The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-10-22 05:10:38

spray-case-2-in-1-11

spray-case-2-in-1-11

เคสโทรศพั ทท์ อู ินวนั
Spray Case 2 in 1

นายจกั กรวี ัตฌ์ หมีมา เลขที่ 7
นายชนสรณ์ ทองมานิตย์ เลขที่ 10
นายพงศกร พรวีรสุนทร เลขท่ี 18
นางสาวนฤเนตร ชมุ นิกาย เลขที่ 28
นางสาวจณิสตา ธรรมเจรญิ เลขท่ี 31

โครงงานนี้เปน็ ส่วนหนึ่งของการศกึ ษาตามหลกั สูตรเทคโนโลยีบัณฑติ
สาขาวชิ าเทคโนโลยีการโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง
ภาควชิ าศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อนำเสนอ

คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
ปีการศึกษา 2564

ลขิ สทิ ธเ์ิ ป็นของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

เคสโทรศพั ทท์ อู นิ วนั

นายจักกรวี ัตฌ์ หมีมา รหสั นักศึกษา 64502160008-7
นายชนสรณ์ ทองมานิตย์ รหสั นักศกึ ษา 64502160011-1
นายพงศกร พรวรี สุนทร รหัสนกั ศึกษา 64502160019-4
นางสาวนฤเนตร ชมุ นกิ าย รหัสนกั ศึกษา 64502160029-3
นางสาวจณิสตา ธรรมเจริญ รหสั นักศกึ ษา 64502160035-0

โครงงานนี้เป็นสว่ นหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรเทคโนโลยบี ัณฑิต
สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารโทรทศั นแ์ ละวิทยกุ ระจายเสียง
ภาควิชาศิลปะการใช้ภาษาไทยเพอื่ นำเสนอ

คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ
ปกี ารศึกษา 2564

ลิขสทิ ธิเ์ ปน็ ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

Spray Case 2 in 1

Mr.Jakkreewat Meema No. 64502160008-7

Mr.Chanasorn Thongmanit No. 64502160011-1

Mr.Pongsakorn Pornweerasoonthon No. 64502160019-4

Miss.Narunetr Choomnikay No. 64502160029-3

Miss.Janidsata Tumjaroen No. 64502160035-0

A PROJECT SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT
OF THE REQUIREMENTS FOR THE BACHELOR OF TECHNOLOGY

(TELEVISION AND RADIO BROADCASTING TECHNOLOGY)
DEPARTMENT OF THE ART OF THAI USAGE IN PRESENTATION

FACULTU OF SCIENCE AND TECHNOLOGY
RAJAMAGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY KRUNGTHEP

ACADEMIC YEAR 2564
COPYRIGHT OF RAJAMANGALA UNIVERSITY

OF TECHNOLOGY KRUNGTHEP



ชือ่ โครงงาน เคสโทรศพั ท์ทอู ินวัน
โดย นายจักกรีวตั ฌ์ หมมี า
นายชนสรณ์ ทองมานติ ย์
สาขาวิชา นายพงศกร พรวรี สนุ ทร
อาจารย์ที่ปรกึ ษาโครงงาน นางสาวนฤเนตร ชมุ นิกาย
ปกี ารศกึ ษา นางสาวจณสิ ตา ธรรมเจรญิ
เทคโนโลยีการโทรทศั นแ์ ละวทิ ยุกระจายเสียง
อาจารยย์ ทุ ธนา นันทวิ ัธวิภา
2564

บทคัดย่อ

ในปจั จุบนั ไดม้ กี ารเกดิ โรคระบาดชนิดหน่ึงที่เปน็ เช้อื ไวรสั สายพนั ธใ์ุ หม่กระจายไปท่ัวโลก โรค
ระบาดชนดิ นี้ มชี ่อื ว่า “โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา2019” หรือ “โรคโควิด-19” ซง่ึ เปน็ โรคติดเช้อื ทรี่ ะบบ
ทางเดินหายใจ มีสมมติฐานว่าไวรัสกลายพันธุ์อาจจะมีแหล่งเริ่มต้นที่ค้างคาวติดเชื้อผ่านสัตว์ตัวกลาง
และคนไปรับเชื้อมาแพร่ระหว่างคนสู่คน เริ่มพบผู้ป่วยครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ.
2019) ท่เี มืองอู่ฮน่ั เมอื งหลวงของมณฑลหเู ป่ย์ ภาคกลางของประเทศจีน มีการพบผู้ตดิ เชอ้ื รายแรกที่
ถกู ตรวจพบนอกประเทศจนี เปน็ คนจีนที่เดินทางมาถึงสนามบินสวุ รรณภมู ิประเทศไทยเม่ือ 8 มกราคม
2563 ลกั ษณะทางแพรร่ ะบาดเชอ้ื ไวรัสสู่กัน มี 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่ 1.การแพร่ระบาดโดยตรงผ่านละออง
สารคัดหลั่งในระยะใกล้กับผู้ติดเชื้อ 2.การแพร่ระบาดโดยการสัมผัสละอองสารคัดหลั่งที่เกาะอยู่ตาม
พื้นผิววัสดุ และ 3.การแพร่ระบาดโดยผ่านอากาศเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมแบบปิดเป็นเวลานาน การ
ปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันการติดเชื้อไวรัส โดยการล้างมือฆ่าเชื้อบ่อยๆ โดยการใช้น้ำยาล้างมือและ
สเปรย์หรือเจลแอลกอฮอล์ และเมื่อออกไปภายนอกจะต้องสวมใส่หน้ากากอนามัยทุกครั้ง พยายาม
หลีกเลี่ยงสถานที่ผู้คนแออัด มีการเว้นระยะห่างจากผู้อื่นอย่างน้อย 1 เมตร อย่างไรก็ตามผู้คนก็ยังคง
ต้องมีการพกของใช้อื่นๆในชีวิตประจำวันอยู่อีกมาก อาทิเช่น กระเป๋าเงิน กุญแจรถ กุญแจบ้าน
โทรศัพท์มือถือ จากในช่วงที่มกี ารเกดิ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 แบบนี้ผู้คนจึงตอ้ ง



มีของที่ต้องพกพาเพื่อช่วยป้องกันเชื้อไวรัสเพิ่มขึ้น และนั้นก็คือการพกพาสเปรย์หรือเจลแอลกอฮอล์
กับหนา้ กากอนามัยติดตัวอยูเ่ สมอ แต่ถึงอยา่ งน้นั ผคู้ นกย็ งั มีโอกาสทจี่ ะพลาดลมื พกเอาสเปรย์หรือเจล
แอลกอฮอล์ติดตวั มาด้วย ดังน้นั ผลทผี่ ู้จดั ทำคดิ ได้ออกมานน้ั ก็คอื การนำเคสโทรศัพท์มือถือท่ีติดอยู่กับ
โทรศัพท์มือถือที่ใช้อยู่เป็นประจำมาผสมรวมกันกับสเปรย์หรือเจลแอลกอฮอล์ที่ติดอยู่ด้านหลัง ทั้งยัง
สามารถปรับเปลี่ยนทำมาเป็นที่ขาตั้งวางโทรศัพท์มือถือได้อีกด้วย จากแนวคิดข้างต้นผู้จัดทำจึงมี
แนวคิดที่จะผลิต spray case 2 in 1 ซึ่งจะส่งผลใหล้ ดปริมาณในการพกพาสิ่งของ และเพื่อที่ผู้คนจะ
ไม่พลาดในการลืมพกพาสเปรย์หรือเจลแอลกอฮอล์ รวมไปถึงเป็นการเพิ่มประโยชน์ในการใช้งาน
สิง่ ของได้เพิม่ ข้ึน



Project Spray Case 2 in 1
Author Mr.Jakkreewat Meema
Mr.Chanasorn Thongmanit
Major Mr.Pongsakorn Pornweerasoonthon
Advisor Miss.Narunetr Choomnikay
Academic Year Miss.Janidsata Tumjaroen
Television and Radio Broadcasting Technology
lecturer Yuttana Nantiwatwipha
2021

Abstract

At present, there is an epidemic that is a new strain of virus spread around the
world. This epidemic is called "Coronavirus Disease 2019" or "Covid-19", which is an
infectious disease that affects the respiratory system. It is hypothesized that the mutant
virus may have originated in which bats infect through intermediate and human-
transported animals and spread from person to person. The first patient was found in
December 2019 (2019) in Wuhan. capital city of Hubei province central china the first
infected person detected outside China was a Chinese person who arrived at
Suvarnabhumi Airport, Thailand on January 8, 2020. There are 3 types of virus
transmission paths: 1. Direct transmission through droplets. secretions in close
proximity to the infected person 2. Epidemic by exposure to droplet secretions that
settle on surfaces and 3. through airborne epidemic in a closed environment for a long
time. Actions to prevent viral infection by frequent hand washing by using hand
sanitizer and spray or alcohol gel and when going outside, you must wear a mask every
time. Try to avoid crowded places. Have a distance of at least 1 meter from others.



However, people still need to carry a lot of other daily necessities such as wallets, car
keys, house keys, cell phones. From the time of the epidemic situation of COVID-19 In
this way, people need to carry more items to help prevent the virus. And that is to
always carry a spray or alcohol gel and a mask with you. But even then, people still
have the chance to forget to bring a spray or alcohol gel with them. Therefore, the
result that the authors have come up with is that the mobile phone case that is
attached to the mobile phone that is regularly used is mixed with spray or alcohol gel
attached to the back. It can also be modified to be made into a mobile phone stand
as well. From the above concept, the organizer has an idea to produce a spray case 2
in 1 , which will result in reducing the amount of carrying things. And so that people
don't miss out on forgetting to carry spray or alcohol gel. as well as to increase the
usefulness of using more items.



กิตติกรรมประกาศ

โครงงาน Spray Case 2 in 1 สำเร็จลุลว่ งได้ดว้ ยความกรุณาชว่ ยเหลอื แนะนำ ให้คำปรกึ ษา
ตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่งจาก อาจารย์ยุทธนา นันทิวัธวิภา
อาจารย์ผ้สู อนประจำวชิ าศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อนำเสนอ 1111207 ผเู้ ขยี นกราบขอบพระคุณเป็น
อย่างสงู

ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครอง ที่ให้คำปรึกษาในเรื่องตา่ งๆ รวมทั้งเปน็
กำลังใจท่ดี เี สมอมา

ขอบคุณห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ที่เป็นแหล่งข้อมูลสำหรับการทำ
โครงงานได้เป็นอยา่ งดี

ขอบคุณเพ่ือนๆ ทช่ี ่วยใหค้ ำแนะนำดๆี เกี่ยวกับการเลอื กคำ และเก่ยี วกบั โครงงานชิ้นน้ี
สุดท้ายนี้ผู้จัดทำหวังว่าโครงงาน Spray Case 2 in 1 จะเป็นประโยชน์และสามารถ
ตอบสนองกับการใช้ชีวิตประจำวันและสถานการการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ใน
ปัจจบุ ันได้

คณะผจู้ ดั ทำ
นายจักกรวี ัตฌ์ หมีมา
นายชนสรณ์ ทองมานิตย์
นายพงศกร พรวรี สนุ ทร
นางสาวนฤเนตร ชุมนกิ าย
นางสาวจณิสตา ธรรมเจริญ



คำนำ

โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อนำเสนอ หลักสูตร
เทคโนโลยีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื ผลติ Spray Case 2 in 1
เคสโทรศัพท์มือถือที่สามารถพกสเปรย์แอลกอฮอล์ไปในตัวเพื่อตอบสนองกับสถานการณ์การใช้ชีวิต
ในชว่ งวกิ ฤตการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โควดิ -19

ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า Spray Case 2 in 1 จะเป็นประโยชน์และสามารถตอบสนองกับ
การใชช้ ีวิตประจำวันและสถานการการแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโควดิ -19 ในปัจจุบันได้

นายจกั กรวี ตั ฌ์ หมมี า
นายชนสรณ์ ทองมานติ ย์
นายพงศกร พรวรี สุนทร
นางสาวนฤเนตร ชุมนกิ าย
นางสาวจณสิ ตา ธรรมเจรญิ

สารบัญ ช

เร่อื ง หนา้

บทคัดยอ่ ก
Abstract ค
กติ ติกรรมประกาศ จ
คำนำ ฉ
สารบัญ ช
สารบญั ตาราง ฌ
สารบญั ภาพ ญ
บทท่ี 1 บทนำ 1
1
1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั 3
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 3
13. กรอบแนวคิด 4
1.4 วิธีการดำเนินงาน 4
4
1.4.1 ศกึ ษาปญั หาและแนวทางแก้ไขปัญหา 5
1.4.2 ศกึ ษาเอกสารงานวจิ ัย 5
1.4.3 ผลิตชน้ิ งาน 5
1.4.4 นำเสนอ 5
1.5 ขอบเขต 5
1.5.1 คณะผจู้ ดั ทำ 5
1.5.2 ระยะเวลาการทำงาน 6
1.5.3 สถานท่ี 6
1.5.4 กลุ่มเป้าหมาย
1.6 ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 7
7
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง 7
2.1 เอกสารทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 9
2.1.1 ความรู้เรื่องโรคโควิด-19
2.1.2 แนวทางการปอ้ งกันโรคโควิด-19



สารบญั (ตอ่ )

เร่อื ง หนา้
2.1.2.1 แนวทางการปฏิบัติสำหรบั กลุ่มเสี่ยง คำแนะนำสำหรับ 9
ผสู้ งู อายุและผทู้ ีอ่ ย่รู ่วมกบั ผสู้ งู อายุ
2.1.2.2 คำแนะนำสำหรับผูท้ มี่ โี รคประจำตัว 10
2.1.2.3 คำแนะนำสำหรบั กล่มุ เดก็ เลก็ ท่มี อี ายตุ ่ำกว่า 5 ปี 11
2.1.2.4 คำแนะนำสำหรบั หญงิ ตัง้ ครรภห์ ญิงหลังคลอด 11
2.1.2.5 คำแนะนำสำหรับการดแู ลทารกแรกเกดิ 12
13
2.1.3 ความรู้เรอ่ื งโทรศพั ท์มือถือ 14
2.1.4 ความร้เู รื่องการใช้สเปรยแ์ อลกอฮอล์ 16
2.1.5 ความรูเ้ ก่ยี วกบั เคสโทรศพั ท์ 18
2.1.6 ความรู้เกย่ี วกบั ซิลโิ คน 18
2.2 งานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้อง
23
บทที่ 3 วิธกี ารดำเนินงาน 23
3.1 ตารางแผนการดำเนนิ งานวนั ท่ี 26 มถิ ุนายน ถึง 21 ตลุ าคม 2564 24
3.2 วสั ดุอปุ กรณแ์ บบจำลอง 25
3.3 แบบกราฟกิ จำลอง Spray Case 2 in 1 26
3.4 วธิ ดี ำเนินงานแบบจำลอง 26
3.4.1 สว่ นเคสโทรศพั ท์ 27
3.4.2 สว่ นของขาต้ังโทรศัพท์ 29
3.4.3 สว่ นเคสสเปรยแ์ อลกอฮอล์ 30
3.4.4 สว่ นของขวดสเปรย์แอลกอฮอล์

บรรณานกุ รม

สารบัญตาราง ฌ
หนา้
ตารางที่
ตารางที่ 3.1 ตารางแผนการดำเนนิ งาน



สารบัญภาพ หนา้

ภาพท่ี
2.1 สเปรย์แอลกอฮอลพ์ กพา
2.2 เคสโทรศพั ทม์ อื ถอื แบบยืดหยุ่น
2.3 เคสโทรศพั ท์มือถือแบบแขง็
2.4 เคสโทรศพั ทม์ ือถือแบบหนงั
3.1 ภาพกราฟฟิกจำลอง Spray Case 2 in 1
3.2 การดาษลงั ทรงสเ่ี หลี่ยมขนาด 9.7 x 18 เซนติเมตร
3.3 การดาษลงั ทพ่ี ับทรงคลา้ ยเคสโทรศพั ท์
3.4 กระดาษลงั ทเี่ จาะรูมุมขวาเปน็ ทรงสเ่ี หล่ยี ม ขนาด 2 x 3 เซนติเมตร
3.5 กระดาษลงั ทรงส่เี หล่ียม ขนาด 4 x 19 เซนติเมตร
3.6 กระดาษลงั สีเ่ หล่ียม ขนาด 9 x 10.5 เซนติเมตร
และรา่ งเส้นขนาด 7 x 9 เซนตเิ มตร
3.7 ประกอบการดาษลงั ที่เปน็ สว่ นเคสโทรศพั ท์กับท่ีลองเสสเปรยแ์ อลกอฮอล์
3.8 กระดาษลงั ทรงสเี่ หลย่ี ม ขนาด 12 x 12 เซนตเิ มตรทต่ี ดั มมุ ออก
3.9 กระดาษลงั ท่พี ับกล่องสเ่ี หลีย่ ม
3.10 ประกาฐเคสสเปรย์แอลกอฮอลก์ บั ทล่ี องตดิ อยูก่ บั ขาตง้ั
3.11 กระดาษลงั ทรงสีเ่ หลยี่ ม ขนาด 6 x 7 เซนตเิ มตรที่ระบายสี

1

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา

ในปัจจุบนั ได้มีการเกดิ โรคระบาดชนิดหน่ึงทีเ่ ป็นเชื้อไวรสั สายพันธุ์ใหมก่ ระจายไปทั่วโลก โรค
ระบาดชนดิ น้ี มีช่อื วา่ “โรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา2019” หรอื “โรคโควดิ -19” ซ่งึ เป็นโรคติดเช้ือท่รี ะบบ
ทางเดินหายใจ มีสมมติฐานว่าไวรัสกลายพันธุ์อาจจะมีแหล่งเริ่มต้นที่ค้างคาวติดเชื้อผ่านสัตว์ตัวกลาง
และคนไปรับเชื้อมาแพร่ระหว่างคนสู่คน เริ่มพบผู้ป่วยครั้งแรกเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ.
2019) ที่เมืองอู่ฮั่น เมืองหลวงของมณฑลหูเป่ย์ ภาคกลางของประเทศจีน ซึ่งเป็นเมืองใหญ่มีผู้คน
หนาแนน่ จงึ เกิดการระบาดใหญไ่ ดร้ วดเรว็ การปอ้ งกันและการดูแลรกั ษาเปน็ ไปอย่างฉุกเฉนิ ด้วยความ
ไม่พร้อมมีผู้ป่วยหนักและตายมากเกินกว่าที่ควรจะเป็นจนประเทศจีนต้องปิดเมืองอู่ฮั่น และปิด
ประเทศในที่สุด ต่อมาประเทศจีนแถลงเมื่อ 31 ธันวาคม 2562 ว่าได้เกิดโรคระบาดนี้ในประเทศใน
ขณะนี้ประเทศจีนสามารถควบคุมการระบาดได้ แต่โดยธรรมชาติของโรคติดเชื้อแล้วจะยังมีแหลง่ ของ
เชอื้ น้ีอยู่ ผตู้ ิดเชอื้ รายแรกที่ถกู ตรวจพบนอกประเทศจีนเป็นคนจีนที่เดินทางมาถึงสนามบินสุวรรณภมู ิ
ประเทศไทยเมื่อ 8 มกราคม 2563 และประเทศไทยแถลงการตรวจพบเมื่อ 13 มกราคม 2563
หลังจากนั้นมีผู้ป่วยหลายรายที่มาจากประเทศอื่นส่วนผู้ที่ติดเชื้อที่รับเชื้อในประเทศไทยรายแรก
มีการรายงานเมื่อ 31 มกราคม 2563 โดยรับเชื้อจากคนที่ติดเชื้อที่มาจากประเทศจีน (สยมพร ศิริ
นาวิน, 2563, หนา้ 11-12)

ลักษณะทางแพร่ระบาดเชื้อไวรัสสู่กัน มี 3 ลักษณะ ได้แก่ การแพร่ระบาดโดยตรงผ่านละออง
สารคัดหลั่งในระยะใกล้กับผู้ติดเชื้อ เช่น จาม ไอ หรือพูดคุย เป็นต้น การแพร่ระบาดโดยการสัมผัส
ละอองสารคัดหลั่งที่เกาะอยู่ตามพื้นผิววัสดุ เมื่อสัมผัสโดนตัวหรือจับต้องใช้งานหลังจากนั้นนำไป
สัมผัสที่ปาก จมูก หรือดวงตา เป็นต้น และ การแพร่ระบาดโดยผ่านอากาศเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อม
แบบปิดเปน็ เวลานานและมปี ริมาณละอองของไวรสั เข้มขน้ สูงกอ็ าจจะเกดิ การแพร่เช้อื ไดเ้ ช่นกัน

การปฏิบัติตัวเพื่อการป้องกันการตดิ เชื้อไวรัส โดยการล้างมือฆ่าเช้ือบ่อยๆ โดยการใช้น้ำยาล้าง
มือและสเปรย์หรือเจลแอลกอฮอล์ การมีมารยาทในการไอหรือจาม และเมื่อออกไปภายนอกจะต้อง
สวมใส่หนา้ กากอนามยั ทุกครงั้ พยายามหลกี เล่ยี งสถานท่ผี ้คู นแออัด มกี ารเว้นระยะห่างจากผอู้ ื่นอย่าง
น้อย 1 เมตร ( คณะกรรมการสุขภาพแห่งมณฑลหยุนหนาน มหาวิทยาลัยการแพทย์คุนหมิง, 2563,
หนา้ 3-18)

ในสถานการณ์เช่นนี้การดูแลตนเองเป็นสิ่งที่ผู้คนต้องทำเป็นอย่างแรกเพื่อป้องกันและ
หลีกเลี่ยงโอกาสเสี่ยงการติดเชื้อไวรัส แต่อย่างไรก็ตามอาจมีความจำเป็นที่จะต้องออกไปข้างนอก

2

อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้นอกจากการป้องกันไวรัสด้วยหน้ากากอนามัยกับสเปรยห์ รือเจลแอลกอฮอลแ์ บบ
พกพา ถือเป็นสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่เราขาดไม่ได้และจำเป็นต้องมีติดตัวเป็นอย่างยิ่ง นอกจาก
แอลกอฮอล์ในรูปแบบเจลที่นิยมใช้กันแล้วก็ยังมีผลิตภัณฑ์ในรูปแบบอื่น ๆ ที่สามารถหยิบมาใช้งาน
เพื่อฆ่าเชื้อโรคได้อย่างสะดวกเหมือนกัน แอลกอฮอล์ในรูปแบบเจลล้างมือที่นิยมพกพากันมากที่สุด
เพราะความสะดวกในการใช้งานที่นอกจากจะพกพาไปไหนได้แล้วก็ยังทำความสะอาดและฆ่าเชื้อโรค
ได้ภายใน 20-30 วินาทโี ดยไม่ตอ้ งล้างออกซำ้ อีกครงั้ ซึ่งสะดวกและรวดเร็วกวา่ การล้างดว้ ยนำ้ และสบู่
หลายขั้นตอน แถมยังมีการเพิ่มสารให้ความชุ่มชื้นเข้าไปทำให้ผิวหนังไม่แห้งอีกด้วย แอลกอฮอล์ใน
รูปแบบสเปรย์สามารถใช้งานได้ครอบคลุมตั้งแต่การฉีดพ่นในบริเวณต่างๆ อย่างห้องน้ำสาธารณะ
ลูกบิดประตู หรือของใช้ต่างๆที่มีการสัมผัสร่วมกับผู้อื่น เพื่อลดการสะสมของเชื้อโรครวมถึงยังใช้
สำหรับฉีดพ่นมือแทนเจลแอลกอฮอล์ได้ด้วย แอลกอฮอล์ในรูปแบบแผ่นหรือสำลีที่ชุบแอลกอฮอล์มา
ให้พร้อมใช้งานเป็นการช่วยลดขั้นตอนและทำให้ใช้งานได้สะดวกขึ้นเยอะ ( kamonchanok.L,
ออนไลน์, 2563; อา้ งจาก รตคิ ุณ ชูศิร,ิ 2564, หนา้ 3)

อย่างไรก็ตามผู้คนก็ยังคงต้องมีการพกของใช้อื่นๆในชีวิตประจำวันอยู่อีกมาก อาทิเช่น กระเปา๋
เงิน กุญแจรถ กุญแจบ้าน โทรศัพท์มือถือที่ในส่วนใหญ่จะมีการสวมใส่เคสโทรศัพท์มือถือเพื่อช่วย
ป้องกนั การกระแทกไวด้ ว้ ย หรอื ในบางคร้งั เรากม็ กี ารซือ้ ของแลว้ ตอ้ งถอื ของเพ่ิมขึน้ อีกซงึ่ จะลำบากใน
การถือสิ่งของหลายๆอย่างมาก และในช่วงที่มีการเกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
อยู่แบบนี้เราจึงต้องมีของที่ต้องพกพาเพื่อช่วยป้องกันเชื้อไวรัสเพิ่มขึ้น และนั้นก็คือการพกพาสเปรย์
หรือเจลแอลกอฮอล์กับหน้ากากอนามัยติดตัวอยู่เสมอ แต่ถึงอย่างนั้นผู้คนก็เคยมีโอกาสบางครั้งที่จะ
พลาดลืมพกเอาสเปรย์หรือเจลแอลกอฮอล์ติดตัวมาด้วย เนื่องจากผู้คนยังมีของที่ต้องพกติดตัวอย่าง
อื่นอยู่อีกเยอะนั่นเอง จึงทำให้ผู้จัดทำมีแนวคิดที่จะผลิตสิ่งของที่นำมาจากสิ่งที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
หรือพกพาบ่อยๆมารวมกันกับสเปรย์หรือเจลแอลกอฮอล์ และผลที่ผู้จัดทำคิดได้ออกมานั้นก็คือการ
นำเคสโทรศัพท์มือถือที่ติดอยู่กับโทรศัพท์มือถือที่ใช้อยู่เป็นประจำมาผสมรวมกันกับสเปรย์หรือเจล
แอลกอฮอล์ทีต่ ิดอย่ดู า้ นหลังท่ยี ังสามารถปรบั เปลีย่ นทำมาเป็นทีข่ าต้ังวางโทรศัพทม์ อื ถือไดอ้ ีก

จากแนวคิดข้างต้นผู้จัดทำจึงมีแนวคิดที่จะผลิต spray case 2 in 1 คือเคสโทรศัพท์มือถือท่ี
สามารถพกสเปรย์แอลกอฮอล์ไปในตัว ซึ่งจะส่งผลให้ลดปริมาณในการพกพาสิ่งของ และเพื่อที่ผู้คน
จะไม่พลาดในการลืมพกพาสเปรย์หรือเจลแอลกอฮอล์ รวมไปถึงเป็นการเพิ่มประโยชน์ในการใช้งาน
สง่ิ ของไดเ้ พ่มิ ข้ึน

3
1.2 วัตถปุ ระสงค์

เพื่อผลิตเคสโทรศัพท์มือถือที่สามารถพกสเปรย์แอลกอฮอล์ไปในตัวเพื่อตอบสนองกับ
สถานการณ์การใชช้ ีวิตในชว่ งวิกฤตการแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโควิด-19
1.3 กรอบแนวคิด

ประชุมกับเพอ่ื นในกลุ่มว่าจะทำโครงงานอะไร โดยการใช้วธิ คี ิดแบบตาราง

นำเสนอแนวคดิ ใหอ้ าจารยผ์ สู้ อนประจำวชิ า

4

ปรับปรุงขอ้ มลู ท่ีผิดพลาด แลว้ นำเสนออาจารยผ์ สู้ อนประจำวิชา

ดำเนนิ การผลติ เคสโทรศพั ทม์ ือถือท่ีสามารถพกสเปรย์แอลกอฮอล์ได้

นำผลงานท่ีเสรจ็ แล้วมาเสนออาจารย์ผสู้ อนประจำวิชา

1.4 วิธกี ารดำเนนิ งาน
1.4.1 ศกึ ษาปัญหาและแนวทางแก้ไขปญั หา
ปัญหา จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด–19 ทำให้ผู้คนหันมาพก

สเปรย์แอลกอฮอล์ แต่ยังมีคนบางกลุ่มมีความหลงลืมที่จะพกสเปรย์แอลกอฮอล์เพราะการพกสเปรย์
แอลกอฮอล์พึ่งเข้ามามบี ทบาทในการใชช้ วี ิตในปจั จุบนั

แนวทางการแก้ไขปัญหา เมื่อเปรียบเทียบกับการพกโทรศัพท์มือถือแล้ว โทรศัพท์มือถือมี
บทบาทที่สำคัญในการใช้ชวี ิต ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการทำงาน ติดต่อสื่อสาร การดูเวลา การค้นหา
ข้อมูล ทำให้ผู้คนไม่ลืมที่จะพกโทรศัพท์มือถือ ผู้จัดทำจึงได้ผลิตเคสโทรศัพท์มือถือที่สามารถพก
สเปรยแ์ อลกอฮอล์ ทำใหล้ ดปัญหาการหลงลมื การพกสเปรยแ์ อลกอฮอล์

1.4.2 ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั
ผู้จัดทำได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยต่างๆ เพื่อมาเป็นแนวทางในการผลิตเคสโทรศัพท์มือถือ
ที่สามารถพกสเปรย์แอลกอฮอล์ได้

5

1.4.3 ผลติ ชนิ้ งาน

เมื่อได้แนวคิดและวิธีการผลิต ผู้จัดทำได้ดำเนินการผลิตเคสโทรศัพท์มือถือที่สามารถพก
สเปรยแ์ อลกอฮอล์ได้

1.4.4 นำเสนอ

เมื่อผลิตเคสโทรศัพท์มือถือที่สามารถพกสเปรย์แอลกอฮอล์ได้แล้ว ผู้จัดทำได้ทำการเสนอ
ให้กับอาจารย์ผูส้ อนประจำวิชา

1.5 ขอบเขต หมมี า เลขที่ 7
1.5.1 คณะผ้จู ัดทำ ทองมานิตย์ เลขที่ 10
1. นายจักกรวี ตั ฌ์ พรวรี สนุ ทร เลขท่ี 18
2. นายชนสรณ์ ชุมนิกาย เลขที่ 28
3. นายพงศกร ธรรมเจรญิ เลขที่ 31
4. นางสาวนฤเนตร
5. นางสาวจณิสตา

1.5.2 ระยะเวลาการทำงาน
วนั ท่ี 26 มถิ ุนายน 2564 ถงึ วนั ท่ี 21 ตุลาคม 2564

1.5.3 สถานที่
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ

6

1.5.4 กลุม่ เปา้ หมาย
บคุ คลทวั่ ไป

1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รบั
1.6.1 สามารถผลติ เคสโทรศัพท์มอื ถอื และสเปรยแ์ อลกอฮอล์ สำหรับฆา่ เช้อื ในเคสเดยี ว

เคสไหนไม่จบจบทีเ่ คสเรา
1.6.2 สามารถแก้ปัญหาการลืมสเปรย์แอลกอฮอล์ล้างมือก่อนจับโทรศัพท์มือถือ หรือกิน

อาหารสามารถล้างได้ทันทีก่อนเลน่ โทรศัพทม์ ือถอื
1.6.3 สามารถนำไปใช้กับสถานการณ์ในปจั จุบนั ได้เปน็ อย่างดี

7

บทที่ 2
เอกสารและงานวิจยั ที่เก่ยี วขอ้ ง

ในการผลิต spray case 2 in 1 ผู้จัดทำได้กำหนดเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ดงั นี้

2.1 เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง
2.1.1 ความรเู้ ร่ืองโรคโควิด-19
2.1.2 แนวทางการป้องกันโรคโควดิ -19
2.1.2.1 แนวทางการปฏิบัติสำหรับกลุ่มเสี่ยง คำแนะนำสำหรับผู้สูงอายุ

และผทู้ ีอ่ ยู่รว่ มกับผสู้ ูงอายุ
2.1.2.2 คำแนะนำสำหรับผูท้ ่มี โี รคประจำตวั
2.1.2.3 คำแนะนำสำหรบั กลุ่มเด็กเล็กทม่ี อี ายตุ ำ่ กว่า 5 ปี
2.1.2.4 คำแนะนำสำหรบั หญิงตั้งครรภห์ ญิงหลังคลอด
2.1.2.5 คำแนะนำสำหรบั การดูแลทารกแรกเกิด

2.1.3 ความรเู้ รอ่ื งโทรศพั ทม์ อื ถอื
2.1.4 ความรเู้ ร่ืองการใชส้ เปรย์แอลกอฮอล์
2.1.5 ความรเู้ กีย่ วกับเคสโทรศพั ท์
2.1.6 ความรเู้ กยี่ วกบั ซิลิโคน
2.2 งานวจิ ยั ที่เก่ียวข้อง

2.1 เอกสารที่เกยี่ วข้อง
2.1.1 ความรู้เรือ่ งโรคโควิด-19

การระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือ โควิด-19 (Covid-19) ได้เริ่มต้นเมื่อปลายปี พ.ศ. 2562
และลุกลามไปทั่วโลก สร้างความหวาดกลัวและส่งผลกระทบต่อสุขภาพ สังคมและเศรษฐกิจของ

8

ประชากร และเมื่อต้นเดือนมกราคม พ.ศ. 2563 มีการระบาดใหญ่ (pandemic) ซึ่งเป็นการติดเช้ือ
ทั่วโลกอย่างรวดเร็ว ตามประกาศขององค์การอนามัยโลก เมื่อวันท่ี 11 มีนาคม พ.ศ. 2563 (กรม
ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข,2563) จากสถิตเิ มื่อวันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2563 ประชากรทั่วโลก
มีผู้ติดเชื้อ 1,982,939 คน และตาย126,761 คน โดย 5 ลำดับแรกของประเทศที่มีผู้ติดเชื้อสูงสุด
ประเทศสหรฐั อเมริกา (609,516 คน) เปน็ อันดบั หนงึ่ ตามด้วยสเปน (174,060 คน) อติ าลี (162,488
คน) เยอรมัน (132,362 คน) และฝรั่งเศส (131,362 คน)และเมื่อพิจารณา 5 ลำดับแรกของประเทศ
ที่มีจำนวนผู้เสียชีวิตมากที่สุด ได้แก่ สหรัฐอเมริกา (26,057 คน)อิตาลี (21,067 คน)สเปน (18,255
คน) ฝรั่งเศส (15,750 คน)และสหราชอาณาจักร (12,129 คน) ตามลำดับ (Dong, Du, & Gardner,
2020, อ้างจาก ณัฎฐวรรณ คำแสน, 2564 , หนา้ 34)

สำหรับการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 รอบแรกในประเทศไทย พบผู้ป่วยต้องสงสัยราย
แรกเมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2563 เป็นนักท่องเที่ยวหญิงชาวจีนอายุ 74 ปี ซึ่งเดินทางมาถึง
กรุงเทพมหานครโดยเทีย่ วบินจากนครอฮู่ น่ั เมืองหลวงของมณฑลหูเปย่ ์ สาธารณรฐั ประชาชนจีน และ
ณ วันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2563 พบอัตราการติดเชื้อในประเทศ ไทย จำนวน 2,369 คน มีผู้เสียชีวิต
30 คน ผู้ป่วยรายใหม่111 คน ในกรุงเทพและจังหวัดนนทบุรี 1,250 คน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
101 คน ภาคเหนือ 86 คน ภาคกลาง 332 คน และภาคใต้ 409 คน (กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสขุ , 2563ก) และจากสถิติ เมอื่ วนั ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2563 ประเทศไทยมีการระบาดและมี
จำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 จำนวน 2,826 คน จำนวนผู้รักษาหาย 2,352 คน คิดเป็นร้อยละ 83.2 ร้อย
ละของการรักษาหายอยูใ่ นลำดบั ที่ 2 ของโลกรอง จากประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (กรมควบคมุ
โรค กระทรวงสาธารณสุข, 2563) ส่วนการระบาดรอบที่ 2 ในประเทศไทยนั้น เริ่มช่วงปลายเดือน
ธันวาคม พ.ศ. 2563 โดยพบ หญิงไทย อายุ 67 ปี อาชีพค้าขายท่ีตลาดกลางกุ้ง ตำบลมหาชัย อำเภอ
เมือง จังหวัดสมุทรสาคร ติดเชื้อโดยไม่มีประวัติการเดินทางออกนอกประเทศ ซึ่งคาดว่าเป็นการติด
เชื้อจากแรงงานชาวเมียนมาในตลาดกุ้งซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีแรงงานชาวเมียนมาอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น
โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจงั หวัดสมุทรสาครได้ลงพื้นที่เพือ่ ทำการตรวจเชงิ รุก (active case finding)
และพบว่ามีผู้ติดเชื้อรายใหม่ที่ไม่มีอาการในกลุ่มแรงงานชาวเมียนมาเป็นจำนวนมาก โดยการระบาด
รอบที่ 2 นี้มีความต่างจากการระบาดระลอกแรกในหลายด้าน เช่น จำนวนผู้ติดเชื้อมีจำนวนมากกว่า
มีการกระจายไปหลายจังหวัด ทำให้คาดว่าการระบาดรอบที่ 2 คงไม่หมดไปอย่างรวดเร็วเหมือนรอบ
แรก (สุรชัย โชคครรชิตไชย, 2563) แม้ระบบควบคุมโรคของประเทศไทย มีการแยกผู้ป่วยที่ติดเช้ือ
หรือเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้งมีการติดตามผู้ที่สัมผัสเชื้อทุกราย และมีการตรวจเชื้อ
จากผู้ป่วยให้ได้อย่างรวดเร็ว แต่การระบาดในประเทศไทยก็ยังคงดำเนินอย่างต่อเนื่อง และส่งผล
กระทบต่อการใช้ชีวิตของประชาชน เนื่องจาก ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ และ
การใช้เทคโนโลยี เหล่านี้ล้วนมีผลกระทบต่อตัวบุคคลทั้งสิ้น เช่น ตกงาน หรือถูกเลิกจ้าง สมาชิก

9

ครอบครวั ตอ้ งอยูห่ า่ งกัน และมีการรกั ษาระยะหา่ งทางสงั คม (social distancing) รวมถึงสมั พันธภาพ
ในครอบครัวและชุมชนลดลง ทำให้วิถีชีวิตเปลี่ยนไป เกิดปัญหาการขาดรายได้และชีวิตประจำวันที่
ต้องปรับเปลี่ยนไป (บัญชา เกิดมณี, สุรชัย ธรรมทวีธิกุล, ญานพินิจ วชิรสุรงค์, บดินทร์ชาติสุขบท,
และสมบตั ิ ทฆี ทรัพย,์ 2563, อ้างจาก ณัฎฐวรรณ คำแสน, 2564 , หน้า 35)

2.1.2 แนวทางการป้องกนั โรคโควดิ -19

แนวทางการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล เพื่อป้องกันและลดการแพร่เชื้อโควิด-19 มีดังนี้ ออก
จากบ้านเมื่อจำเป็นเท่านั้นหากออกนอกบ้านให้เว้นระยะห่างจากคนอื่นอย่างน้อย 1-2 เมตร
หลกี เลี่ยงการเข้าไปในพ้ืนท่ที ่มี ีคนหนาแน่น แออดั หรอื พน้ื ท่ีปิด สวมหนา้ กากอนามัยหรือหน้ากากผ้า
ตลอดเวลา เมื่ออยู่นอกบ้าน ใช้รถสาธารณะเมื่อจำเป็นเท่านั้น และหลีกเลี่ยงชั่วโมงเร่งด่วน หากต้อง
ซ้อนมอเตอร์ไซควรนั่งหันข้าง ล้างมือบ่อยๆ ด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ทุกครั้ง ก่อนรับประทาน
อาหาร หลงั ใช้ส้วม หรือหลังจากไอ จาม หรอื หลงั สมั ผสั จุดเส่ียงที่มีผ้ใู ชง้ านร่วมกันในท่สี าธารณะ เช่น
กลอนหรือลูกบิดประตู ราวจับหรือราวบันได เป็นต้น หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก
โดยไม่จำเป็นผู้ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง ผู้สูงอายุที่อายุมากกว่า 70 ปี ผู้มีโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน โรคหัวใจ
โรคความดันโลหิตสูง โรคปอด และเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ให้เลี่ยงการออกนอกบ้าน เว้นแต่จำเป็น ให้
ออกนอกบ้านน้อยที่สุด ในระยะเวลาสั้นที่สุด แยกของใช้สว่ นตัว ไม่ควรใช้ของร่วมกบั ผู้อ่ืน เลือกทาน
อาหารที่ร้อนหรือปรุงสุกใหม่ๆ ควรทานอาหารแยกสำรับ หรือหากทานอาหารร่วมกันให้ใช้ช้อนกลาง
ส่วนตัว ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และพักผ่อนให้เพียงพอ หากเดินทางกลับจากประเทศหรือพื้นที่ที่มี
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19 ควรกักตัวเองที่บ้าน 14 วัน และปฏิบัติตามประกาศของ
กระทรวงสาธารณสุข หมั่นสังเกตอาการตนเอง หากมีอาการไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก จมูกไม่ได้กลิ่น ลิ้นไม่
รับรส ให้ไปรับการตรวจรักษาท่โี รงพยาบาลใกลบ้ ้านทนั ที

2.1.2.1 แนวทางการปฏิบัติสำหรับกลุ่มเสี่ยง คำแนะนำสำหรับผู้สูงอายุและผู้ที่อยู่
ร่วมกับผู้สูงอายุ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ที่มีการแพร่ระบาดเป็นวงกว้าง
ผู้สูงอายุถือเป็นประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อการเกดิ โรคที่มีอาการรุนแรงมากกว่ากลุ่มวัยอื่น การอยู่รวมกัน
เป็นครอบครัวท่ีมีสมาชิกในบา้ นมีประวัติเดินทางมาจากพ้ืนที่เสี่ยง อาจทำให้ผู้สงู อายุติดเชื้อได้ ดังนน้ั
ผสู้ ูงอายุและบคุ คลในครอบครัวควรมกี ารปฏบิ ตั ติ น เพ่ือการปอ้ งกันการรบั สัมผัสและแพร่กระจายเช้ือ
โรค ดงั น้ี

10

วธิ ีป้องกันโรคโควิด-19
หมั่นสังเกตตนเอง ว่ามีอาการไข้ หรืออาการทางเดินหายใจหรือไม่ หากพบว่ามีอาการ
ดังกลา่ วควรงดการใกลช้ ิดกบั ผสู้ ูงอายุ
หลีกเลี่ยงการคลุกคลีกับผู้สูงอายุโดยไม่จำเป็น หาวิธีการสร้างความสัมพันธ์อันดี โดยรักษา
ระยะห่างกับผสู้ ูงอายุ
ผู้ที่ทำหนา้ ท่ดี ูแลผ้สู งู อายุ ตอ้ งสวมหนา้ กากอนามัยตลอดเวลา และลา้ งมือทกุ ครั้งก่อนให้การ
ดูแล

2.1.2.2 คำแนะนำสำหรับผู้ที่มีโรคประจำตัว เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรค
หลอดเลือดหัวใจและสมองโรคระบบทางเดินหายใจ โดยผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดัน
โลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง และโรคระบบทางเดินหายใจ หากมีการติดเชอื้ โควดิ 19 จะมี
ความเสี่ยงต่อการป่วยรุนแรงมากกว่าคนทั่วไป เพื่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการติดเชื้อหรือป่วย
รนุ แรง จงึ มีคำแนะนำดงั น้ี

คำแนะนำสำหรบั ผ้ปู ว่ ยทมี่ โี รคประจำตวั
ใหอ้ ยูใ่ นทพ่ี ักอาศยั เว้นการคลกุ คลีใกล้ชิดกับบคุ คลท่ีไม่ใชผ่ ดู้ แู ล รักษาระยะหา่ งระหวา่ ง
บุคคล 1 - 2 เมตร
หากต้องออกนอกที่พักอาศัย ไปในพื้นที่ที่มีคนแออัด หรือโดยสารรถสาธารณะ ให้สวม
หนา้ กากอนามัยหรือหน้ากากผ้าตลอดเวลา
งดใชข้ องหรอื เคร่อื งใช้สว่ นตวั ร่วมกบั ผู้อืน่
มีหมายเลขโทรศพั ทต์ ดิ ต่อของสถานพยาบาลทีร่ ักษาประจำ เพอื่ ปรึกษาปญั หาสขุ ภาพ
ติดต่อสถานพยาบาลที่รักษาประจำก่อนกำหนดนัด เพื่อรับทราบข้อปฏิบัติ เช่น ให้ญาติหรือ
ผ้อู ื่นไปรบั ยาแทน ใหไ้ ปรบั ยาใกล้บ้าน หรอื ให้ย้ายไปตรวจทสี่ ถานพยาบาลอืน่
รับประทานยาสม่ำเสมอ และหมั่นตรวจสุขภาพตนเอง เช่น วัดความดันโลหิต หรือวัดระดับ
น้ำตาลในเลอื ดเองทบี่ ้าน
หากมีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ เช่น มีน้ำมูก ไอ เจ็บคอ หรือรู้สึกมีไข้ ต้องงด
การให้การดูแล หรืออยใู่ กลช้ ิด ควรมอบหมายผ้อู ืน่ ทำหน้าท่แี ทน

11

ทำความสะอาดเครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ต้องใช้ประจำร่วมกันในบ้าน เช่น
เครอ่ื งวัดความดนั โลหิตดว้ ยแอลกอฮอล์

2.1.2.3 คำแนะนำสำหรบั กลมุ่ เดก็ เลก็ ท่ีมีอายตุ ่ำกว่า 5 ปี เชอื้ โควดิ -19 มีอนั ตราย
ตอ่ เด็กเช่นเดียวกับโรคตดิ เชอ้ื ระบบทางเดินหายใจทัว่ ไป เชน่ ไขห้ วดั ใหญ่ไขห้ วัดธรรมดา

คำแนะนำสำหรบั ผูป้ กครองกลุ่มเด็กเล็กท่ีมอี ายตุ ำ่ กว่า 5 ปี
หา้ มพาเดก็ ออกไปทสี่ าธารณะโดยไม่จำเปน็ ควรให้เด็กเล่นในบ้าน
เว้นระยะหา่ งทางสงั คม (Social Distancing) ใกลช้ ดิ คนอ่นื ใหน้ อ้ ยท่สี ดุ
ผู้ใหญ่ที่ดูแลเด็กไม่ควรออกไปนอกบ้าน ถ้าจำเป็นต้องออกไปเมื่อกลับมาถึงบ้าน ต้องอาบน้ำ
เปลยี่ นเสอื้ ผ้า ก่อนมาเลน่ กบั เด็ก
สอนเด็กล้างมือ ใส่หน้ากาก กินอาหารที่มีประโยชน์ ปรุงสุก สะอาด และนอนพักผ่อนให้
เพียงพอ
หากเด็กติดเชื้อโควิด-19 อาการของโรค เริ่มตั้งแต่มีอาการหวัดน้อยๆ จนถึงปอดอักเสบหรือ
ปอดบวม และหากมีโรคประจำตัว ก็จะมีอาการชัดเจนอย่างรวดเร็ว ดังนั้น ถ้าเริ่มมีอาการต้องรีบไป
พบแพทย์ทันที

2.1.2.4 คำแนะนำสำหรับหญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอด ที่มีหน้าที่ดูแลเด็กเล็ก
เนื่องจากเชื้อโควิด-19 เป็นเชื้อไวรสั ชนิดใหม่ ยังไม่มีข้อมูลว่าหญงิ ตั้งครรภ์มีโอกาสติดเช้ือมากกว่าคน
ท่วั ไปหรือไม่

คำแนะนำสำหรับหญงิ ตง้ั ครรภ์หญงิ หลังคลอด
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด กลุ่มปกติ โดยที่กลุ่มปกติคือ กลุ่มที่ไม่ติดเชื้อ ใช้
หลักการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของเช้อื อยา่ งเคร่งครัด
หลีกเลี่ยงการสัมผัสหรืออยู่ใกล้ชดิ ผู้ที่มีไข้ หรือมีอาการระบบทางเดนิ หายใจ หรือผู้ท่ีเดินทาง
มาจากพ้ืนท่เี ส่ยี ง
หลีกเลีย่ งการอยสู่ ถานทีท่ ม่ี ีผู้คนแออดั หรือรวมกลุ่มกนั จำนวนมาก
สวมหน้ากากอนามยั หรือหนา้ กากผา้ ตลอดเวลาเม่อื ออกนอกบา้ น

12

หากต้องอยู่ในสถานท่สี าธารณะ ควรเวน้ ระยะหา่ งจากบคุ คลอ่ืนอย่างน้อย 1-2 เมตร
หลีกเลี่ยงการใชม้ อื สมั ผัสบรเิ วณดวงตา ปาก และจมกู
รับประทานอาหารที่ปรุงสกุ ใหมเ่ สมอ
แยกภาชนะรบั ประทานอาหารและงดใชข้ องส่วนตัวร่วมกบั ผอู้ ืน่
ลา้ งมือบอ่ ยๆ ดว้ ยสบูห่ รือเจลแอลกอฮอล์ 70%
เฝ้าระวังอาการ โดยเฉพาะอาการไข้หรืออาการระบบทางเดินหายใจ หากมีอาการป่วย
เลก็ นอ้ ย ควรพกั ผอ่ นอยู่ท่บี า้ น
หากถึงกำหนดนัดฝากครรภ์ สามารถติดต่อขอคำแนะนำกับแพทย์ที่ฝากครรภ์ เพื่อพิจารณา
ความจำเปน็ ในการไปตรวจตามนัด ถ้ามีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หายใจเหน่ือย ควรรีบไปพบแพทย์

การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดที่เป็นกลุ่มเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ได้แก่ ผู้ที่มีประวัติ
เดินทางมาจากพ้ืนทเ่ี สย่ี ง หรือสมั ผัส ใกลช้ ดิ ผู้ปว่ ยโควดิ -19

คำแนะนำสำหรบั หญิงตัง้ ครรภห์ ญงิ หลงั คลอด กลมุ่ เสีย่ งติดเชอ้ื โควิด-19
แยกตนเองออกจากครอบครวั และสงั เกตอาการจนครบ 14 วนั งดการใช้สง่ิ ของร่วมกบั ผู้อ่นื
งดออกไปในที่ชุมชนโดยไมจ่ าํ เปน็ และอย่หู า่ งจากผอู้ น่ื ในระยะ 1 - 2 เมตร
กรณีครบกำหนดนดั ฝากครรภ์ ตอ้ งแจง้ เจ้าหนา้ ท่ใี หท้ ราบว่าตนเองอยู่ระหวา่ งการเฝ้าระวัง
14 วนั เพื่อพจิ ารณาเลอ่ื นการฝากครรภ์ และปฏบิ ัติตามคำแนะนำของเจา้ หนา้ ท่ี
กรณีเจ็บครรภ์คลอด ต้องไปโรงพยาบาลทันที และแจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบว่าตนเองอยาง
ระหวา่ งการเฝา้ ระวัง 14 วนั

2.1.2.5 คำแนะนำสำหรับการดูแลทารกแรกเกิด กรณีแม่เป็นผู้ที่สงสัยติดเชื้อหรือ
ติดเชื้อโควิด-19 แต่ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานการติดต่อผ่านทางรกหรือผ่านทางน้ำนม แต่ทารกที่เกิด
จากแม่ที่ติดเชื้อโควิด 19 จัดเป็นผู้มีความเสี่ยง จะต้องมีการแยกตัวออกจากทารกอ่ืน และต้องสังเกต
อาการ เป็นเวลา 14 วัน หรบั แนวทางการเล้ียงลกู ดว้ ยนมแม่ เมือ่ คำนึงถงึ ประโยชนข์ องการเลย้ี งลกู

13

ดว้ ยนมแม่และยังไมม่ ีหลกั ฐานทางวิชาการในการแพร่เชื้อไวรสั ผ่านทางน้ำนม ดังนัน้ ทารกจงึ สามารถ
กนิ นมแมไ่ ด้ โดยปฏบิ ตั ติ ามแนวทางปอ้ งกนั การติดเชอ้ื อย่างเคร่งครัด ดังน้ี

คำแนะนำสำหรบั แม่ ในกรณีสงสัยวา่ จะตดิ เชอื้ หรอื ตดิ เชอื้ โควิด-19
กรณีแม่เป็นผู้ที่สงสัยวา่ จะติดเชื้อหรอื ติดเชอ้ื โควิด 19 แลว้ แตอ่ าการไม่มาก สามารถกอดลูก
และให้นมจากเต้าได้ ทงั้ นขี้ ้ึนอยกู่ บั การตัดสินใจของแมแ่ ละครอบครัว ตอ้ งปฏิบตั ติ ามแนวทางปอ้ งกัน
การติดเชอื้ อย่างเคร่งครัด
กรณีแม่ทีต่ ิดเช้ือโควิด 19 และมีอาการชัดเจน หากยังสามารถบีบน้ำนมได้ ให้ใช้วิธีบีบน้ำนม
และให้ผู้ช่วยเป็นผู้ป้อนนมแก่ลูก หากไม่สามารถบีบน้ำนมเองได้ อาจพิจารณาใช้นมผงแทน
(กรมควบคุมโรค, 2564 , หน้า 1-6)

2.1.3 ความรเู้ รอ่ื งโทรศพั ทม์ อื ถอื
โทรศัพท์สื่อสารคืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการสื่อสาร สองทางผ่านโทรศัพท์มือถือใช้
คลื่นวิทยุในการติดต่อกับเครือข่ายโทรศัพท์มือถือโดยผ่านสถานีฐานโดยเครือข่ายของโทรศัพท์มือถือ
แต่ละผู้ให้บริการจะเชื่อมต่อกับเครือข่ายของโทรศัพท์บ้านและเ ครือข่ายโทรศัพท์มือถือของผู้
ใหบ้ ริการอ่ืนโทรศพั ทม์ อื ถอื ท่ีมีความสามารถเพม่ิ ข้นึ ในลักษณะคอมพวิ เตอรพ์ กพาจะถกู กลา่ วถงึ ในชื่อ
สมารท์ โฟน

โทรศัพท์เคลื่อนที่เครื่องแรกกผลิตและออกแสดงในปีพ.ศ. 2516 โดย มาร์ตินคูเปอร์
( Martin Cooper ) นักประดิษฐ์จากบริษัทโมโตโรลาเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ขนาดใหญ่ที่มีน้ำหนัก
ประมาณ 1.1 กิโลกรัม ปัจจุบันจำนวนใช้งานโทรศัพท์เคลื่อนที่ทั่วโลกเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ.2543 ท่ี
จำนวน 12.4 ลา้ นคน มาเปน็ 4,600 ลา้ นคน

ในปัจจุบันชุมสายโทรศัพท์ที่ติดตั้งใหม่ๆจะมีระบบเ SPC ทั้งหมด ระบบอื่นๆเลิกผลิตใน
ประเทศไทยกำลังเร่งติดต่อโทรศัพท์เพื่อให้พอใช้กับประชาชน ดังจะเห็นจากโครงการ 3 ล้านเลข
หมายในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 และโครงการอื่นๆต่อไป รวมทั้งวิทยุ
โทรศัพท์อีกด้วยเพื่อเสริมให้ระบบสื่อสารในประเทศไทยมีประสิทธิภาพเอื้ออำนวยต่อการพัฒนา
ประเทศใหเ้ จรญิ รุ่งเรืองตอ่ ไป

14

วิวัฒนาการโทรศัพท์มือถือมีการพัฒนาเรื่อย ๆ สังเกตได้จาก รูปร่างขนาดใหญ่เป็นรูปร่าง
ขนาดเล็ก ภาพหน้าจอขาว-ดำเป็นภาพหน้าจอสี ใช้สำหรับพูดคยุ ระหว่าง 2 คนเป็นประชุมสายตั้งแต่
3 คนขึ้นไปได้ ใช้ฟังเพลงได้-ใช้ดูหนังได้ MP3 เป็นกล้องถ่ายรูป – เป็นกล้องถ่ายวิดีโอได้อัดเสียง
สนทนาใด้ ใช้เป็นเครื่องคิดเลข เป็นออแกไนเซอร์จดบันทึกข้อมูล และอีกหลายๆคุณสมบัติของ
โทรศพั ทม์ อื ถือ

ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือได้พัฒนาการมามากมายจะเห็นได้จากคุณสมบัติอาทิ เช่น สามารถใช้
งานได้ทั้งโทรศัพท์และออแกไนซ์เซอร์ สามารถใช้งานได้ยาวนานโดยไม่ต้องชาร์จไฟ สามารถบันทึก
ข้อมูลต่างๆได้ด้วยหน่วยความจำมากมายหากไม่พอซื้อเพิ่มได้ ลองรับระบบการใช้งานแบบ wireless
Modemและ Business E-mail สามารถถ่ายโอนข้อมูลโดยใช้ Bluetoothและ USB ( ชูเกียรติ คำ
วงค์ษา, จกั รภทั ร คำต๋นั , สมกมล เรอื นมลู , 2555, หน้า 2-3 )

2.1.4 ความรเู้ รื่องการใช้สเปรยแ์ อลกอฮอล์

ภาพที่ 2.1 สเปรย์แอลกอฮอล์พกพา ทีม่ า : iamlalita, ออนไลน,์ 2564
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ประชาชนตระหนักและ
ให้ความสำคญั กบั การปอ้ งกันตนเอง เจลล้างมอื หรอื สเปรยท์ ีม่ สี ว่ นผสมของแอลกอฮอล์เป็นผลิตภณั ฑ์
ที่มีการใช้อย่างแพร่หลาย กรมอนามัยจึงแนะนำการเลือกใช้และวิธีการการใช้แอลกอฮอล์ในการทำ
ความสะอาดและฆ่าเชือ้ โรคบนผวิ หนงั และมีข้อควรระวงั ดังนี้
ข้อแนะนำในการเลือกใชแ้ ละเก็บรักษา

15

สำหรับประเทศไทย กำหนดให้แอลกอฮอล์ที่มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อโควิด 19 ต้องมี
สว่ นผสมของแอลกอฮอล์อยา่ งนอ้ ยรอ้ ยละ 70 โดยปริมาตร

เลือกใชเ้ จลแอลกอฮอลห์ รือสเปรยแ์ อลกอฮอล์ทม่ี ฉี ลากติดไวช้ ัดเจน ไมห่ มดอายุ เม่ือเปิดใชม้ ี
กล่นิ เฉพาะของแอลกอฮอล์

ควรบีบเจลหรือสเปรย์แอลกอฮอล์ลงในฝ่ามือ แล้วลูบให้ทั่วฝ่ามือหลังมือและนิ้วมือ ทิ้งไว้
20-30 วินาทีจนแอลกอฮอลร์ ะเหยแหง้

เก็บรักษาเจลแอลกอฮอล์ สเปรย์แอลกอฮอล์ ไว้ในอุณหภูมิปกติ โดยปิดฝาภาชนะให้สนิท
เพอ่ื ปอ้ งกนั แอลกอฮอลร์ ะเหย

ขอ้ ควรระวังในการเลือกใช้และเก็บรักษา
ไม่ควรสเปรย์แอลกอฮอล์บรเิ วณทีม่ เี ปลวไฟ เนอ่ื งจากแอลกอฮอลส์ ามารถตดิ ไฟได้
ไม่ควรแบง่ แอลกอฮอล์สำหรับการฆา่ เชือ้ ใส่ในขวดนำ้ เพราะอาจมผี ู้เข้าใจผดิ วา่ เป็นน้ำดืม่ ได้
ไม่ควรเก็บแอลกอฮอล์ไว้ในรถที่จอดตากแดด เพราะในรถอุณหภูมิสูงจะทำให้แอลกอฮอล์
ระเหยและประสทิ ธภิ าพลดลงจนไมส่ ามารถฆ่าเช้ือโรคได้
ไม่ฉีดสเปรย์แอลกอฮอล์ในที่แคบจะทำให้เกิดการฟุ้งของสเปรย์อาจฟุ้งโดนใบหน้า เข้าตา
และหายใจเขา้ ไป จะทำใหเ้ กิดการระคายเคอื ง และแสบรอ้ นบริเวณดงั กลา่ วได้
ไม่ควรใช้เจลหรือสเปรย์แอลกอฮอล์บริเวณผิวบอบบางเช่น ใบหน้า รอบดวงตา บริเวณที่ผิว
อักเสบหรือมีบาดแผล เพราะจะทำให้เกิดการระคายเคือง และแสบร้อนบริเวณดังกล่าวได้
(กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข, 2564 , หนา้ 1-2)

16

2.1.5 ความรเู้ กย่ี วกับเคสโทรศพั ท์
เคสโทรศัพท์ เป็นอุปกรณ์เสริมของโทรศัพท์ที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก และมีขายตาม
รา้ นและห้องสรรพสินคา้ ท่วั ไป มีหลากหลายประเภทใหค้ ณุ ได้เลอื กซอื้ ตามสไตส์ของแตล่ ะคน
เคสโทรศัพท์ยังมีประโยชน์อื่นๆ อีกมากมาย ประเภทของเคสมือถือนั้นมีมากมาย ความ
แตกตา่ งอยู่ทีว่ สั ดทุ ีใ่ ชส้ ามารถแยกประเภทได้ดงั นี้

ภาพท่ี 2.2 เคสโทรศัพทม์ อื ถอื แบบยืดหยุ่น ทม่ี า : Priceza, ออนไลน์, 2564
เคสโทรศัพท์มือถือแบบอ่อน ยืดหยุ่นได้ (Soft Case) เคสโทรศัพท์มือถือประเภทนี้ค่อนข้าง
เป็นทยมสูงมากๆ เพราะผลิตจากวัสดุประเภท ซิลิโคน และ TPU ซึ่งเคสมือถือรูปแบบนี้มีคนนิยมใช้
มากที่สุดเลยก็ว่าได้ ด้วยสาเหตุที่ว่าหาซื้อง่าย เป็นเคสราคาไม่สูง เคสราคาถูก มีความยืดหยุ่นที่สูง
มากๆ มีลวดลายที่โดดเด่น สามารถสร้าง หรือ พิมพ์ลวดลายลงบนเคสประเภทนี้ได้มากมาย แถมเคส
แบบ Soft Case รองรับแรงกระแทกได้ในระดับหนึ่งแต่ข้อเสียของมัน คือ ไม่ค่อยทน เมื่อใช้ไปเป็น
เวลานานอาจจะเสื่อม ฝุ่นเกาะง่ายกว่าเคสแบบอื่น นอกจากนี้แล้วอาจจะเปลี่ยนสีได้ เช่นสีขาว
อาจจะคล้ำดำขึน้

17

ภาพที่ 2.3 เคสโทรศพั ท์มือถอื แบบแขง็ ท่ีมา : Priceza, ออนไลน,์ 2564
เคสโทรศัพท์มือถือแบบแข็ง (Hard Case) ทำมาจากวัสดุที่แตกต่างกันไป อาจจะเป็น
พลาสติก หรือว่า Polycarbonate เคสแบบนี้ได้รับความนิยมรองมาจากแบบแรก ข้อดีก็คือ แข็งแรง
ทนทาน ไม่ค่อยเป็นรอยเท่าไหร่ ยึดเกาะกับตัวเครื่องได้ดี แต่อย่างไรก็ตาม ถ้าคุณภาพของเคส
โทรศพั ทม์ ือถอื แบบนไ้ี มด่ ี อาจจะทำใหต้ วั เครอ่ื งเปน็ รอยไดง้ า่ ยๆ เชน่ กนั

ภาพที่ 2.4 เคสโทรศพั ท์มอื ถอื แบบหนงั ที่มา : Nooknick Yanika, ออนไลน์, 2564
เคสโทรศัพท์มือถือแบบหนัง (Leather Case) เป็นเคสโทรศัพท์มือถือที่สามารถอัพเกรดให้
มือถือดูดี หรูหรา มีสไตล์ได้อีกทางหนึ่ง เนื่องจากทำจากหนังสัตว์ หรือหนังสังเคราะห์ ซึ่งป้องกันการ
ขีดข่วนได้เป็นอย่างดี แต่ความสามารถในการซึมซับแรงกระแทกอาจจะต่ำ แต่ถ้าทำตกขึ้นมา มือถือ
คุณอาจจะไม่รอดก็เป็นได้ นอกจากนี้ คนที่ใช้เคสโทรศัพท์มือถือประเภทหนัง นี้จะต้องมีการ

18

บำรงุ รกั ษาเปน็ อย่างดี เหมือนเครื่องหนังประเภทอน่ื ๆ อย่าง กระเปา๋ เขม็ ขดั นาฬิกาสายหนงั เปน็ ตน้
(เคสขายถกู .com [ ออนไลน์ ] , 2558)

2.1.6 ความร้เู ก่ยี วกบั ซิลิโคน

ซิลิโคน (Silicone) เป็นพอลิเมอร์ที่ประกอบด้วย ซิลิคอน คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน
และสารเคมีประเภทอื่น รูปแบบทั่วไปของซิลิโคน ได้แก่ ยางซิลิโคน น้ำมันซิลิโคน และ เรซินซิลิโคน
ซิลิโคน เป็นสารประกอบที่มีความหลากหลายในรูปร่างและการใช้งาน โดยทั่วไปจะใช้กับงานท่ี
ต้านทานความร้อน และงานที่ใช้เป็นวัสดุยืดหยุ่น ตัวอย่างการใช้งานของซิลิโคน เช่น กาว ยาแนว
เครอ่ื งครวั ฉนวน และงานทางการแพทย์ (sync lnnovation, ออนไลน,์ 2019)

2.2 งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง
ศิริวรรณ ภู่สุวรรณ. (2552). ได้วิจัยเรื่อง “ความรู้และการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุม

โรคไข้หวดั นก” การศกึ ษาในครงั้ นี้ มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อศกึ ษา ค วามรแู้ ละการมสี ่วนร่วมของประชาชน
ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนก และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรู้กับการมีส่วน
ร่วมของประชาชนในการป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนก อาสาสมัครเลือกมาจากประชาชนที่อาศัย
อยู่ใน 8 หมู่บ้าน ในเขตตําบลไชยสถาน อําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย ผู้นํา
ชุมชน จํานวน 97 คน และประชาชนทั่วไป 332 คน (จาก 332 ครัวเรือน ๆ ละ 1 คน) เครื่องมือที่ใช้
ในการรวบรวมข้อมูลได้แก่แบบสอบถาม สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ครั้งนี้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ
ค่าเฉลี่ย Mann-Whitney U Test, KruskalWallis H Test และไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้นํา
ชุมชนและประชาชนส่วนใหญ่ มคี วามรใู้ นเรอ่ื งโรคไขห้ วัดนก ในระดับมาก ผู้นาํ ชุมชนมีการมีส่วนร่วม
ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดนกในระดับมาก และมากที่สุด ในขณะที่ประชาชนทั่วไปมีการมี
สว่ นร่วมในระดบั ปานกลาง มากและมากที่สดุ สาํ หรบั ความสมั พันธ์ระหว่างความรู้และการมสี ่วนร่วม
ของผู้นําชุมชนและประชาชนในการป้อง กันและควบคุมโรคไข้หวัดนก พบว่ามีความสัมพันธ์กันอย่าง
มีนัยสําคัญทางสถิติ จากการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรมีการเผยแพร่ความรู้ให้แก่ประชาชน
อย่างต่อ เนื่อง และควรส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมโดยการจัดกิจกรรมในทุกขั้นตอน เพื่อ
เปน็ การเฝา้ ระวัง ปอ้ งกันและควบคมุ โรคไขห้ วัดนก

พฤทธิพล สุขป้อม. (2552). ได้วิจัยเรื่อง “การปฏิบัติการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์
ใหม่ 2009 ชนิดเอ (เอชเอ็น1) ของบคุ ลากรด้านสุขภาพระดบั ตาํ บล 6 จงั หวดั เชียงใหม่”

19

ผลการศึกษาพบว่า โรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ชนิดเอ (เอชเอ็น1) เป็นเชื้อไข้หวัดสาย
พันธุ์ใหม่ ติดต่อระหว่างคนสู่คนก่อให้เกิดผลกระทบจากการระบาดของโรค ทําให้เกิดการเจ็บป่วย
และการ เสียชีวิตของประชาชน สามารถป้องกันและควบคุมได้ ถ้าบุคลากรด้านสุขภาพ มีการ
ปฏิบัติการเฝ้า ระวังโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ชนิดเอ (เอชเอ็น1) การศึกษาครั้งนี้ มี
วัตถปุ ระสงค์เพ่ือ ศกึ ษาการปฏบิ ัตใิ นการเฝา้ ระวังโรคไขห้ วัดใหญส่ ายพันธุ์ใหม่ 2009 ชนดิ เอ (เอชเอ็น
1) ของ บุคลากรด้านสุขภาพระดับตําบล จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรด้านสุขภาพที่
ปฏิบัติงานป้องกันควบคุมโรคในสถามือนามัย ศูนย์สุขภาพชุมชน จํานวน 270 คน คัดเลือกกลุ่ม
ตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) โดยกําหนดให้เป็นผู้รับผิดชอบหลักในงานป้องกัน
ควบคุมโรค เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการรวบรวมข้อมูล คอื แบบสอบถาม ซึง่ ผ้ศู ึกษาสร้างข้นึ จากการ ทบทวน
วรรณกรรม และเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยใช้มาตรการในการเฝ้าระวังโรคของกระทรวง สาธารณสุข
แบบสอบถามได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ค่า ดัชนีความตรง
ตามเนื้อหาเท่ากับ 0.92 และหาค่าความเชื่อมั่น โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า ของครอนบาค ได้ค่า
ความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.82 นํามาวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษา พบว่ากลุ่ม
ตัวอย่าง ร้อยละ 78.1 มีการปฏิบัติการเฝ้าระวังโรคอยู่ในระดับสูง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า
กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติการเฝ้าระวังโรคทั้ง 4 ด้านอยู่ในระดับสูง คือ ด้านการคัดกรองผู้ป่วย ด้าน
การให้ความรู้ด้านการเป็นแกนนําสาธารณสุข กระตุ้นให้เกิดความ ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
และด้านการติดตามสถานการณ์ของโรค ร้อยละ 91, 1, 65.6, 73.3 และ 69.6 ตามลําดับ C NC ผล
การศึกษาครั้งนี้ ทําให้ได้ข้อมูลสําหรับการพัฒนาการปฏิบัติในการเฝ้าระวังโรค ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์
ใหม่ 2009 ชนิดเอ (เอชเอ็น1) ของบุคลากรด้านสุขภาพระดับตําบลให้ สามารถดําเนินได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพตอ่ ไป

สาธิต ไผ่ประเสริฐ, รุจิรา พชรปกรณ์พงศ์ และสุนีย์ ไชยสุวรรณ. (2541). ได้วิจัย
เรื่อง “การศึกษารูปแบบการผสมผสานงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ จังหวัด
นครศรีธรรมราช” ผลการศึกษาพบว่า รูปแบบองค์กรระดับจังหวัดเดิมในการป้องกันควบคุม
โรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อของจังหวัดนครศรีธรรมราชนั้น การดําเนินงานแยกออกจากกันโดยงาน
ควบคุมโรคไม่ติดต่อเป็นส่วนหนึ่งในงาน ส่งเสริมสุขภาพและรักษาพยาบาล งานควบคุมโรคติดต่อ
ทั่วไป งานควบคุมโรคเอดส์และกามโรค อยู่ใน งานควบคุมโรคติดต่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษา
รูปแบบการผสมผสานงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อและ โรคไม่ติดต่อของจังหวัด โดยคงรูปแบบ
โครงสร้างการแบ่งงานเดิมไว้ แต่จัดตั้งคณะกรรมการ 2 ชุด คือ คณะกรรมการที่ปรึกษา และ
คณะทํางานผสมผสานงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ โดยรวม บุคลากรจากงาน
ดังกล่าว และทําการวิจัยกึ่งทดลองในการดําเนินงานควบคุมป้องกันโรคที่เกิดจากพฤติกรรม 5 กลุ่ม
โรค ซึ่งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญของจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้แก่โรคความดันโลหิตสูง

20

โรคเบาหวาน อุบัติเหตุ โรคอุจจาระร่วงและโรคเอดส์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ผู้บริหารระดับ
จังหวัด อําเภอ จํานวน 22 คน ผู้ปฏิบัติงานระดับจังหวัด อําเภอ จํานวน 46 คน ผู้ปฏิบัติงานระดับ
ตําบล จํานวน20 คน อาสาสมัครทั่วไปในหมู่บ้าน จํานวน 1,131 คน และประชาชนอายุ 40 ปีข้ึน
ไป จํานวน 2,463 คน ในพื้นที่เป้าหมาย การวิจัยครั้งนี้ศึกษาในเรื่องปัจจัยด้านทรัพยากร ความ
คิดเห็นของกลุ่มตัวอย่างทุกกลุ่ม ผลการดําเนินงานและการคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน และความดัน
โลหิตสูง เก็บข้อมูลของเจ้าหน้าที่โดย ใช้แบบสํารวจ แบบสอบถามและใช้แบบสัมภาษณ์ประชาชน
กลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ วิเคราะห์ข้อมูลก่อน และหลังดําเนินการด้วยโปรแกรม spss โดยใช้สถิติร้อยละ
ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน, Paired ttest, Student st - test และ Chi - square test กําหนด
ความเชื่อมั่นในระดับร้อยละ 95 ( C = 0.05 ) เป็นเกณฑ์ที่ยอมรับหรือปฏิเสธสมมุติฐาน ผลการวิจัย
พบว่าการต้ังคณะทํางานผสมผสานงานควบคมุ ปอ้ งกันโรคติดตอ่ และโรคไม่ติดต่อ ระดับจังหวัด ในรปู
คณะทํางาน ในแง่การใช้ทรัพยากร งบประมาณ หมวดค่าวัสดุครุภัณฑ์ ค่าเบี้ยเลี้ยง ที่พัก และเงิน
อุดหนุนหลังดําเนินการใช้งบประมาณลดลง ส่วนค่ายานพาหนะหลังดําเนินการใช้งบ ประมาณ
มากกว่าก่อนดําเนินการอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ผู้บริหารระดับจังหวัด อําเภอ และผู้ปฏิบัติ งาน
ระดับจังหวัด อําเภอ ตําบล ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจรูปแบบการผสมผสานงานควบคุมป้องกันโรค
ติดต่อและโรคไม่ติดต่อ โดยเฉพาะกลุ่มผู้ปฏิบัติงานระดับจังหวัด อําเภอ หลังดําเนินการเห็นด้วยมาก
ขึ้นกว่า ก่อนดําเนินการอยา่ งมีนัยสําคัญทางสถิติ ประชาชนในพื้นที่เปา้ หมาย มีความรู้ และมีทัศนคติ
หลังดําเนิน การดีขึ้นมากกว่าก่อนดําเนินการอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ แต่คะแนนเฉลี่ยการปฏิบัติ
ลดลง และมีความพึง พอใจในการให้บริการของเจ้าหน้าที่สถานีอนามัยและอาสาสมัครสาธารณสุข
ประจําหมู่บ้านหลังดําเนินการ มากกว่าก่อนดําเนินการอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ อาสาสมัคร
สาธารณสุขประจําหมู่บ้านสามารถคัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ใกล้เคียงกับ
เจ้าหน้าที่สาธารณสุข การปฏิบัติงานระดับอําเภอ ตําบล ส่วนใหญ่ผู้ปฏิบัติเป็นบุคคลคนเดียวกัน
ดังนั้นรูปแบบของ องค์กรควรใช้องค์กรเดิม แต่ปรับปรุงระบบดําเนินงานทั้งการสนับสนุนทรัพยากร
กระบวนการดําเนินงาน การควบคุมกํากับ การประเมินผล ให้สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ จะ
สามารถตอบสนองต่อ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการได้

วีรภัทร ภัทรกุล และประวิทย์ ประมาน. (2552). ได้วิจัยเรื่อง “การจัดการความรู้เพื่อ
แก้ปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา” การวิจัย
ครั้งนี้ มวี ตั ถุประสงค์เพื่อศกึ ษาสภาพและปญั หาพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษา
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และศึกษาแนวทางการจัดการความรู้เพื่อแก้ปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยดำเนินการวิจัยกับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ปี
การศึกษา 2551 จากมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
สุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา และศูนย์วาสุกรี มี 3 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาสภาพและปัญหาด้านพฤติกรรม

21

เสี่ยงทางเพศของนักศึกษา จากการศึกษาเอกสาร และการสอบถามข้อมูลพ้ืนฐานด้านพฤติกรรมเสี่ยง
ทางเพศของนักศึกษากับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 810 คน 2) ศึกษาแนวทางการจัดการความรู้เพ่ือ
แก้ปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักศึกษา จากการประชุมเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมกับกลุ่ม
ตัวอย่าง จำนวน 60 คน และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักศึกษากับ
กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 120 คน ผลการวิจัย พบว่า 1. ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีคู่รักแล้ว เคยดื่ม
เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เพราะเพื่อนชักชวน ไม่เคยไปเที่ยวสถานเริงรมย์ ไม่เคยใช้สารเสพติด เคยดู
สื่อที่กระตุ้นอารมณ์ทางเพศประเภทวีดิทัศน์/วีซีดีเพราะเพื่อนชักชวน และไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ ส่วน
กรณีที่เคยมีเพศสัมพันธ์ ส่วนใหญ่มีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกกับคู่รักเพราะอยากลอง มีเพศสัมพันธ์กับคู่
เพศสัมพันธ์เพียงคนเดียว มีเพศสัมพนั ธ์ท่ีท่ีพกั มีการคมุ กำเนิดทุกครั้งโดยใช้ถุงยางอนามัย ไม่เคยเกดิ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ไม่เคยตั้งครรภ์ และไม่เคยทำแท้ง 2. แนวทางการจัดการความรู้เพื่อ
แก้ปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักศึกษา คือการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน การประชุมเชิงปฏิบัติการ
อย่างมีส่วนร่วม และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อจัดการความรู้ให้ตรงกับความสนใจและความ
ต้องการของนักศึกษา ส่งผลให้นักศึกษามีความรู้ ตระหนักถึงผลของการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
และงดหรอื ลดพฤติกรรมเส่ียงทางเพศ

พิชยาวัฒนะนุกูล วาสนาผิว และเปรมจันทร์สว่าง. (2559). ได้วิจัยเรื่อง “พฤติกรรมและปัจจยั
การใช้สมาร์ทโฟนในกลุ่มวัยรุ่น” ผลการศึกษาพบว่า สมาร์ทโฟนมีความสําคัญมากในชีวิตประจําวัน
ในยุคปัจจุบันโดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น จากสถิติพบว่า วัยรุ่นเป็นกลุ่มที่ใช้สมาร์ทโฟนมาก ที่สุดของ
เอเชียและมีแนวโนม้ ที่จะใชง้ านเพิ่ม มากขึ้นในยุคการเชื่อมต่อไร้ สาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมือ่ สมาร์ท
โฟนมีฟังก์ชันการ ทํางาน และฟังก์ชันประยุกต์ต่างๆ ที่ช่วยอํานวยความ สะดวกในการทํากิจกรรม
ต่างๆ ซึ่งเติมเต็มกับการดําเนินชีวิตของวัยรุ่นซึ่งถือเป็นวัยแห่งการเรียนรู้ และพกพา สมาร์ทโฟนติด
ตัวอยู่ตลอดเวลา ในงานนี้ผู้เขียนศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยการใช้สมาร์ทโฟนของวัยรุ่นเพื่อทําความ
เข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมและปัจจัยการใช้สมาร์ทโฟนของวัยรุ่น ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมการใช้
สมาร์ทโฟน นในกลุ่มวัยรุ่นแบ่งออกได้ 7 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านการติดต่อสื่อสาร (Communication),
2. ด้านความบันเทิง (Entertainment), 3. ด้านการสืบค้นข้อมูล (Data Search), 4. ด้านเครือข่าย
สังคม ออนไลน์ (Social network), 5. ด้านกรณีฉุกเฉิน (Emergency), 6. ด้านการศึกษา
(Education) และ 7. ด้านการอํานวยความสะดวก (Facility) และจากผลการทดสอบสมมติฐานทาง
สถิติ พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อ พฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของวัยรุ่น ได้แก่ เพศ ช่วงอายุ และระดับ
การศึกษา ซึ่งถือเป็นปัจจัยด้าน ประชากรศาสตร์ (Demographic Factors) จากผลการศึกษา
สามารถนํามาใช้เป็นข้อมูลประกอบในการ พัฒนารูปแบบในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้
สอดคล้องกบั พฤตกิ รรมการใชส้ มาร์ทโฟนของผู้เรยี น

22

อริสรา ไวยเจริญ. (2557). ได้วิจัยเรื่อง “รูปแบบการโฆษณาบนโทรศัพท์มือถือที่มีผลต่อ
พฤติกรรมการตัดสินใจซือ้ ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการ
โฆษณาบนโทรศัพท์มือถือที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
และเพื่อเปรียบเทียบลักษณะประชากรกับรูปแบบการโฆษณาบนโทรศัพท์มือถือที่มีผลต่อพฤติกรรม
การตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บ
แบบสอบถาม (Questionnaire) กับกลุ่มตัวอย่างอายุ 18 ปีขึ้นไป จำนวนทั้งสิ้น 400 คน ผลจาก
การศึกษา พบว่า รูปแบบการโฆษณาบนโทรศัพท์มือถือที่แตกต่างกัน มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจ
ซื้อของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครแตกต่างกัน โดยรูปแบบการโฆษณาส่งผ่านทางไลน์ (LINE) มี
ผลต่อพฤติกรรมการตดั สินใจซอื้ มากกว่าสง่ ผา่ นทางเอสเอม็ เอส (SMS) โดยความคิดเห็นต่อข้อความท่ี
ส่งผ่านทางไลน์ (LINE) ทำให้เกิดการจดจำตราสินค้าได้เมื่อต้องการซื้อ ทำให้ทราบรายละเอียดของ
สินค้ามากขึ้น พร้อมสร้างความน่าเชื่อถือในสินค้านั้น ส่วนทางด้านลักษณะทางประชากร พบว่า
รูปแบบการโฆษณาบนโทรศัพท์มือถือ มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อ โดยการโฆษณาส่งผ่านทาง
เอสเอ็มเอส (SMS) มีผลต่อผู้บริโภคที่มีช่วงอายุ 18-24 ปี และ 40 ปีขึ้นไป มากกว่าผู้บริโภคที่มีช่วง
อายุ 25-29 ปี ส่วนการโฆษณาส่งผ่านทางไลน์ (LINE) มีผลต่อผู้บริโภคที่มี 1) การศึกษาในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย มากกว่าผู้ที่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับปริญญาตรี 2) ผู้ท่ี
มกี ารศกึ ษาในระดับอาชวี ศกึ ษาหรืออนปุ รญิ ญามากกว่าผู้ท่มี กี ารศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรี

23

บทที่ 3

วิธีดำเนินงาน

ในการผลิต ผลิต spray case 2 in 1 ผู้จดั ทำได้กำหนดวธิ ีดำเนนิ งาน ดนั น้ี

3.1 ตารางแผนการดำเนินงาน ภายในวนั ท่ี 26 มถิ ุนายน ถงึ 21 ตุลาคม 2564

กจิ กรรม เดอื นท่ี 1 เดือนท่ี 2 เดอื นที่ 3 เดอื นที่ 4 เดอื นท่ี 5
ขน้ั วางแผน
1.ประชมุ สมาชกิ ในกลมุ่
2.เลอื กหวั ขอ้ โครงงานและศึกษาขอ้ มลู
3.ปรึกษาอาจารย์
ขัน้ การเตรยี มการ
1.หาวสั ดุอุปกรณท์ น่ี ำมาสรา้ ง Spray Case 2 in 1
2.ศึกษาวธิ กี ารใช้วัสดอุ ปุ กรณ์
3.เตรียมการสร้างแบบกราฟิกจำลอง Spray Case
2 in 1
4.เตรยี มการสร้างแบบจำลองจากแบบกราฟกิ
ขนั้ การดำเนินการ
1.สร้างแบบกราฟกิ จำลอง Spray Case 2 in 1
2.สรา้ งแบบจำลอง Spray Case 2 in 1

ตารางที่ 3.1 ตารางแผนการดำเนนิ งาน

แสดงแผนการดำเนนิ งาน
แสดงการดำเนินงานจริง

24

3.2 วสั ดุอปุ กรณแ์ บบจำลอง

3.2.1 กระดาษลัง

3.2.1.1 ขนาด 9.7 x 18 เซนตเิ มตร

3.2.1.2 ขนาด 9 x 10.5 เซนตเิ มตร

3.2.1.3 ขนาด 4 x 19 เซนติเมตร

3.2.1.4 ขนาด 6 x 7 เซนตเิ มตร

3.2.1.5 ขนาด 12 x 12 เซนตเิ มตร

3.2.2 เทปกาว 1 ม้วน

3.2.3 ไม้บรรทัด 1 อนั

3.2.4 คัตเตอร์ 1 อนั

3.2.5 ดินสอ 1 แท่ง

3.2.5 ปากกาดำ 1 แท่ง

3.2.6 ปากกาสตี ่างๆ 1 แท่ง

25

3.3 แบบกราฟกิ จำลอง Spray Case 2 in 1

ภาพท่ี 3.1 ภาพกราฟิกจำลอง Spray Case 2 in 1

26
3.4 วิธีดำเนนิ งานแบบจำลอง

3.4.1 สว่ นเคสโทรศพั ท์
3.4.1.1 ตดั กระดาษลงั ทรงสีเ่ หลี่ยม ขนาด 9.7 x 18 เซนติเมตร และร่างเสน้ ตาม

ครอบเพ่อื พับ ขนาด 8 x 17 เซนติเมตร

ภาพท่ี 3.2 กระดาษลังทรงส่ีเหล่ยี มขนาด 9.7 x 18 เซนติเมตร
3.4.1.2 พบั กระดาษลังตามลอยท่ีไดร้ ่างไว้ พรอ้ มตดิ เทปกาวให้ติดกันเปน็ รปู เหมือน
กล่องทรงส่ีเหล่ยี ม

ภาพท่ี 3.3 กระดาษลังทพ่ี ับทรงคล้ายเคสโทรศัพท์

27
3.4.1.3 เจาะรูมุมขวาเป็นทรงสี่เหล่ยี ม ขนาด 2 x 3 เซนติเมตร เป็นช่องว่างของ
กล้อง

ภาพท่ี 3.4 กระดาษลงั ที่เจาะรูมมุ ขวาเป็นทรงสี่เหลย่ี ม ขนาด 2 x 3 เซนตเิ มตร
3.4.2 ส่วนของขาต้งั โทรศพั ท์

3.4.2.1 ตัดกระดาษลงั ทรงส่ีเหลยี่ ม ขนาด 4 x 19 เซนติเมตร จากน้ันพับเป็นทรง
สามเหลี่ยม เพื่อใชเ้ ปน็ ยดื ออกมาเปน็ ขาตง้ั

ภาพท่ี 3.5 กระดาษลงั ทรงสเ่ี หล่ยี ม ขนาด 4 x 19 เซนติเมตร

28
3.4.2.2 ตัดกระดาษลงั ทรงสีเ่ หลย่ี ม ขนาด 9 x 10.5 เซนติเมตร และร่างเส้นตาม
ครอบ ขนาด 7 x 9 เซนตเิ มตร และพบั ให้เป็นทรงกล่องส่ีเหลย่ี ม เพือ่ ให้เปน็ ท่ลี องไวต้ ิดกับเคสสเปรย์
แอลกอฮอล์

ภาพที่ 3.6 กระดาษลงั ทรงสเ่ี หลย่ี ม ขนาด 9 x 10.5 เซนติเมตร และรา่ งเส้นขนาด 7 x 9 เซนติเมตร
3.4.2.3 ตดิ ประกอบเชอ่ื มกระดาษลงั ท่เี ป็นสว่ นเคสโทรศพั ทก์ ับทล่ี องเคสสเปรย์

แอลกอฮอล์ โดยมีส่วนขาตั้งทย่ี ดื ออกมาอยูต่ รงกลางดว้ ยเทปกาว

ภาพท่ี 3.7 ประกอบกระดาษลังทเ่ี ปน็ ส่วนเคสโทรศพั ทก์ บั ที่ลองเคสสเปรย์แอลกอฮอล์

29
3.4.3 ส่วนเคสสเปรยแ์ อลกอฮอล์

3.4.3.1 ตดั กระดาษลงั ทรงสี่เหล่ยี ม ขนาด 12 x 12 เซนติเมตร และตดั มมุ ออกทง้ั
4 ดา้ นสีเ่ หล่ยี ม ขนาด 3 x 3 เซนติเมตร

ภาพที่ 3.8 กระดาษลงั ทรงสเี่ หลีย่ ม ขนาด 12 x 12 เซนตเิ มตรทต่ี ดั มมุ ออก
3.4.3.2 พบั เป็นกล่องสเี่ หลยี่ ม จากนน้ั ติดเทปกาวตดิ เชอ่ื มมุมทพ่ี ับเขา้ มา

ภาพท่ี 3.9 กระดาษลังที่พับเป็นกลอ่ งสเ่ี หล่ียม

30
3.4.3.3 ตดิ เชือ่ มประกอบเคสสเปรย์แอลกอฮอล์กับที่ลองท่ตี ิดอย่กู บั ขาตงั้

ภาพท่ี 3.10 ประกอบเคสสเปรยแ์ อลกอฮอล์กบั ทลี่ องทต่ี ิดอยูก่ ับขาตง้ั
3.4.4 สว่ นของขวดสเปรยแ์ อลกอฮอล์

3.4.4.1 ตัดกระดาษลงั ทรงสี่เหล่ียม ขนาด 6 x 7 เซนตเิ มตร และวาดรูปหัวหรือรฉู ดี
สเปรยแ์ อลกอฮอล์ พร้อมตัดเสน้ ด้วยปากกาดำและระบายสดี ้วยปากกาสตี ่างๆ ไว้ท่ดี า้ นบนกระดาษ
ลงั

ภาพที่ 3.11 กระดาษลงั ทรงสี่เหล่ยี ม ขนาด 6 x 7 เซนตเิ มตรทรี่ ะบายส

บรรณานกุ รม

กรมควบคุมโรค. (2564). แนวทางปฏิบัตเิ พื่อการป้องกันโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19) หรอื โควดิ 19 สำหรับประชาชนทั่วไปและกลมุ่ เสี่ยง. กรมควบคมุ โรค.

กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . (2564). คำแนะนำการใช้แอลกอฮอล์ในการทำความสะอาดและ
ฆ่าเชื้อโรคในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19).
กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข.

เคสขายถกู . (2564). เคสมือถอื ประเภทเคสมอื ถือ การเลือกซอื้ เคสมือถอื . เคสขายถกู .
ชูเกียรติ คำวงค์ษา, จักรภัทร คำตั๋น, สมกมล เรือนมูล. (2555). การศึกษาผลกระทบการใช้

เทคโนโลยโี ทรศพั ทส์ ือ่ สารของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และนกั เรียนชน้ั มธั ยมศึกษา
ตอนปลาย โรงเรียนพะเยาพิทยาคม. หลักสูตรโรงเรียนมาตฐานสากล (Word-Class
Standard School). โรงเรียนพะเยาพทิ ยาคม.
ณัฎฐวรรณ คำแสน. (2564). ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมในการป้องกันตนเองจากการติดเช้ือ
ไวรัสโควิด-19 ของประชาชนในเขตอำเภออู่ทอง. จังหวัดสุพรรณบุร วารสารวิทยาลัย
พยาบาลพระจอมเกลา้ จงั หวดั เพชรบุร.ี
พิชยาวฒั นะนุกลู วาสนาผวิ และเปรมจันทรส์ ว่าง. (2559). พฤตกิ รรมและปัจจัยการใช้
สมาร์ทโฟนในกลุ่มวัยรุน่ . สารสนเทศสถติ คิ ณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแกน่
พฤทธิพล สุขป้อม. (2552). การปฏิบัติการเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009 ชนิดเอ
(เอชเอ็น1) ของบุคลากรด้านสุขภาพระดับตําบล 6 จังหวัดเชียงใหม่. สาธารณสุขศาสตร์
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.
วีรภัทร ภัทรกุล และประวิทย์ ประมาน. (2552). การจัดการความรู้เพื่อแก้ปัญหาพฤติกรรมเสี่ยง
ทางเพศของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนครศรีอยธุ ยา.
ศิริวรรณ ภู่สุวรรณ. (2552). ความรู้และการมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุม โรคไข้หวัดนก.
สาธารณสุขศาสตร์มหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั เชียงใหม่.
Iamlalita. (2564). ตลบั แอลกอฮอล์ หมดแลว้ อย่าท้งิ !! เติมได้นะรยู้ ัง. ออนไลน์
Priceza. (2564). เคสมอื ถือแบบไหนบา้ ง? แบบไหนใชด้ ีทส่ี ุด?. ออนไลน์
sync lnnovation. (2019). 3D Printing Silicone and PU. ออนไลน์

Nooknick Yanika. ออนไลน์.(2564). รวี วิ เคสหนัง MagSafe สบี อลตคิ บลู สำหรับ iPhone 12
mini. ออนไลน์


Click to View FlipBook Version