The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบการประชุมครั้งที่ 8-2564 (พฤ 25 มีค 64)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wariya.boat, 2021-03-23 21:54:15

เอกสารประกอบการประชุมครั้งที่ 8-2564 (พฤ 25 มีค 64)

เอกสารประกอบการประชุมครั้งที่ 8-2564 (พฤ 25 มีค 64)

เอกสารประกอบการประชุม

คณะอนกุ รรมาธิการด้านส่ิงแวดลอ้ ม
ในคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม วฒุ ิสภา

ครัง้ ที่ ๘/๒๕๖๔
วนั พฤหัสบดีท่ี ๒๕ มีนาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา

ณ ห้องประชุมคณะกรรมาธกิ าร (สว.) หมายเลข ๔๐๖ ชน้ั ๔ อาคารรัฐสภา (เกยี กกาย)

ระเบียบวาระการประชุม
คณะอนุกรรมาธกิ ารด้านสง่ิ แวดลอ้ ม
ในคณะกรรมาธิการทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม วฒุ สิ ภา

คร้ังท่ี ๘/๒๕๖๔
วนั พฤหัสบดีที่ ๒๕ มนี าคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๓.๓๐ นาฬกิ า
ณ ห้องประชมุ คณะกรรมาธกิ าร (สว.) หมายเลข ๔๐๖ ชั้น ๔ อาคารรฐั สภา (เกยี กกาย)

-------------------------------------------------

ระเบยี บวาระท่ี ๑ เรอ่ื งทป่ี ระธานจะแจ้งต่อท่ีประชมุ (ถ้าม)ี

ระเบยี บวาระที่ ๒ รบั รองบนั ทึกการประชมุ
- บนั ทึกการประชมุ ครงั้ ท่ี ๗/๒๕๖๔ วนั พฤหสั บดีท่ี ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๔
หมายเหตุ
ด้วยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๒๙ วรรคหก บัญญัติว่า

“ใหส้ ภาผ้แู ทนราษฎรและวุฒสิ ภาเปดิ เผยบนั ทกึ การประชมุ รายงานการดาเนนิ การ รายงานการสอบหา
ข้อเท็จจริง หรือรายงานการศึกษา แล้วแต่กรณี ของคณะกรรมาธิการให้ประชาชนทราบ เว้นแต่
สภาผแู้ ทนราษฎรหรอื วฒุ ิสภา แล้วแต่กรณมี ีมติมิใหเ้ ปิดเผย”

ฝ่ายเลขานุการจึงเสนอบันทึกการประชุมต่อคณะอนุกรรมาธิการเพ่ือพิจารณา ทั้งนี้

เมอื่ คณะอนุกรรมาธิการมีมติใหค้ วามเหน็ ชอบแล้ว จะได้ดาเนินการเปิดเผยใหป้ ระชาชนทราบ โดยผ่าน
ช่องทางต่าง ๆ ตามที่สานักงานเลขาธิการวฒุ ิสภาจดั ทาขน้ึ ตอ่ ไป

อนึ่ง หากคณะอนุกรรมาธิการพิจารณามีมติมิให้เปิดเผยบันทึกการประชุม จะต้องระบุเหตุผล
ของการมิใหเ้ ปิดเผยไว้ดว้ ย เพือ่ นาเสนอตอ่ ท่ปี ระชมุ วุฒิสภาพิจารณาต่อไป

ระเบียบวาระที่ ๓ เรือ่ งเสนอเพอ่ื พจิ ารณา

๓.๑ พจิ ารณาศกึ ษา (ร่าง) รายงานการพิจารณาศึกษาเร่ือง การแกไ้ ขปัญหาหมอกควัน

และมลพิษภาคเหนอื จากฝนุ่ ละอองขนาดไม่เกิน ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) โดยเชิญผู้มาให้ข้อมูลเพิ่มเติม

ดังนี้

๑) กรมวิชาการเกษตร

- นางอารดา มาสิริ ผเู้ ช่ียวชาญด้านพชื ไรต่ ระกูลถ่ัวสถาบันวิจัยพืชไร่

และพชื ทดแทนพลังงาน

๒) กรมสง่ เสรมิ การเกษตร

- นายกิตติพันธ์ จนั ทาศรี ผู้อานวยการกองส่งเสริมโครงการพระราชดาริ ฯ

-๒-

๓) กรมพฒั นาท่ดี ิน

๓.๑) นายพงศ์ธร เพยี รพิทกั ษ์ ผู้อานวยการกลุ่มวิจัยและพัฒนาบรรเทาภาวะ

โลกรอ้ นทางการเกษตร

๓.๒) นางนิสา มแี สง ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการดนิ ด้วยระบบพืช

๔) คณะกรรมการออ้ ยและน้าตาลทราย

๓.๒ พิจารณาศึกษา (ร่าง) รายงานการพิจารณาศึกษาเรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหา
กากอุตสาหกรรม

ระเบยี บวาระที่ ๔ เรือ่ งอน่ื ๆ
๔.๑ สรุปผลเดินทางไปศึกษาดูงานของคณะอนุกรรมาธิการด้านส่ิงแวดล้อม ในคณะกรรมาธิการ

ทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม วฒุ ิสภา เพื่อศึกษาดูงานการแก้ไขปญั หาไฟป่า การเผาในท่ีโล่ง

หมอกควัน PM2.5 และการพยากรณ์คณุ ภาพอากาศล่วงหนา้ ระหว่างวันที่ ๑๔ – ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔
ณ จงั หวัดลาปาง

๔.๒ กาหนดวันและเวลาในการประชมุ คร้ังต่อไป

-----------------------------------------------

ระเบียบวาระท่ี ๒

รบั รองบนั ทกึ การประชมุ

บันทึกการประชุม
คณะอนกุ รรมาธกิ ารดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม

ในคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม วฒุ ิสภา
ครงั้ ที่ ๗/๒๕๖๔

วันพฤหสั บดีที่ ๑๑ มนี าคม ๒๕๖๔
ณ หอ้ งประชมุ คณะกรรมาธิการ (สว.) หมายเลข ๔๐๖ ช้ัน ๔ อาคารรฐั สภา (ฝง่ั วุฒิสภา)

___________________________

อนกุ รรมาธกิ ารผูม้ าประชมุ คอื ประธานคณะอนกุ รรมาธกิ าร
๑. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารยบ์ ญุ ส่ง ไขเ่ กษ รองประธานคณะอนุกรรมาธิการ คนทห่ี นึ่ง
๒. นายสาธติ เหลา่ สวุ รรณ อนุกรรมาธกิ าร
๓. นายวิจารย์ สิมาฉายา อนกุ รรมาธกิ าร
๔. ศาสตราจารยธ์ เรศ ศรีสถติ อนุกรรมาธกิ าร
๕. นางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธกี ุล
อนุกรรมาธกิ าร
๖. นางสุณี ปิยะพนั ธุ์พงศ์ อนกุ รรมาธิการ
๗. ศาสตราจารย์ธงชยั พรรณสวสั ดิ์ อนกุ รรมาธกิ าร
๘. วา่ ทีร่ ้อยตรี ธัชชยั ศิรสิ มั พันธ์ อนุกรรมาธิการ
๙. นายสมชาย ทรงประกอบ อนกุ รรมาธกิ ารและเลขานกุ าร
๑๐. นางสุวรรณา จุ่งร่งุ เรือง

อนุกรรมาธิการผไู้ ม่มาประชมุ คือ (ลาการประชมุ )
๑. นายสพุ ฒั น์ หวงั วงศว์ ฒั นา (ลาการประชุม)
๒. รองศาสตราจารยภ์ ูมิ มูลศลิ ป์

ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธกิ ารผูม้ าประชมุ คือ
๑. นางประเสริฐสุข เพฑรู ยส์ ิทธชิ ยั
๒. นายรังสรรค์ ปน่ิ ทอง
๓. นางศภุ รตั น์ โชติสกุลรตั น์

ผู้เขา้ ร่วมประชมุ คอื นกั วชิ าการประจาคณะกรรมาธกิ าร
- นางสาวขวัญชนก ศกั ด์โิ ฆษติ

เร่มิ ประชุมเวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา
เม่ืออนุกรรมาธิการมาครบองค์ประชุมแล้ว ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญส่ง ไข่เกษ

ประธานคณะอนุกรรมาธิการ ได้กล่าวเปิดประชุมและดาเนินการประชุมตามระเบียบวาระการประชุม
สรปุ ได้ดังนี้



ระเบียบวาระท่ี ๑ เรื่องทปี่ ระธานแจ้งต่อที่ประชมุ
ประธานอนุกรรมาธิการได้แจ้งให้ท่ีประชุมทราบเกี่ยวกับกาหนดการเดินทางไปศึกษาดูงาน

ของคณะอนุกรรมาธิการด้านส่ิงแวดล้อม ในคณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
วุฒิสภา เพื่อศึกษาดูงานการแก้ไขปัญหาไฟป่า การเผาในท่ีโล่ง หมอกควัน PM2.5 และการพยากรณ์
คณุ ภาพอากาศลว่ งหนา้ ระหวา่ งวันที่ ๑๔ – ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ จังหวัดลาปาง

ทีป่ ระชมุ รับทราบ

ระเบยี บวาระท่ี ๒ รับรองบนั ทึกการประชมุ
ท่ีประชุมคณะอนุกรรมาธิการได้ตรวจสอบบันทึกการประชุมโดยละเอียดรอบคอบแล้ว

จงึ มีมติรบั รองบันทึกการประชุมครง้ั ท่ี ๖/๒๕๖๔ วันพฤหสั บดีท่ี ๔ มีนาคม ๒๕๖๔ โดยไม่มีการแก้ไข

ระเบียบวาระท่ี ๓ เรือ่ งเสนอเพอื่ พิจารณา
- พิจารณาศึกษา (ร่าง) รายงานการพิจารณาศึกษาเรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหา

กากอตุ สาหกรรม
ท่ีป ระ ชุม ไ ด ้ม ีก า ร ป ร ะ ช ุม เ พื ่อ พ ิจ า ร ณ า ศึ ก ษา เก่ี ยว กับ ปั ญห าแ ละ อุป ส รร คที่ ทา ใ ห้

การดาเนินการไม่สาเร็จและข้อเสนอแนะการจัดการกากอุตสาหกรรมของ (ร่าง) รายงานการพิจารณาศึกษา
เรอื่ ง แนวทางการแกไ้ ขปัญหากากอุตสาหกรรม สรปุ ได้ดงั น้ี

๑) ปัญหาอุปสรรค
ผู้ประกอบการโรงงานไม่สามารถรายงานปริมาณกากตามช่องทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์

ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้อง โดยสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วตามประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรม เรื่อง การกาจัดสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้ว พ.ศ. ๒๕๔๘ ซึ่งแบ่งเป็น ๑๙ หมวด
และมีการกาหนดรหัสเฉพาะของส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไมใช้แล้วโดยใช้รหัสเลข ๖ หลัก และเรื่อง หลักเกณฑ์
และวิธีการแจ้งรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้วจากโรงงานโดยทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(Internet) พ.ศ. ๒๕๔๗ ทาให้ผู้ประกอบการเกิดความสับสนในการระบุประเภทหรือชนิดกากของเสีย
และไม่กล้าตัดสนิ ใจในการกาหนดรหัสของของเสีย

ข้อเสนอแนะ
๑.๑) กรมโรงงานอุตสาหกรรมต้องมีมาตรการช่วยเหลือผปู้ ระกอบการโรงงานอุตสาหกรรม
ให้เข้าสรู่ ะบบฐานขอ้ มลู ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่างถกู ต้อง และรวดเรว็
๑.๒) กรมโรงงานอตุ สาหกรรมตอ้ งปรบั ปรุงระบบฐานขอ้ มลู การกาหนดรหัสกากอตุ สาหกรรม
ที่ง่ายต่อการรายงานของผูป้ ระกอบการ
๑.๓) กรมโรงงานอุตสาหกรรมต้องกาหนดกลุ่มโรงงานเป้าหมาย ตามลาดับ
ความสาคญั ของการกาเนดิ กากอตุ สาหกรรม และระยะเวลาในการจดั ทาระบบฐานขอ้ มูล
๑.๔) กรมโรงงานอตุ สาหกรรมต้องพัฒนาระบบการรับรายงานและอนญุ าต ให้ใช้งานได้งา่ ย
บนแพลตฟอร์มดจิ ทิ ลั (Digital Platform)



๒) ปญั หาอุปสรรค
ความล่าช้าในการอนุมัติการจัดเก็บกากเกิน ๙๐ วัน (สก.๑) และการอนุมัติการขนกาก

ออกนอกโรงงานไปจัดการบาบัด/กาจัด/รีไซเคิล (สก.๒) เนื่องจากการกระจายอานาจให้กับสานักงาน
อุตสาหกรรมจังหวัดเพ่ือพิจารณารับรายงานและอนุญาต สก.๑ และ สก.๒ ยังไม่สามารถดาเนินการ
ได้ทุกจังหวัด เนื่องจากระบบของการกรอกข้อมูลยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ซ่ึงมีผลสื่บเน่ืองไปยัง
การปฏิบัตกิ ารของภาครัฐและภาคเอกชน ความล่าช้า เพราะภาระของเจ้าหนา้ ที่สานกั งานอุตสาหกรรม
จังหวัดมีหลายด้าน รวมท้ัง มีเน่ืองจากขีดความสามารถในการพิจารณารายงานของบุคลากรไม่มี
ความเชี่ยวชาญเพียงพอในการจัดการกากอุตสาหกรรม เช่น การระบุรหัสกากอุตสาหกรรม
การเสนอแนะวธิ กี าจดั กากอตุ สาหกรรมทีเ่ หมาะสม

ข้อเสนอแนะ
๒.๑) ต้องจดั ระบบให้ไมม่ คี วามลา่ ชา้
๒.๒) เพิ่มความตระหนักเกี่ยวกับภารกิจ อานาจหน้าที่ เพิ่มทักษะความรู้ และขีด
ความสามารถของบุคลากรในสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดให้มีศักยภาพเพียงพอในการรองรับภารกิจ
ของหนว่ ยงาน และตามนโยบายของกระทรวงอุตสาหกรรม
๒.๓) กรมโรงงานอุตสาหกรรม ต้องติดตาม ประมวลผล และให้คาแนะนากับ
สานกั งานอุตสาหกรรมจงั หวัด
๓) ปญั หาอุปสรรค
๓.๑) ผู้ประกอบการโรงงานบางรายจงใจไมร่ ายงาน (ผิดกฎหมาย)
๓.๒) ผู้ประกอบการโรงงานบางรายไม่ใช้ระบบใบกากับการขนส่งของเสียอันตราย
(Manifest System) (ผิดกฎหมาย)
ทง้ั นี้ ส่วนหนง่ึ เป็นผลมาจากการยกเลิกใบอนุญาตประกอบกจิ การโรงงาน (ใบ รง.๔)
ทาให้ภาครัฐขาดเครือ่ งมอื หรือเงื่อนไขในการกากับดแู ลการรายงานปริมาณกากอุตสาหกรรม
ข้อเสนอแนะ
๓.๑) ต้องมีการติดตาม ตรวจสอบการประกอบกิจการโรงงานอย่างสม่าเสมอ
โดยต้ังตน้ จากขอ้ มลู การยื่นขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน
๓.๒) ต้องใชบ้ งั คับกฎหมายอยา่ งเคร่งครัด
๓.๓) ระบบฐานขอ้ มลู โรงงาน ต้องมีความเปน็ มิตร เข้าถงึ ไดง้ ่าย
๓.๔) ต้องมีระบบและกลไกการตรวจสอบติดตามเส้นทางการจัดการกากอุตสาหกรรม
ของผู้ประกอบการโรงงาน ด้วยการจัดให้มผี ทู้ าหนา้ ทต่ี ิดตามตรวจสอบ (Third Party) ที่สามารถทางาน
และรายงานตอ่ กรมโรงงานอตุ สาหกรรมได้อยา่ งเปน็ ระบบและทันตอ่ เหตุการณ์
๓.๕) ปริมาณกากอุตสาหกรรมที่ต้องดาเนินการจัดการหายออกไปจากระบบ
ไม่รายงานหรือแจ้งผิดประเภท เน่ืองจากผู้ประกอบการยังไม่เห็นความจาเป็นในการขึ้นทะเบียน
กากอุตสาหกรรม เพราะคิดว่ากากที่เกิดขึ้นจากการผลิตยังสามารถนาไปจาหน่ายได้และสามารถ
สร้างรายได้ให้กับตนเอง หรือคิดว่าการกาจัดกากอุตสาหกรรมเป็นภาระของตนเองที่จะต้องเพ่ิม
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ เป็นเหตุให้ผู้ประกอบการรับกาจัดเกิดการขาดสภาพคล่อง การขาดทุน
ผลประกอบการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย รวมท้ังการติดตามผู้ประกอบการให้เข้าสู่ระบบยังไม่สามารถ
ดาเนินการได้



๓.๖) กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีมาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรม
ให้กลับเข้าสู่ระบบฐานข้อมลู ของกรมโรงงานอตุ สาหกรรม

๓.๗) กรมโรงงานอุตสาหกรรมต้องปรับปรุงระบบฐานข้อมูลการกาหนดรหัส
กากอตุ สาหกรรมที่ง่ายต่อการรายงานของผู้ประกอบการ

๓.๘) กรมโรงงานอุตสาหกรรมเร่งรัดและจัดทามาตรการในการติดตาม กากับ
และตรวจสอบผู้ได้รับอนุญาตในการบาบัด/กาจัด/รีไซเคิล (WP) อย่างท่ัวถึงและเร่งรัดการจัดให้มี
ผู้ทาหน้าท่ีติดตามตรวจสอบ (Third Party) ที่สามารถทางานและรายงานต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรม
ไดอ้ ยา่ งเป็นระบบและทันตอ่ เหตุการณ์

๔) ปัญหาอุปสรรค
ปัญหาการลักลอบท้ิงกากอุตสาหกรรมท่ัวไปและกากอุตสาหกรรมอันตราย

ที่เกิดขึ้นอยู่ประจา เพราะไม่มีอัตรากาลังท่ีเพียงพอในการติดตามตรวจสอบการขนกากอุตสาหกรรม
ออกจากโรงงาน เช่น อาเภอเขาหินซ้อน จังหวัดฉะเชิงเทรา อาเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี
หรือที่ตาบลหนองซาก อาเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี สาเหตุท่ีทาให้เกิดการลักลอบท้ิงกากสารเคมี
และของเสียอุตสาหกรรมอย่างผดิ กฎหมาย ส่วนหนงึ่ มาจากค่าใช้จ่ายในการบาบดั และกาจัดกากของเสีย
ค่อนข้างสูง ปัญหาสถานที่รบั กาจดั กากของเสียท่ถี กู ต้องตามกฎหมายมไี ม่เพยี งพอ ทาให้มกี ารหลีกเลี่ยง
และสง่ กากของเสยี อตุ สาหกรรมไปกาจัดอย่างไม่ถกู ต้อง

ขอ้ เสนอแนะ
๔.๑) กระทรวงอุตสาหกรรมเพิ่มมาตรการทางกฎหมายท่ีเข้มงวดและบทลงโทษ
ท่สี งู ขึ้นกว่าที่ปฏบิ ัติอยู่
๔.๒) กระทรวงอตุ สาหกรรมเรง่ รัดการพัฒนาระบบการเฝ้าระวงั ป้องกันผูล้ ักลอบทิ้ง
กากอุตสาหกรรม โดยอาศัยประชาชนในพืน้ ทเ่ี ปน็ ผูค้ อยตรวจสอบและรายงาน
๔.๓) ภาครัฐต้องมีนโยบายที่ชัดเจนในการสนับสนุนผู้ประกอบการให้สามารถแปรรูป
กากอุตสาหกรรมใหเ้ ปน็ พลงั งานหรือการใช้ประโยชน์ทหี่ ลากหลาย
๕) ปัญหาอุปสรรค
ปัญหาการฟื้นฟูสถานที่ที่ถูกลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรมอันตรายที่ต้องใช้
งบประมาณจานวนมาก หน่วยงานกากับดูแลไม่มีงบประมาณ รวมท้ังไม่สามารถตั้งงบประมาณ
เพือ่ แก้ไขปญั หาไดท้ นั ต่อเหตกุ ารณ์ เป็นเหตุใหม้ ลพษิ แพรก่ ระจายสูส่ ง่ิ แวดลอ้ มเป็นวงกวา้ ง
ข้อเสนอแนะ
๕.๑) กระทรวงอุตสาหกรรมเร่งรัดจัดหาแหล่งเงินทุนไว้สาหรับการฟ้ืนฟู
สภาพแวดล้อมทีเ่ กดิ จากการลักลอบทง้ิ กากอตุ สาหกรรม
๕.๒) หน่วยงานที่เก่ียวข้องตอ้ งมีมาตรการหรือข้อปฏบิ ัตใิ นการฟื้นฟูสภาพแวดล้อม
บริเวณพ้ืนทท่ี เี่ กดิ เหตกุ ารณอ์ ย่างทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์



๖) ปญั หาอุปสรรค
ความไม่พร้อมของผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมบางกลุ่มโดยเฉพาะกลุ่มขนาดเล็ก

เน่ืองจากขาดเจา้ หน้าท่ปี ระจาโรงงานทีม่ ีความรู้ความเขา้ ใจในเรอ่ื งกากอตุ สาหกรรมทเ่ี พียงพอ
ข้อเสนอแนะ
๖.๑) กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนดมาตรการให้โรงงานอุตสาหกรรมท่ีอยู่ใน

การกากับตามพระราชบัญญตั ิโรงงานตอ้ งมเี จา้ หน้าทีท่ ีท่ าหน้าทใี่ นการรายงานกากอุตสาหกรรมใหเ้ ข้าสู่
ระบบฐานข้อมลู ของกรมโรงงานอตุ สาหกรรม

๖.๒) กรมโรงงานอุตสาหกรรมเร่งรัดปรับปรุงระบบฐานข้อมูลการกาหนดรหัส
กากอตุ สาหกรรมทีง่ า่ ยต่อการรายงานของผปู้ ระกอบการ

๖.๓) กระทรวงอตุ สาหกรรมจัดทามาตรการให้กาลังใจและยกยอ่ งเชดิ ชูแกผ่ ู้ประกอบการ
ที่ให้ความร่วมมือเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลของกรมโรงงานอย่างต่อเน่ืองในรูปแบบของการลดภาษี
เป็นส่งิ ตอบแทน

๗) ปญั หาอปุ สรรค
กรมโรงงานอุตสาหกรรมไม่สามารถติดตามผู้ประกอบการขนกากรายเล็ก ซ่ึงพบว่า

ระบบการควบคุมผู้ขนส่งกากอุตสาหกรรมด้วยระบบระบุตาแหน่งบนพื้นโลก (Global Positioning
System : GPS) ไม่ครอบคลุมผู้ประกอบการทั้งหมด โดยเฉพาะผู้ประกอบการขนส่งขนาดเล็ก
จึงไม่สามารถติดตามการขนส่งกากอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ยังมีการทาลายระบบระบุตาแหน่งบนพ้ืนโลก
(Global Positioning System : GPS) ท่ถี กู ตดิ อยู่ในรถบรรทกุ กากอตุ สาหกรรมดว้ ย

ข้อเสนอแนะ
ยงั ไม่ได้บทสรปุ
๘) ปญั หาอปุ สรรค
กรมโรงงานอุตสาหกรรมยังไม่สามารถควบคุมหรือตรวจสอบผู้ได้รับอนุญาต
ดาเนินการบาบัด/กาจัด/รีไซเคิล (โรงงาน ๑๐๑, ๑๐๕ และ ๑๐๖) ให้มีคุณภาพในการจัดการ
กากอุตสาหกรรมตามมาตรฐานของกรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยกลุม่ ผไู้ ดร้ ับอนุญาตดาเนินการบาบัด/
กาจัด/รีไซเคิล โรงงานประเภท ๑๐๑, ๑๐๕ และ ๑๐๖ หลายโรงงานยังดาเนินการไม่ถูกต้อง
ตามข้อกาหนดของประเภทโรงงาน
ขอ้ เสนอแนะ
๘.๑) กระทรวงอุตสาหกรรมกาหนดเง่ือนไขการรายงานกากเข้าสู่ระบบฐานข้อมูล
ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมให้เปน็ ประเดน็ สาคัญในการได้รบั ความช่วยเหลือจากทางราชการดา้ นอ่นื ๆ
๘.๒) กระทรวงอุตสาหกรรมกาหนดมาตรการในการติดตาม กากับ และตรวจสอบ
ผู้ได้รับอนุญาตในการบาบัด/กาจัด/รีไซเคิล (WP) อย่างท่ัวถึงและเร่งรัดการจัดให้มีผู้ทาหน้าท่ีติดตาม
ตรวจสอบ (Third Party) ที่สามารถทางานและรายงานต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่างเป็นระบบ
และทันตอ่ เหตุการณ์
๘.๓) ภาครัฐมีการทบทวนการสนับสนุนมาตรการส่งเสริมการรับซ้ือไฟฟ้า
จากพลังงานหมุนเวียน (Feed in Tariff : FIT) ให้กับผู้ประกอบการกาจัดกากในรูปแบบการแปรรูป
ของเสียเป็นพลังงาน (Waste-to-Energy)



๙) ปญั หาอุปสรรค
การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากการลักลอบท้ิงกากอุตสาหกรรมในแหล่งน้า

หรอื พ้ืนท่เี กษตรกรรมอย่างทันต่อเหตุการณ์
ข้อเสนอแนะ
ยงั ไม่ไดบ้ ทสรปุ

๑๐) ปัญหาอุปสรรค
สถานที่กาจัดกากอุตสาหกรรมประเภท ๑๐๑ ท่ีกระจายอยู่ในภูมิภาคมีจานวนน้อย

เนื่องจากปริมาณกากอุตสาหกรรมในภูมิภาคมีน้อย เป็นเหตุให้ต้องขนกากอุตสาหกรรมมากาจัด
ในส่วนกลางของประเทศ ทาให้ราคาค่าขนส่งกากอุตสาหกรรมสูงขึ้น ไม่จูงใจผู้ประกอบการให้เข้าสู่
ระบบการกาจัดกากอตุ สาหกรรม

ขอ้ เสนอแนะ
๑๐.๑) รัฐบาลต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการจัดตั้งสถานที่รับบาบัด
และกาจดั กากอตุ สาหกรรม (Waste Processor) กระจายให้ครอบคลุมใน ๖ ภมู ิภาค ทง้ั นีต้ อ้ งสอดคล้อง
กับนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ โดยคานึงถึงการรองรับปริมาณของเสียอันตราย
จากชุมชนด้วย
๑๐.๒) การลงทุนสถานท่ีกาจัดกากอุตสาหกรรม ควรต้ังบนฐานแนวคิดการใช้
ประโยชนพ์ ้ืนทใี่ หส้ ามารถรองรบั ท้งั กากอุตสาหกรรม (ตอ้ งไดร้ ับใบอนุญาตจากกรมโรงงาน) และของเสียอันตราย
จากชุมชน (ต้องได้รับใบอนุญาตจากท้องถ่ิน) เพ่ือให้ได้ Economies of Scale โดยต้องปรับแก้ไข
กฎระเบยี บให้เอื้อตอ่ การดาเนินการดังกลา่ ว
มตทิ ี่ประชุม
ที่ประชุมมีมติเห็นชอบปัญหาและอุปสรรคที่ทาให้การดาเนินการไม่สาเร็จและข้อเสนอแนะ
การจัดการกากอุตสาหกรรม และเหน็ ควรนาไปประกอบเปน็ เนือ้ หาของ (รา่ ง) รายงานการพจิ ารณาศกึ ษา
เร่ือง แนวทางการแกไ้ ขปัญหากากอตุ สาหกรรมตอ่ ไป

ระเบยี บวาระที่ ๔ เรื่องอน่ื ๆ
- พจิ ารณากาหนดวันและเวลาในการประชมุ คร้งั ตอ่ ไป
มติทปี่ ระชมุ
ท่ีประชุมมีมติให้มีการประชุมครั้งต่อไป ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔

เวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา ณ ห้องประชุมคณะกรรมาธิการ (สว.) หมายเลข ๔๐๖ ช้ัน ๔ อาคารรัฐสภา
โดยเชิญผู้มาให้ข้อมูลเพิ่มเติมเก่ียวกับการแก้ไขปัญหาหมอกควันและมลพิษภาคเหนือจากฝุ่นละออง
ขนาดไม่เกนิ ๒.๕ ไมครอน (PM2.5) ดงั นี้

๑) อธิบดีกรมวิชาการเกษตร
๒) อธิบดกี รมส่งเสรมิ การเกษตร
๓) อธบิ ดกี รมพัฒนาทด่ี ิน
๔) เลขาธิการคณะกรรมการออ้ ยและน้าตาลทราย



เมือ่ ไดเ้ วลาอนั สมควรแล้ว ผ้ชู ่วยศาสตราจารยบ์ ุญส่ง ไข่เกษ ประธานคณะอนุกรรมาธิการ
ได้กลา่ วขอบคุณอนุกรรมาธิการและผู้เขา้ รว่ มประชุมทกุ ทา่ น และขอปิดการประชุม

เลิกประชุมเวลา ๑๖.๓๐ นาฬิกา

นางสาววริยา โควสุรตั น์
นิติกรปฏบิ ตั ิการ
ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ าร
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
ผู้จดบันทึกการประชมุ
นางสาวฑฆิ มั พร ฝาชัยภมู ิ
วทิ ยากรชานาญการ ตรวจ/ทาน ๑
นางสาวสิรภัทร พิมพแ์ กว้
ผูบ้ ังคบั บญั ชากลุ่มงาน ตรวจ/ทาน ๒

ระเบยี บวาระที่ ๓

เรื่องเสนอเพอื่ พจิ ารณา

แกไ้ ขในการประชุมครั้งท่7ี /2564 วันท่ี 11 มีนาคม 2564

สรปุ ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของแนวทางการแก้ไขปญั หากากอตุ สาหกรรม

1. ปัญหา : ผู้ประกอบการโรงงานไม่สามารถรายงานปริมาณกากตามช่องทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่างถูกต้อง โดยส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วตามประกาศกระทรวง
อุตสาหกรรม เรื่อง การกาจัดส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว พ.ศ. 2548 แบงออกเป็นถึง 19 หมวด
และมีการกาหนดรหัสเฉพาะของส่งิ ปฏิกูลหรือวัสดุท่ีไมใช้แล้วโดยใช้รหสั เลข 6 หลัก และเร่ือง หลักเกณฑ์
และวิธีการแจ้งรายละเอียดเก่ียวกับส่ิงปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้แล้วจากโรงงานโดย ทางส่ืออิเล็กทรอนิกส์
(Internet) พ.ศ. 2547 ทาให้ผู้ประกอบการเกิดความสับสนในการระบุประเภทหรือชนิดกากของเสีย
และไม่กล้าตัดสนิ ใจในการกาหนดรหัสของของเสีย
ข้อเสนอแนะ :

- กรมโรงงานอุตสาหกรรมต้องมีมาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมให้เข้าสู่ระบบ
ฐานข้อมลู ของกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้อยา่ งถูกต้อง และรวดเร็ว

- กรมโรงงานอุตสาหกรรมต้องปรับปรุงระบบฐานข้อมูลการกาหนดรหัสกากอุตสาหกรรมที่ง่ายต่อการ
รายงานของผูป้ ระกอบการ

- กรมโรงงานฯ ต้องกาหนดกลุ่มโรงงานเป้าหมาย ตามลาดับความสาคัญของการกาเนิด
กากอตุ สาหกรรม และระยะเวลาในการจดั ทาระบบฐานข้อมลู

- กรมโรงงานต้องพัฒนาระบบการรับรายงานและอนญุ าต ใหใ้ ชง้ านได้ง่าย บน Digital Platform

2. ปัญหา : ความลา่ ช้าในการอนุมตั ิการจัดเก็บกากเกิน 90 วัน (สก.1) และการอนุมัติการขนกากออกนอก
โรงงานไปจัดการบาบัด/กาจัด/รีไซเคิล (สก.2) เนื่องจากการกระจายอานาจให้กับสานักงานอุตสาหกรรม
จังหวัดเพื่อพิจารณารับรายงานและอนุญาต สก.1 และ สก.2 ยังไม่สามารถดาเนินการได้ทุกจังหวัด
เนื่องจากระบบของการกรอกข้อมูลยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ ซ่ึงมีผลส่ืบเน่ืองไปยังการปฏิบัติการ
ของภาครัฐและภาคเอกชน
ความล่าช้า เพราะภาระของเจ้าหน้าที่สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดมีหลายด้าน รวมทั้งมีเน่ืองจาก
ขีดความสามารถในการพิจารณารายงานของบุคลากรไม่เพียงพอความเชี่ยวชาญเพียงพอในการจัดการ
กากอตุ สาหกรรม เช่น การระบุรหสั กากอุตสาหกรรม การเสนอแนะวธิ กี าจดั กากอตุ สาหกรรมทีเ่ หมาะสม
ขอ้ เสนอแนะ :

- ตอ้ งจัดระบบให้ไม่มีความล่าช้า เชน่ ระบบตามทเ่ี สนอตามขอ้ 1
- เพิ่มความตระหนักเกี่ยวกับภารกิจ อานาจหน้าท่ี เพิ่มทักษะความรู้ และขีดความสามารถ
ของบุคลากรในสานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดให้มีศักยภาพเพีย งพอในการรองรับภารกิจของหน่วยงาน
และตามนโยบายของกระทรวงอุตสาหกรรม
- กรมโรงงานอุตสาหกรรม ต้องตดิ ตาม ประมวลผล และใหค้ าแนะนากับสานกั งานอตุ สาหกรรมจังหวัด

แก้ไขในการประชุมครั้งที่7/2564 วันท่ี 11 มนี าคม 2564

3. ปัญหา :
- ผูป้ ระกอบการโรงงานบางรายจงใจไมร่ ายงาน (ผดิ กฎหมาย)
- ผู้ประกอบการโรงงานบางรายไม่ใช้ระบบใบกากับการขนส่งของเสียอันตราย (Manifest System)

(ผดิ กฎหมาย)
**ท้ังสองข้อนี้ ส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการยกเลิก ใบ รง.4 ทาให้ภาครัฐขาดเคร่ืองมือหรือเง่ือนไข

ในการกากบั ดูแลการรายงานปริมาณกากอุตสาหกรรม
ข้อเสนอแนะ
- ต้องมีการติดตาม ตรวจสอบการประกอบกิจการโรงงานอย่างสม่าเสมอ โดยต้ังต้นจากข้อมูลการย่ืน

ขออนญุ าตต้ังโรงงาน
- ต้องใชบ้ งั คบั กฎหมายอยา่ งเคร่งครดั
- ผู้ประกอบการโรงงานรายงานไม่ได้ หรอื รายงานไมถ่ กู ตอ้ ง
ข้อเสนอแนะ
- แกโ้ ดยขอ้ 1
- ขาดการตรวจสอบ ติดตามเสน้ ทางการจัดการกากอตุ สาหกรรมของผ้ปู ระกอบการโรงงาน
ข้อเสนอแนะ
- ระบบฐานขอ้ มลู โรงงาน ต้องมคี วามเป็นมิตร เข้าถึงได้ง่าย
- ต้องมีระบบและกลไกการตรวจสอบติดตามเส้นทางการจัดการกากอุตสาหกรรมของผู้ประกอบการ

โรงงาน ด้วยการจัดให้มีผู้ทาหน้าที่ติดตามตรวจสอบ (Third Party) ท่ีสามารถทางานและรายงาน
ตอ่ กรมโรงงานอุตสาหกรรมได้อยา่ งเปน็ ระบบและทันต่อเหตุการณ์

ปริมาณกากอุตสาหกรรมท่ีต้องดาเนินการจัดการหายออกไปจากระบบ ไม่รายงานหรือแจ้งผิดประเภท
เน่ืองจากผู้ประกอบการยังไมเ่ ห็นความจาเปน็ ในการขึ้นทะเบียนกากอตุ สาหกรรม เพราะคดิ วา่ กากท่เี กดิ ขึ้น
จากการผลิตยังสามารถนาไปจาหน่ายได้และสามารถสร้างรายได้ให้กับตนเอง หรือคิดว่าการกาจัดกาก
อุตสาหกรรมเป็นภาระของตนเองที่จะต้องเพ่ิมค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ เป็นเหตุให้ผู้ประกอบการรับกาจัด
เกิดการขาดสภาพคล่อง การขาดทุน ผลประกอบการไม่เป็นไปตามเป้าหมาย รวมทั้งการติดตาม
ผปู้ ระกอบการให้เขา้ สู่ระบบยงั ไม่สามารถดาเนนิ การได้

ข้อเสนอแนะ :
- กรมโรงงานอุตสาหกรรมมีมาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมให้กลับเข้าสู่ระบบ
ฐานข้อมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรม
- กรมโรงงานอุตสาหกรรมต้องปรับปรุงระบบฐานข้อมูลการกาหนดรหัสกากอุตสาหกรรมที่ง่าย
ตอ่ การรายงานของผปู้ ระกอบการ
- กรมโรงงานอุตสาหกรรมเร่งรัดและจัดทามาตรการในการติดตาม กากับและตรวจสอบผู้ได้รับอนุญาต
ในการบาบัด/กาจัด/รีไซเคิล (WP) อย่างท่ัวถึงและเร่งรัดการจัดให้มีผู้ทาหน้าท่ีติดตามตรวจสอบ (Third
Party) ที่สามารถทางานและรายงานต่อกรมโรงงานอตุ สาหกรรมได้อยา่ งเปน็ ระบบและทันต่อเหตกุ ารณ์

แกไ้ ขในการประชมุ คร้งั ท่7ี /2564 วนั ท่ี 11 มีนาคม 2564

43. ปัญหา : ปัญหาการลักลอบท้ิงกากอุตสาหกรรมท่ัวไปและกากอุตสาหกรรมอันตรายท่ีเกิดข้ึนอยู่ประจา
เพราะไม่มีอัตรากาลังที่เพียงพอในการติดตามตรวจสอบการขนกากอุตสาหกรรมออกจากโรงงาน เช่น อาเภอ
เขาหินซ้อน จังหวัดฉะเชิงเทรา อาเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี หรือที่ตาบลหนองซาก อาเภอบ้านบึง จังหวัด
ชลบุรี สาเหตุท่ีทาให้เกิดการลักลอบทิ้งกากสารเคมีและของเสียอุตสาหกรรมอย่างผิดกฎหมาย ส่วนหนึ่ง
มาจากค่าใช้จ่ายในการบาบัดและกาจัดกากของเสียค่อนข้างสูง ปัญหาสถานท่ีรับกาจัดกากของเสียท่ีถูกต้อง
ตามกฎหมายมไี มเ่ พยี งพอ ทาใหม้ ีการหลีกเลย่ี งและสง่ กากของเสยี อุตสาหกรรมไปกาจัดอยา่ งไมถ่ ูกต้อง
ขอ้ เสนอแนะ :

- กระทรวงอุตสาหกรรมเพิ่มมาตรการทางกฎหมายทเี่ ข้มงวดและบทลงโทษทส่ี งู ขน้ึ กวา่ ท่ีปฏบิ ัติอยู่
- กระทรวงอุตสาหกรรมเร่งรัดการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังป้องกันผู้ลักลอบท้ิงกากอุตสาหกรรม

โดยอาศยั ประชาชนในพื้นท่ีเป็นผ้คู อยตรวจสอบและรายงาน
- ภาครัฐต้องมีนโยบายที่ชดั เจนในการสนบั สนนุ ผู้ประกอบการให้สามารถแปรรูปกากอุตสาหกรรมให้เป็น

พลังงานหรือการใชป้ ระโยชนท์ ห่ี ลากหลาย

5 4. ปัญหา : ปัญหาการฟื้นฟูสถานที่ท่ีถูกลักลอบทิ้งกากอุตสาหกรรมอันตรายที่ต้องใช้งบประมาณจานวน
มาก หน่วยงานกากับดูแลไม่มงี บประมาณ รวมท้ังไม่สามารถต้ังงบประมาณเพื่อแก้ไขปัญหาได้ทันต่อเหตุการณ์
เป็นเหตใุ หม้ ลพษิ แพร่กระจายสู่สิง่ แวดล้อมเป็นวงกว้าง
ข้อเสนอแนะ :

- กระทรวงอุตสาหกรรมเร่งรัดจัดหาแหล่งเงินทุนไว้สาหรับการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมท่ีเกิดจากการลักลอบ
ท้ิงกากอุตสาหกรรม

- หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องต้องมีมาตรการหรือข้อปฏิบัติในการฟื้นฟูสภาพแวดล้อมบริเวณพื้นท่ีที่เกิด
เหตกุ ารณอ์ ย่างทันตอ่ เหตกุ ารณ์

6. ปัญหา : ความไม่พร้อมของผู้ประกอบการโรงงานอุตสาหกรรมบางกล่มุ โดยเฉพาะกลุ่มขนาดเล็ก เนื่องจาก
ขาดเจา้ หนา้ ท่ปี ระจาโรงงานทม่ี ีความรู้ความเขา้ ใจในเร่ืองกากอุตสาหกรรมทเี่ พียงพอ
ข้อเสนอแนะ :

- กรมโรงงานอุตสาหกรรมกาหนดมาตรการให้โรงงานอุตสาหกรรมท่ีอยู่ในการกากับตามพระราชบัญญัติ
โรงงานต้องมีเจ้าหน้าท่ีท่ีทาหน้าท่ีในการรายงานกากอุตสาหกรรม ให้เข้าสู่ระบบฐานข้อมูล
ของกรมโรงงานอตุ สาหกรรม

- กรมโรงงานอุตสาหกรรมเร่งรัดปรับปรุงระบบฐานข้อมูลการกาหนดรหัสกากอุตสาหกรรมท่ีง่าย
ต่อการรายงานของผูป้ ระกอบการ

- กระทรวงอุตสาหกรรมจัดทามาตรการให้กาลังใจและยกย่องเชิดชูแก่ผู้ประกอบการท่ีให้ความร่วมมือ
เข้าสรู่ ะบบฐานข้อมูลของกรมโรงงานอยา่ งต่อเนือ่ งในรูปแบบของการลดภาษีเปน็ สง่ิ ตอบแทน

7. ปัญหา : กรมโรงงานอุตสาหกรรมไม่สามารถติดตามผู้ประกอบการขนกากรายเล็ก โดยระบบการควบคุม
ผู้ขนส่งกากอุตสาหกรรมโดยการติดตั้ง GPS ไม่ครอบคลุมผู้ประกอบการท้ังหมด โดยเฉพาะผู้ประกอบ
การขนส่งขนาดเล็กจึงเป็นเหตุให้ไม่สามารถติดตามการขนส่งกากอุตสาหกรรมได้ครบ รวมทั้งที่ต้ังใจทาลาย
ระบบตดิ ตามที่ตดิ อยใู่ นรถบรรทกุ กาก

ข้อเสนอแนะ :

แก้ไขในการประชมุ ครง้ั ที7่ /2564 วนั ท่ี 11 มีนาคม 2564

8. ปัญหา : กรมโรงงานอุตสาหกรรมยังไม่สามารถควบคุมหรือตรวจสอบผู้ได้รับอนุญาตดาเนินการบาบัด/
กาจัด/รีไซเคิล (โรงงาน 101, 105 และ 106) ให้มีคุณภาพในการจัดการกากอุตสาหกรรมตามมาตรฐานของ
กรมโรงงานอุตสาหกรรม โดยกลุ่มผู้ได้รับอนุญาตดาเนินการบาบัด/กาจัด/รีไซเคิล โรงงานประเภท 101 105
และ 106 หลายโรงงานยังดาเนนิ การไม่ถกู ตอ้ งตามขอ้ กาหนดของประเภทโรงงาน

ข้อเสนอแนะ :
- กระทรวงอุตสาหกรรมกาหนดเงื่อนไขการรายงานกากเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลของกรมโรงงาน

อตุ สาหกรรมใหเ้ ป็นประเดน็ สาคญั ในการใหร้ บั ความช่วยเหลอื จากทางราชการด้านอืน่ ๆ
- กระทรวงอุตสาหกรรมกาหนดมาตรการในการติดตาม กากับและตรวจสอบผู้ได้รับอนุญาต

ในการบาบัด/กาจัด/รีไซเคิล (WP) อย่างทั่วถึงและเร่งรัดการจัดให้มีผู้ทาหน้าท่ีติดตามตรวจสอบ
(Third Party) ที่สามารถทางานและรายงานต่อกรมโรงงานอุตสาหกรรมได้อย่างเป็นระบบ
และทนั ต่อเหตกุ ารณ์
- ภาครัฐมีการทบทวนการสนับสนุนมาตรการส่งเสริมการรับซ้ือไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
(Feed in Tariff :FIT) ให้กับผู้ประกอบการกาจัดกากในรูปแบบการแปรรูปของเสียเป็นพลังงาน
(Waste-to-Energy)

9. ปัญหา : การเยยี วยาผู้ไดร้ ับผลกระทบจากการลกั ลอบทิ้งกากอุตสาหกรรมในแหล่งนา้ หรอื พน้ื ท่เี กษตรกรรม
อย่างทันต่อเหตุการณ์

ข้อเสนอแนะ :

10. ปัญหา: สถานที่กาจัดกากอุตสาหกรรมประเภท 101 ท่ีกระจายอยู่ในภูมิภาคมีจานวนน้อย** เน่ืองจาก
ปริมาณกากอุตสาหกรรมในภูมิภาคมีน้อย เป็นเหตุให้ต้องขนกากอุตสาหกรรมมากาจัดในส่วนกลางของ
ประเทศ ทาให้ราคาค่าขนส่งกากอุตสาหกรรมสูงข้ึน ไม่จูงใจผู้ประกอบการให้เข้าสู่ระบบการกาจัดกาก
อุตสาหกรรม (**ใชเ้ งนิ ลงทุนมาก และประชาชนในพ้ืนทตี่ อ่ ต้าน)

ข้อเสนอแนะ :
- รัฐบาลตอ้ งส่งเสริมและสนับสนนุ ให้เกิดการจดั ตงั้ สถานท่ีรับบาบัดและกาจดั กากอุตสาหกรรม (Waste
Processor) กระจายให้ครอบคลุมใน 6 ภูมิภาค ทั้งน้ีต้องสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม
ของประเทศ (อ้างอิงผลการศึกษาของ JICA ??) โดยคานงึ ถงึ การรองรบั ปริมาณของเสียอันตรายจากชมุ ชนดว้ ย
- การลงทุนสถานท่ีกาจัดกากอุตสาหกรรม ควรต้ังบนฐานแนวคิดการใช้ประโยชน์พื้นที่ให้สามารถ
รองรับทั้งกากอุตสาหกรรม (ต้องได้รับใบอนุญาตจากกรมโรงงาน) และของเสียอันตรายจากชุมชน (ต้องได้รับ
ใบอนุญาตจากท้องถ่ิน) เพ่ือให้ได้ Economies of Scale โดยต้องปรับแก้ไขกฎระเบียบให้เอื้อต่อ
การดาเนนิ การดังกล่าว

ระเบียบวาระที่ ๔

เรอ่ื งอน่ื ๆ

สรุปผลการเดนิ ทางไปศึกษาดูงาน

ของคณะอนกุ รรมาธิการดา้ นสิง่ แวดล้อม

ในคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม วฒุ สิ ภา

เพือ่ ศึกษาดงู านการแกไ้ ขปญั หาไฟป่า การเผาในท่ีโล่ง หมอกควัน PM2.5

และการพยากรณค์ ณุ ภาพอากาศลว่ งหน้า

ระหว่างวนั ท่ี ๑๔ – ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔

ณ จังหวัดลาปาง

-------------------------------

๑. รายชอ่ื คณะเดนิ ทาง

๑) ผชู้ ่วยศาสตราจารย์บญุ ส่ง ไข่เกษ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สาม

(หวั หน้าคณะเดนิ ทาง)

๒) นายวีระศกั ด์ิ โควสรุ ตั น์ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี ่ี

๓) นายสาธติ เหลา่ สวุ รรณ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร

๔) นายวจิ ารย์ สิมาฉายา อนุกรรมาธกิ าร

๕) นายสพุ ฒั น์ หวงั วงศ์วฒั นา อนุกรรมาธกิ าร

๖) นางสณุ ี ปิยะพนั ธุพ์ งศ์ อนกุ รรมาธิการ

๗) นางสวุ รรณา จุ่งรุง่ เรอื ง อนุกรรมาธิการและเลขานกุ าร

๘) นางประเสรฐิ สขุ เพฑรู ยส์ ิทธิชยั ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมาธกิ าร

๙) นางสาววรยิ า โควสุรตั น์ เลขานกุ ารคณะเดนิ ทาง

๒. สรปุ ผลการเดินทาง

ฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑

วนั อาทิตยท์ ี่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๐.๓๐ นาฬิกา - มาตรการเตรยี มการ (ช่วงเดือน
คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตุลาคม - ธนั วาคม ๒๕๖๓)
วฒุ สิ ภา นาโดย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์บุญส่ง ไข่เกษ
รองประธานคณะกร รมาธิการ คนที่สา ม - มาตรการรับมือ (ช่วงเดือน
นายวรี ะศักด์ิ โควสุรัตน์ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร มกราคม - เมษายน ๒๕๖๔)
คนทีส่ ี่ นายสาธิต เหลา่ สุวรรณ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร
โดยมีนายณรงค์ศักดิ์ โอสถธนากร ผู้ว่าราชการ - มาตรการฟ้ืนฟู (ช่วงเดือน
จังหวัดลาปาง และผู้แทนหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง พฤษภาคม - กนั ยายน ๒๕๖๔)
ให้การตอ้ นรบั และรว่ มประชุม สรุปไดด้ ังนี้
(๒) มาตรการป้องกันเตรียมการ
๒.๑ สรุปการดาเนินงานเพ่ือแก้ไขปัญหา กอ่ นเกดิ สถานการณ์
หมอกควัน PM2.5 ในพืน้ ทจ่ี งั หวัดลาปาง
- จัดต้ังศูนย์รวบรวมข้อมูล
๒.๑.๑ วสิ ยั ทศั น์
“คนลาปางสุขภาพดี เมื่อไม่มี และสั่งการ (War Room) ระดับจังหวัด/อาเภอ/
ตาบล
หมอกควัน” โดยมีเป้าหมายประชาชนมีสุขภาพดี
ลดอัตราการเจบ็ ปว่ ย สาเหตุจากหมอกควัน ลดลง - จัดทาประกาศจังหวัดลาปาง
ร้อยละ ๗๐ จานวนจุดความร้อน (Hotspot) เรื่องงดเวน้ การเผาโดยเดด็ ขาด (๑ มีนาคม - ๓๐ เมษายน)
ลดลงร้อยละ ๕๐ และจานวนวันท่ีค่าฝุ่นละออง
ขนาดเลก็ (PM2.5) ลดลงรอ้ ยละ ๕๐ - จัดทาแผนบริหารจัดการ
เช้ือเพลิงตามหลักวิชาการ พร้อมท้ังดาเนินการ
๒.๑.๒ แผนปฏิบัติการป้องกันและแก้ไข สารวจข้อมูลเครื่องมือ อุปกรณ์ เครื่องจักรกล
ปัญหาไฟป่าและหมอกควนั ในการปฏิบัติงาน

(๑) มาตรการป้องกันและแก้ไข - มีข้อส่ังการให้ทุกอาเภอ
ปญั หาไฟป่าและหมอกควัน สารวจข้ึนทะเบียนผู้มีอาชีพหาของป่า จัดเตรียม
แผนการทาแนวกนั ไฟในพนื้ ทช่ี ุมชนพ้นื ท่ีป่า

- ดาเนินการประชาสัมพันธ์

ในทุกรูปแบบให้ความรู้ความเข้าใจกับประชาชน
ผา่ นทกุ ช่องทาง โดยเฉพาะอาสาสมัครสาธารณสุข
ประจาหมู่บ้าน (อสม.) เพ่ือให้ประชาชนทราบถึง
ผลกระทบต่อสขุ ภาพ

(๓) มาตรการรับมือ (ห้วงเดือน
มีนาคม – เมษายน ๒๕๖๔)

ฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๒

คุณภาพอากาศ (PM2.5) วิกฤติ ขอรับการสนับสนุนการลาดตระเวนดับไฟ
เกินมาตรฐาน ระหว่าง ๕๑ - ๗๕ ไมโครกรัม/ลบ.ม. ท้ังภาคพนื้ ดนิ และทางอากาศ

- ศนู ย์ War Room ทุกแหง่ - จัดตั้งด่านตรวจจุดสกัด
ดาเนนิ การตามแผนปฏิบตั กิ ารอย่างเข้มงวด ลาดตระเวนในพน้ื ทจ่ี ุดเสี่ยง พ้ืนที่ปา่ บ่อขยะ

- มีการลาดตระเวนดบั ไฟ (๓) มาตรการฟื้นฟู ห้วงเดือน
ปอ้ งกันเหตุลุกลาม พฤษภาคม – กนั ยายน ๒๕๖๔

- หน่วยงานท่ีมีรถบรรทกุ น้า - จดั ให้มีแผนในการส่งเสริม
ทาการฉีดพ่นละอองน้าสร้างความชุ่มชื้นให้กับ การมีส่วนร่วมกับภาคเอกชนในการอนุรักษ์
พ้นื ท่ีชุมชน
ฟน้ื ฟู ทรัพยากรปา่ ไมท้ ่ถี ูกไฟไหม้
- ตรวจวั ดค่ าควั นด า - ส่งเสริมการปลูกพืช
ติดตามตรวจสอบโรงงานอุตสาหกรรมไม่ให้ก่อ
สภาวะฝุ่นควนั แบบพ่งึ พาและการปลูกไม้ยืนต้นควบคู่กับ
พืชเกษตรในรูปแบบวนเกษตร การสร้าง
คุณภาพอากาศ (PM2.5) ป่าเปียก Food Bank
เกินมาตรฐาน ระหวา่ ง ๗๕ – ๑๐๐ ไมโครกรมั /ลบ.ม.
- ผลักดันให้ภาคเอกชน
- ผู้ว่าราชการจังหวัดลาปาง ดาเนินโครงการ CSR ในการอนุรักษ์
เป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ โดยใช้อานาจทาง ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องควบคุมพื้นท่ีแหล่งกาเนิด
และกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดมลพิษ และบังคับใช้ - ประชาสัมพันธ์แกป่ ระชาชน
กฎหมายอยา่ งเครง่ ครัดกับผูจ้ ดุ ไฟ เผาปา่ /บุกรุกปา่ เพื่อสร้างการรับรู้ และสร้างความเข้าใจ จานวน
๒๒๓ ครัง้ / ๔,๖๖๕ คน
คุณภาพอากาศ (PM2.5)
เกินมาตรฐาน มากกวา่ ๑๐๐ ไมโครกรัม/ลบ.ม. - จดั ใหม้ ีการประชมุ หารือ

- ให้มีการจดั สถานทร่ี องรับ และวางแผนการดาเนนิ งาน จานวน ๔๐ คร้งั
(Clean Room) ให้สามารถรองรับประชาชน - จัดทาแนวกันไฟในพื้นที่
ผู้ประสบภัยในทกุ พนื้ ท่ี
ป่า จานวน ๑๓๒ ครง้ั ระยะทาง ๖๖๓.๕ กโิ ลเมตร
- สนับสนุนการแจกหนา้ กาก - ดาเนินการเก็บเช้ือเพลิง
อนามยั แก่ประชาชน
ออกจากป่า ๑๒๗.๒ ตนั
- ประสานงานบูรณาการ - สร้างเครือข่ายความร่วมมือ
กับหน่วยงานต่างๆ เช่น การทาฝนเทียมในช่วง
ในการควบคุมไฟป่า ปี ๒๕๖๔ จานวน ๑๖๐ เครือข่าย
สมาชิก ๔,๙๖๕ คน

- ออกตรวจลาดตระเวน
ไฟปา่ ๑,๗๓๙ ครั้ง ดับไฟ จานวน ๑๕๒ ครั้ง พืน้ ท่ี
เสียหายไฟไหม้ ๒,๐๑๐ ไร่

- ตรวจสอบจุดความร้อน

ในพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติฯ ๒,๕๗๘ จุด พ้ืนท่ี
เสียหายไฟไหม้ ๘,๗๑๔ ไร่

ฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๓

สรปุ ไฟป่าและหมอกควัน อยู่ ๓ ประการ หรอื ที่เรียกว่า
ในระยะนี้ จังหวัดลาปางพบปัญหาไฟป่า “๓ ลด” ได้แก่ (๑) ลดอัตราการเจ็บป่วย สาเหตุ
จากหมอกควัน ลดลงร้อยละ ๗๐ จากปีก่อนหน้า
และหมอกควัน เกิดจากสภาพความกดอากาศสูง (๒) ลดจานวนจุดความร้อน (Hotspot) ลดลงรอ้ ย
แผ่ลงมาปกคลุมภาคเหนือ ทาให้อากาศไม่ยกตัว ละ ๕๐ (๓) จานวนวันท่ีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก
และมีลมจากทางทิศใต้พัดหมอกควันเข้ามาสะสม (PM2.5) ลดลงร้อยละ ๕๐ ซึ่งปัจจุบันจังหวัดลาปาง
ตลอดจนสภาพภูมิประเทศในตัวเมืองของจังหวัด สามารถเข้าสู่เป้าหมายดังกล่าวได้สาเร็จเกือบครบแล้ว
ในภาคเหนือหลายจังหวัดมีสภาพเป็นแอ่งกระทะ แต่อย่างไรก็ดี การเฝ้าระวังไฟป่าและหมอกควัน
จึงทาใหฝ้ ุ่นควนั ไมส่ ามารถลอยขน้ึ ได้ ยั ง คง ด าเ นิ นต่ อไป อย่ า ง ต่ อ เน่ื อ ง จ น ถึ ง ฤ ดู ฝ น
ประมาณเดือนพฤษภาคม นอกจากนี้ ทุกภาคสว่ น
การดาเนินงานแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน ยังต้องสร้างการรับรู้ สร้างความเข้าใจให้เกิดความ
ภาคเหนือในปี ๒๕๖๓ ท้ังผู้นาระดับท้องถ่ิน ต ร ะ ห นั ก
และผู้นาระดับจังหวัด รวมถึง ทุกภาคส่วนบูรณาการ แก่ประชาชน โดยปรับรูปแบบของข้อมูลให้สามารถ
ทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบในการแก้ไขปัญหา เข้าถึงและเข้าใจได้ง่าย เพ่ือให้การสื่อสาร
ในทุกขั้นตอน โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดลาปาง มีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดความร่วมมือร่วมใจ
และรองผู้ว่าราชการจังหวัดลาปางเป็นศูนย์กลาง แก้ปญั หาไดอ้ ย่างทันตอ่ สถานการณ์
บังคับบัญชา เพื่อให้การแก้ไขปัญหาเป็นไปใน
ทศิ ทางเดียวกนั โดยมเี ป้าหมายในการแกไ้ ขปัญหา

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๔

๒.๒ การดาเนินงานของอุทยานแห่งชาติ
เขลางคบ์ รรพต

อุทยานแห่งชาติเขลางค์บรรพตซ่ึงมาจาก
การผลักดันของชาวบ้าน โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะ
สงวนรักษาป่า รักษาต้นน้าไว้ อุทยานแห่งชาติ
เขลางค์บรรพต คือ “ลาปางโมเดล” ครอบคลุม
พ้นื ทปี่ ่ากว่า ๙๙,๐๐๐ ไร่ บริเวณติดตอ่ ๓ อาเภอ
คือ อาเภอเมือง อาเภอแม่มา และอาเภอแม่ทะ
เพื่อต้องการแ ก้ ไ ขปัญห าด้ าน สิ่งแว ดล้อม
อย่างเปน็ รูปธรรม เช่น ปญั หาการตัดไม้ทาลายป่า
ปัญหาหมอกควันไฟปา่ ปัญหานา้ แลง้ ซ่งึ การจดั ต้ัง
เป็นอุทยานแห่งชาติ จะทาให้เกิดการควบคุมดูแล
ปา่ ไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ และท่วั ถึงมากขน้ึ

ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๕

ปั ญ ห า ห ม อ ก ค วั น ข อ ง จั ง ห วั ด ล า ป า ง จ ะ ท วี
ค ว า ม รุ น แ ร ง อ ย่ า ง ม า ก ใ น ช่ ว ง เ ดื อ น ม ก ร า ค ม
- เมษายนของแต่ละปี ซึ่งก่อให้เกิดฝุ่นขนาดเล็ก
(PM2.5 ) เกินค่ามาตรฐานเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
เม่ือพิจารณาจากสภาพภูมิประเทศของจังหวัดลาปาง
ท่ีอยู่สูงจากน้าทะเลกว่า ๒๗๐ เมตร และท่ีราบ
ล้อมรอบด้วยภูเขา มีลักษณะเป็นแอ่งแผ่นดิน
หรือท่ีเรียกว่า แอ่งลาปาง คล้ายก้นกระทะ ทาให้
อากาศร้อนอบอ้าวเกือบตลอดปี จากรายงาน
การปฏิบัติงานดับไฟป่าของจังหวัดลาปางพบว่า
สาเหตุหลักของการเกิดไฟป่ามาจากการจุดไฟ
หาของป่า ล่าสัตว์ป่า เผาเพ่ือเตรียมพ้ืนท่ี
ทางการเกษตร และมีการเผาโดยไม่ทราบสาเหตุ
เ กิ ด ข้ึ น จ า น ว น ม า ก โ ด ย ใ น ช่ ว ง ที่ ผ่ า น ม า
ผู้ว่าร าชการจังห วัด ลาปาง จะ ไ ด้กาหนด
ยุทธศาสตร์ เพื่อนาไปสู่เป้าหมายของการลด
ปัญหาหมอกควัน หรอื ๓ ลด ในปี ๒๕๖๓

ปจั จุบัน มีชุมชนต้นแบบลดเผาลดควัน เกิดขึ้น
ที่จังหวัดลาปาง ในพ้ืนท่ี ๔ อาเภอ ประกอบด้วย
(๑) อาเภอวังเหนือ ในตาบลร่องเคาะ วังทรายคา
และวังใต้ (๒) อาเภอเสริมงาม ในตาบลทุ่งงาม
และเสริมขาว (๓) อาเภอเถิน ในเขตตาบลแม่วะ
และ (๔) พ้ืนที่ระดับชุมชน หมู่บ้าน ๙ แห่ง
ใ น พื้ น ที่ เ ข ต อุ ท ย า น แ ห่ ง ช า ติ เ ข ล า ง ค์ บ ร ร พ ต
(ดอยพระบาท ม่อนพระยาแช่) อาเภอเมืองลาปาง
(เป็นพื้นทป่ี า่ กลางเมอื ง)

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๖

๒.๓ สถาบันคชบาลแห่งชาติ
ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๗

๒.๔ การดาเนินงานของศูนย์เรียนรู้หมู่บ้าน
ปลอดการเผาบ้านต้นต้อง

นายมานิตย์ อุ่นเครือ นายกองค์การ
บริการส่วนตาบลพิชัย ผู้บุกเบิกในการอนุรักษ์ป่า
ชุมชนบรรยายให้ฟังว่า ในอดีตผืนป่าชุมชนแห่งนี้
เป็นพื้นท่ีเป้าหมายของกลุ่มนายทุน เน่ืองจากมี
ความอดุ มสมบูรณ์ นอกจากน้ี ยังพบวา่ ชาวบ้านส่วนใหญ่
มีอาชีพหาของป่า เช่น เก็บเห็ดและผักหวานป่า
ซ่ึงชาวบ้านยังขาดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
ทาให้ชาวบ้านเชื่อว่า การเผาป่าจะทาให้ต้นผักหวาน
แตกใบอ่อน และสามารถเก็บมาขายได้ในราคาสูง
จึงเป็นสาเหตุของการผาป่า โดยไม่ได้คานึงถึง
ความเสียหายท่ีเกิดขึ้นกับทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
สิ่งแวดล้อม

ฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๘

ในปี ๒๕๕๔ ภาคกลางประสบปัญหาน้าท่วมใหญ่
ดังน้ัน ชาวบ้านต้นต้องจึงจริงจังกับการทาฝาย
เพ่ือรักษาความช้ืนให้อยู่กับดินและป่าชุมชนกว่า
๑,๕๐๐ ไร่ ชาวบา้ นร่วมกนั ทาฝายดว้ ยวัสดทุ ่หี าได้
ในพ้ืนท่ี เช่น ดิน หิน ไม้ไผ่ กิ่งไม้ ปูน เป็นต้น
ปัจจุบัน ชาวบ้านได้ดาเนินการทาฝายแล้วเสร็จ
จานวน ๖๐๐ ฝาย บ่อบาดาลน้าต้ืนจานวน ๒๐๐ บ่อ
นอกจากน้ี ยังปลูกไม้ยืนต้นด้วยเมล็ด ซึ่งจะมี

ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ท น ต่ อ ส ภ า พ ดิ น ฟ้ า อ า ก า ศ
ท่ีแปรปรวนได้ จนสามารถเปล่ียนเขาหัวโล้น
กลายเป็นป่าเบญจพรรณท่ีมีไม้มีค่าหลากหลายพันธุ์
เชน่ ต้นสกั ตน้ ไผ่ ต้นมะคา่ ต้นตะแบก เปน็ ต้น

ดังนั้น ผู้นาชุมชนจึงได้เริ่มประชาสัมพันธ์ นอกจากนี้ ชุมชนบ้านต้นต้องยังเดินตามรอย
พระราชดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร
สร้างความเข้าใจกับชาวบา้ นอย่างจริงจงั จนทาให้ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ชาวบ้านบางส่วนเปลี่ยนมาประกอบอาชีพทาสวน ว่าด้วยเรื่องของการปลูกป่า ๓ อย่าง ได้แก่
เครื่องจักรสาน แทนการหาของป่า เพื่อลดปัญหา (๑) ไม้ใช้สอย (๒) ไม้กินได้ และ (๓) ไม้เศรษฐกิจ
ไฟป่าและหมอกควันท่ีเกิดขึ้นในพื้นท่ี ตลอด เพ่ือให้ได้ประโยชน์ ๔ อย่าง ได้แก่ (๑) พออยู่
ระยะเวลากว่า ๑๑ ปี ทุกภาคส่วนได้เข้ามามี (๒) พอกิน (๓) พอใช้ และ (๔) เป็นประโยชน์
ส่วนร่วมปกป้องผืนป่าและมีการเฝ้าระวังปัญหา ต่อระบบนิเวศน์ อกี ดว้ ย
อย่างจริงจัง โดยมีการทา กิจกรรมต่าง ๆ
มกี ารสรา้ งกฎกตกิ า เพ่ือดูแลรักษาปา่ และควบคุม
หมอกควัน มีการออกลาดตระเวนป้องกันการเกิด
ไฟป่า ทาแนวกันไฟบนพื้นท่ีกว่า ๑,๕๐๐ ไร่ ทา
ฝายชะลอน้า ปลูกป่าทดแทน มีเส้นทางศึกษา
ธรรมชาติเป็นแหล่งเรียนรู้พืชสมุนไพร ต่อมาในปี

๒๕๕๓ ชุมชนบ้านต้นต้อง กลายเป็นศูนย์การ
เรียนรู้ “หมู่บ้านต้นแบบปลอดการเผา” เพ่ือเป็น
การบูรณาการให้ภาคประชาชนและภาคีเข้ามามี
บทบาทและเป็นกลไกสาคญั ในการเฝ้าระวงั รักษา
ทรั พ ย าก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ผืน ป่ า ให้ ค ง อ ยู่
ไมต่ ดั ไมท้ าลายป่า และมคี วามสมบูรณ์

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๙

๒.๕ การดาเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการเหยี่ยวไฟ
อาเภอแม่ทะ จงั หวดั ลาปาง

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๐

ร่วมเดนิ ลาดตระเวนจุดเสย่ี งเกดิ ไฟป่า รวมถงึ ได้มี
การนาแอปพลิเคชนั ตา่ งๆ เข้ามาใชใ้ นการดาเนนิ งานดว้ ย

นายอิศเรศ จิระรัตน์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ
ควบคุมไฟป่า กรมป่าไม้ บรรยายเกี่ยวกับแผน
และแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า
พร้อมเตรียมรับมือดับไฟป่าภายในพื้นที่จังหวัด
ล า ป า ง เ พ่ื อ ใ ห้ ก า ร ท า ง า น ใ น ด้ า น ต่ า ง ๆ
มีประสิทธิภาพ โดยเน้นเรื่อง การลดจานวน
การเกิดจุดความร้อน ลดจานวนวันค่าฝุ่นละออง
ขนาดเล็ก PM2.5 ให้ลดลงจากปีที่แล้วร้อยละ ๕๐
โ ด ย มี ร า ย ง า น ค่ า คุ ณ ภ า พ อ า ก า ศ ร า ย ช่ั ว โ ม ง
จากเคร่ืองตรวจวัดอัตโนมัติของสานักงานป้องกัน
และบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดลาปาง โดยมี
เตรียมมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกันการลักลอบ
เข้าไปจุดไฟเผาป่า หาของป่าโดยวิธีผิดกฎหมาย
อย่างเข้มข้น โดยเฉพาะพื้นที่โดยรอบดอยพระ
บาทและแนวเขตอุทยานแห่งชาติเขลางค์บรรพต
ซึ่งมีพ้ืนท่ีครอบคลุม ๓ อาเภอได้แต่อาเภอเมือง
อาเภอแม่ทะ อาเภอแม่เมาะ ซึ่งในส่วนของฝ่ัง
อาเภอเมือง จะได้มีการต้ังจุดตรวจจุดสกัด

ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๑

จ า ก ก า ร พิ จ า ร ณ า ส ถ า น ก า ร ณ์ ไ ฟ ป่ า ๒.๖ การดาเนินงานของสถานีตรวจวัด
และหมอกควันในจังหวัดลาปางในปีท่ีผ่านมา คุณภาพอากาศอัตโนมัติ สถานีอุตุนิยมวิทยา
พบว่าจังหวัดลาปางได้มีการแจ้งรายงานการเกิด ตาบลพระบาท อาเภอเมอื งลาปาง จงั หวัดลาปาง
จุด Hotspots จากดาวเทียมระบบ MODIS และแจ้งเหตุ
ไฟป่าในเขตพื้นท่ีรับผิดชอบ โดยมีพ้ืนท่ีป่าได้รับ
ความเสียหายรวมแล้วหลายร้อยไร่ โดยสาเหตุ
ของการเกิดไฟไหม้ป่าท้ังหมดเกิดจากฝีมือมนุษย์
ทไ่ี ด้ทาการจดุ ไฟเผาป่าเพ่ือล่าสัตว์ หรือหาของป่า

และการต้ังใจจุดไฟเผาป่าเพ่ือสร้างสถานการณ์
การแก้ปัญหาทางจังหวัดลาปางได้มีมาตรการ
เพอ่ื ป้องกนั ใหเ้ กดิ การเผาในเขตพืน้ ทนี่ ้อยที่สุด

ส ถ า นี ต ร ว จ อ า ก า ศ อั ต โ น มั ติ ท า ง า น
เป็นระบบแบบอตั โนมตั ิ ทาให้ใชค้ นดแู ลรกั ษาน้อย
รวมถึง ยังได้นาพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้
รว่ มด้วย ระบบนีส้ ามารถนาไปติดต้ังได้ทุกสถานที่
โ ด ย เ ช่ื อ ม โ ย ง ข้ อ มู ล ผ่ า น เ ค รื อ ข่ า ย โ ท ร ศั พ ท์
หรือระบบคลื่นวิทยุเป็นหลัก เพ่ือใช้จัดเก็บข้อมูล
และแสดงคา่ วดั ผลแบบออนไลน์ได้ในทันที (RealTime)

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๒

ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เพ่ือนาข้อมูลส่งเข้าสู่
เซิร์ฟเวอร์ในการเก็บขอ้ มูลและแสดงผลตอ่ ไป

SERVER เป็นส่วนพักข้อมูลให้บริการแก่
ผ้ใู ชโ้ ดยตรงหรอื ทางออ้ ม

END USER เป็นส่วนผูใ้ ชง้ านท่ัวไป ซึง่ สามารถ
เช่ือมต่อสู่ระบบอินเทอร์เน็ต เพ่ือตรวจสอบ
การแสดงผลตรวจวัด แจ้งเหตุ ดาวน์โหลดข้อมูล
ย้อนหลังได้

SMS และ RADIO เป็นส่วนที่รับส่งข้อมูล
กับ DATA LOGER โดยตรง ซึ่งมักถูกเป็นการ
แสดงผลช่ัวคราว หรือใช้ควบคุมระบบชั่วคราว
สาหรับผู้ควบคมุ ดูแลเท่านัน้

ก า ร ต ร ว จ วั ด อ า ก า ศ สู่ ผู้ ใ ช้ ง า น ทั่ ว ไ ป
โดยแบ่งออกเป็นส่วน ๆ และอธิบายแต่ละส่วนได้
ดังตอ่ ไปน้ี

SENSOR เปน็ สว่ นตัวตรวจจบั หรอื หวั วัดต่าง ๆ
DATA LOGER เปน็ ส่วนเครอ่ื งทางานหลัก
โ ด ย จ ะ น า สั ญ ญ า ณ จ า ก ตั ว ต ร ว จ จั บ / หั ว วั ด
(SENSOR) มาแปลงค่าสัญญาณต่าง ๆ ให้เป็น
ข้อมูล แล้วทาการจัดเก็บเข้าสู่หน่วยความจา
( Micro SD Card) ห รื อ ส่ ง ผ่ า น ข้ อ มู ล อ อ ก สู่
ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ ด้ ว ย เ ค รื อ ข่ า ย โ ท ร ศั พ ท์ ( GSM)
หรอื เครือขา่ ยวทิ ยุ (RF UHF) ต่อไป
NETWORK เป็นส่วนเครือข่ายท่ีจะนา
ข้อมูลสู่ผู้ใช้ ซึ่งจะส่งข้อมูลผ่านเครือข่ายโทรศัพท์
( GSM) ผ่ า น บ ริ ก า ร GPRS ท่ี เ ชื่ อ ม ต่ อ กั บ

ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๓

๓. ขอ้ คิดเห็น และข้อเสนอแนะ
๓.๑ ควรมีการบูรณาการหน่วยงานที่ทางานที่เกี่ยวกับการแก้ปัญหาไฟป่า และหมอกควัน PM2.5

รวมถงึ หนว่ ยงานดา้ นสาธารณสขุ ด้วย โดยมุ่งเน้นที่สุขภาพของประชาชนเปน็ สาคญั
๓.๒ การเลือกใช้ภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อใช้ในการค้นหาจุดความร้อนนั้น จะต้องใช้ภาพ ณ ปัจจุบัน

จากดาวเทียมท่ีเคลื่อนวงโคจรผ่านภาคเหนือของไทยในช่วงใกล้รุ่งจะเหมาะสมที่สุด อันจะเป็นประโยชน์
ตอ่ การดาเนินงานแกท่ ีมงานดบั ไฟป่า

๓.๓ ภาพยิ่งอพั เดทได้มากจะยงิ่ ให้ประโยชน์ยิ่งกว่าภาพถา่ ยจากดาวเทียมท่ีอาจจะโคจรผา่ นภาคเหนือ
ของไทยไปแล้วตอนหัวคา่ เพราะเวลาทีผ่ ่านไปไม่กี่ชั่วโมง แต่รูปแบบ ทิศทางและขนาดของไฟทลี่ ามบนเขา
หรือในปา่ ทึบจะตา่ งไปได้มาก

๓.๔ ควรเพ่ิมปริมาณเจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบเก่ียวกับการแก้ปัญหาไฟป่า และหมอกควัน PM2.5
ให้เพียงพอต่อพ้ืนท่ีที่รับผิดชอบ และดาเนินการประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเข้าใจการดาเนินการต่าง ๆ
อย่างถกู ตอ้ ง

๓.๕ ต้องเร่งรัดการออกกฎหมายลาดับรอง เพ่ือบังคับใช้ตามกฎหมายแม่บท โดยจะต้องมีการบังคับ
อย่างชัดเจน ครอบคลมุ ทกุ กรณี และต้องมีมาตรการลงโทษอยา่ งชัดเจน กรณีผู้ใดฝา่ ยฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม
ท่กี าหนดไว

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๔

%

๓.๖ ควรกาหนดนโยบายของจังหวัดลาปาง เพื่อขอความร่วมมือจากให้ผู้บริหารงดออกนอกพ้ืนท่ี
ในช่วงวันหยุด ช่วงฤดูที่มีการเผาค่อนข้างสูง รวมถึง ดาเนินการตรวจตราพ้ืนท่ีดังกล่าวอย่างเข้มข้น

๓.๗ ตอ้ งบังคบั ใช้กฎหมายอย่างชดั เจน และเปน็ มาตรฐานเดยี วกนั ทั้งประชาชนและหนว่ ยงานของรัฐ
๓.๘ การกาหนดนโยบายรายเดือนเกีย่ วกับการแก้ปญั หาไฟปา่ และหมอกควัน PM2.5 ต้องมีรายละเอยี ด
และเปา้ หมายอย่างชัดเจน
๓.๙ ประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องเก่ียวกับเคร่ืองวัดค่าคุณภาพอากาศ
โดยตอ้ งมีการติดตามประเมินผลเคร่ืองมือทุกเดอื นตามมาตรฐานท่ีที่กาหนดไว้
๓.๑๐ รัฐต้องข้ึนทะเบียนผู้ประกอบอาชีพหาประโยชน์จากป่า และจ้างบุคคลดังกล่าว เพื่อทาหน้าท่ี
พิทักษร์ ักษาป่า และลาดตระเวนระวังไฟป่า เนื่องจากคนกลมุ่ น้ีมีความชานาญกับป่าอยู่แล้ว นอกจากจะได้
คนท่ที าหน้าทีร่ ะมดั ระวังไฟป่าแล้ว ยงั เป็นการสรา้ งรายได้ให้แก่บคุ คลเหล่านีด้ ้วย อันจะมสี ว่ นชว่ ยลดปัญหา
การลกั ลอบเผาป่าได้อยา่ งมีนัยสาคญั
๓.๑๑ ควรมีการประชาสัมพันธ์ และอบรม เพ่ือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่
และประชาชนเกี่ยวกับการแก้ปัญหาไฟป่า และหมอกควัน PM2.5 อย่างต่อเนื่อง เน่ืองจากเทคโนโลยี
ในการบรหิ ารจัดการมกี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา

-----------------------------------------

นางสาววรยิ า โควสุรตั น์
นิตกิ รปฏบิ ตั ิการ
กลุ่มงานคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดล้อม
ผจู้ ัดทาสรปุ
นางสาวฑิฆมั พร ฝาชยั ภูมิ
วทิ ยากรชานาญการ ตรวจ/ทาน ๑
นางสาวสิรภัทร พิมพแ์ ก้ว

ฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๕
%


Click to View FlipBook Version