รายงานการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษา
วทิ ยาลัยการอาชีพหนองสองห้อง จังหวัดขอนแก่น
(วนั ที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕)
และ
รายงวาทิ นยกาาลรัยฝเกกึ ษปตรระแสลบะกเทาครโณนใ์โลนยสขี ถอานนแศกึก่นษจางั หวดั ขอนแกน่
วิทยาลยั ก(าวรันอทา่ีช๒พี ๕(ห-ว๒นันอ๙ทงเส่ีมอ๒ษงา-หย๖้อนงพ๒จฤ๕ังษ๖ห๕วภัด)าขคอมนแ๒กน่ ๕๖๕)
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ จงั หวดั ขอนแก่น
(วันท่ี ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕)
โดย
นายนพดล ลือนาม
ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ
วทิ ยาลัยเทคนคิ นครโคราช
นายนพดล ลอื นาม
รายงานนเ้ี ปน็ ส่วนหน่ึงของหลกั ตสตูำรแกหารนพง่ฒั คนารขู ้าวรทิ าชยกฐาารคนระูแคละรบูชคุ ำลนาการญพิเศษ
ทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ำรงตำแหวนิทง่ รยอางลผู้อยั ำเนทวคยกนาิครสนถคานรศโึกคษราาช
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา
รายงานนีเ้ ปน็ ส่วนหนงึ่ ของหลกั กสรูตะรทการรวพงัฒศนึกาขษ้าราาธชกิกาารรครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
กอ่ นแตง่ ตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คำนำ
ตามที่พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และที่แก้ไข
เพ่ิมเติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ มาตรา ๘๐ บัญญัติให้มกี ารพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้ัง
ให้ดำรงตำแหน่งบางตำแหน่งและบางวิทยฐานะ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ทักษะราชการเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
ประสิทธิผลและความก้าวหน้าแก่ราชการประกอบด้วย ก.ค.ศ. ได้กำหนดมาตรฐานตำแหน่งผู้บริหาร
สถานศึกษาไว้ว่า ใหม้ ีการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ต้ังใหด้ ำรงตำแหน่งผู้บริหาร
สถานศึกษาตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการที่ ก.ค.ศ. กำหนด
แนวคิดในการบริหารสถานศึกษา และวิธีการนำไปประยุกต์ใช้ในรายงานฉบับนี้ เป็นแนวคิดที่เกิด
จากการสังเกตของตัวผู้เข้ารับการฝึกประสบการณ์ และการนำเสนอแนวทางการบริหารโดยผู้บริหาร
สถานศึกษาของทั้งสองแห่งซึ่งเป็นประสบการณ์จริงของการบริหาร ซึ่งไม่สามารถนำมาเขียนใน
เอกสารรายงานฉบบั น้ไี ดท้ ้งั หมด เนื่องจากระยะเวลาในการดำเนนิ การและข้อกำหนดในการจัดทำรายงานตาม
โครงการ ขา้ พเจ้าผูจ้ ัดทำรายงานฉบับน้ี ขอกราบขอบพระคณุ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ครู เจา้ หนา้ ท่ี นักการ ภาร
โรง ตลอดจนนักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยการอาชีพหนองสองห้อง และวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี
ขอนแกน่ เป็นอย่างสูง ท่ีไดเ้ สยี สละเวลาในการดูแล ใหค้ ำแนะนำ ให้คำปรึกษาอย่างเต็มความสามารถ
ในการนผ้ี ู้เข้ารับการพัฒนาได้เข้ารับการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศึกษา ๒ แห่ง การฝึกประสบการณ์
จะเริ่มทำการฝึกแห่งที่หนึ่งตั้งแต่วันที่ ๒๕ - ๒๙ เมษายน 256๕ และทำการฝึกที่สถานศึกษาแห่งที่ 2
ระหว่างวันที่ ๒ – ๖ พฤษภาคม 256๕ ดังรายละเอียดที่จะนำเสนอในรายงานการฝึกประสบการณ์ต่อไปน้ี
หวังวา่ รายการผลการฝกึ ประสบการณ์ สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาเล่มน้ี คงมีประโยชน์แก่ผู้สนใจ
ในการบริหารสถานศกึ ษาบ้าง หากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใด ข้าพเจา้ ขออภัยไว้ ณ ท่ีนดี้ ว้ ย
นพดล ลอื นาม
สารบญั หน้า
หวั เรอ่ื ง ๑
๑
๑ ขอ้ มลู ของสถานศึกษาทไ่ี ปฝึกประสบการณ์ ๑
๑) วิทยาลยั การอาชพี หนองสองหอ้ ง ๒
๒
๒) วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น ๓
๒ ข้อมูลสรปุ ๔ ประเดน็ เชือ่ มโยงกบั การปฏิบัติงานในสถานศกึ ษาที่ไปฝกึ ประสบการณ์ ๔
๕
๑) กลยทุ ธ์ในการขบั เคลื่อน Future Skill ของสถานศกึ ษา ๘
๙
๒) การสรา้ งความเข้มแข็งของระบบความรว่ มมอื กับสถานประกอบการ ๑๐
๓) ระบบการบรหิ ารจดั การสู่คุณภาพ
๑๑
๔) การขับเคล่ือนระบบงานวชิ าการ
๓ ผงั สรุปการฝึกประสบการณ์วิทยาลยั การอาชีพหนองสองหอ้ ง ๑๒
๔ ผังสรปุ การฝกึ ประสบการณ์วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ ๑๔
๒๕
๕ สรปุ แนวทางการนำไปใช้ ๓๓
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ตารางการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษา
ภาคผนวก ข บนั ทกึ การฝกึ ประสบการณป์ ระจำวัน
ภาคผนวก ค คำสัง่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการประเมินผลการฝกึ ประสบการณ์
ภาคผนวก ง ภาพกิจกรรมระหวา่ งการฝกึ ประสบการณ์
๑
การฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษา
วิทยาลัยการอาชีพหนองสองห้อง และวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแก่น
ชือ่ -นามสกุล.........นายนพดล ลือนาม................................กล่มุ ท่.ี ...16...................เลขท่ี......6.................
1. ขอ้ มลู สถานศกึ ษา
1.1 วทิ ยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง
วทิ ยาลัยการอาชีพหนองสองหอ้ ง ซ่ึงตง้ั อยู่บนที่ดนิ สาธารณะประโยชน์ (โคกน้ำซับใหญ่) ณ บ้านเมย
ต.หนองสองหอ้ ง อ.หนองสองหอ้ ง จ.ขอนแก่น เน้อื ที่ 100 ไร่ 1 งาน 85 ตารางวา มอี าคารเรียน รวม
ท้ังสน้ิ จำนวน 10 หลัง มีหอ้ งเรยี น 68 หอ้ ง มีบุคลากรจำนวนทัง้ สนิ้ คน 47 คน ไดแ้ ก่ ผูบ้ รหิ าร จำนวน 4
คน (นายสริ ิสมัย เย็มรมั ย์ ผูอ้ ำนวยการการอาชพี หนองสองหอ้ ง และฝา่ ยแผนงานและความร่วมมอื
รองผู้อำนวยการ จำนวน 3 คน) ขา้ ราชการครู จำนวน 4 คน พนกั งานราชการ (ทำหน้าที่สอน) จำนวน 8 คน
ลูกจ้างชั่วคราว (ทำหน้าท่ีสอน) 11 คน ลูกจ้างชวั่ คราว(ท่ัวไป/สนับสนุน) จำนวน 20 คน ข้อมูลนักเรียนและ
การจัดการเรียนการสอน (ข้อมลู ปกี ารศกึ ษา 2564) ไดแ้ ก่ 1) หลกั สตู รในระบบ ประเภทวิชาช่าง
อตุ สาหกรรม จำนวน 430 คน 2) หลกั สูตรในระบบ ประเภทวิชาพาณชิ ยการ จำนวน 217 คน
3) หลกั สูตรระยะส้ัน จำนวน 1,200 คน 4) หลักสูตรเสริมวิชาชพี (แกนมัธยม) จำนวน 40 คน
จดุ เด่นขององค์กร คอื ความสามัคคเี ป็นอนั หนึ่งอนั เดียวกนั ของบุคลากรในองค์กร
จดุ ดอ้ ยขององค์กร คือ ความขาดแคลนบคุ ลากร และความขาดแคลนงบประมาณ
Best Practice โครงการส่งเสรมิ อาชพี ในเรอื นจำ โดยความร่วมมือระหวา่ งวิทยาลยั การอาชีพหนองสองหอ้ ง
วิทยาลยั การอาชพี พล และเรอื นจำอำเภอพล
1.2 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น แรกก่อต้งั เม่ือวนั ท่ี 2 มกราคม 2519 ตั้งอยู่ในพน้ื ที่
สาธารณะ ป่าไม้บา้ นโนนข้ีเหล็ก ถนนแจ้งสนทิ ตำบลกุดเคา้ อำเภอมญั จาคีรี จงั หวดั ขอนแกน่ บนพื้นท่ี
ทั้งหมด 1,629 ไร่ 1 งาน 10 ตารางวา เปดิ สอน 3 หลักสตู รไดแ้ ก่ หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี
หลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสูง และปพี .ศ. 2557 เปน็ หนว่ ยงานหนง่ึ ของสถาบันการอาชีวศึกษา
เกษตรภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ เพ่ือทำการเรยี นการสอนในระดบั ปริญญาตรี (ต่อเนอื่ ง) ได้แก่หลักสตู ร
ปรญิ ญาตรีเทคโนโลยบี ัณฑติ (ทล.บ.) หลักสูตรประกาศนยี บัตรครเู ทคนิคชนั้ สงู (ปทส.) วิชาเอกโคเนอ้ื -โคนม
และหลกั สูตรประกาศนียบัตรครเู ทคนคิ ชน้ั สูง (ปทส.) เพ่ิมอกี 1 วิชาเอก ได้แก่ วิชาเอกธรุ กจิ เกษตร
วทิ ยาลัยฯ ได้รับคดั เลือกให้เป็นสถานศกึ ษารับรางวัลพระราชทานระดับอาชีวศึกษา(ขนาดใหญ)่ ปี
พ.ศ. 2548 และนักเรียนไดร้ ับรางวัลจากการประกวด และได้รับทนุ การศึกษาในระดับภาคและระดบั ประเทศ
มากมายอย่างตอ่ เนอ่ื ง
จดุ เดน่ ของวทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยขี อนแก่น ได้แก่ 1. การจัดการเรียนรู้อาชีพเปน็ ฐาน 2 การ
สร้างภาคีเครอื ข่ายท่เี ขม้ แขง็ เช่น โครงการแลกเปลย่ี นครแู ละนกั ศึกษาเพือ่ ไปศกึ ษาดูงานและทำความรว่ มมอื
จัดการศึกษากบั รัฐบาลและหนว่ ยงานสถานศึกษาเกย่ี วกับการเกษตรและเทคโนโลยีต่าง ๆ ดังน้ี 1. ประเทศ
ญ่ีปุ่น ในทจี่ ังหวัดกุนมา่ ประเทศญป่ี ่นุ 2. รัฐบาลประเทศอิสราเอล เพ่ือดูงานในระบบทวภิ าคีพื้นทเี่ ขตอาราวา
ประเทศอิสราเอล 3. วทิ ยาลยั เทคนิคอาชีวเกษตรยนู นาน (Yunnan Agricultural Vocational Technical
College) ประเทศจนี 4. โรงเรียนสอนภาษานานาชาตเิ คว้ลท์ (QELT) ประเทศออสเตรเลยี 5. ทำความ
ร่วมมอื การฝกึ ทกั ษะการปฏบิ ัตงิ านระหวา่ งสถานประกอบการในประเทศบรไู น 6. มหาวทิ ยาลยั ยงเจยี ง เมอื ง
หนานหนิง เขตปกครองตนเองกวา่ งซจี ว้ ง ประเทศจนี 7. มหาวิทยาลยั เกษตรกรรมและป่าไม้ แขวงบอลคิ ำ
ไซ ประเทศลาว
๒
2. สรปุ ประเด็นเชื่อมโยงกบั การปฏบิ ตั งิ านในสถานศึกษา (วทิ ยาลัยการอาชพี หนองสองห้องและวทิ ยาลยั
เกษตรและเทคโนโลยีขอนแกน่ )
2.1 กลยุทธใ์ นการขับเคลอื่ น Future Skill ของสถานศกึ ษา
วิทยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง
Future Skill คอื ทักษะในอนาคตแห่งการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ ทกั ษะการ
ส่ือสาร ทกั ษะทางเทคโนโลยี ในการขับเคลือ่ น Future Skill ของสถานศกึ ษา ผบู้ รหิ ารตอ้ งพิจารณาวาง
แผนการทำงานในอนาคตสถานศกึ ษาว่าจะมกี ารดำเนินงานหรอื การพฒั นาอย่างไร ซ่งึ สถานศึกษาได้จัดทำ
แผนพัฒนาสถานศกึ ษา 3-5 ปี ให้เห็นภาพของสถานศึกษาในอนาคต ต้องวางแผนการใช้งบประมาณ ให้การ
ทำงานทุกงานมีประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล ในการสง่ เสริมเสริมพัฒนา Future Skill ของบุคลากรในองค์กร
ทกุ คน จะดำเนนิ การไปพรอ้ ม ๆ กับการทำงาน ได้แก่
1) ประชมุ ชีแ้ จงทำความเขา้ ใจใหบ้ ุคลากรในองค์กรมีความเข้าใจในการเปลี่ยนแปลง
2) การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการบริหาร เชน่ การประชุมวางแผนงาน ทงั้ onsite online และ
Video Conference
3) จัดการอบรม และส่งบุคลากรเขา้ รับการอบรม เพื่อส่งเสรมิ พฒั นาบคุ ลากรใหม้ ีทักษะตามสายงาน
4) สง่ เสรมิ พฒั นาทกั ษะให้มีความสามารถในการนำเทคโนโลยมี าใชใ้ นการทำงานและการสอน
5) สง่ เสริมทักษะการคดิ วเิ คราะห์ โดยให้มีส่วนรว่ มนำเสนอความคดิ ในการประชุมวางแผนการ
ทำงานในแตล่ ะงาน
6) ทักษะการมสี ว่ นร่วม ให้บคุ ลากรทุกคนในองค์กรมสี ว่ นร่วมในการทำงาน ทำงานเพือ่ สว่ นรวม
มากกวา่ ส่วนตน
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยขี อนแก่น
ในชว่ งสถานการณ์โควิด-19 สง่ ผลให้ธรุ กิจอืน่ ๆ หยุดชะงกั แต่ดา้ นอาชีวะเกษตรกลับมีความสำคัญ
เพ่มิ ขน้ึ ในการเป็นแหลง่ ผลิตอาหารท่ีมีคณุ ภาพป้อนสปู่ ระชาชนในประเทศและต่างประเทศ เพิ่มข้ึน 20%-
30% เป็นการสรา้ งรายได้ใหแ้ ก่ผูผ้ ลิตทางการเกษตรมากขนึ้ ดังนั้นวทิ ยาลัยจงึ จับประเด็นตา่ ง ๆ ของ
สถานการณ์ท่ีเกิดข้นึ ในปจั จุบนั มาขบั เคล่ือน Future Skill ใหก้ ับทง้ั ครู บุคลากร และนกั เรียน นักศกึ ษา ใหม้ ี
ทักษะในอนาคตทางดา้ นการเกษตร โดยวิทยาลยั ไดท้ ำความรว่ มมือกบั ภาคีเครือข่ายผลติ อาการปลอดภัย และ
เสรมิ ทักษะในการเป็นผ้ปู ระกอบการให้กบั นักเรยี น นักศึกษา โดยไมเ่ นน้ ว่าจบไปแลว้ จะต้องไปทำงานรับจ้าง
ในสถานกระกอบการ ความคาดหวังคอื จบไปแล้วสามารถไปเป็นผู้ประกอบการทางธุรกิจเกษตรได้ เป็นการ
สร้างความมง่ั คัง่ รำ่ รวย มคี วามม่ันคงในอาชีพได้ วทิ ยาลยั จึงให้นักเรยี นฝึกทกั ษะตา่ ง ๆ แบบ On hand คือ
ตอ้ งทำกบั มือใหม้ ากท่สี ดุ และใชว้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม มาชว่ ยในการเกษตร เปน็ การลด
กระบวนการ ข้นั ตอน ลดเวลา ให้กบั การเกษตร เปน็ การ Re-skill Up-skill และ New-skill นกั เรียนสามารถ
ยดึ เป็นอาชพี หลงั จากจบการศึกษาได้ ซงึ่ วิทยาลัยได้ทำความร่วมมือกับบริษทั เอกชนในการรบั ผักไปขาย เป็น
Modern trade ของภาคอีสาน เร่ิมในปกี ารศกึ ษา 2565 นักเรียนทม่ี าเรยี นจะตอ้ งตื่นต้งั แต่ 05.00 น. เพอื่
ไปทำงานฟารม์ ใช้โรงงานฟารม์ เป็นฐาน เป็นการสร้างใหน้ กั เรยี นเกดิ ใจรกั ในการทำงานเกษตรกรรม นักเรียน
จะได้เรียนรู้และฝกึ ทักษะในการนำเทคโนโลยีมาช่วยในการเกษตร เช่น การใชน้ วัตกรรมปิดเปิดนำ้ ด้วย IOT
(Internet of Things) การใชอ้ ุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์เช่อื มโยงหรือส่งขอ้ มูลถึงกนั ไดด้ ้วยอนิ เตอร์เนต็ )
ใช้โทรศพั ท์มอื ถือมาใชใ้ นการควบคุมสงั่ การฯ ให้นำ้ ใหป้ ุ๋ย การใช้ระบบโรงเรอื นกันโรคกันแมลง การพยากรณ์
สภาพอากาศ การวิเคราะหแ์ ละดูตลาดสนิ คา้ การจดั การดา้ นการตลาด และทักษะอน่ื ๆ ทจี่ ำเปน็ ต่ออาชีพ
การเกษตรอย่างครอบคลมุ ครบวงจร ดงั นน้ั สภาพอากาศ และแมลง ไมใ่ ชข่ อ้ จำกัดในการทำการปลูกผักอีก
๓
ต่อไป แม้แต่ดนิ กม็ ีการปรงุ ดิน นำดนิ เก่า ๆ ท่ีหมดคุณคา่ สารอาหารมาปรุงใหม่ใสส่ ารอาหารสำหรับผกั เข้าไป
จงึ รับประกันไดว้ ่าเป็นอาหารทป่ี ลอดภยั ขายได้มีราคา และเป็นทต่ี อ้ งการในตลาดเปน็ อยา่ งมาก ซ่ึงในการ
ทำงานทงั้ หมดเป็นงานลงงานท่หี นกั สำหรับนักเรยี น นกั ศกึ ษา แตส่ ่งผลในการนำไปเปน็ อาชพี เป็น
ผู้ประกอบการในสังคมอนาคตไดอ้ ย่างม่ันคง เปน็ เป้าหมายของวทิ ยาลัยในการเป็น Smart Collage เปน็
ผผู้ ลิต Smart Farmers
2.2 การสรา้ งความเขม้ แข็งของระบบความร่วมมือกับสถานประกอบการและหน่วยงานอนื่
วทิ ยาลัยการอาชีพหนองสองหอ้ ง
วิทยาลัยฯ ได้ทำความรว่ มมือกับสถานประกอบในโครงการทวภิ าคี เช่น การทำความรว่ มมอื กับ
กลุ่ม กรอ.อส. คือคณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพือ่ พัฒนากำลังคนอาชีวศึกษากลุ่มอาชพี ช่างสี และ
ยานยนต์ชน้ิ สว่ น โดยมเี ป้าหมายเพอ่ื พัฒนากำลังพลให้ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ ซ่งึ
วิทยาลยั ได้จดั กิจกรรมเชิญสถานประกอบการมารว่ มประชมุ สัมมนา พร้อมมอบโลใ่ หก้ ับสถานประกอบการที่
ทำความร่วมมอื กับวทิ ยาลัย ในการสมั มนาได้สอบถามถึงความต้องการ ความจำเปน็ ว่าตอ้ งการใหว้ ิทยาลัยการ
อาชพี หนองสองห้องพัฒนานักเรียนไปในทศิ ทางใด ต้องการหลักสูตรแบบใด ซง่ึ เบ้อื งต้นไดร้ ับคำแนะนำให้
ปรบั ปรงุ รูปแบบการสอน และปรับปรุงหลกั สูตร ซ่ึงวทิ ยาลยั กไ็ ดด้ ำเนนิ การปรบั ปรุงตามคำแนะนำของสถาน
ประกอบการ นอกจากนยี้ ังได้ดำเนนิ การร่วมแกไ้ ขเด็กทีไ่ ม่จบในสถานประกอบการ ใหม้ าเรยี นต่อเพ่ิมเตมิ กบั
วทิ ยาลยั จนจบการศึกษา
ปัญหาประการหนง่ึ ในการการฝึกงานร่วมกับสถานประกอบการ คือ ความตอ่ เนอ่ื งของการฝึกงาน
เน่อื งจากนกั ศึกษาในระดบั ปวส.จะเรยี นอยู่ในสถานศกึ ษาในปที ่ี 1 และ ในปี ปวส.2 เทอม 1 ออกไปอยูก่ บั
สถานประกอบการ สถานประกอบการไดฝ้ กึ นกั เรียนจนชำนาญแลว้ นักเรยี นกก็ ลับมาเรยี น ปวส.2 เทอม 2
ทำให้เม่อื กลบั ไปสถานประกอบการต้องเสียเวลาฝึกใหม่ จงึ อยากใหน้ ักเรยี นเรียนทวี่ ิทยาลัยไปตลอดจนครบ
1 ปี แล้วไปฝึก 1 ปจี นจบการศึกษา
วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแก่น
เดิมวทิ ยาลยั ได้ทำการ MOU กับสถานประกอบการหลายแหง่ แตไ่ ม่ไดม้ กี จิ กรรมรว่ มกนั แต่เมอื่
วิทยาลัยได้ทุน กสศ. (กองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา) ทำให้วิทยาลยั ตระหนกั ได้ว่าวทิ ยาลยั ไม่
สามารถจะฝึกนกั เรียน นักศกึ ษา ไดเ้ พียงลำพงั จำเปน็ ต้องอาศยั ความรว่ มมอื กับผู้ประกอบการทีเ่ ก่ียวข้องกบั
การเกษตรด้านต่าง ๆ มาช่วยในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหก้ บั วทิ ยาลยั เช่น การนำครู บุคลากร และ
นักเรยี น นักศกึ ษาไปศกึ ษาดูงานดา้ นการปลกู ผกั ที่ฟารม์ ของทา่ นวรี ะศกั ด์ิ วงสมบตั ิ ซ่ึงเป็นการปลูกผักบน
แคร่ การศึกษาดงู านที่ภูตะวนั ฟาร์มของศษิ ย์เกา่ ทีไ่ ดไ้ ปศกึ ษาดูงานทปี่ ระเทศอสิ ราเอล มาเปดิ ธุรกจิ ฟาร์มผลติ
ผักส่ง TOP Supermarket ในภาคอีสาน ผลติ ผกั ไดม้ าตรฐาน GAP (Good Agricultural Practice ระบบการ
ผลติ ที่ถูกตอ้ งในฟารม์ ) และสวนปันบุญ ผู้ผลติ ผักอนิ ทรยี ์ เป็นตน้ วทิ ยาลยั ไดเ้ ชิญติดตอ่ ประสานงานกบั
ผูป้ ระกอบการทเี่ ก่ียวขอ้ งกับการเกษตรว่าผปู้ ระกอบการแตล่ ะแห่งจะสอนอะไรนักเรยี น นกั ศกึ ษาได้บา้ ง และ
ความตอ้ งการของวิทยาลยั ท่ีต้องการให้นักเรียน นกั ศกึ ษามีความร้แู ละไดฝ้ ึกทกั ษะเรือ่ งใดๆ ทต่ี ้องการให้
ผปู้ ระกอบการสอนให้ นอกจากนสี้ ถานประกอบการเครอื ข่ายสวนปนั บญุ นอกจากจะสอนเร่อื งการปลูกผัก
ปลอดสารแล้วยังสอนเรอ่ื ง การขายออนไลน์ เพิ่มเตมิ ใหก้ บั นกั เรียน นกั ศึกษาอกี ดว้ ย และกลมุ่ วิสาหกิจชุมชน
อำเภอมญั จาครี ี และเครอื ขา่ ยอำเภอบ้านแฮด มีช่ือเสียงดา้ นการปลกู มะมว่ งนำ้ ดอกไม้นอกฤดู ส่งขายประเทศ
ญี่ปุ่น ดังน้นั วิทยาลยั จงึ ประสานความรว่ มมือกับเครอื ขา่ ยต่าง ๆ เหล่าน้ี ในการสง่ นกั เรยี นไปฝึกงานอยใู่ น
ฟารม์ เป็นเวลา 1 ภาคเรียน โดยมีกิจกรรมเตรยี มนกั เรียน นกั ศึกษา ก่อนออกไปฝกึ งาน 1 เดือน ไปฝึกงาน 3
๔
เดอื น และเมอื่ กลับมาจากฝกึ งานแลว้ 2 สัปดาห์ใหน้ ักเรียน นกั ศึกษาท่อี อกไปฝกึ งานมาสรุปวา่ ได้อะไรมาบา้ ง
นอกจากนวี้ ทิ ยาลยั ยงั ไดส้ ่งนกั เรยี น นกั ศกึ ษาไปฝึกงานกบั เครือขา่ ยในตา่ งประเทศ เชน่ ประเทศเดนมารค์
ไปศกึ ษาดา้ นนวตั กรรมโคนม ขณะนที้ างวิทยาลัยกำลังดำเนินการทำสกู๊ปเพ่ือเผยแพร่ในเมอื งไทย ดว้ ยเหน็
ความสำคัญของผปู้ ระกอบการ วิทยาลยั จงึ ได้ประสานความร่วมมอื กบั ผู้ประกอบการท้งั ภาครฐั และภาคเอกชน
ด้านการเกษตร เป็นพนั ธมติ รท่ดี ตี อ่ กัน ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษาเป็นผมู้ ีความสำคญั มบี ทบาทในการออกเยี่ยม
ไปมาหาสู่ และเชญิ สถานประกอบการนั้น ๆ มาเย่ยี มชมท่วี ิทยาลยั
2.3 ระบบการบรหิ ารจัดการสู่คณุ ภาพ
วทิ ยาลยั การอาชพี หนองสองหอ้ ง
การบริหารสถานศึกษาสู่คณุ ภาพ เริม่ จากการวางแผนร่วมกนั ซง่ึ การวางแผนร่วมกนั สง่ิ สำคัญสิง่ หนง่ึ
คือ การสรา้ งความเขา้ ใจในองค์กร เปน็ การปรบั จูนดา้ นความคดิ และการมีสว่ นรว่ ม ทกุ งานทุกวันหรอื ทุกเย็น
ผ้บู รหิ ารจะนง่ั ประชมุ กันทานข้าวรว่ มกัน ถา้ มเี ร่ือง มีปัญหา จะผ่านการประชมุ กนั พดู คุย ข้อดีคอื ฝ่ายบริหาร
มีทัศนคติ ความคิด หรอื มขี ้อคิดหลาย ๆ อย่างที่ตรงกันด้วยการผา่ นการพดู คุย การที่จะพัฒนาสถานศึกษาไป
ด้านใดก็แล้วแต่ จะตอ้ งสรา้ งความเขา้ ใจ ความตระหนักกบั บุคลากร ตอ้ งประชมุ วางแผนร่วมกนั หาขอ้ สรุปให้
ไดใ้ นท่ีประชมุ หากมีงานใดทห่ี าขอ้ สรปุ ไมไ่ ด้ งานใดที่เดินได้ใหด้ ำเนินการเลย งานใดเดนิ ไมไ่ ด้ ให้ชะลอเพ่ือ
พิจารณาความพร้อมของคน ความพรอ้ มของงบประมาณ หรืออืน่ ๆ ซ่ึง ฝ่ายบรหิ ารมีความเขม้ แขง็ ในด้านการ
บริหารจัดการเน่ืองจากมีการพูดคุยกนั ทกุ วัน วทิ ยาลยั ให้ความสำคัญกับการสร้างขวญั และกำลงั ใจ งานในแต่
ละอยา่ งฝ่ายบริหารจะสง่ คนเขา้ ไปพฒั นาในทุก ๆ เร่ืองท่เี กีย่ วขอ้ งที่อยใู่ นรบั ผดิ ชอบ เช่น รองฝ่ายกิจการ
นักเรยี นนกั ศึกษา ตอ้ งดเู ร่อื งอะไรบา้ งทอ่ี ยูใ่ นความรับผดิ ชอบ เกี่ยวข้องกบั เดก็ กับครู งานปกครอง งานอื่น ๆ
และกจิ กรรม การส่งครไู ปอบรม สง่ ครไู ปร่วมกิจกรรม เช่น รว่ มกจิ กรรมลกู เสือ ครูทีร่ บั ผดิ ชอบจะอยู่ในเวที
นอกสถานศกึ ษามากกว่าในสถานศกึ ษา เป็นกจิ กรรมในระดับ อศจ. ระดบั ภาค ระดบั ชาติ ซ่งึ น่นั เปน็ การ
พัฒนาคนไปด้วย และงานทตี่ ้องวางแผนต้อง PDCA เมอ่ื มปี ัญหาตอ้ งมาพดู คยุ มาสรุปร่วมกัน
การบริหารให้สถานศึกษามกี ารบรหิ ารไปสู่คุณภาพไดน้ นั้ การวางแผนการทำงานสำคญั ที่สดุ พูดคุย
กนั สำคญั ทีส่ ดุ เปา้ หมายประการหน่งึ ที่เป็นความมุ่งมัน่ ของของสถานศึกษาคือ ผสู้ ำเร็จการศกึ ษาจบแลว้
จะต้องมงี านทำตรงตามความตอ้ งการของตลาดแรงงาน หรือผทู้ จี่ ะออกไปประกอบอาชพี สามารถออกไป
ประกอบอาชีพได้อย่างเต็มภาคภูมิ โดยวิทยาลยั ไมไ่ ดม้ องเฉพาะ 10 อตุ สาหกรรมหลักพัฒนาประเทศ ยงั มอง
บรบิ ทของพ้นื ทีข่ องวทิ ยาลยั ด้วย เชน่ นโยบายในการเปิดชา่ งเชอื่ ม ช่างกลโรงงาน เปน็ ความต้องการเชงิ พน้ื ท่ี
ความตอ้ งการเชิงบรบิ ท นอกจากนี้ยังสอดรบั กบั 10 อตุ สาหกรรมหลกั ดว้ ย ปีการศกึ ษา 2564 วิทยาลัย
ได้รบั ยกย่องเป็น Expert ในสาขาช่างกลโรงงาน ตอ่ ไปจะมี Standard Expert Excellent วิทยาลัยก็จะตอ่
ยอด Expert ให้เป็น Excellent
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่
ในการบรหิ ารวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่นในแตล่ ะรอบปี จะจัดประชุมครู บคุ ลากร รว่ ม
พจิ ารณาทบทวนว่า วทิ ยาลยั เรามจี ุดเดน่ อะไร มีจุดด้อยอะไรบา้ ง ประสบความสำเร็จอะไรบ้าง และมี
อะไรบา้ งที่เราต้องปรบั ปรงุ อะไรบา้ ง ให้ทมี งานไดส้ ะท้องความคดิ เห็น ซงึ่ เปน็ กจิ กรรม OD ( Organization
Development การพัฒนาองค์กร) ทีว่ ทิ ยาลัยให้ความสำคัญเพื่อพฒั นาองค์กรให้มีความเข้มแขง็ เปน็ การ
สร้างใหค้ นทำงานเปน็ ทมี ใหไ้ ด้ ให้ครแู ละบคุ ลากรเก่งแบบเป็นทีม (Teamwork) ในกิจกรรม OD ปี 2565
มีการพดู คยุ ถึงประเดน็ ท่ีวิทยาลยั จะขบั เคล่ือน จุดเด่น จุดด้อย เปน็ การให้ความสำคัญกบั บคุ ลากรทุกคน ไม่วา่
จะเปน็ ครู รองผู้อำนวยการ และคนงาน ที่จำเป็นต้องใหท้ กุ คนในองค์กรรู้ว่าวิทยาลัยมวี ตั ถุประสงค์ เปา้ หมาย
อยา่ งไร เพือ่ ใหท้ ุกคนเดนิ ไดถ้ กู ทาง ไมห่ ลงประเดน็ การตง้ั ธงตงั้ เป้าหมายในการพฒั นา วิทยาลยั จะมองไปท่ตี ัว
๕
เดก็ ว่าเราจะพฒั นาเดก็ ใหม้ ีคุณภาพ เราตอ้ งใช้ครูทีม่ ีคุณภาพ และใช้สว่ นสนับสนนุ ทีม่ คี ุณภาพด้วย ดังนัน้ การ
จะพฒั นาเดก็ ไดจ้ งึ ต้องพฒั นาครแู ละบุคลากรให้มีคุณภาพ รวมถึงรองผู้อำนวยการและผู้อำนวยการเองก็ต้องมี
คณุ ภาพ ดังนั้นในแต่ละปีวทิ ยาลัยจึงจัดกิจกรรม OD ให้ทุกคนในองค์กรมี Vision ร่วมกัน ฝนั รว่ มกัน
ต้ังเปา้ หมายร่วมกัน เม่ือกำหนดเปา้ หมายการพฒั นาท่ีตัวนกั เรยี น อาจจำเปน็ ตอ้ งเปล่ยี นหลักสูตร เปลี่ยน
หลกั การบริหาร เพ่ือให้ทนั ยกุ ต์ทันสมยั รองผ้อู ำนวยการก็ตอ้ งปรับ Mindset จับประเด็นให้ไดว้ า่ ผู้อำนวยการ
ตั้งเป้าหมายไวอ้ ย่างไร จะดำเนินการนำสผู่ ู้ปฏิบัติให้ปฏิบัติได้ ตอ้ งคลกุ คลีทำความเขา้ ใจและปฏิบัติร่วมกันกบั
ผอู้ ำนวยการและครู จากคุณครกู น็ ำไปสู่นกั เรียน
จุดแขง็ ในรอบปีท่ีผา่ นมาของวทิ ยาลยั คือ
- ได้รบั รางวลั นกั เรยี น นกั ศึกษา พระราชทาน ได้จำนวน 7 คน เปน็ เวลา 5 ปีต่อเนือ่ ง ในการ
บรหิ ารงานของ ผูอ้ ำนวยการสมมาตร เอยี ดฉมิ
- วิทยาลัยพระราชทาน ขนาดเล็ก
- ได้แชมป์โครงการอาชวี ะวิถี ของภาคอีสาน รางวลั รองชนะเลศิ ระดบั ประเทศ
- หน่วย อกท. (องค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย Future Farmers of Thailand)
ดีเด่น 3 ปีซอ้ น
- รางวลั To Be Number 1 IDOL
- รางวลั เยาวชนดีเดน่ แหง่ ชาติ
- สมาชิก อกท. ดีเดน่ ระดบั ชาติ
- สมาชกิ บริการและพฒั นาสังคมและชุมชนดเี ดน่
รางวลั ทีไ่ ดร้ ับแสดงถงึ คณุ ภาพของนักเรยี น นกั ศึกษา วิทยาลัยได้ดำเนินการขอทนุ โดยการเขียน
Proprosal (คำขอ) ทุนนวัตกรรมสายอาชีพ นำเสนอไปที่กองทนุ เพื่อความเสมอภาคทางการศกึ ษา ในรอบ 3
ปี น้มี ีนกั เรียน นักศกึ ษาไดร้ ับทนุ น้ี 200 กวา่ คนโดยประมาณ เปน็ ทุนตอ่ เน่ืองทน่ี กั เรยี น ปวช.จะไดร้ บั ทนุ
เดือนละ 6,500 บาท และปวส. ไดร้ ับทุนเดอื นละ 7,500 บาท ปีลา่ สุดได้ 75 คน
2.4 การขบั เคล่อื นระบบงานวิชาการ
วิทยาลยั การอาชพี หนองสองห้อง
ในการพัฒนางานวชิ าการ ในบริบทของสถานศกึ ษาวทิ ยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง มีจดุ ดอ้ ยอยู่
หลายประการ ฝา่ ยบริหารจงึ เอาจุดดอ้ ยมาเป็นปญั หาในการพัฒนางาน ผปู้ กครองของนกั เรียนสว่ นใหญ่จะ
ทำงานอยใู่ นโรงงานอุตสาหกรรม เดก็ จงึ ตอ้ งอยู่กบั ตายายเปน็ สว่ นใหญ่ การพัฒนาเด็ก ๆ ของวิทยาลัยจึงมีอยู่
หลายลกั ษณะ หน้าทีห่ ลกั ของฝา่ ยบรหิ ารท่สี ำคญั คือตอ้ งสร้างระบบของสถานศกึ ษาใหไ้ ด้ ฉะนน้ั เร่อื งการเรยี น
การสอนเปน็ หนา้ ทห่ี ลัก ฝ่ายบรหิ ารจะตอ้ งหาแนวทางท่พี ัฒนาครูให้เก่ง เมอ่ื ครูเก่ง เด็กกต็ ้องเก่ง สถานศึกษา
จงึ ส่งเสริมเติมเต็มใหค้ รไู ด้รบั การอบรมในทกั ษะต่าง ๆ เพอ่ื เปน็ การพฒั นา ฝา่ ยบริหารจะส่งครูไปอบรมในแต่
ละเร่ืองแตล่ ะงานแต่ละสาขา จากน้ันฝ่ายบริหารจะกำกับตดิ ตาม โดยการประชมุ การนิเทศการสอน
นอกจากน้ี ฝา่ ยแผนฯ ทมี่ ีหนา้ ท่ีดูแลในงบประมาณจะดูแลจดั หาวัสดุฝกึ วัสดุครุภัณฑ์ตา่ ง ๆ ซงึ่ การหาเครือ่ งไม้
เครอ่ื งมือก็เป็นส่งิ สำคัญในการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน แต่ปญั หาส่งิ หน่งึ คือวทิ ยาลัยไดร้ บั งบประมาณมาอยา่ ง
จำกดั วทิ ยาลัยแกป้ ัญหาด้วยการแสวงหาความร่วมมอื กบั หน่วยงานตา่ ง ๆ สิง่ ท่ีวทิ ยาลัยตั้งเปา้ หมายทจ่ี ะตอ้ ง
ดำเนนิ การ ศนู ยท์ ดสอบสมรรถนะวิชาชพี และห้องเรียนเฉพาะทาง ซงึ่ ฝ่ายบรหิ ารจะตอ้ งหาวธิ แี นวทางในการ
ดำเนินการในการทจ่ี ะพฒั นาสง่ เสริมทำใหบ้ รรลเุ ป้าหมาย ต้องสร้างจาก weak ใหเ้ ป็น peak ถงึ แมม้ ีข้อจำกัด
แต่วทิ ยาลยั ก็จะไม่หยดุ นง่ิ แม้จะมปี ัญหา วทิ ยาลัยการอาชีพหนองสองห้องมีข้อดีสง่ิ หน่ึงบนความขาดแคลนคือ
บุคลากรในองค์กรมีความสามคั คีซึง่ เปน็ จดุ เดน่ ของวทิ ยาลัยการอาชีพหนองสองห้อง ความเปน็ น้ำหน่งึ ใจ
๖
เดยี วกนั ถงึ แม้สถานศกึ ษาจะมีทรัพยากร มีงบประมาณ มีวัสดุอุปกรณต์ า่ ง ๆ มากมายยงั ไมใ่ ชค่ วามสำเร็จ
ขององคก์ ร ถ้าไม่มคี วามเปน็ น้ำหนงึ่ ใจเดยี่ วกันงานก็เดนิ ไม่ได้ ฝ่ายบรหิ ารจงึ มปี ระชมุ พดู คยุ กนั เสมอ ๆ อกี
ประการหน่งึ คอื การบริหารงบประมาณ จะต้องมกี ารบริหารงบประมาณในการทดแทนงบประมาณส่วนทไ่ี ม่พอ
หรอื ขาดแคลน แตต่ ้องไมก่ ระทบงบประมาณประเภทเดยี วกนั และงบประมาณท่ีแตล่ ะฝ่ายรับผดิ ชอบ ต้องให้
งานหลัก ๆ แตล่ ะส่วนดำเนนิ การไดต้ ามเปา้ หมาย
นโยบายของฝา่ ยบริหารในการพฒั นาสถานศึกษาในปกี ารศึกษา 2565 คือ NICE Model ได้แก่
N คอื Network เทคโนโลยี การสื่อสาร
I คอื Information ขอ้ มูลข่าวสาร
C คอื Change การเปล่ียนแปลง ปรับเปลีย่ นและต้องพัฒนา การเปลยี่ นท่ีต้อง
พฒั นา เปลย่ี นในเร่อื งคน เปลยี่ นเรื่องทกั ษะและการพฒั นา เปลย่ี นในเร่ืองของบริบทการทำงาน เปล่ียนใน
เร่ืองของบริบท เปล่ียนในเร่ืองอาคารสถานที่
E คือ Eficiency ประสทิ ธภิ าพ และประสทิ ธผิ ล ตอ้ งมองทง้ั ประสทิ ธภิ าพและ
ประสทิ ธผิ ลควบค่กู นั ตอ้ งพจิ ารณาความคมุ้ คา่ คุ้มทนุ จะพจิ ารณาเพยี งลดต้นทนุ อยา่ งเดยี วไมไ่ ด้ บางงาน
อาจจะทำสำเรจ็ มีประสิทธิภาพของงานแต่ตอ้ งใช้งบประมาณเยอะ
ขอ้ มลู ดา้ นผู้เรยี น ด้วยสถานศกึ ษามบี รบิ ทอยู่ในพ้ืนทที่ ี่มีคู่แข่ง ต้ังอยูใ่ นพ้นื ท่เี ล็ก ๆ ระดบั อำเภอ
ทำให้จำนวนนักเรยี นลดลงจากปกี ่อน ๆ จงึ เปน็ หน้าทขี่ องสถานศึกษาที่จะกวาดบ้าน การสร้างคณุ ภาพของ
วิทยาลยั ให้ผปู้ กครองและเครือขา่ ยชมุ ชนยอมรับ ไดแ้ ก่
1. การส่งวทิ ยาลยั พระราชทาน
2. การพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน ไดร้ บั รางวัลรวมเหรยี ญทอง อันดบั 5 ระดับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
3. ไดร้ บั รางวัลชมเชยสถานศึกษาปลอดภัย จากกรมสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน เปน็ ปที ่ี 3 และ
ยกระดบั ให้ไดร้ ับรางวัลดีเย่ียมในปีถัดไป ซ่ึงปัจจุบันเป็นนโยบายของกระทรวงท่ีให้ทกุ สถานศกึ ษา
อาชวี ศึกษาเปน็ สถานศกึ ษาปลอดภัย
การพัฒนางานวิชาการตอ่ ไปท่ีจะดำเนนิ การในปกี ารศึกษา 2565 คือ การทำความรว่ มมือโดยการ
เชญิ ผ้อู ำนวยการโรงเรียนเครอื ขา่ ยในการสร้างหอ้ งเรยี นอาชพี การสร้างเครดิตแบง็ ค์ เป็นโครงการเพม่ิ
ปริมาณนักเรียนสายอาชีพโดยสง่ ครไู ปสอนในโรงเรยี นมัธยม
ปัญหาของงานวชิ าการทีพ่ บของสถานศกึ ษา คือ ปัญหานักเรียนตกค้าง ผ้อู ำนวยการได้มอบนโยบาย
ในการแก้ไขปญั หาให้รองผอู้ ำนวยการ ดำเนินการสำรวจและวางแผนการทำงานดว้ ยความรว่ มมอื ของบุคลากร
ทกุ คนในองค์กร ไดแ้ ก่ ครู บุคลากร และฝา่ ยบริหาร ด้วยความตระหนกั เข้าใจ และเต็มใจ ได้แก่
1. ครทู ปี่ รกึ ษาสำรวจขอ้ มูลนกั เรยี นท่ีตกค้างทกุ คน ติดตอ่ แจ้งนกั เรียนและผู้ปกครองเปน็ รายบคุ คล
2. ครผู ูส้ อนจัดตารางสอนเสริมให้แก่นักเรยี นท่ีตกค้างทุกรายวชิ าทกุ คน
3. รองผอู้ ำนวยการทกุ ทา่ น ชว่ ยประชาสมั พันธ์ไปยงั ชุมชน และผู้ปกครองเมือ่ มโี อกาสไดร้ ว่ ม
กจิ กรรมต่าง ๆ ในชมุ ชน
ทำใหว้ ทิ ยาลยั การอาชีพหนองสองหอ้ งแก้ไขผลการเรียนของนกั เรยี นที่ตกคา้ งไดค้ รบทกุ คนทุกรายวิชาในปี
การศึกษา 2564
วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแกน่
มองยอ้ นหลังไปในรอบ 10 ปขี องวทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีขอนแกน่ จะพบว่าจำนวนนักเรยี น
นักศกึ ษาของวิทยาลัยลดลงเรื่อย ๆ ในแต่ละปี วทิ ยาลยั จงึ ได้ OD ร่วมคิดวเิ คราะห์สาเหตุและปญั หา จงึ เกดิ
การปรับเปลี่ยนหลักสตู รการเรียนการสอนให้ทนั ยุกต์ ทนั สมยั เปน็ ไปตามความต้องการของผู้เรยี น โดยจดั การ
๗
เรยี นการสอน 3 ระดบั ไดแ้ ก่ หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ หลักสตู รประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสงู และ
ระดบั ปรญิ ญาตรี (ตอ่ เนื่อง) การจดั การเรียนทั้งในระบบ นอกระบบ และทวิภาคี โดยมวี ธิ เี นน้ การศึกษานอก
ระบบและการจัดหลกั สตู รวิชาชพี ระยะสนั้ เพื่อให้ตรงกบั ความตอ้ งการของชุมชน และทอ้ งถิ่น การจดั การ
ศึกษาท่วี ทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีประสบความสำเร็จมาก ไดค้ วามสนใจของชมุ ชน ทำใหว้ ิทยาลยั มีจำนวน
ผูเ้ รยี นเพ่ิมขึ้น เปล่ียนจากวิทยาลยั ขนาดเลก็ เป็นสถานศึกษาขนาดกลาง และในปจั จุบนั เป็นสถานศึกษาขนาด
ใหญ่ วธิ ดี ำเนินการ ไดแ้ ก่ การร่วมตัง้ เป้าหมายของการจดั การศกึ ษา ปรบั เปล่ียนหลักสูตรในส่วนทสี่ ถานศึกษา
ปรบั เปล่ยี นได้ แต่ยงั ให้อยู่ในเกณฑข์ องการจบของอาชีวะ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการจัดการเรียน
การสอนหลกั สตู รวชิ าชีพระยะส้ัน วิทยาลยั โดยครไู มอ่ อกไปพบผ้เู รียนทกุ สัปดาหก์ ไ็ ด้ แต่ต้องจัดวางแผนการ
เรยี นเป็นรายสัปดาห์ให้ผ้เู รยี นปฏิบัตทิ กุ สัปดาห์อย่างต่อเนอื่ ง ส่ิงสำคัญท่คี รูผู้สอนตอ้ งคำนึงถงึ คอื เมอื่ เรียนแลว้
ตอ้ งลดค่าใช้จ่ายลงมาใหไ้ ด้ ต้องเพ่มิ ผลผลติ ให้ได้ และต้องมีกำไร วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น
จัดการเรยี นการสอนแบบเนน้ ฐานอาชีพ การสอนบรู ณาการเนอื้ หาสาระของรายวชิ าสามัญ ให้สอนในเน้ือหา
สาระท่สี าขาอาชพี นัน้ ๆ ตอ้ งรู้ เน้นฝึกทกั ษะฐานอาชีพ นนั่ คือ คิดเป็น ทำเป็น เปดิ ตลาดได้ สง่ิ สำคัญคือ
ผบู้ ริหารจะต้องปรบั Mindset ของครูผู้สอนท่ียงั ยึดตดิ แนวคิดการสอนเนอ้ื หาสาระแบบเดมิ ๆ ครูตอ้ ง
พจิ ารณาว่าวิชาของตนมคี วามสำคัญจำเปน็ แคไ่ หน ก็ใสเ่ ขา้ ไปเทา่ ที่จำเปน็ ทเี่ หลือก็ให้คนอนื่
ในด้านหลกั สูตรวทิ ยาลยั ฯ ตอ้ งขบั เคล่ือนไปในทิศทางเดยี วกัน ตอ้ งเลอื กวา่ อาชพี ใดเหมาะกับชว่ งอายุ
นั้น ๆ ชุมชนทอ้ งถนิ่ นัน้ ๆ ต้องปรับ Mindset ตอ้ งมกี ารทำ OD ตอ้ งสรา้ งทีมทเ่ี ข้มแข็ง เม่ือเกดิ ความเข้าใจ
แลว้ เราสามารถขับเคลอ่ื นเร่ืองต่าง ๆ ได้อีก เช่น การบรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง โครงการอาชวี ะวิถี เราก็
สามารถเปน็ ท่ี 1 ของประเทศได้ ซงึ่ เมอ่ื การขับเคล่ือนน้ปี ระสบความสำเร็จก็เปน็ ความภาคภมู ใิ จของทุกคน
เกิดทมี งานท่เี ขม้ แขง็ ทำให้วิทยาลยั ประสบความสำเร็จในเป้าหมายทุก ๆ ด้าน
บทสรปุ
แนวทางการบริหารวิทยาลัยการอาชีพหนองสองหอ้ ง และวทิ ยาลยั เกษตรละเทคโนโลยขี อนแกน่
ผู้บรหิ ารเป็นผู้ที่มคี ุณลักษณะเป็นท่ีศรทั ธาของบุคลากรในองคก์ ร เป็นผ้มู ีความร้คู วามสามารถ กลา้ คิดกล้า
ตดั สนิ ใจ มีความสามารถในการครองคนและครองงานได้ดว้ ยความเมตตา มีลกั ษณะบุคลกิ ลกั ษณะอันโดดเด่น
คอื เป็นผมู้ ีลกั ษณะประนีประนอม สามารถครองใจคนให้ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายด้วยความร่วมมอื รว่ มใจ
ผู้บรหิ ารเห็นความสำคญั ของบคุ ลากรทุกคนให้ทำงานตามบทบาทหนา้ ท่ดี ว้ ยความรับผดิ ชอบ และใหค้ วาม
ช่วยเหลือเพอ่ื นร่วมงาน สง่ เสรมิ เพื่อใหบ้ คุ ลากรไดร้ ับการพฒั นาความร้แู ละทกั ษะ ด้วยความเชอ่ื ที่ว่า เมื่อครู
เกง่ เด็กก็จะเก่งเชน่ กัน ในการบริหารงานทกุ งานดว้ ยกระบวนการ PDCA ดังนี้
P (Plan) โดยก่อนเริม่ ทำงานใด ๆ จะตอ้ งมกี ารวางแผนการทำงานทุกคร้งั มีการประชุมพดู คุยกับผู้มี
ส่วนรว่ มในการทำงานเพ่อื สร้างความตระหนกั และความเขา้ ใจ หากเห็นปญั หาอันจะเกดิ ขนึ้ ในการทำงานน้ัน ๆ
จะรว่ มกนั หาแนวทางแก้ไขก่อนเริม่ ดำเนินการ
D (Do) จากน้ันผทู้ ี่ได้รบั มอบหมาย ผ้มู ีหนา้ ทรี่ บั ผิดชอบจงึ ดำเนนิ การตามแผนที่วางไว้ โดยมอบหมาย
ให้รองผูอ้ ำนวยการดแู ล ชว่ ยเหลือ กำกับ ติดตามการทำงาน
C (Check) ในระหว่างดำเนินงาน คณะผู้บรหิ ารจะมีการประชมุ พูดคยุ สรุปเก่ียวกับงานทกุ ๆ งานท่ี
ดำเนินการเปน็ ประจำทุกวัน หรอื เกือบทุกวนั รองผ้อู ำนวยแตล่ ะท่านจะนำเสนอการทำงานของทกุ งานที่ดแู ล
วา่ มคี วามคบื หน้า มีอปุ สรรคปัญหาอะไร กจ็ ะนำมาพูดคยุ เพอื่ หาทางแก้ไขปัญหา หากงานยงั แก้ปัญหาไมไ่ ดก้ ็
จะชลอไวก้ ่อนและพยายามหาทางแก้ไขปญั หา
A (Action) เมอื่ งานใดไม่มปี ญั หาก็ดำเนินการเดนิ หนา้ ไปไดต้ ามแผน งานใดทมี่ ีปญั หาเมื่อสามารถ
แกไ้ ขปัญหาไดก้ ็ให้ดำเนนิ การตอ่ จนงานน้ัน ๆ ประสบความสำเรจ็ ดว้ ยประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผล
๘
ผงั สรุปการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศึกษา
วิทยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง ต.หนองสองห้อง อ.หนองสองห้อง จ.ขอนแก่น
สรา้ งความเขา้ ใจกบั บุคลากรในองคก์ ร สำรวจความต้องการอาชีพจากสถานประกอบการ
นำเทคโนโลยีในใช้ในการปฏบิ ตั ิงาน ทำความร่วมมือ MOU กับสถานประกอบการ
พัฒนาทกั ษะที่จำเป็นแก่บคุ ลากร จัดทำแผนการเรยี นร่วมกบั สถานประกอบการ
ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์นำเสนอ เปิดสอนตามสาขางานทีส่ ถาน ฯ ตอ้ งการ
สง่ เสรมิ ให้เกดิ การมีส่วนรว่ ม
การสรา้ งความเขม้ แขง็ ของระบบ
กลยุทธ์ในการขบั เคลอื่ น ความร่วมมือของสถานประกอบการ
Future Skill ของสถานศกึ ษา
และหนว่ ยงานอ่นื ๆ
วิทยาลยั การอาชพี
หนองสองห้อง
การขับเคล่อื นระบบงาน ระบบการบริหารจดั การสู่
วชิ าการ คณุ ภาพ
พฒั นาศักยภาพครูผสู้ อน วเิ คราะห์ความพร้อมของสถานศกึ ษา/ชมุ ชน
พฒั นา/จดั หาสอื่ วสั ดคุ รุภัณฑ์ สรา้ งความเข้าใจในเป้าหมายของสถานศกึ ษา
เพอ่ื ความรว่ มมอื ของบคุ ลากร
แสวงหาความรว่ มมอื ด้าน
งบประมาณจากชุมชน เช่นจัด สง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มของบคุ ลากรในการ
ผา้ ป่าเพือ่ การศกึ ษา ดำเนินงานของสถานศึกษาทุกขั้นตอน
ทำความรว่ มมอื MOU ดำเนนิ กิจกรรมของสถานศกึ ษาดว้ ย
ห้องเรยี นอาชีพกบั กระบวนการ PDCA
สถานศกึ ษาสังกดั สพฐ. อบจ.
และเอกชน ใช้ระบบนิเทศ ติดตาม ใหค้ ำแนะนำ แก้ไข
ปัญหาอยา่ งสม่ำเสมอและตอ่ เนื่อง
จดั การเรียนการสอนใน
โครงการ 1 เรอื นจำ 1 MOU
๙
ผงั สรุปการฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแก่น ต.กุดเค้า อ.มัญจาคีรี จ.ขอนแกน่
พัฒนาทักษะทางภาษาจนี และอังกฤษ วิเคราะหค์ วามต้องการของสถานศึกษาทจ่ี ำเป็นตอ้ ง
ขอความรว่ มมือจากผู้ประกอบการด้านการเกษตร
นำเทคโนโลยีในใช้ในการสอนและปฏิบัตงิ าน
พฒั นาทกั ษะการทำงานแบบ on hand ทำความรว่ มมือสรา้ งภาคีเครือข่ายกบั
พัฒนาทักษะการใชว้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ผปู้ ระกอบการดา้ นการเกษตรท้ังภายในประเทศ
และนวตั กรรมการเกษตรแกน่ กั เรียน ครู และ และต่างประเทศ
บุคลากรในสถานศกึ ษา
จัดทำแผนการเรยี นร่วมกับผปู้ ระกอบการ
กลยุทธ์ในการขบั เคลอ่ื น
Future Skill ของสถานศึกษา ตดิ ตอ่ สานสัมพันธก์ บั ภาคีเครือข่ายอย่างสม่ำเสมอ
วทิ ยาลยั เกษตรและ การสร้างความเขม้ แข็งของระบบ
เทคโนโลยีขอนแก่น ความร่วมมือของสถานประกอบการ
และหนว่ ยงานอน่ื ๆ
การขบั เคล่ือนระบบงานวิชาการ ระบบการบรหิ ารจดั การสคู่ ณุ ภาพ
พฒั นาทักษะครู บคุ ลากรทุกคน จัดกิจกรรม OD วเิ คราะห์ผลการปฏิบัติงาน
ผู้บรหิ าร ในปที ผี่ า่ นมาหาจดุ เด่นจุดดอ้ ยเพ่อื นำมา
ปรับ Mindset ของบุคลากรทกุ คน พฒั นาต่อยอด
จัดการศกึ ษาท้ังในระบบ นอกระบบ และทวภิ าคี
สรา้ งการทำงานใหเ้ ป็นทีมทเ่ี ข้มแขง็
จัดการเรยี นการสอนและฝกึ ทกั ษะอาชพี แก่
นักเรียน นกั ศึกษาจบไปเป็นผปู้ ระกอบการ บคุ ลากรทกุ คนในองคก์ รร้แู ละเขา้ ใจใน
เป้าหมายการพัฒนาขององคก์ รเพ่อื ทำงาน
จัดการศึกษานอกระบบโดยเนน้ อาชพี เปน็ ฐาน ไปในทศิ ทางเดยี วกัน
ดำเนนิ กิจกรรมของสถานศกึ ษาด้วย
กระบวนการ PDCA
๑๐
3. สรปุ แนวทางการนำไปใช้
จากความรู้และประสบการท่ีไดร้ ับในสถานศกึ ษา วิทยาลัยการอาชพี หนองสองห้อง ตำบลหนองสอง
ห้อง อำเภอหนองสองห้อง จงั หวดั ขอนแก่น ในระหวา่ งวันที่ 25-29 เมษายน 2565 และวทิ ยาลัยเกษตร
และเทคโนโลยีขอนแกน่ ตำบลกดุ เคา้ อำเภอมัญจาคีรี จงั หวดั ขอนแก่น ในระหว่างวนั ที่ 2-6 พฤษภาคม
2565 ผ้ฝู ึกประสบการณส์ ามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา ท่ีจะไปดำรงตำแหนง่ รอง
ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา โดยยึดตามนโยบาย ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เน้นดา้ นการอาชวี ศกึ ษาของสำนกั งาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดงั น้ี
แนวทางในการบริหารและจดั การสถานศกึ ษาให้ตำแหน่งหนา้ ที่รองผูอ้ ำนวยการสถานศกึ ษา จะตอ้ งมี
การวางแผนเก่ยี วกบั งานต่าง ๆ ตามโครงสรา้ งในฝ่ายทรี่ ับผดิ ชอบ โดยคำนงึ ถงึ เปา้ หมายของการจัดการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษาซึ่งต้องสอดคลอ้ งกบั แผนยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
ฉบบั ท่ี ๑๒ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ ๒๐ ปี แผนยุทธศาสตร์ กระทรวงศกึ ษาธิการ ด้านการอาชวี ศกึ ษา แผน
ยุทธศาสตร์ สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา แผนยทุ ธศาสตร์ สานพลงั ประชารัฐ ด้านการพัฒนา
การศกึ ษา ๑๐ ด้าน และการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง กำหนดแนวทางในการดำเนนิ งานใหส้ อดคลอ้ งกบั อนาคตที่จะเกดิ ข้นึ
รองผู้อำนวยการสถานศกึ ษา จะต้องสามารถครองคนครองตนและครองงานได้ ต้องพัฒนาตนเองอยู่
เสมอให้เป็นผ้มู ีความรู้ความสามารถครอบคลุมทุกเรื่องในการบรหิ ารสถานศึกษา มีความสามารถในการสื่อสาร
ถา่ ยทอดความรู้ ชีแ้ นะและให้คำแนะนำแกบ่ คุ ลากรในองคก์ รทุกคนได้ ปฏิบัติตนเป็นกลั ยาณมิตรกับทกุ คน
การท่ีจะบริหารงานให้สำเรจ็ ลลุ ่วงตามวตั ถปุ ระสงคไ์ ดน้ นั้ กระบวนการสรา้ งความตระหนกั ความเข้าใจของ
บุคลากรในองคก์ ร เพื่อให้เกดิ ความรักองคก์ ร ร้รู กั สามัคคขี องบคุ ลากรในองค์กร ให้บุคลากรมีส่วนรว่ มในการ
บรหิ าร การปฏบิ ตั ิงาน ทำให้เกิดความรูส้ ึกเป็นเจ้าของ ใหค้ วามสำคัญกับบคุ ลากรทุกคนให้รูส้ กึ เป็นสว่ นหน่งึ
ของสถานศึกษา ความร้สู กึ เปน็ สว่ นหนึง่ เปน็ เจา้ ของ เปน็ ครอบครวั เดียวกนั เป็นปจั จัยสำคัญที่จะทำให้
กิจกรรมทุก ๆ กิจกรรมสำเรจ็ ได้ตามเปา้ ประสงค์ ผูบ้ ริหารจะต้องครองใจลกู น้องใหไ้ ด้ ดว้ ยการสร้างขวัญและ
กำลังใจ เป็นกัลยาณมิตร การนิเทศตดิ ตามการปฏิบัติงานในทุกขน้ั ตอน ทกุ ครัง้ ที่มโี อกาสจะเย่ยี มสอบถาม
ใหก้ ำลังใจ ให้คำชแ้ี นะ แนะนำ ชว่ ยแกป้ ญั หา และมีสว่ นร่วมในการปฏิบตั ิงานในบางขั้นตอน จะทำให้
บุคลากรเกิดพลังในการทำงาน นอกจากนรี้ องผู้อำนวยการสถานศกึ ษา ตอ้ งเปน็ ผู้มีคณุ สมบัติ ปฏบิ ตั ิตนเปน็
ท่รี ักทีศ่ รัทธาของบุคลากรในองค์กร มคี วามรู้ และมคี วามสามารถ มีความเปน็ ผนู้ ำทด่ี ี มีความทันสมัย มี
ความคิดริเรมิ่ มีความมงุ่ ม่นั ไมย่ ่อท้อต่อการทำงาน มงุ่ มั่นหาวิธีเอาชนะอปุ สรรคใหไ้ ด้ มคี วามเสียสละ การเอา
ใจใส่ ใสใ่ จผูอ้ ยู่ใต้บงั คับบญั ชา มีความเมตตา มีความยุตธิ รรม
การนำกระบวนการ PDCA เขา้ มาใช้ในการปฏิบัติงาน เปน็ แนวทางท่ีจะทำให้งานประสบความสำเร็จ
ตามทต่ี ั้งเป้าหมายไว้ เรม่ิ ต้งั แต่
P - Plan กระบวนการวางแผน การวางแผนร่วมกนั สรา้ งความตระหนกั ความเขา้ ใจในเหตผุ ลของ
การทำงาน กำหนดแนวทางและต้ังเปา้ หมายร่วมกนั
D – Do การปฏิบัติงานตามแผนงานทว่ี างไว้ และ C - Check การกำกบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ เปน็
กระบวนการที่ต้องทำคู่กนั Do และ Check เมื่อเกดิ ปญั หาในระหวา่ งการทำงาน ต้องมกี ารประชุมพดู คุยหา
แนวทางการแก้ไขปัญหาทีเ่ กิด ดงั นั้นในกระบวนการนีจ้ งึ ตอ้ งมีการพดู คุยบ่อย ๆ ทกุ ระยะของการทำงาน ใน
บางกรณีอาจต้องมกี ารวนไป P – Plan วางแผนปรับเปลย่ี นเพม่ิ เติมแก้ไขอกี รอบแลว้ Do และ Check
A – Action เมอ่ื งานทกุ งานดำเนนิ ไป มีการปรับปรุง แก้ไขปัญหา จนสามารถดำเนนิ ได้จนสำเร็จ
ลุลว่ ง เปน็ แบบอย่าง หรือเปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติครัง้ ตอ่ ๆ ไป
๑๑
บรรณานุกรม
สำนักพัฒนาสมรรถนะครูและบุคลากรอาชีวศึกษา, ๒๕๖๕, “คู่มือผู้เข้ารับการพัฒนาข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา สำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา”, สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา.
งานวางแผนและงบประมาณ, ๒๕๖๔, “แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔”. วิทยาลัยการอาชพี
หนองสองหอ้ ง, อาชีวศึกษาจงั หวดั ขอนแก่น, สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา.
วิทยาลัยการอาชีพหนองสองห้อง, ๒๕๖๓, “รายงานการประเมินตนเอง (SAR) วิทยาลัยการอาชีพหนอง
สองหอ้ ง ปีการศึกษา ๒๕๖๓” สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา.
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยขี อนแก่น, ๒๕๖๓, “รายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) วิทยาลัยเกษตรและ
เทคโนโลยีขอนแก่น ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓” สำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.
http://www.nhtech.ac.th/สบื ค้นเม่อื เมษายน ๒๕๖๕
http://www.kkcat.ac.th/สบื คน้ เมอ่ื พฤษภาคม ๒๕๖๕
๑๒
ภาคผนวก ก
ตารางการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษา
๑๓
ตารางการฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา(วทิ ยาลัยการอาชีพหนองสองห้อง)
ตารางการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา(วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ )
๑๔
ภาคผนวก ข
บนั ทึกการฝกึ ประสบการณป์ ระจำวนั
๑๕
บนั ทกึ การฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา
(วิทยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง)
วนั ที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
๑๖
บนั ทกึ การฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา
(วิทยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง)
วนั ที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
๑๗
บนั ทกึ การฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา
(วิทยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง)
วนั ที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
๑๘
บนั ทกึ การฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา
(วิทยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง)
วนั ที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
๑๙
บนั ทกึ การฝึกประสบการณใ์ นสถานศึกษา
(วิทยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง)
วนั ที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
๒๐
บนั ทกึ การฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
(วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีขอนแกน่ )
วันท่ี ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๒๑
บนั ทกึ การฝึกประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
(วทิ ยาลัยเกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ )
วันท่ี ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๒๒
บนั ทึกการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
(วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ )
วันท่ี ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๒๓
บนั ทึกการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
(วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ )
วันท่ี ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๒๔
บนั ทึกการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
(วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ )
วันท่ี ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๒๕
ภาคผนวก ค
คำส่งั แตง่ คณะกรรมการประเมนิ ผลการฝึกประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
๒๖
คำส่งั แตง่ คณะกรรมการประเมนิ ผลการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษา
(วิทยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง)
วนั ที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
๒๗
คำส่งั แตง่ คณะกรรมการประเมนิ ผลการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษา
(วิทยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง)
วนั ที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
๒๘
คำส่งั แตง่ คณะกรรมการประเมนิ ผลการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศึกษา
(วิทยาลยั การอาชีพหนองสองห้อง)
วนั ที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
๒๙
คำส่งั แตง่ คณะกรรมการประเมนิ ผลการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
(วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ )
วนั ท่ี ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๓๐
คำส่งั แตง่ คณะกรรมการประเมินผลการฝกึ ประสบการณ์ในสถานศกึ ษา
(วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแก่น)
วันท่ี ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๓๑
คำส่งั แตง่ คณะกรรมการประเมนิ ผลการฝกึ ประสบการณใ์ นสถานศกึ ษา
(วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยขี อนแกน่ )
วนั ท่ี ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๓๒
คำส่งั แตง่ คณะกรรมการประเมินผลการฝึกประสบการณ์ในสถานศกึ ษา
(วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยีขอนแกน่ )
วันท่ี ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
๓๓
ภาคผนวก ง
ภาพกิจกรรมระหวา่ งการฝกึ ประสบการณ์
๓๔
ภาพกิจกรรมระหวา่ งการฝึกประสบการณ์
(วิทยาลัยการอาชพี หนองสองห้อง)
วันที่ ๒๕-๒๙ เมษายน ๒๕๖๕
รายงานตัวเขา้ ฝึกประสบการณ์กบั ผูอ้ ำนวยการและรองผู้อำนวยการท้งั 4 ฝ่าย
๓๕
ศึกษาการบริหารงานในฝา่ ยวชิ าการรว่ มกับรองฝ่ายวิชาการ
ศกึ ษาการบรหิ ารงานร่วมกบั หวั หน้างานอาชวี ศึกษาระบบทวภิ าคีและหัวหน้างานความรว่ มมอื
๓๖
ศึกษาการบริหารงานกบั เจา้ หน้าที่งานอาชีวศกึ ษาระบบทวภิ าคแี ละงานสือ่ การเรียนการสอน
ศึกษาการบริหารงานรว่ มกบั หวั หนา้ งานพัฒนางานหลกั สูตรฯ และหัวหน้างานครทู ่ปี รกึ ษา
๓๗
ศกึ ษาการบรหิ ารงานในฝา่ ยบริหารทรพั ยากรรว่ มกบั รองฝ่ายบริหารทรัพยากร
ศกึ ษาการบรหิ ารงานร่วมกับหัวหนา้ งานการบญั ชี
๓๘
ศกึ ษาการบริหารงานร่วมกบั หวั หน้างานทะเบยี นและหวั หนา้ แผนกวิชาช่างกลโรงงาน
ศกึ ษาการบรหิ ารงานร่วมกับหวั หน้างานวางแผนและงบประมาณ
๓๙
ศึกษาการบรหิ ารงานร่วมกับหัวหนา้ งานบรหิ ารงานทั่วไป
ศกึ ษาการบรหิ ารงานรว่ มกบั เจ้าหนา้ ท่งี านการเงินและเจา้ หนา้ ทงี่ านการบัญชี
๔๐
ศึกษาการบรหิ ารงานร่วมกบั เจา้ หนา้ ที่บคุ ลากรและเจ้าหนา้ ทบ่ี รหิ ารงานท่วั ไป
ศกึ ษาการบรหิ ารงานในฝ่ายพฒั นากจิ การฯ รว่ มกับรองฝา่ ยกจิ การนกั เรียน นกั ศกึ ษา
๔๑
รว่ มลงพ้ืนท่ีกับผู้บริหารสำรวจสถานทีก่ อ่ สร้างอาคารศนู ยซ์ อ่ มสรา้ งเพอ่ื ชมุ ชน
(Fix It Center) ประจำจังหวัดขอนแกน่ ณ วิทยาลัยการอาชีพหนองสองห้อง
๔๒
ร่วมกิจกรรมพธิ ลี งนามความร่วมมอื ระหวา่ งเรอื นจำอำเภอพลกบั
วทิ ยาลยั การอาชีพหนองสองห้องและวิทยาลยั การอาชีพพล
โครงการ MOU สถานศึกษาเพื่อพฒั นาพฤติกรรมนสิ ัยผูต้ อ้ งขงั (๑ เรอื นจำ ๑ MOU)
๔๓
รว่ มประชมุ on line เตรยี มความพรอ้ มก่อนเปิดภาคเรยี น ๑/๒๕๖๕
ฝา่ ยพฒั นากจิ การนกั เรียน นักศกึ ษา
ร่วมประชมุ กับผู้บรหิ ารเร่ืองการตดิ ตามการใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณในสถานศึกษา
๔๔
มอบของท่รี ะลึกแกผ่ ู้บรหิ ารวิทยาลยั การอาชพี หนองสองหอ้ ง
๔๕
มอบของท่รี ะลึกแกผ่ ู้บรหิ ารวิทยาลยั การอาชพี หนองสองหอ้ ง
๔๖
ภาพกจิ กรรมระหว่างการฝกึ ประสบการณ์
(วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีขอนแกน่ )
วนั ที่ ๒-๖ พฤษภาคม ๒๕๖๕
รายงานตวั เข้าฝกึ ประสบการณ์กับผูอ้ ำนวยการและรองผ้อู ำนวยการทั้ง 4 ฝ่าย
๔๗
ศึกษาการบรหิ ารงานในฝ่ายบรหิ ารทรพั ยากรรว่ มกบั รองฝ่ายบรหิ ารทรัพยากร
ศกึ ษาการบรหิ ารงานในฝา่ ยแผนงานและความรว่ มมอื รว่ มกบั รองฝ่ายแผนงานและความรว่ มมือ