บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศ
แหล่งสารสนเทศ
จังหวัดพิษณุโลก
เรื่อง แหล่งสารสนเทศ
จังหวัดพิษณุโลก
จัดทำโดย
นางสาว ปวีณา บัวคำ
6112415006
ชั้นปีที่ 4
สาขาวิชา บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศ
ศาสตร์
คณะมนุษยศาสตร์และสั งคมศาสตร์
คำนำ
หนั งสื ออิเล็กทรอนิ กส์ (E-BOOK) เล่มนี้ เป็น
ส่ วนหนึ่ งของการศึ กษาจัดทำขึ้นเพื่อพัฒนา
หนั งสื ออิเล็กทรอนิ กส์ ใหม่เพื่อนำเสนอข้อมูล
และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ ซึ่งมีเนื้ อหา
เกี่ยวกับสถานที่แหล่งสารสนเทศเพื่อการ
ศึ กษาหรือเรียนรู้ที่น่ าสนใจในจังหวัด
พิษณุโลก ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าข้อมูลจะ
เป็นประโยชน์ แก่ผู้ที่ศึ กษาไม่มากก็น้ อยหาก
เกิดข้อผิดพลาดประการใดต้องขออภัยมา ณ ที่
นี้ ด้วยอย่างยิ่ง
นางสาว ปวีณา บัวคำ
สารบัญ
1-6 ศูนย์ประวัติศาสตร์
พระราชวังจันทน์
ศูนย์วัฒนธรรมและการท่องเที่ยว 7 - 12
กลุ่มจังหวัดภาคเหนื อตอนล่าง
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
13 - 19 พิพิธภัณฑ์บ้านจ่าทวี
พิพิธภัณฑ์ผ้า 20 - 26
27 - 34 พิพิธภัณฑ์ไท-ยวน ฯลฯ
1. ศูนย์ประวัติศาสตร์
พระราชวังจันทน์
จ . พิ ษ ณุโ ล ก
1.
พระราชวังจันทร์
ส ถ า น ที่ เ รี ย น รู้ แ ล ะ ศึ ก ษ า โ บ ร า ณ ค ดี
ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ เ ดิ ม ส ถ า น ที่ แ ห่ ง นี้
เ ป็ น โ ร ง เ รี ย น ช า ย ป ร ะ จำ จั ง ห วั ด แ ต่
เ มื่ อ มี ก า ร ขุ ด ค้ น พ บ ซ า ก วั ต ถุ โ บ ร า ณ
ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ มี ก า ร ย้ า โ ร ง เ รี ย น
ช า ย อ อ ก ไ ป แ ล ะ ดำ เ นิ น ก า ร ขุ ด ค้ น ห ลั ก
ฐ า น โ บ ร า ณ ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ต่ อ ไ ป
พ ร ะ ร า ช วั ง จั น ท น์ มี ค ว า ม สำ คั ญ คื อ เ ป็ น
ที่ อ ยู่ ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น เ ร ศ ว ร ส มั ย ที่
อ า ศั ย อ ยู่ เ มื อ ง พิ ษ ณุโ ล ก พิ ษ ณุโ ล ก จึ ง
เ ป็ น เ มื อ ง เ ก่ า แ ก่ มี ที่ ม า ตั้ ง แ ต่ ส มั ย เ ริ่ ม
ต้ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ท ย ศู น ย์
ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ พ ร ะ ร า ช วั ง จั น ท น์ จึ ง ตั้ ง
ขึ้ น เ พื่ อ ร ว บ ร ว ม เ รื่ อ ง ร า ว ข อ ง
ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ เ มื อ ง พิ ษ ณุโ ล ก เ ป็ น
พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ สำ คั ญ ข อ ง เ มื อ ง พิ ษ ณุโ ล ก
2.
ภายในอาคารจัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับเมือง
พิษณุโลก พระราชวังจันทน์ และการเทิดพระ
เกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช แบ่งส่ วน
จัดแสดงเป็น
1 . พิ ษ ณุโ ล ก
เมืองประวัติศาสตร์สำคัญ ที่ตั้งอยู่บน
สองฝั่ งแม่น้ำน่ าน เป็นการแสดงภาพ
รวมของจังหวัดพิษณุโลก
2. การแสดงลักษณะทางกายภาพ
ภูมิศาสตร์และข้อมูลพื้นฐานของจังหวัด
พิษณุโลก
3 . บั น ทึ ก ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ 9 3.
ศ ต ว ร ร ษ เ มื อ ง พิ ษ ณุโ ล ก
เป็นการแสดงเรื่องราวของเมือง
พิษณุโลกในระยะ 900 ปี ที่ผ่านมา
ตั้งแต่กำเนิ ดเมืองสองแควจนถึงปัจจุบัน
โดยเทียบเคียงระยะเวลากับเหตุการณ์
สำคัญใประวัติศาสตร์โลก
4 . ศิ ล ป ก ร ร ม แ ล ะ ง า น ช่ า ง
ห ล ว ง พิ ษ ณุโ ล ก
แสดงเรื่องราวทางด้านศิ ลปกรรมชิ้น
เอกของเมืองพิษณุโลก เช่น พระพุทธชิน
ราช โบราณสถานสำคัญของเมือง
พิษณุโลก เช่น วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ
วรมหาวิหาร วัดจุฬามณี วัดเจดีย์ยอด
ทอง
5 . จั ด แ ส ด ง แ บ บ จำ ล อ ง วั ด
สำ คั ญ 3 วั ด ใ น เ ข ต
พ ร ะ ร า ช วั ง จั น ท น์
- วัดโพธิ์ทอง
- วัดศรีสุคต
- วัดวิหารทอง
6 . แ บ บ จำ ล อ ง พ ร ะ ร า ช วั ง
จั น ท น์ 3 ส มั ย แ ล ะ แ บ บ
จำ ล อ ง วั ต ถุ โ บ ร า ณ
4.
7 . ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น เ ร ศ ว ร
มหาราช
จากเจ้าฟ้าพระองค์น้ อยแห่งวังจันทน์ สู่
พระมหาวีรบุรุษของชาติไทย แสดงเรื่อง
ราวที่เกี่ยวข้องกับพระมหาวีรกรรมของ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อแสดง
ความเป็นวีรบุรุษผู้ยิ่งใหญ่ โดยมีการ
จำลองพระมาลาเบี่ยง พระแสงปืนต้น
ข้ามแม่น้ำสะโตง พระแสงดาบคาบค่าย
พระแสงทวน และพระแสงของ้าวแสน
พลพ่าย
8 . ห้ อ ง นิ ท ร ร ศ ก า ร ห มุ น เ วี ย น
จัดแสดงโครงการการพัฒนาพระราชวัง
จันทน์ และแบบจำลองพื้นที่โบราณ
สถานพระราชวังจันทน์
5.
วั น แ ล ะ เ ว ล า ทำ ก า ร
วันอังคาร – วันอาทิตย์ : 09:00 - 16:00 น.
หมายเหตุเวลาทำการ : หยุดทุกวันจันทร์
6.
2 . ศู น ย์ วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร ท่ อ ง
เ ที่ ย ว ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด ภ า ค เ ห นื อ ต อ น
ล่ า ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ พิ บู ล
สงคราม
จ. พิษณุโลก
7.
พิพิธภัณฑ์เมืองพิษณุโลก
พิพิธภัณฑ์เมืองพิษณุโลก เริ่มเปิดให้บริการ
เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2552 เป็นแหล่งเรียนรู้ที่
จัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์
พัฒนาการและเอกลักษณ์ ของจังหวัด
พิษณุโลก จัดแสดงด้วยสื่อและเทคโนโลยีที่
ทันสมัย โดยมีการจัดแสดง ดังนี้
8.
1 . ห้ อ ง แ น ะ นำ
จั ง ห วั ด พิ ษ ณุโ ล ก
จัดแสดงข้อมูลของจังหวัด
พิษณุโลกโดยรวม
2 . ห้ อ ง ป ฐ ม ส มั ย
สุ โ ข ทั ย
จัดแสดงข้อมูลประวัติเมือง
พิษณุโลก (สองแคว) ใน
คราวก่อสร้างเมือง สืบเนื่ อง
มาในสมัยสุโขทัย
3 . ห้ อ ง ใ ต้ เ ง า อ ยุ ธ ย า
จัดแสดงข้อมูล
ประวัติศาสตร์เมือง
พิษณุโลกในสมัยกรุ ง
ศรีอยุธยา
9.
4 . ห้ อ ง ร่ ม บ า ร มี ม ห า
จั ก รี ว ง ศ์
จัดแสดงข้อมูลพิษณุโลก
ในสมัยธนบุรีและ
รัตนโกสิ นทร์
5 . ห้ อ ง เ อ ก ลั ก ษ ณ์
เ มื อ ง พิ ษ ณุโ ล ก 1
จัดแสดงข้อมูลเกี่ยวกับ
ดนตรีมังคละซึ่งถือเป็น
เครื่องดนตรีประจำจังหวัด
พิษณุโลก
6 . ห้ อ ง เ อ ก ลั ก ษ ณ์
เ มื อ ง พิ ษ ณุโ ล ก 2
จัดแสดงข้อมูล ประเพณี
ความเชื่อและของดีประจำ
จังหวัดที่เป็นที่รู้จักของคน
ทั่วไป
10.
ศูนย์วัฒนธรรมและการท่องเที่ยวกลุ่ม
จังหวัดภาคเหนื อตอนล่าง1 มีการจัดแสดง
ข้อมูลเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ สถานที่ท่อง
เที่ยวประเพณี ศิ ลปวัฒนธรรมของ 5 จังหวัด
ภาคเหนื อตอนล่าง
1. จังหวัดอุตรดิตถ์
2. จังหวัดตาก
3. จังหวัดเพชรบูรณ์
4. จังหวัดพิษณุโลก
5. จังหวัดสุโขทัย
11.
ส ถ า น ที่ ตั้ ง
สำนั กศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทร์)
เลขที่ 66 ถนนวังจันทร์ ตำบลในเมือง อำเภอ
เมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก 65000
12.
3. พิพิธภัณฑ์บ้าน
จ่าทวี
ตั้งอยู่ที่ถนนวิสุทธิกษัตริย์ ในตัวเมืองพิษณุโลก
เป็นที่เก็บรวบรวมข้าวของเครื่องใช้พื้นบ้าน ซึ่งเป็นเครื่อง
มือทำมาหากินของชาวบ้านในอดีต ตั้งแต่ชิ้นเล็กๆ จนถึง
ชิ้นใหญ่ เช่น เครื่องจักสาน เครื่องปั้ นดินเผา เครื่องใช้ใน
ครัวเรือน เครื่องใช้ในการประกอบอาชีพ เช่น เครื่องวิด
น้ำด้วยมือ เครื่องสีข้าว เครื่องมือดักจับสัตว์ รวมกันแล้ว
นั บหมื่นชิ้น จนได้รับการยอมรับว่าเป็นขุมทรัพย์ทาง
ประวัติศาสตร์และภูมิปัญญาไทย และได้รับรางวัลยอด
เยี่ยมอุตสาหกรรมท่องเที่ยวไทยประเภทหน่ วยงานส่ง
เสริมและ พัฒนาการท่องเที่ยว เมื่อปี 2541
13.
ประวัติความเป็นมา
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้าน “จ่าทวี” เป็น
พิพิธภัณฑ์ส่ วนบุคคลของจ่าสิ บเอก
ดร.ทวี บูรณเขตต์ ก่อตั้งเมื่อปี 2533 จัดตั้ง
ขึ้นหลังจากที่ท่านได้รวบรวมเครื่องมือ
เครื่องใช้พื้นบ้านที่สะสมไว้เป็นจำนวน
มากมาจัดแสดง พร้อมทั้งบอกเล่าเรื่อง
ราววิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวบ้านไทย
ในอดีตซึ่งบ่งบอกถึงภูมิปัญญาชาวบ้านได้
อย่างน่ าสนใจ และดำเนิ นการเปิดให้ผู้
สนใจเข้าชมศึกษาหาความรู้ ตระหนั กใน
คุณค่าของเครื่องมือเครื่องใช้พื้นบ้าน
ต่างๆ เป็นอย่างมาก จ่าทวีมีความตั้งใจจะ
สร้างเป็น “พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี” ขึ้น
ตามความตั้งใจโดยมีจุดประสงค์เพียงเพื่อ
ต้องการให้คนรุ่นหลังได้รู้จักรากเหง้าของ
ตนเองและรู้สึ กภาคภูมิกับภูมิปัญญาปู่ย่า
ตายายของตน
14.
ข้อมูลพิพิธภัณฑ์
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี ทำหน้ าที่เก็บ
รวบรวมข้าวของเครื่องใช้ที่แสดงวิถีชีวิต
พื้นบ้านของชาวจังหวัดพิษณุโลก ด้านใน
จัดเป็นสวนธรรมชาติตกแต่งด้วยพันธุ์ไม้
ไทยหลากหลายชนิ ด มีอาคารแหล่งข้อมูล
และจัดแสดงสินค้าของที่ระลึก ส่วนจัด
แสดงมี 3 อาคารหลัก
15.
อาคารหลังที่ 1
เป็ นบ้ านไม้ที่ เจ้าของเดิ มสร้างขึ้ น
หลั งเหตุการณ์ ไฟไหม้ย่ านตลาด
เมืองพิ ษณุโลก รุ่นบุกเบิ ก ใช้จัด
แสดงรู ปภาพเก่าที่ แสดงถึ ง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่ นพิ ษณุโลก
รู ปการออกตรวจราชการงานเมือง
ในอดี ต, รู ปเหตุการณ์ ไฟไหม้ ปี
พ.ศ.2500, รู ปทัศนี ยภาพเมือง
พิ ษณุโลกก่อนและหลั งไฟไหม้ใหญ่ ,
ภาพของดี เมืองพิ ษณุโลก และภาพ
ชุ มชนสำคั ญในอดี ต ที่ จัดแสดงภาพ
ถ่ ายเก่าๆ ถึ งประวัติศาสตร์ท้องถิ่ น
ของพิ ษณุโลก
16.
อาคารหลังที่ 2
เป็ นอาคารไม้สองชั้น สร้างขึ้ นแบบร่วม
สมัยเมื่อประมาณ 50 ปี ที่ แล้ ว จัดแสดงข้ าว
ของเครื่องใช้พื้ นบ้ านไทยในอดี ต มีข้ าวของ
เ ค รื่ อ ง ใ ช้ จ า ก ทุ ก ภู มิ ภ า ค ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
แต่จะเน้ นพิ เศษในเขตภาคเหนื อตอนล่ าง
ได้ แก่ จังหวัด
พิ ษณุโลก,พิ จิตร,นครสวรรค์ ,กำแพงเพชร,
เพชรบูรณ์ ,ตาก,สุ โขทัย,อุ ตรดิ ตถ์ แบ่ งตาม
ประโยชน์ ใช้งาน ชั้นล่ างจัดแสดงกระต่าย
ขู ดมะพร้าว เครื่องจักสาน เครื่องเขิ น ตุ่ม
โอ่ ง หม้อน้ำ เครื่องมือจับสั ตว์ เครื่องมือจับ
ปลา เหรียญธนบั ตร เสื้ อผ้าเครื่องแต่งกาย
และนิ ทรรศการทำนา จัดแสดงข้ าวของ
เครื่องใช้พื้ นบ้ านไทยในอดี ตที่ ส่ วนใหญ่ ได้
มาจากบริเวณภาคเหนื อตอนล่ าง เช่น
เครื่องมือจับปลา ดั กนก ดั กหนู ดั กลิ ง รวม
ไปถึ งเครื่องดนตรี และของเล่ นเด็ กในสมัย
ก่อน ทั้งยั งมีมุมจำลองส่ วนต่างๆ ของบ้ าน
เรือนสมัยก่อน เช่น ครัวไฟเรือนอยู่ ไฟ
หลั งคลอดบุตร
17.
อาคารหลังที่ 3
จัดแสดงนิ ทรรศการชาวโซ่งหรือ
ลาวโซ่งหรือไทยทรงดำ กรณีศึกษา
ชาวโซ่งบ้านแหลมมะค่า อำเภอ
บางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ซึ่งอพยพ
มาจากเพชรบุรีและราชบุรี จัดแสดง
เกี่ยวกับวิถีชีวิตและการประกอบ
พิธีกรรมของชาวโซ่ง เช่น พิธีเสน
เรือน, งานกินหลองหรืองานแต่งงาน
ของชาวโซ่ง เป็นต้น
18.
วั น แ ล ะ เ ว ล า ทำ ก า ร
วันจันทร์ – วันอาทิตย์ : 08:00 - 16:30 น.
ค่าค่าธรรมเนี ยมเข้าชม
- ผู้ใหญ่ 50 บาท
- เด็ก 25 บาท
19.
4. พิพิธภัณฑ์
ผ้า
ม ห า วิ ท ย า ลั ย น เ ร ศ ว ร
20.
“พิพิธภัณฑ์ผ้า” คือ สิ่ งที่
สะท้อนความมีเสน่ ห์
เอกลักษณ์ ที่มีการถ่ายทอด
ภูมิปัญญา วิถีชีวิตและ
แนวคิด ต่างๆสื่อความหมาย
ลงบนผืนผ้า แต่กว่าที่จะมา
เป็นผืนผ้าแต่ละผืน จุดเริ่ม
ต้นของกระบวนการต่าง ๆ
ม.นเรศวร ได้มองเห็นถึง
ความสำคัญการนำเสนอ
แหล่งความรู้ที่สอดคล้องกับ
วิวัฒนาการในการดำรงชีวิต
ของมนุษย์ กว่าจะมีมาเป็นผ้า
21.
ผ้าทอไทย ถือเป็นมรดกทาง
ภูมิปัญญาของชาวไทย ที่นำ
“ฝ้าย” ผลผลิตของประเทศมา
ผลิตเป็นผ้าทอมือลวดลายต่าง ๆ
มีเสน่ ห์ในตัวเอง สื่อถึงความ
เป็นเอกลักษณ์ ของภูมิปัญญา
ท้องถิ่นในแต่ละภาค ทำให้คน
ไทยในปัจจุบันหันมาให้ความ
สำคัญกับการใช้ผ้าทอไทยและ
ใส่ ใจกับภูมิปัญญาชาวบ้านมาก
ยิ่งขึ้น
22.
ชั้น ที่ 1 ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
ร้านจำหน่ ายผลิตภัณฑ์ผ้าไทยและงาน
ฝีมือจากแหล่งต่าง ๆ ในประเทศ และของที่
ระลึกมหาวิทยาลัยนเรศวร
23.
ชั้นที่ 2 ทปรรระศกกอบารด้ผว้าย
ห้องนิ
1 . ห้ อ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ผ้ า จิ ต ร ล ด า
ผลิตภัณฑ์ที่ร้านจิตรลดานำมาเผยแพร่ และ
จำหน่ ายมีทั้งงานทอ ถัก ปัก เย็บ และงานประดิษฐ์ต่างๆ
นอกจากนั้ นยังได้ส่งเสริมการทอผ้าฝ้ายด้วยมืออย่าง
กว้างขวาง เพราะผ้าฝ้ายใช้ประโยชน์ ได้มากส่วนผ้าไหม
นั้ นมีทั้งการทอผ้าไหมพื้น ผ้าไหมยก และผ้าไหมยกดิ้น
รวมทั้งยังสนั บสนุนการทอผ้าพื้นบ้านอีกด้วย
2 . ห้ อ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ผ้ า ไ ท ค รั่ ง
เอกลักษณ์ ที่โดดเด่นของผ้าทอไทครั่งจะให้
สีสันที่เข้ม ร้อนแรง โดยใช้สีตัดกัน ส่วนใหญ่จะเน้ น
ที่สีแดงครั่งตัดกับสีเหลือง สีส้มหมากสุก สีคราม
หญิงชาวไทครั่งมักจะนุ่ งซิ่นเป็นเอกลักษณ์ และใช้
ในการประกอบพิธีกรรมต่างๆ โดยจะนุ่ งซิ่นตีนจกไป
ร่วมพิธี เพราะซิ่นตีนจกเปรียบเสมือนสิ่ งสำคัญที่มี
ความหมายสื่ อถึงอำนาจลี้ลับในธรรมชาติ
3 . ห้ อ ง พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ผ้ า ไ ท ท ร ง ดำ
กั บ เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ก า ร นุ่ ง ห่ ม ด้ ว ย สี ดำ
แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ก า ร นั บ ถื อ ผี
จัดแสดงผ้าของกลุ่ม “ไททรงดำ” สัมผัส 24.
เอกลักษณ์เสื้อผ้าเครื่องแต่งกายสีดำ พร้อมข้าวของ
เครื่องใช้ และหลากหลายพิธีกรรมความเชื่อของกลุ่มชน
ไททรงดำหรือไทดำ ลาวซ่งดำ ลาวโซ่ง กลุ่มชนที่อพยพ
จากเวียดนามเข้าสู่ประเทศไทย ตั้งแต่สมัย กรุงธนบุรี
จนถึงรัชกาลที่ 3 มาอาศัยอยู่ตามจังหวัดต่าง ๆ เช่น
พิษณุโลก, พิจิตร, สุพรรณบุรี, เพชรบุรี, ราชบุรี,
ลพบุรี, นครปฐม, เลย เป็นต้น
ชั้นที่ 2 ประกอบด้วย
นิ ทรรศการผ้า
25.
วั น แ ล ะ เ ว ล า ทำ ก า ร
เปิดวันจันทร์ - วันศุกร์ 08.30-16.30 น.
หมายเหตุ : หยุดวันเสาร์-อาทิตย์
26.
5. พิพิธภัณฑ์
ไท-ยวน ฯลฯ
27.
ความเป็นมาของชาวไท – ยวน ที่ตั้งอยู่ในเขตตำบล
สมอแข อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ถิ่นเดิมได้อพยพ
มาจากบ้านท่ามะเฟือง บ้านโค้งเขาหลวง บ้านใหญ่
อ่างทอง จังหวัดราชบุรี การย้ายถิ่นไทยวนจากราชบุรีสู่
จังหวัดพิษณุโลกนั้ น สำหรับชาวไทยวนที่อาศัยอยู่ใน
จังหวัดราชบุรี บางพื้นที่ประสบกับภาวะฝนแล้งติดต่อ
กันหลายปี การประกอบอาชีพเป็นไปด้วยความยาก
ลำบาก สถานที่ประกอบอาชีพมีน้ อยไม่เพียงพอกับการ
เลี้ยงครอบครัว มีชาวไทยวนบางกลุ่ม ได้ชักชวนญาติพี่
น้ องอพยพเพื่อไปแสวงหาแหล่งทำมาหากินที่อุดม
สมบูรณ์แหล่งใหม่ บางกลุ่มได้ไปตั้งหลักฐานที่จังหวัด
นครปฐม จังหวัดพิจิตร จนถึงจังหวัดพิษณุโลก บาง
กลุ่มเดินทางข้ามเขตมาจากอำเภอสามง่าม จังหวัด
พิจิตร การเดินทางสมัยนั้ นจะใช้ควายเทียมเกวียน
บรรทุกสัมภาระ ผ่านหมู่บ้านต่าง ๆ อาทิ บ้านดงหมี วัด
ตายม บ้านสะเดา บ้านกกไม้แดง บ้านดงดินทอง บ้าน
ป่าหมาก และบ้านวังน้ำคู้ บางกลุ่มข้ามแม่น้ำวังทอง
และบางกลุ่มก็ไปข้ามแม่น้ำน่ านที่บริเวณ สะพาน
นเรศวร ไปตั้งถิ่นฐานที่บริเวณโคกมะตูม (ตลาดโคก
มะตูม) บ้านนาโพธิ์ บ้านเขื่อนขันแถวซอยแป้งนวล และ
บางกลุ่มได้มาพักที่บริเวณโคกโพธิ์หรือร้องโพธิ์
(ปัจจุบันคือสี่ แยกอินโดจีน)
28.
อัตลักษณ์ ที่บ่งบอก
ถึงชาติพันธุ์ของ
บรรพบุรุษ
ชาติพันธุ์ไท - ยวน ไตยวน หรือคน
เมือง เป็นชนกลุ่มหนึ่ งที่อาศัยอยู่ทาง
ตอนเหนื อของประเทศไทย ซึ่งเคย
เป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา เป็นก
ลุ่มประชากรที่ใหญ่ที่สุดในอาณาจักร
ล้านนา ซึ่งมีคำเรียกตนเองหลายชื่อ
เช่น “ยวน” “โยน” หรือ “ไต” (ไท)
และถึงแม้ปัจจุบันชาวล้านนาจะกลาย
เป็นพลเมืองของประเทศไทยแล้ว
ก็ตาม แต่มักเรียกตนเองว่า “คนเมือง”
ต่อมาเกิดการย้ายถิ่นเพื่อตั้งรกรากยัง
จังหวัดต่าง ๆ และรวมกลุ่มรักษาขนม
ธรรมเนี ยมแบบไทยวน เช่น อำเภอ
วังทอง อำเภอพรหมพิราม และอำเภอ
เมืองจังหวัดพิษณุโลกพบกลุ่มไทยวน
ที่ย้ายถิ่นมาจากจังหวัดราชบุรี
29.
วัฒนธรรมท้องถิ่นกลุ่ม
ไท-ยวน ต.สมอแข
พิษณุโลก
ด้วยวัฒนธรรมที่ยาวนาน ทางสำนั กงาน
วัฒนธรรมจังหวัดพิษณุโลก ร่วมกับองค์การบริหาร
ส่วนตำบลสมอแข และกลุ่มไท-ยวน ต.สมอแข จึง
ได้ส่ งเสริมจัดตั้งศูนย์อนุรักษ์วัฒนธรรมไท-ยวน
ขึ้น ที่บ้านดงประโดก หมู่ที่ 3 ต.สมอแข อ.เมือง
พิษณุโลกแห่งนี้ ขึ้น เพื่อให้เยาวชนรุ่นหลานได้มา
ศึกษาหาความรู้และเที่ยวชมกันได้ถึงที่ โดยภายใน
ศูนย์จะรวบรวมทั้งทางด้านวัฒนธรรมพื้นถิ่น ทั้ง
การทอผ้าลวดลายดั้งเดิมของชาวไท-ยวน ที่สวยงาม
อีกด้วย
30.
ของเด่นบ้าน ไท-ยวน
ผ้าทอไท-ยวน, ม้าไม้จำลอง (ในพิธีแห่นาค
ม้าไม้), งานแทงหยวก, ศิลปะการตัด
กระดาษ
31.
ศู น ย์ อ นุ รั ก ษ์
ไท-ยวน ตำบล
สมอแข
คำ อ ธิ บ า ย : ส า ธิ ต ก า ร ก ร อ ด้ า ย
คำ อ ธิ บ า ย : อุ ป ก ร ณ์ ใ น ก า ร ก ร อ ด้ า ย
เ ข้ า ห ล อ ด เ พื่ อ ใ ช้ ใ น ก ร ะ ส ว ย เ ส้ น
นอน
คำ อ ธิ บ า ย : ช่ า ง ท อ ผ้ า ที่ พั ฒ น า
ฝี มื อ จ า ก โ ค ร ง ก า ร จั ด ตั้ ง ก ลุ่ ม
อ นุ รั ก ษ์
32.
ยศวูนนย์ตอำนบุรลักสษ์มไอทแ-ข
คำ อ ธิ บ า ย : รู ป แ บ บ ข อ ง
ซิ่ น แ ต ก ต่ า ง กั น 4
ลั ก ษ ณ ะ
คำ อ ธิ บ า ย : ห ม อ น ที่
เ ป็ น ม ร ด ก ข อ ง
ค ร อ บ ค รั ว
33.
วั น แ ล ะ เ ว ล า ทำ ก า ร
เปิดทุกวัน 07.00-20.00 น.
34.
บรรณานุกรม
ประวัติความเป็นมา.สื บค้นจาก
https://sites.google.com/site/suphlaksnyenk
han/home/prawati-khwam-pen-ma.
ผ้าทอไท-ยวน กลุ่มชาติพันธุ์ไท-ยวน. (2020).
สื บค้นจาก
https://www.nuac.nu.ac.th/ThaiYaun/02ethni
c.html.
พิพิธภัณฑ์ผ้า. (2018). สื บค้น
จากhttps://www.nuac.nu.ac.th/v3/?
page_id=91.
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี.(2021). สื บค้น
https://www.trueplookpanya.com/learning/d
etail/9263-015801.
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านจ่าทวี พิษณุโลก. (2010).
สื บค้นจาก
http://www.gotwodays.com/travel,360.html.
บรรณานุกรม
พิพิธภัณฑ์พระราชวังจันทน์ . (2016). สื บค้นจาก
https://www.museumthailand.com/th/home.
วัฒนธรรมท้องถิ่นกลุ่มไท-ยวน ต.สมอแข
พิษณุโลก. สื บค้นจาก
https://www.phitsanulokhotnews.com/2018/0
1/31/114744.
ศูนย์ประวัติศาสตร์พระราชวังจันทน์ . (2020).
สื บค้น
จากhttps://thailandtourismdirectory.go.th/t
h/info/attraction/detail/itemid/83514.
ศูนย์ประวัติศาสตร์พระราชวังจันทน์ . (2012).
สื บค้นจาก
https://www.chillpainai.com/travel/773.
ศูนย์อนุรักษ์ไท-ยวน ตำบลสมอแข. สื บค้นจาก
https://db.sac.or.th/museum/museum-
detail/1582.