 10,000 โดยใชเ ครอ่ื งหมาย = ≠ > < ไดถ กู ตอง
2.3 บอกวธิ กี ารสงั เกตการเปรียบเทียบจำนวนไมเ กิน 100,000 ได
2.4 ทำแบบฝกหัดไดถูกตอง
2.5 นำความรูไปใชในชวี ิตประจำวนั ได
3. สาระสำคญั
จำนวนสองจำนวน เมอื่ นำมาเปรียบเทียบกนั อาจเทา กัน หรือไมเทา กัน และถา ไมเทากนั อาจมากกวาหรือ
นอ ยกวา โดยจะแทนดวยเคร่ืองหมาย = > <
4. สาระการเรยี นรู
4.1 การเปรียบเทยี บจำนวนสองจำนวนจะใชค ำวา เทา กับ มากกวา นอยกวา ซง่ึ แทนดวยเครื่องหมาย = >
< ตามลำดับโดยพจิ ารณาดังน้ี ถา จำนวนหลักไมเทากัน จำนวนที่มจี ำนวนหลกั มากกวาจะมากกวา
4.2 วิธีการเปรียบเทียบจำนวน
4.3 ตระหนกั ถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
5. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
5.1 การสื่อสารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร
5.2 การเช่ือมโยง
6. สมรรถนะสำคญั ของผูเรียน
6.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
6.2 ความสามารถในการคิด
6.3 ความสามารถในการแกไขปญ หา
6.4 ความสามารถในการใชท ักษะชีวิต
7. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค
7.1 มีวินยั
7.2 ใฝเ รยี นรู
7.3 มงุ ม่นั ในการทำงาน

8. การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
ขนั้ นำ

1. ครแู บงนักเรยี นออกเปนกลุม กลุม ละ 3-4 คน จากน้นั คุณครกู ำหนดโจทยแลวใหน กั เรียนแตละกลมุ ชว ย
บอกจำนวน เชน คุณครูพดู : บอกจำนวนท่ีมีส่หี ลักมา 2 จำนวน นักเรยี นกลุม แรกพดู : 2,400 และ 9,000 (พดู ให
ครบทุกกลุม ตวั เลขหามซำ้ และกลมุ ไหนบอกผิด ใหอ อกจากเกม)

2. เมอื่ พูดครบทุกกลุม คุณครูถามตอโดยเพม่ิ ระดบั ความยากข้นึ ไป แตใ ชเนือ้ หาทเี่ คยเรยี นมาแลว เชน
คณุ ครูพดู : บอกจำนวนหา หลัก ทม่ี ี 2 อยูใ นหลักรอยมา 1 จำนวน นกั เรยี นกลมุ แรกพดู : 10,288 จนถึงกลุมสดุ ทาย

3. เมอ่ื หมดเวลา กลมุ ท่เี หลอื อยู เปน ฝา ยชนะ
ข้นั สอน

4. ครแู ละนกั เรียนรวมกนั อภิปรายวธิ กี ารใชเครอื่ งหมาย = ≠ > < ในการเปรยี บเทียบ (เคร่อื งหมาย = และ
≠ ใชเ ปรยี บเทยี บวา จำนวนหนง่ึ มีคา เทากบั หรือไมเทา กบั อีกจำนวนหนง่ึ สว นเคร่อื งหมาย > และ < ใชเ ปรยี บเทียบ
จำนวนวาจำนวนหนงึ่ มคี ามากกวา อีกจำนวนหน่งึ หรือจำนวนหน่ึงมีคานอยกวาอีกจำนวนหนงึ่ ตามลำดับ) พรอมกับ
ตดิ บัตรเครือ่ งหมาย = ≠ > < และบัตรคำเทากับ ไมเ ทา กบั มากกวา นอ ยกวา ติดบนกระดาน

5. ครูตดิ บัตรตัวเลขบนกระดาน และเลอื กตัวแทนนกั เรียนออกมาติดบัตรเคร่ืองหมาย = หรือ ≠ และ
เครอื่ งหมาย > หรอื < บนกระดาน

6. ครูแบงนกั เรยี นออกเปน 5 กลมุ และใหน ักเรียนทำกจิ กรรม “บานเหด็ เทยี บจำนวน” โดยใหน กั เรยี นแต
ละกลมุ เลอื กหมายเลข 2 หมายเลขจากบา นเหด็ จากนนั้ ครูเลอื กตวั แทนกลมุ ออกมาจบั สลากเครอ่ื งหมาย (เทากบั
ไมเทากับ มากกวา นอ ยกวา ) และใหเขยี นบนกระดาน (เชน 3,432 > 1,928)
ขนั้ สรุป

7. นักเรียนทำกจิ กรรม “เครอ่ื งหมายดนตรี” โดยครูจะสุมแจกบตั รเครอื่ งหมายใหนกั เรยี น จำนวน 3 ชดุ
จากนั้นครจู ะเปด เพลง และใหนักเรียนสงไปบัตรเครอื่ งหมายไปเรอ่ื ย ๆ หากเพลงหยดุ นักเรยี นจะตองตอบคำถาม

8. ครแู ละนกั เรยี นรว มกันสรุปบทเรียน (เครื่องหมายทใ่ี ชใ นการเปรยี บเทียบจำนวนนับสองจำนวน ไดแก =
≠ > และ < หากนำจำนวนนับสองจำนวนมาเปรียบเทยี บกัน จะมคี า เทา กัน มากกวากัน หรอื นอ ยกวา กัน อยางใด
อยางหนง่ึ เทาน้นั )

9. นกั เรยี นทำแบบฝก หัดในหนังสือแบบฝกหดั คณติ ศาสตร ป.3 เลม 1 หนวยที่ 1 เรอื่ ง จำนวนนบั ไมเ กิน
100,000

9. ส่อื การเรียนร/ู แหลง เรียนรู
9.1 บัตรเครอ่ื งหมาย
9.2 บตั รคำ
9.3 บัตรตวั เลข
9.4 บานเหด็ สลากเครื่องหมาย
9.5 ชดุ บัตรเคร่ืองหมาย ประกอบดวย เครื่องหมายมากกวา นอ ยกวา และเทากับ
9.6 Power Point แสดงคำถาม
9.7 เพลงประกอบกิจกรรม
9.8 หนงั สือแบบฝกหดั คณิตศาสตร ป.3 เลม 1 หนว ยที่ 1 เร่ือง จำนวนนับไมเ กนิ 100,000

10. การวัดและประเมินผล เครื่องมอื ผู
จดุ ประสงคการเรยี นรู ชิน้ งาน/
สูตัวชว้ี ดั ภาระงาน วธิ กี ารประเมนิ การประเมิน ประเมิน เกณฑป ระเมิน
- การเปรยี บเทียบ - แบบฝก หัด - ตรวจแบบฝกหดั - แบบฝกหัด - ครู - รอยละ 60
ผานเกณฑ
จำนวน - กิจกรรมฝก - ตรวจกิจกรรมฝก - กจิ กรรมฝก
- ระดบั คณุ ภาพ 2
- การนำเสนอผลงาน/ ทักษะ ทักษะ ทักษะ ผา นเกณฑ
ผลการทำกจิ กรรม - แบบประเมิน - ประเมินการ
การนำเสนอ นำเสนอผลงาน - แบบประเมนิ - ครู - ระดบั คณุ ภาพ 2
ผา นเกณฑ
การนำเสนอ นกั เรยี น
- ระดับคณุ ภาพ 2
- พฤติกรรมการทำงาน ผลงาน /ผลการทำกิจกรรม ผลงาน ผา นเกณฑ
รายบคุ คล - แบบสังเกต - สังเกตพฤติกรรม
พฤติกรรมการ การทำงาน - แบบสังเกต - ระดับคณุ ภาพ 2
ผา นเกณฑ
พฤติกรรมการ - ครู

- พฤติกรรมการทำงาน ทำงานรายบคุ คล รายบคุ คล ทำงานรายบุคคล
กลมุ - แบบสังเกต - สงั เกตพฤติกรรม
พฤติกรรมการ การทำงานกลมุ - แบบสงั เกต

พฤติกรรมการ - ครู

- คุณลักษณะอนั พึง ทำงานกลุม ทำงานกลมุ นักเรียน
ประสงค - แบบประเมิน - สงั เกตความมี
คุณลักษณะ วินัย ใฝเรียนรู และ - แบบประเมิน

คุณลกั ษณะ - ครู

อันพึงประสงค มงุ มน่ั ในการทำงาน อนั พึงประสงค

เกณฑการประเมิน ระดับคณุ ภาพ
32
ประเด็นการ 4 (ด)ี (กำลังพัฒนา) 1
ประเมิน (ดีมาก) (ตอ งปรบั ปรุง)

1. เกณฑก าร ทำแบบฝก หัด/ ทำแบบฝกหดั / ทำแบบฝกหดั / ทำแบบฝกหดั /
ประเมนิ การทำ แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง
แบบฝกหดั / ถูกตอ งรอ ยละ 90 ขึน้ ไป ถูกตองรอ ยละ 80 - 89 ถกู ตอ งรอ ยละ 60 - 79 ถกู ตอ งต่ำกวารอ ยละ 60
แบบทดสอบ
2. เกณฑการ ทำความเขา ใจปญ หา คดิ ทำความเขาใจปญ หา คิด ทำความเขาใจปญ หา คิด ทำความเขาใจปญ หา คดิ
ประเมินความ วิเคราะห วางแผน วเิ คราะห วางแผน วิเคราะห วางแผน วิเคราะห มีรอ งรอยของ
สามารถในการ แกปญ หา และเลอื กใช แกปญหา และเลอื กใช แกปญ หา และเลือกใช การวางแผนแกป ญหา แต
แกป ญหา วธิ ีการทเ่ี หมาะสม โดย วิธกี ารทีเ่ หมาะสม แต วธิ กี ารไดบางสว น คำตอบ ไมสำเร็จ

คำนึงถงึ ความสมเหตสุ มผล ความสมเหตุสมผลของ ทไ่ี ดยงั ไมม ีความสมเหตุ
ของคำตอบ พรอมท้งั คำตอบยังไมด ี ตรวจสอบ สมผล และไมมกี าร
ตรวจสอบความถกู ตองได ความถกู ตอ งไมได ตรวจสอบความถกู ตอง
3. เกณฑการ ใชรูป ภาษา และ ใชร ูป ภาษา และ ใชร ูป ภาษา และ ใชรปู ภาษา และ
ประเมินความ สญั ลักษณท าง สัญลกั ษณทาง สัญลกั ษณท าง สญั ลักษณทาง
สามารถในการ คณิตศาสตรในการ คณติ ศาสตรในการ

ประเดน็ การ 4 ระดับคณุ ภาพ 1
ประเมนิ (ดมี าก) 32 (ตองปรบั ปรุง)
(ดี) (กำลงั พัฒนา)
สอ่ื สาร ส่อื คณิตศาสตรในการ ส่ือสาร ส่อื ความหมาย คณติ ศาสตรในการ สื่อสาร สอ่ื ความหมาย
ความหมายทาง สื่อสาร สอ่ื ความหมาย สรุปผล และนำเสนอได สอื่ สาร ส่อื ความหมาย สรปุ ผล และนำเสนอ
คณิตศาสตร สรปุ ผล และนำเสนอได ถกู ตอง แตข าด สรปุ ผล และนำเสนอได ไมไ ด
อยา งถูกตอง ชดั เจน รายละเอยี ดทีส่ มบูรณ ถกู ตองบางสวน
4. เกณฑการ ใชความรทู างคณติ ศาสตร ใชค วามรูทางคณติ ศาสตร ใชค วามรูทางคณิตศาสตร ใชความรูทางคณิตศาสตร
ประเมินความ เปนเครือ่ งมือในการ เปนเคร่อื งมือในการ เปนเครื่องมือในการ เปนเครอ่ื งมือในการ
สามารถในการ เรยี นรคู ณิตศาสตร เรยี นรูค ณิตศาสตร เรียนรคู ณติ ศาสตร เรยี นรคู ณิตศาสตร
เชือ่ มโยง เน้ือหาตา ง ๆ หรือศาสตร เน้ือหาตา ง ๆ หรอื ศาสตร เน้ือหาตา ง ๆ หรอื ศาสตร เนอ้ื หาตาง ๆ หรือศาสตร
อ่นื ๆ และนำไปใชใ นชวี ติ อน่ื ๆ และนำไปใชใ นชวี ิต อ่ืน ๆ และนำไปใชในชวี ติ อ่ืน ๆ และนำไปใชใ นชวี ิต
จรงิ ไดอยางสอดคลอ ง จริงไดบางสวน จรงิ จรงิ
เหมาะสม
5. เกณฑการ รบั ฟง และใหเหตผุ ล รบั ฟง และใหเหตผุ ล รบั ฟงและใหเหตผุ ล รับฟงและใหเหตผุ ล
ประเมินความ สนับสนุนหรอื โตแยง สนบั สนุน หรือโตแ ยง สนบั สนนุ หรือโตแ ยง สนับสนุน หรือโตแยง
สามารถในการ เพ่อื นำไปสู การสรปุ โดย เพอ่ื นำไปสู การสรปุ โดย แตไมนำไปสูการสรปุ ที่มี ไมไ ด
ใหเหตผุ ล มขี อเท็จจรงิ ทาง มขี อเท็จจรงิ ทาง ขอเทจ็ จรงิ ทาง
คณติ ศาสตรร องรบั ได คณิตศาสตรร องรบั ได คณติ ศาสตรรองรบั
อยางสมบูรณ บางสว น
6. เกณฑการ มีความตง้ั ใจและพยายาม มคี วามตง้ั ใจและพยายาม มคี วามต้งั ใจและพยายาม ไมม ีความตั้งใจและ
ประเมินความ ในการทำความเขา ใจ ในการทำความเขาใจ ในการทำความเขาใจ พยายามในการทำความ
มุมานะในการ ปญ หาและแกปญ หาทาง ปญ หาและแกป ญหาทาง ปญ หาและแกปญหาทาง เขา ใจปญหาและ
ทำความเขาใจ คณติ ศาสตร มีความ คณติ ศาสตร แตไมมี คณติ ศาสตร แตไ มมี แกป ญ หาทาง
ปญ หาและ อดทนและไมทอแทต อ ความอดทนและทอแทต อ ความอดทนและทอแท คณติ ศาสตร ไมม ีความ
แกป ญหาทาง อุปสรรคจนทำให อปุ สรรคจนทำให ตออุปสรรคจนทำให อดทนและทอแทตอ
คณติ ศาสตร แกป ญหาทาง แกปญ หาทาง แกปญหาทาง อุปสรรคจนทำให
คณติ ศาสตรไดสำเร็จ คณติ ศาสตรไดไมสำเรจ็ คณติ ศาสตรไดไมสำเรจ็ แกปญ หาทาง
เลก็ นอ ย เปน สว นใหญ คณิตศาสตรไดไมสำเรจ็
7. เกณฑการ มคี วามมงุ มัน่ ในการ มคี วามมงุ ม่นั ในการ มคี วามมงุ มั่นในการ มีความมงุ มน่ั ในการ
ประเมนิ ความ ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานแตไมมีความ
มงุ มั่นในการ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ รอบคอบ สงผลใหงานไม
ทำงาน เรียบรอ ย ครบถว น เรียบรอ ยสว นใหญ เรียบรอ ยสว นนอย ประสบผลสำเรจ็ อยา งท่ี
สมบูรณ ควร
8. เกณฑการ มีการคนหาลักษณะท่ี มีการคน หาลักษณะท่ี มกี ารคนหาลักษณะที่ มกี ารคน หาลักษณะที่
ประเมินการ เกิดขึ้นซำ้ ๆ อยางมี เกดิ ขน้ึ ซำ้ ๆ อยา งมี เกดิ ข้นึ ซำ้ ๆ อยางมี เกดิ ข้นึ ซำ้ ๆ อยางดวย
คนหาลักษณะ หลักการท่ีถูกตอง และ หลกั การที่ถูกตอง และ หลกั การทถ่ี ูกตอง และ หลักการท่ีไมถูกตอง
ทีเ่ กิดขึ้นซ้ำ ๆ ประยุกตใชลักษณะ ประยุกตใ ชล กั ษณะ ประยกุ ตใชล ักษณะ และประยุกตใ ชล กั ษณะ
และประยุกตใช ดังกลาวเพ่ือทำความ ดงั กลา วเพ่ือทำความ ดงั กลาวเพ่ือทำความ ดังกลา วเพื่อทำความ
ลกั ษณะ เขาใจหรอื แกปญหาใน เขาใจหรือแกปญ หาใน เขา ใจหรือแกป ญหาใน เขา ใจหรอื แกปญ หาใน
ดังกลาวเพื่อทำ สถานการณตาง ๆ ได สถานการณต าง ๆ ได สถานการณต าง ๆ ได

ประเดน็ การ ระดบั คณุ ภาพ
ประเมิน 4 32 1
(ดมี าก) (ดี) (กำลังพัฒนา) (ตอ งปรบั ปรุง)
ความเขาใจ อยางถูกตองเหมาะสม อยางถูกตองเหมาะสม อยางถูกตองเหมาะสม สถานการณต าง ๆ ไม
หรือแกปญหา ครบถว นสมบูรณ สว นใหญ สว นนอย ถูกตอง
ในสถานการณ
ตาง ๆ

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 5
เรือ่ ง การเรียงลำดับจำนวน

รหสั วชิ า ค 13101 รายวิชา คณติ ศาสตร กลุมสาระการเรยี นรู คณติ ศาสตร
ชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 3/1 ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565
หนว ยการเรียนรูท ี่ 1 เร่อื ง จำนวนนับไมเ กนิ 100,000 เวลา 2 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรียนร/ู ตัวชว้ี ัด
มาตรฐานการเรยี นรู
มาตรฐาน ค 1.1 เขาใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของจำนวน ผล

ทเี่ กดิ ข้ึนจากการดำเนินการ สมบัตขิ องการดำเนนิ การ และการนำไปใช
ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู
ค 1.1 ป.3/2 เปรยี บเทียบและเรียงลำดับจำนวนนบั ไมเ กิน ๑๐๐,๐๐๐ จากสถานการณตา ง ๆ

2. จดุ ประสงคก ารเรยี นรู
เม่อื เรยี นจบบทเรยี นแลว นกั เรยี นสามารถ

2.1 บอกหลักการเรยี งลำดับจำนวนจากนอ ยไปมากและจากมากไปนอยได
2.2 เรยี งลำดับจำนวนจากนอยไปมากและจากมากไปนอยได
2.3 เกิดความตระหนักถงึ ความสมเหตุสมผลของคำตอบ
3. สาระสำคญั
การเรยี งลำดบั จำนวน ทำไดโดยหาจำนวนทมี่ ากท่สี ดุ หรือนอยทีส่ ุดกอน แลว นำจำนวนทเ่ี หลือมา
เรยี งลำดบั ตอ ไปและสามารถเรยี งลำดับได 2 แบบ คือ เรียงลำดบั จำนวนจากนอยไปมากและจากมากไปนอย
4. สาระการเรียนรู
4.1 การเรยี งลำดับจำนวนจากนอ ยไปมากและจากมากไปนอย
4.2 วิธีการเรียงลำดับจำนวน
4.3 ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
5. ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
5.1 การสอ่ื สารและการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร
5.2 การเช่อื มโยง
6. สมรรถนะสำคัญของผูเรียน
6.1 ความสามารถในการส่อื สาร
6.2 ความสามารถในการคิด
6.3 ความสามารถในการแกไ ขปญ หา
6.4 ความสามารถในการใชท ักษะชีวติ
7. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค
7.1 มวี นิ ยั
7.2 ใฝเรียนรู
7.3 มงุ ม่ันในการทำงาน

8. การจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน
ขั้นนำ

1. นกั เรยี นจบั คูห รอื แบงกลุม (ตามความเหมาะสม) เพอื่ เลนเกม สรา งจำนวน โดยคุณครูติดบตั รตวั เลข
เชน 3 5 1 บนกระดาน และกำหนดวา ใหนำตวั เลข 3 ตัวนม้ี าสรางเปน จำนวนสามหลกั ท่ีมีคามากท่สี ุดและนอย
ทส่ี ดุ

2. นกั เรียนในกลมุ ชว ยกันคดิ แลววิ่งออกมาเขยี นจำนวนบนกระดาน กลุม ไหนออกมาเขียนกลมุ แรกและ
ถูกตองไดคะแนน ถา ผดิ ใหกลุมตอไปออกมาเขยี นแทน (ขอละ 2 คะแนน)

3. จากนั้น เพิ่มระดบั ความยากเปนตัวเลข 4 หลกั และ 5 หลัก เลน เกมประมาณ 5-10 นาที กลุมไหนได
คะแนนมากท่ีสุด เปน ฝายชนะ
ข้นั สอน

4. ครูตดิ บตั รจำนวน 38 และ 48 บนกระดาน และถามนกั เรยี นวา จำนวนใดมีคามากกวา เปรียบเทยี บกันได
อยา งไร (48 เน่ืองจากคา เลขโดดในหลักสบิ ของจำนวน 48 มคี ามากกวาคาเลขโดดในหลักสบิ ของจำนวน 38 (40
มากกวา 30))

- จากนัน้ ครูตดิ บตั รจำนวนเพิ่ม คือ 32 และถามนักเรยี นวา จำนวน 38 กบั 32 จำนวนใดมคี ามากกวา
เปรียบเทียบกนั ไดอ ยางไร (38 เนื่องจากคาเลขโดดในหลักหนว ยของจำนวน 38 มคี ามากกวา คาเลขโดดในหลัก
หนว ยของจำนวน 32 (8 มากกวา 2)) เพราะฉะน้ัน หากตองการเรยี งลำดับจำนวนจากมากไปนอย สามารถเรยี งได
ดงั นี้ 48 38 32

5. ครูติดบัตรคำ (มากไปนอ ย และ นอ ยไปมาก) และบตั รจำนวนบนกระดานจำนวน 2 ชุด ไดแก 1) 98 78
76 56 13 และ 2) 79 68 54 32 8 และสมุ นักเรียนโดยหยิบไมเรียกชื่อใหมาเรียงลำดับจำนวนจากนอยไปมาก และ
มากไปนอย ตามลำดบั

6. ครูติดรูปสว นประกอบของแฮมเบอรเ กอรที่มจี ำนวนติดอยู และถามนักเรียนวาจากจำนวนบนกระดาน
จะสามารถเรียงลำดับจากมากไปนอยไดอยา งไร และเปรียบเทยี บไดอยางไร (พจิ ารณาคาเลขโดดของตวั เลขในหลัก
รอยกอน แลว จงึ ดคู า เลขโดดของตัวเลขในหลกั สิบ และหลักหนวย ตามลำดับ)

7. ครตู ิดบัตรจำนวนบนกระดานจำนวน 2 ชุด ไดแ ก 1) 764 426 666 664 444 และ 2) 413 391 379
378 218 และสมุ นักเรยี นโดยหยบิ ไมเรยี กช่ือใหมาเรยี งลำดับจำนวนจากนอ ยไปมาก และมากไปนอ ย ตามลำดับ

8. นักเรยี นทำกิจกรรม “เปด สับ เรยี ง” โดยนักเรยี นจะอยูกลมุ เดิมตามกิจกรรมแรก
- ครแู จกบัตรจำนวนใหแ ตละกลุม กลุมละ 15 ใบ และใหน ักเรียนสบั บัตรจำนวนนั้น และหยิบจากดานบน
มา 5 ใบ
- จากนัน้ ใหน ักเรยี นเลอื กวาจะเรยี งลำดับจำนวนดงั กลา วจากนอ ยไปมาก หรอื มากไปนอ ย แตจ ะตอ งคละ
กนั ไมเรียงแบบใดแบบหน่งึ และบันทึกลงในใบงาน
- การทำกจิ กรรมใหเรม่ิ จากคนซายสุดของแถว เมื่อเสรจ็ แลว ใหส งใหค นถัดไป และทำตอ ไปเร่อื ย ๆ ภายใน
เวลา 5 นาที กลุมใดท่ีทำไดจำนวนขอมากที่สุด กลุมน้ันไดรับคะแนนสะสม
ขนั้ สรุป
9. คุณครแู จกกระดาษขนาด A5 ใหน ักเรยี นคนละ 1 แผน เขยี นจำนวนใดก็ไดท ีม่ ีจำนวน 4-5 หลัก ใน
กระดาษคนละ 1 จำนวน (เขียนตวั ใหญใหเห็นชดั  ๆ และไมจำเปนตอ งเหมือนกนั )
10. ใหนกั เรียนออกมายืนเรยี งกัน 4-5 คน พรอมกับถือตัวเลขแสดงจำนวนทเี่ ขยี นใหเพ่ือนดู และอาน
จำนวนพรอ มกนั จากนัน้ ชวยกนั เรียงลำดบั จำนวนทเ่ี พ่ือนถืออยูจ ากนอยไปมากและจากมากไปนอ ย
11. นักเรยี นตวั แทนเรียงลำดับจำนวนตามที่เพ่ือนบอก เมื่อเสรจ็ แลว คณุ ครูตง้ั คำถามวานักเรียนมีวิธีคิด
หรอื สังเกตอยางไร จากนน้ั ชวยกนั ตรวจสอบความถูกตอง (เปลีย่ นกนั ออกมาทำกิจกรรม)

12.ครแู ละนักเรยี นสรุปความรรู วมกันวา เราสามารถเรยี งลำดบั จำนวนได 2 แบบ คือ เรียงลำดบั จำนวนจาก
นอยไปมาก และจากมากไปนอย ซึง่ ใชว ิธกี ารเปรยี บเทยี บ โดยหาจำนวนท่ีมากทส่ี ุด หรือนอยที่สุดกอน แลว นำ
จำนวนท่เี หลอื มาเรียงลำดับตอไป

13. นกั เรยี นทำแบบฝกหัดในหนงั สือแบบฝก หัด คณิตศาสตร ป.3 เลม 1 หนวยท่ี 1 เรอื่ ง จำนวนนบั ไมเกนิ
100,000

9. ส่อื การเรยี นร/ู แหลงเรยี นรู
9.1 บัตรตัวเลข จำนวน
9.2 รปู สวนประกอบของแฮมเบอรเ กอร
9.3 กระดาษ A5
9.4 หนงั สือแบบฝก หัด คณิตศาสตร ป.3 เลม 1 หนวยที่ 1 เรอ่ื ง จำนวนนบั ไมเ กิน 100,000

10. การวัดและประเมินผล
จดุ ประสงคการเรียนรู ชนิ้ งาน/ เครือ่ งมือ ผู
สตู ัวชี้วดั ภาระงาน วธิ ีการประเมนิ การประเมิน ประเมิน เกณฑประเมนิ
- รอ ยละ 60
- การเรยี งลำดับจำนวน - แบบฝก หดั - ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝก หดั - ครู ผานเกณฑ

- กจิ กรรมฝก - ตรวจกจิ กรรมฝก - กิจกรรมฝก - ระดับคณุ ภาพ 2
ผา นเกณฑ
ทักษะ ทักษะ ทักษะ
- การนำเสนอผลงาน/ - แบบประเมิน - ประเมินการ - ระดบั คุณภาพ 2
ผลการทำกิจกรรม - แบบประเมนิ - ครู ผา นเกณฑ

การนำเสนอ นำเสนอผลงาน การนำเสนอ นกั เรยี น - ระดบั คณุ ภาพ 2
ผา นเกณฑ
ผลงาน /ผลการทำกิจกรรม ผลงาน
- พฤติกรรมการทำงาน - แบบสงั เกต - สงั เกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
รายบคุ คล - แบบสงั เกต - ครู ผานเกณฑ

พฤติกรรมการ การทำงาน พฤติกรรมการ

ทำงานรายบคุ คล รายบุคคล ทำงานรายบุคคล
- พฤติกรรมการทำงาน - แบบสังเกต - สังเกตพฤติกรรม
กลมุ พฤติกรรมการ การทำงานกลมุ - แบบสังเกต - ครู

พฤติกรรมการ นกั เรยี น

ทำงานกลมุ ทำงานกลุม
- คณุ ลักษณะอันพึง - แบบประเมิน - สังเกตความมี
ประสงค - แบบประเมนิ - ครู

คณุ ลักษณะ วินัย ใฝเรียนรู และ คณุ ลกั ษณะ

อนั พงึ ประสงค มงุ มั่นในการทำงาน อันพงึ ประสงค

เกณฑก ารประเมนิ ระดับคุณภาพ

ประเดน็ การ 4 32 1
ประเมนิ (ดีมาก) (ด)ี (กำลงั พัฒนา) (ตองปรับปรุง)
ทำแบบฝกหดั / ทำแบบฝก หดั / ทำแบบฝก หดั / ทำแบบฝกหัด/
1. เกณฑการ แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอ ยา ง แบบทดสอบไดอ ยา ง
ประเมินการทำ ถกู ตองรอ ยละ 90 ขึน้ ไป ถูกตอ งรอ ยละ 80 - 89 ถูกตองรอ ยละ 60 - 79 ถูกตอ งตำ่ กวารอ ยละ 60

ประเด็นการ 4 ระดับคณุ ภาพ 1
ประเมิน (ดีมาก) 32 (ตองปรับปรุง)
(ดี) (กำลังพัฒนา)
แบบฝกหัด/
แบบทดสอบ
2. เกณฑก าร ทำความเขา ใจปญ หา คดิ ทำความเขาใจปญ หา คิด ทำความเขาใจปญ หา คดิ ทำความเขา ใจปญ หา คดิ
ประเมนิ ความ วเิ คราะห วางแผน วิเคราะห วางแผน วิเคราะห วางแผน วเิ คราะห มรี องรอยของ
สามารถในการ แกป ญหา และเลอื กใช แกป ญหา และเลอื กใช แกป ญหา และเลอื กใช การวางแผนแกปญหา แต
แกปญ หา วธิ ีการทีเ่ หมาะสม โดย วธิ ีการทเ่ี หมาะสม แต วธิ ีการไดบางสว น คำตอบ ไมสำเรจ็

คำนงึ ถงึ ความสมเหตสุ มผล ความสมเหตุสมผลของ ทไ่ี ดย งั ไมมคี วามสมเหตุ
ของคำตอบ พรอมท้ัง คำตอบยงั ไมด ี ตรวจสอบ สมผล และไมมกี าร
ตรวจสอบความถูกตอ งได ความถกู ตอ งไมไ ด ตรวจสอบความถกู ตอ ง
3. เกณฑการ ใชรปู ภาษา และ ใชร ปู ภาษา และ ใชรูป ภาษา และ ใชรูป ภาษา และ
ประเมินความ สญั ลกั ษณทาง สัญลักษณทาง สัญลกั ษณทาง สญั ลกั ษณทาง
สามารถในการ คณิตศาสตรในการ คณิตศาสตรในการ คณิตศาสตรในการ คณติ ศาสตรในการ
สือ่ สาร ส่อื สื่อสาร ส่อื ความหมาย สือ่ สาร สื่อความหมาย สอื่ สาร สื่อความหมาย สอ่ื สาร สอ่ื ความหมาย
ความหมายทาง สรปุ ผล และนำเสนอได สรุปผล และนำเสนอได สรปุ ผล และนำเสนอได สรปุ ผล และนำเสนอ
คณิตศาสตร อยา งถูกตอง ชัดเจน ถูกตอง แตข าด ถูกตองบางสวน ไมไ ด
รายละเอยี ดท่ีสมบรู ณ
4. เกณฑการ ใชความรทู างคณิตศาสตร ใชค วามรูท างคณติ ศาสตร ใชความรทู างคณิตศาสตร ใชความรทู างคณติ ศาสตร
ประเมนิ ความ เปนเครอื่ งมอื ในการ เปน เครอ่ื งมือในการ เปนเคร่ืองมอื ในการ เปน เคร่ืองมือในการ
สามารถในการ เรยี นรูคณิตศาสตร เรยี นรูคณิตศาสตร เรยี นรูคณติ ศาสตร เรียนรูคณติ ศาสตร
เช่อื มโยง เนื้อหาตา ง ๆ หรือศาสตร เนื้อหาตา ง ๆ หรือศาสตร เนื้อหาตาง ๆ หรือศาสตร เน้อื หาตาง ๆ หรือศาสตร
อื่น ๆ และนำไปใชในชีวติ อ่ืน ๆ และนำไปใชในชวี ิต อ่ืน ๆ และนำไปใชใ นชวี ติ อนื่ ๆ และนำไปใชใ นชวี ิต
จริงไดอยางสอดคลอ ง จรงิ ไดบ างสว น จรงิ จริง
เหมาะสม
5. เกณฑการ รับฟง และใหเ หตุผล รับฟง และใหเ หตุผล รบั ฟง และใหเหตผุ ล รบั ฟง และใหเ หตุผล
ประเมินความ สนบั สนนุ หรอื โตแ ยง สนับสนนุ หรอื โตแ ยง สนับสนนุ หรอื โตแ ยง สนับสนนุ หรอื โตแยง
สามารถในการ เพ่ือนำไปสู การสรปุ โดย เพ่อื นำไปสู การสรุปโดย แตไ มนำไปสูการสรปุ ท่ีมี ไมได
ใหเหตผุ ล มขี อ เทจ็ จรงิ ทาง มีขอ เทจ็ จรงิ ทาง ขอ เท็จจริงทาง
คณิตศาสตรรองรบั ได คณิตศาสตรรองรบั ได คณิตศาสตรร องรบั
อยา งสมบรู ณ บางสวน
6. เกณฑการ มคี วามต้ังใจและพยายาม มีความตง้ั ใจและพยายาม มีความต้งั ใจและพยายาม ไมมีความตงั้ ใจและ
ประเมินความ ในการทำความเขา ใจ ในการทำความเขาใจ ในการทำความเขา ใจ พยายามในการทำความ
มมุ านะในการ ปญ หาและแกปญหาทาง ปญ หาและแกป ญ หาทาง ปญหาและแกปญ หาทาง เขา ใจปญหาและ
ทำความเขาใจ คณิตศาสตร มีความ คณติ ศาสตร แตไ มมี คณิตศาสตร แตไมมี แกปญหาทาง
ปญ หาและ อดทนและไมท อแทต อ ความอดทนและทอแทตอ ความอดทนและทอแท คณิตศาสตร ไมมีความ
แกปญหาทาง อปุ สรรคจนทำให อุปสรรคจนทำให ตออปุ สรรคจนทำให อดทนและทอแทต อ
คณติ ศาสตร แกปญ หาทาง แกป ญ หาทาง แกปญ หาทาง อุปสรรคจนทำให
คณติ ศาสตรไดสำเร็จ คณติ ศาสตรไดไมสำเรจ็ คณติ ศาสตรไดไมส ำเรจ็ แกปญหาทาง
เลก็ นอย เปนสว นใหญ คณติ ศาสตรไดไมส ำเร็จ

ประเดน็ การ 4 ระดับคณุ ภาพ 1
ประเมนิ (ดีมาก) 32 (ตองปรับปรุง)
(ด)ี (กำลังพัฒนา)
7. เกณฑการ มีความมงุ ม่นั ในการ มีความมงุ ม่ันในการ มีความมงุ มนั่ ในการ มคี วามมุงมนั่ ในการ
ประเมินความ ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานแตไมมีความ
มงุ มนั่ ในการ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ รอบคอบ สง ผลใหง านไม
ทำงาน เรียบรอ ย ครบถวน เรียบรอ ยสว นใหญ เรียบรอ ยสวนนอย ประสบผลสำเร็จอยา งที่
สมบูรณ ควร
8. เกณฑการ มีการคน หาลักษณะที่ มกี ารคน หาลักษณะที่ มีการคนหาลักษณะท่ี มีการคนหาลักษณะท่ี
ประเมนิ การ เกดิ ขึ้นซำ้ ๆ อยางมี เกดิ ขน้ึ ซ้ำ ๆ อยางมี เกดิ ข้ึนซ้ำ ๆ อยา งมี เกดิ ข้ึนซ้ำ ๆ อยางดว ย
คน หาลกั ษณะ หลกั การท่ีถูกตอง และ หลกั การทถี่ ูกตอง และ หลกั การท่ีถูกตอง และ หลกั การท่ีไมถ ูกตอง
ที่เกิดข้นึ ซำ้ ๆ ประยุกตใชล ักษณะ ประยุกตใ ชลักษณะ ประยุกตใ ชลักษณะ และประยุกตใ ชลักษณะ
และประยุกตใช ดงั กลาวเพื่อทำความ ดังกลา วเพื่อทำความ ดงั กลาวเพ่ือทำความ ดงั กลาวเพ่ือทำความ
ลกั ษณะ เขาใจหรือแกป ญ หาใน เขาใจหรอื แกปญ หาใน เขาใจหรือแกป ญ หาใน เขาใจหรือแกป ญ หาใน
ดังกลาวเพ่ือทำ สถานการณต าง ๆ ได สถานการณต าง ๆ ได สถานการณตาง ๆ ได สถานการณตาง ๆ ไม
ความเขาใจ อยางถูกตองเหมาะสม อยา งถูกตองเหมาะสม อยา งถูกตองเหมาะสม ถูกตอง
หรือแกปญหา ครบถวนสมบูรณ สว นใหญ สว นนอ ย
ในสถานการณ
ตา ง ๆ

แผนการจัดการเรียนรทู ่ี 6
เรอ่ื ง แบบรปู ของจำนวนทเ่ี พ่ิมขึ้นหรอื ลดลงทีละเทา ๆ กนั

รหัสวชิ า ค 13101 รายวิชา คณติ ศาสตร กลมุ สาระการเรยี นรู คณิตศาสตร
ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ี่ 3/1 ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2565
หนวยการเรียนรทู ี่ 1 เร่อื ง จำนวนนับไมเ กนิ 100,000 เวลา 2 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรียนร/ู ตวั ชีว้ ดั
มาตรฐานการเรียนรู
มาตรฐาน ค 1.1 เขา ใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผล

ท่ีเกิดข้นึ จากการดำเนนิ การ สมบตั ิของการดำเนินการ และการนำไปใช
ตัวชวี้ ัด/ผลการเรียนรู
ค 1.2 ป.3/1 ระบุจำนวนทห่ี ายไปในแบบรปู ของจำนวนที่เพิ่มข้นึ หรือลดลงทลี ะเทา ๆ กนั

2. จุดประสงคการเรียนรู
เม่ือเรียนจบบทเรยี นแลว นกั เรียนสามารถ

2.1 อธิบายแบบรปู ของจำนวนที่เพม่ิ ข้ึนและลดลงทีละเทา  ๆ กันได
2.2 บอกจำนวนทีห่ ายไปในรูปของจำนวนทเ่ี พิ่มขึน้ และลดลงทีละเทา ๆ กันได
2.3 เกิดความตระหนักถึงความสมเหตสุ มผลของคำตอบ
3. สาระสำคัญ
แบบรูปของจำนวนที่เพ่ิมขึ้นเปน การเรยี งลำดบั จำนวนจากนอยไปมาก จำนวนทางขวาจะมากกวาจำนวน
ทางซายที่อยูติดกนั และแบบรูปของจำนวนที่ลดลงเปนการเรยี งลำดับจำนวนจากมากไปนอ ย จำนวนทางขวาจะนอ ย
กวาจำนวนทางซา ยที่อยูติดกัน
4. สาระการเรยี นรู
4.1 แบบรูปของจำนวนท่เี พ่ิมข้นึ หรอื ลดลงทลี ะเทา ๆ กัน
4.2 วิธกี ารหาแบบรูป
4.3 ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
5. ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
5.1 การส่ือสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร
5.2 การเช่อื มโยง
6. สมรรถนะสำคญั ของผูเ รียน
6.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
6.2 ความสามารถในการคิด
6.3 ความสามารถในการแกไ ขปญ หา
6.4 ความสามารถในการใชท ักษะชวี ิต
7. คุณลักษณะอนั พึงประสงค
7.1 มวี ินยั
7.2 ใฝเ รียนรู
7.3 มงุ ม่นั ในการทำงาน

8. การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน
ขนั้ นำ

1. ครูตดิ บัตรภาพแบบรปู บนกระดาน จากนัน้ ถามนกั เรียนวา
− จากรูป 1 ถึงรูป 4 มีลักษณะแตกตางกันอยางไร (มีจำนวนรปู สีเ่ หล่ยี มเพมิ่ ขึ้น)
− รปู 5 จะมีลักษณะอยา งไร (มจี ำนวนรปู สเ่ี หลย่ี มเพ่ิมข้ึน)

ข้นั สอน
2. นักเรยี นรว มกันพิจารณารูป 1 แลว ใชการถาม – ตอบ เพอ่ื ใหน ักเรยี นเขา ใจเก่ยี วกบั แบบรปู ของจำนวนท่ี

เพม่ิ ข้นึ ทีละเทา ๆ กนั ดังน้ี
− รูป 1 มรี ูปสเี่ หลี่ยม ก่ีรูป (6 รูป)
− รปู 2 มีรปู สีเ่ หลย่ี ม ก่ีรูป (9 รูป)
− รปู 3 มรี ปู สี่เหล่ียม กร่ี ปู (12 รปู )
− รูป 4 มีรูปส่ีเหล่ยี ม ก่รี ูป (15 รูป)

3. ครเู ขียนจำนวนรปู สี่เหลีย่ มบนกระดาน 6 9 12 15 … แลวใหนักเรยี นสังเกตวา
จำนวนทีค่ รเู ขยี นนัน้ เปน จำนวนท่เี พิม่ ข้นึ หรือลดลง (เพ่ิมขึ้น)
ถาเปน จำนวนท่ีเพิ่มขึน้ เพิ่มข้ึนทีละเทาไร (เพ่ิมขึน้ ทีละ 3)
คิดไดอยา งไร (นำจำนวนที่อยูตดิ กนั ลบกนั )
จำนวนถดั ไปคือจำนวนใด(18)
คิดไดอยางไร (15 เพ่ิมขึ้น 3 เปน 18)
รูป 5 มีรูปส่ีเหลย่ี มกร่ี ูป (18 รูป)

4. นกั เรยี นวาดรูป 5 ลงในสมุด ครูอธบิ ายวา ตวั อยางนีเ้ ปน ตัวอยา งของแบบรปู ของจำนวนทีเ่ พ่มิ ขนึ้ ทีละ
เทา ๆ กัน โดยเพมิ่ ขึ้นทีละ 3 ซึ่งสามารถหาจำนวนถัดไปไดจาก 15 + 3 = 18

5. ครูอาจถามนักเรยี นวาจำนวนถดั จาก 18 คือจำนวนใด นักเรียนควรตอบไดว าจำนวนถัดจาก 18 คือ 21
เพราะ 18 + 3 = 21

6. ครอู าจถามคำถามทาทายวา รูป 10 มีรปู สี่เหลยี่ มก่ีรปู (33 รปู ) นกั เรียนอาจใชเ วลาในการหาคำตอบครู
อาจแนะโดยใชก ารคูณ เพราะการคณู เปน การบวกซ้ำ ๆ

7. ครตู ิดบัตรตวั เลขท่เี ปนแบบรูปบนกระดาน คอื 162 166 170 174 178 แลว ถามนักเรียนวา จำนวน
ถัดไปคือจำนวนใด

8. จากนนั้ นักเรียนสงั เกตวา 162 166 170 174 178 เปนชุดของจำนวนที่เพ่มิ ขึน้ หรอื ลดลง (เพิ่มขึน้ ) ถา
เพิ่มขึ้น เพิม่ ข้ึนทีละเทาไร (เพิ่มข้นึ ทีละ 4) คดิ ไดอยา งไร (นำจำนวนท่ีอยูติดกันลบกัน) จำนวนถัดไปคือเทา ไร (182)
คิดไดอยา งไร (178 เพ่มิ ขึน้ 4 เปน 182)

9. ครอู ธิบายวา ตวั อยา งนีเ้ ปนตวั อยา งของแบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึน้ ทีละเทา ๆ กัน โดยเพมิ่ ขนึ้ ทลี ะ 4
ซึง่ สามารถหาจำนวนถัดไปไดจาก 178 + 4 = 182

10. ครูอาจถามนักเรยี นวาจำนวนถดั จาก 182 คือจำนวนใด นักเรียนควรตอบไดวา จำนวนถดั จาก 182 คอื
186 เพราะ 182 + 4 = 186 ครูอาจถามคำถามทา ทายวา จำนวนท่ี 10 ในแบบรูปน้ี คือจำนวนใด (198) นักเรียน
อาจใชเวลาในการหาคำตอบครอู าจแนะโดยใชการคูณ เพราะการคูณเปน การบวกซำ้ ๆ

11. ครูตดิ บัตรตัวเลขตวั อยางแบบรปู 117 113 109 105 101 บนกระดาน และถามวา จำนวนถดั ไปคือ
จำนวนใด

12. จากนัน้ นักเรยี นสังเกตวา 117 113 109 105 101 เปนชดุ ของจำนวนทเี่ พ่มิ ข้นึ หรือลดลง (ลดลง) ถา
ลดลง ลดลงทลี ะเทาไร (ลดลงทลี ะ 4) คิดไดอยางไร(นำจำนวนที่อยูต ิดกนั ลบกัน) จำนวนถดั ไปคือจำนวนใด (97) คดิ
ไดอยางไร (101 ลดลง 4 เปน 97)

13. ครอู ธิบายวา ตัวอยา งนี้เปนตวั อยา งของแบบรปู ของจำนวนท่ีลดลงทลี ะเทา ๆ กนั โดยลดลงทลี ะ 4 ซึ่ง
สามารถหาจำนวนถัดไปไดจ าก 101 − 4 = 97 ครอู าจถามนกั เรียนวา จำนวนถัดจาก 97 คือจำนวนใด นกั เรียนควร
ตอบไดว า จำนวนถัดจาก 97 คอื 93 เพราะ 97 − 4 = 93
ข้นั สรปุ

14. คณุ ครแู บงกระดานเปน สองดา น ดานซา ยเปน แบบรูปของจำนวนท่เี พมิ่ ขึน้ ทีละเทา ๆ กนั ดานขวาเปน
แบบรูปของจำนวนทลี่ ดลงทีละเทา ๆ กัน ใหนักเรียนแบงกลมุ กลุม ละ 3-4 คน แจกแถบแบบรปู ของจำนวนที่
เพ่มิ ขนึ้ หรือลดลงใหกลุมละ 1-2 ขอ ตามความเหมาะสม (อาจใชส่อื จากขน้ั นำเสนอความรู)

15. จากน้ันนักเรียนชวยกันดูอกี คร้ังวาเปนแบบรปู ท่เี พ่ิมขึ้นหรือลดลง แลวนำแถบน้นั ไปตดิ บนกระดานให
ถกู ดา น จนครบทุกกลมุ และชว ยกันตรวจสอบความถกู ตอ ง

16. ครแู ละนักเรยี นรวมกันสรุปสิง่ ทไ่ี ดเรียนรู (แบบรปู ของจำนวนท่ีเพ่ิมขึ้นหรอื ลดลงทลี ะเทา ๆ กนั เปน ชดุ
ของจำนวนท่ีมคี วามสมั พันธกันอยา งตอเนอื่ งในลกั ษณะของการเพ่ิมขน้ึ หรือลดลงทีละเทา ๆ กนั )

17. นักเรยี นทำแบบฝก หัดในหนงั สือแบบฝกหดั คณติ ศาสตร ป.3 เลม 1 หนว ยที่ 1 เรอ่ื ง จำนวนนับไมเ กนิ
100,000

9. สอื่ การเรียนรู/แหลงเรยี นรู
9.1 บัตรภาพแบบรูป
9.2 แถบแบบรปู ของจำนวน

9.3 หนังสือแบบฝกหดั คณติ ศาสตร ป.3 เลม 1 หนว ยที่ 1 เร่อื ง จำนวนนบั ไมเ กิน 100,000

10. การวดั และประเมินผล
จดุ ประสงคการเรียนรู ช้ินงาน/ เครื่องมือ ผู
สตู วั ชว้ี ัด ภาระงาน วิธีการประเมนิ การประเมิน ประเมนิ เกณฑประเมนิ

- แบบรูปของจำนวนที่ - แบบฝกหัด - ตรวจแบบฝก หดั - แบบฝก หดั - ครู - รอ ยละ 60

เพมิ่ ข้ึนหรือลดลงทีละ - กจิ กรรมฝก - ตรวจกิจกรรมฝก - กจิ กรรมฝก ผานเกณฑ
เทา ๆ กัน
ทักษะ ทักษะ ทักษะ

- การนำเสนอผลงาน/ - แบบประเมิน - ประเมนิ การ - แบบประเมิน - ครู - ระดับคณุ ภาพ 2
ผลการทำกจิ กรรม การนำเสนอ นำเสนอผลงาน การนำเสนอ นักเรยี น ผานเกณฑ
ผลงาน /ผลการทำกิจกรรม ผลงาน

- พฤตกิ รรมการทำงาน - แบบสังเกต - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกต - ครู - ระดับคณุ ภาพ 2
รายบคุ คล พฤติกรรมการ การทำงาน พฤติกรรมการ ผานเกณฑ
ทำงานรายบคุ คล รายบุคคล ทำงานรายบคุ คล

- พฤติกรรมการทำงาน - แบบสังเกต - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกต - ครู - ระดับคุณภาพ 2
กลมุ พฤติกรรมการ การทำงานกลุม พฤติกรรมการ นักเรียน ผานเกณฑ
ทำงานกลมุ
ทำงานกลมุ

- คุณลักษณะอันพึง - แบบประเมนิ - สังเกตความมี - แบบประเมนิ - ครู - ระดับคณุ ภาพ 2
ประสงค คุณลักษณะ วนิ ยั ใฝเรียนรู และ คณุ ลกั ษณะ ผา นเกณฑ
อนั พึงประสงค มงุ มัน่ ในการทำงาน อันพงึ ประสงค

เกณฑการประเมนิ ระดบั คณุ ภาพ
32
ประเด็นการ 4 (ด)ี (กำลงั พัฒนา) 1
ประเมนิ (ดีมาก) (ตองปรบั ปรุง)

1. เกณฑการ ทำแบบฝก หัด/ ทำแบบฝกหดั / ทำแบบฝกหดั / ทำแบบฝก หัด/
ประเมนิ การทำ แบบทดสอบไดอ ยา ง แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง แบบทดสอบไดอยา ง
แบบฝกหัด/ ถูกตอ งรอยละ 90 ขน้ึ ไป ถกู ตองรอ ยละ 80 - 89 ถูกตอ งรอ ยละ 60 - 79 ถกู ตอ งต่ำกวารอ ยละ 60
แบบทดสอบ
2. เกณฑการ ทำความเขา ใจปญ หา คดิ ทำความเขา ใจปญ หา คิด ทำความเขา ใจปญ หา คดิ ทำความเขาใจปญ หา คดิ
ประเมินความ วิเคราะห วางแผน วิเคราะห วางแผน วิเคราะห วางแผน วเิ คราะห มรี องรอยของ
สามารถในการ แกป ญ หา และเลือกใช แกปญ หา และเลอื กใช แกปญ หา และเลอื กใช การวางแผนแกป ญ หา แต
แกปญ หา วิธีการที่เหมาะสม โดย วธิ ีการทเ่ี หมาะสม แต วธิ กี ารไดบ างสว น คำตอบ ไมสำเร็จ

คำนงึ ถึงความสมเหตสุ มผล ความสมเหตสุ มผลของ ทีไ่ ดยงั ไมมีความสมเหตุ
ของคำตอบ พรอมทง้ั คำตอบยงั ไมด ี ตรวจสอบ สมผล และไมมีการ
ตรวจสอบความถูกตอ งได ความถกู ตองไมไ ด ตรวจสอบความถกู ตอ ง
3. เกณฑการ ใชรปู ภาษา และ ใชรูป ภาษา และ ใชรูป ภาษา และ ใชร ูป ภาษา และ
ประเมินความ สัญลักษณทาง สญั ลกั ษณท าง สัญลักษณท าง สญั ลกั ษณท าง
สามารถในการ คณติ ศาสตรในการ คณติ ศาสตรในการ คณิตศาสตรในการ คณิตศาสตรในการ
สือ่ สาร ส่อื สอ่ื สาร สอ่ื ความหมาย ส่ือสาร สอ่ื ความหมาย สื่อสาร สอ่ื ความหมาย สื่อสาร สอ่ื ความหมาย
ความหมายทาง สรปุ ผล และนำเสนอได สรุปผล และนำเสนอได สรปุ ผล และนำเสนอได สรุปผล และนำเสนอ
คณติ ศาสตร อยางถูกตอง ชัดเจน ถูกตอง แตขาด ถูกตองบางสวน ไมไ ด
รายละเอยี ดที่สมบูรณ
4. เกณฑการ ใชความรทู างคณิตศาสตร ใชความรทู างคณิตศาสตร ใชความรูทางคณติ ศาสตร ใชความรทู างคณิตศาสตร
ประเมนิ ความ เปนเครื่องมือในการ เปนเครอ่ื งมอื ในการ เปน เครือ่ งมอื ในการ เปน เครอ่ื งมอื ในการ
สามารถในการ เรยี นรคู ณิตศาสตร เรยี นรูค ณติ ศาสตร เรยี นรูค ณติ ศาสตร เรียนรูคณติ ศาสตร
เชื่อมโยง เนือ้ หาตาง ๆ หรือศาสตร เนอื้ หาตาง ๆ หรือศาสตร เนือ้ หาตา ง ๆ หรือศาสตร เนอื้ หาตา ง ๆ หรือศาสตร
อื่น ๆ และนำไปใชใ นชวี ิต อ่ืน ๆ และนำไปใชใ นชีวติ อ่นื ๆ และนำไปใชในชีวิต อน่ื ๆ และนำไปใชในชวี ติ
จรงิ ไดอยา งสอดคลอ ง จริงไดบ างสวน จริง จรงิ
เหมาะสม
5. เกณฑการ รบั ฟง และใหเ หตุผล รบั ฟงและใหเหตุผล รับฟงและใหเ หตุผล รบั ฟง และใหเ หตุผล
ประเมินความ สนบั สนุนหรือโตแยง สนบั สนุน หรือโตแยง สนบั สนนุ หรือโตแ ยง สนับสนุน หรอื โตแยง
สามารถในการ เพื่อนำไปสู การสรปุ โดย เพ่อื นำไปสู การสรุปโดย แตไมนำไปสกู ารสรปุ ท่ีมี ไมได
ใหเ หตุผล มขี อ เทจ็ จริงทาง มีขอ เทจ็ จรงิ ทาง ขอเท็จจริงทาง
คณิตศาสตรร องรบั ได คณติ ศาสตรร องรับได คณติ ศาสตรร องรับ
อยา งสมบูรณ บางสว น
6. เกณฑการ มีความตั้งใจและพยายาม มีความตง้ั ใจและพยายาม มีความตงั้ ใจและพยายาม ไมม ีความตง้ั ใจและ
ประเมนิ ความ ในการทำความเขา ใจ ในการทำความเขา ใจ ในการทำความเขา ใจ พยายามในการทำความ
มมุ านะในการ ปญ หาและแกป ญ หาทาง ปญหาและแกปญหาทาง ปญ หาและแกปญ หาทาง เขา ใจปญหาและ
ทำความเขาใจ คณิตศาสตร มีความ คณติ ศาสตร แตไมมี คณติ ศาสตร แตไ มมี แกป ญ หาทาง
ปญหาและ อดทนและไมท อแทต อ ความอดทนและทอแทต อ ความอดทนและทอแท คณติ ศาสตร ไมมีความ
อุปสรรคจนทำให อปุ สรรคจนทำให ตออปุ สรรคจนทำให อดทนและทอแทต อ

ประเด็นการ 4 ระดับคุณภาพ 1
ประเมนิ (ดีมาก) 32 (ตองปรบั ปรุง)
(ดี) (กำลงั พัฒนา)
แกปญ หาทาง แกปญ หาทาง แกป ญหาทาง แกปญ หาทาง อปุ สรรคจนทำให
คณติ ศาสตร คณติ ศาสตรไดส ำเรจ็ คณิตศาสตรไดไมสำเร็จ คณติ ศาสตรไดไมส ำเรจ็ แกป ญหาทาง
เล็กนอย เปนสวนใหญ คณิตศาสตรไดไมสำเร็จ
7. เกณฑการ มีความมุงมั่นในการ มคี วามมุง มนั่ ในการ มคี วามมงุ มน่ั ในการ มีความมงุ มัน่ ในการ
ประเมินความ ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานอยางรอบคอบ จน ทำงานแตไมมีความ
มงุ มัน่ ในการ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ งานประสบผลสำเรจ็ รอบคอบ สง ผลใหงานไม
ทำงาน เรยี บรอย ครบถว น เรียบรอยสว นใหญ เรียบรอ ยสวนนอ ย ประสบผลสำเร็จอยางท่ี
สมบรู ณ ควร
8. เกณฑการ มกี ารคน หาลักษณะท่ี มีการคน หาลักษณะท่ี มกี ารคน หาลักษณะท่ี มีการคนหาลักษณะที่
ประเมินการ เกิดขนึ้ ซำ้ ๆ อยา งมี เกิดข้นึ ซ้ำ ๆ อยางมี เกดิ ข้นึ ซำ้ ๆ อยางมี เกดิ ข้นึ ซำ้ ๆ อยางดวย
คน หาลักษณะ หลักการทีถ่ ูกตอง และ หลักการท่ถี ูกตอง และ หลักการที่ถูกตอง และ หลกั การที่ไมถูกตอง
ที่เกดิ ข้นึ ซ้ำ ๆ ประยุกตใ ชล กั ษณะ ประยุกตใชล กั ษณะ ประยุกตใ ชล กั ษณะ และประยุกตใ ชล ักษณะ
และประยุกตใช ดังกลาวเพ่ือทำความ ดงั กลา วเพ่ือทำความ ดังกลาวเพ่ือทำความ ดังกลา วเพ่ือทำความ
ลักษณะ เขา ใจหรือแกป ญ หาใน เขาใจหรือแกป ญ หาใน เขา ใจหรือแกปญ หาใน เขาใจหรือแกป ญ หาใน
ดงั กลาวเพ่ือทำ สถานการณต าง ๆ ได สถานการณต าง ๆ ได สถานการณต าง ๆ ได สถานการณตาง ๆ ไม
ความเขา ใจ อยา งถูกตองเหมาะสม อยา งถูกตองเหมาะสม อยา งถูกตองเหมาะสม ถกู ตอง
หรือแกปญหา ครบถว นสมบรู ณ สว นใหญ สว นนอย
ในสถานการณ
ตา ง ๆ


Click to View FlipBook Version