The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลการเดินทางไปศึกษาดูงานภูเก็ต16-17มีค65_v1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wariya.boat, 2022-03-30 00:44:57

สรุปผลการเดินทางไปศึกษาดูงานภูเก็ต16-17มีค65_v1

สรุปผลการเดินทางไปศึกษาดูงานภูเก็ต16-17มีค65_v1

สรุปผลการเดินทางไปศกึ ษาดงู าน

ของคณะอนุกรรมาธกิ ารด้านสงิ่ แวดลอ้ ม

ในคณะกรรมาธิการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

เก่ียวกบั การบรหิ ารจัดการขยะมูลฝอยและการบริหารจัดการนา้ เสีย

ระหวา่ งวันที่ ๑๖ – ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๕

ณ จังหวัดภเู ก็ต

-------------------------------

๑. รายชอื่ คณะเดนิ ทาง

๑) ผชู้ ่วยศาสตราจารยบ์ ุญสง่ ไข่เกษ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่สี าม

และประธานคณะอนุกรรมาธกิ าร

(หัวหนา้ คณะเดินทาง)

๒) นายสาธติ เหล่าสุวรรณ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร

๓) นายวิจารย์ สมิ าฉายา อนกุ รรมาธิการ

๔) ศาสตราจารยธ์ เรศ ศรีสถิตย์ อนุกรรมาธกิ าร

๕) นางประเสริฐสขุ เพฑรู ย์สทิ ธิชยั อนกุ รรมาธกิ าร

๖) นางสุณี ปิยะพนั ธ์ุพงศ์ อนุกรรมาธกิ าร

๗) ศาสตราจารยธ์ งชยั พรรณสวสั ด์ิ อนุกรรมาธกิ าร

๘) นายสมชาย ทรงประกอบ อนกุ รรมาธกิ าร

๙) วา่ ทีร่ ้อยตรี ธชั ชัย ศิรสิ ัมพันธ์ อนกุ รรมาธกิ าร

๑๐) นางสวุ รรณา จ่งุ รงุ่ เรอื ง อนกุ รรมาธิการและเลขานกุ าร

๑๑) นายกฤษฎา ใหว้ ฒั นานกุ ลู ทีป่ รกึ ษาคณะอนกุ รรมาธิการ

๑๒) รองศาสตราจารย์ ดร. สุเทพ ศลิ ปานนั ทกุล ที่ปรึกษาคณะอนกุ รรมาธิการ

๑๓) นางสาวขวญั ชนก ศักด์โิ ฆษติ นกั วชิ าการประจาคณะกรรมาธกิ าร

๑๔) นางสาววริยา โควสรุ ตั น์ เลขานกุ ารคณะเดนิ ทาง

๑๕) นางสาวชนกาญจน์ ธงทอง ผู้ช่วยเลขานุการคณะเดนิ ทาง

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑

๒. สรปุ ผลการเดินทาง
ฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๒

วันพุธที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา ๒.๑.๒ การเก็ บ ข น ข ยะมู ลฝอ ยจาก
คณะกรรมาธิการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แหลง่ กาเนิด
วฒุ ิสภา นา้ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์บุญส่ง ไขเ่ กษ
รองป ระธาน คณ ะก รรมาธิก าร คน ที่ ส าม
นายสาธิต เหล่าสุวรรณ โฆษกคณะกรรมาธิการ
และคณะเดินทาง โดยมีนายนายอานวย พิณสุวรรณ
รองผู้ว่าราชการจงั หวดั ภเู ก็ต และผแู้ ทนหนว่ ยงาน
ที่เก่ียวข้องให้ การต้อน รับ และร่วมป ระชุม
สรปุ ได้ดังนี้

๒.๑.๓ แหลง่ กาเนิดมลู ฝอยตดิ เชือ้

๒.๑ การบริหารจดั การมลู ฝอยตดิ เชือจงั หวัดภเู ก็ต ๒.๑.๔ ปริมาณมูลฝอยติดเช่ือท่ีเข้าสู่
๒.๑.๑ สาระสาคญั ของกฎกระทรวงว่าด้วย ศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยจังหวัดภูเก็ต ระหว่างปี
๒๕๕๙ – ๒๕๖๔
การกาจดั มูลฝอยตดิ เช้ือ พ.ศ. ๒๕๔๕

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๓

๒.๑.๕ แ ห ล่ งก าเนิ ด มู ล ฝ อ ย ติ ด เชื้ อ ระบบก าจั ดในปั จจุ บั นไม่ สามารถ
จากสถานที่รักษาผู้ป่วยและกักกันในสถานการณ์ เพม่ิ ความสามารถการกาจัดขยะติดเชือ้ ได้อีก
โควดิ - ๑๙ ของจงั หวัดภูเกต็

๒.๑.๖ ปริมาณมูลฝอยติดเช้ือที่เข้าสู่
ศู น ย์ ก า จั ด ข ย ะ มู ล ฝ อ ย จั ง ห วั ด ภู เก็ ต ร ะ ห ว่ า ง
มกราคม ๒๕๖๒ - ธันวาคม ๒๕๖๔ ในช่วง
สถานการณ์โควดิ – ๑๙

๒.๑.๗ ปัญหาและอุปสรรค ๔
(๑) คลินิคเอกชนและสถานพยาบาล

สัตว์บางส่วนยังไม่เข้าระบบการจัดการมูลฝอยติดเช้ือ
ของทอ้ งถิน่

(๒) บางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(อปท.) มีภาระการเก็บขนมากเกินรถเก็บขนท่ีมีอยู่
ทาใหม้ มี ลู ฝอยตดิ เชอ้ื ตกคา้ ง

(๓) ปริมาณมูลฝอยติดเชื้อจาก
สถานพยาบาลเข้าสู่ระบบกาจัด วันละ ๑,๒๐๐ - ๑,๕๐๐
กิโลกรมั /วนั

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓

สรปุ ประมาณ ร้อยละ ๔๐ เนื่องจากนักท่องเที่ยว
๑. การบริหารจัด การขยะมูลฝอย โด ย แรงงาน ประชากรแฝงในพืน้ ท่ลี ดลง ทาให้ปรมิ าณ
ขยะมูลฝอยท่ีจัดเก็บได้ในช่วงนี้เป้นปริมาณขยะ
เทศบาลนครภเู กต็ จากประชากรในภูเก็ตอย่างแท้จริง ปัจจุบันกาลัง
- จังหวัดภูเก็ต เป็นจังหวัดแรกที่ได้ดาเนิน ยื่น ของบประมาณ จากกองทุนส่ิงแวดล้อม
เพื่อดาเนินการจัดทาระบบแยกส่ิงปฏิกูลออกจาก
โครงการเตาเผาขยะและผลิตกระแสไฟฟ้าท่ี น้าเสีย
ค่อนข้างประสบผลสาเร็จ จึงมีความสนใจใน
วิธีการจัดการขยะเพื่อนารูปแบบการจัดการขยะ ๒. การบริหารจัดการขยะติดเชือ โดยสาธารณสุข
ของ จงั หวดั ภูเกต็ ประกอบการจดั ทารายงานเสนอ จังหวดั
รัฐบาล ต่อไป ในจังหวัดมีพื้นท่ีท่ีได้รับอนุญาตให้
ทาศูน ย์กาจัด ขยะมูลฝอยได้ ระยะ ๓ ๐ ปี เป็นดาเนินการภายใต้กฎกระทรวงว่าด้วย
(พ.ศ. ๒๕๓๖ - ๒๕๖๖) ระบบจัดการขยะ ๒ ระบบหลัก การจัดการมูลฝอยติดเช้ือ พ.ศ. ๒๕๔๕ ในช่วง
คือ การฝังกลบและการเผาด้วยเตาเผา ต่อมา สถานการณ์โควิด – ๑๙ ส่งผลให้ปริมาณขยะติด
ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ จังหวัดภูเก็ต ประสบปัญหา เช้ื อ ข อ ง จั ง ห วั ด ภู เก็ ต เพ่ิ ม ขึ้ น เป็ น จ า น ว น ม า ก
ขยะล้นเมืองเป็นคร้ังแรก ทาให้กรมโยธาธิการ เกินขีดความสามารถในการกาจัดของโรงงานกาจดั
และผังเมอื งจาเป็นตอ้ งขอรบั การจัดสรรงบประมาณ จนใกล้จะเกินขีดความสามารถในการจัดการของ
เพ่ิ มเติ ม เพ่ื อสร้ างเตาเพ่ิ ม แต่ อย่ างไรก็ ตาม จังหวัด แต่จังหวัดภูเก็ตยังสามารถแก้ไขปัญหา
ยังไม่ได้รับงบประมาณในส่วนน้ี ทาให้ปัจจุบัน เบื้องต้นได้ เน่ืองจากมีโรงเผาขยะเป็นของตัวเอง
มีเตาขยะเผาเดียว ส่งผลให้ไม่สามารถหยุด และกรมโรงงานได้อนุญาตใหจ้ งั หวัดภูเกต็ สามารถ
การดาเนินการ เพ่ือซ่อมบารุงเตาเผาได้ ดังน้ัน น าข ยะติ ด เชื้อม าเผาเป็ น เชื้อ เพ ลิงได้ เป็ น
เท ศ บ า ล น ค ร ภู เก็ ต จึ ง ใช้ วิ ธี ให้ เอ ก ช น ม า ร่ ว ม ก ารชั่ วค ราว จึ งส าม ารถ รับ มื อ กั บ ปั ญ ห า
ดาเนินการ (ประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐) โดยมี ขยะติดเช้ือล้นเมืองได้ในระยะน้ี จังหวัดภูเก็ต
โครงการจัดสร้างเตาเผาขยะขนาด ไม่น้อยกว่า เป็ น จั ง ห วั ด แ ร ก ๆ ข อ ง ป ร ะ เท ศ ไท ย ใน
๕๐๐ ตนั ในขณะเดียวกนั ก็ต้องดาเนินการเรื่องขอ การดาเนินการจัดการขยะตดิ เชื้อ มีการขับเคล่ือน
ใช้พ้ืนท่ีเพ่ื อดาเนิ นโครงการจากกรมป่าไม้ โดยมีการตั้งคณะกรรมการท่ีเกี่ยวข้องผลักดันให้
(ปัจจุบันอยู่ในการพิจารณาของกรมทรัพยากร เกิดการออกข้อบัญญัติท้องถิ่น ผลักดันให้เกิด
ทะเลและชายฝ่ัง) ขยะของภูเก็ตที่เข้าเตาเผา ไม่ การจัดซื้อรถเก็บขยะมูลฝอยติดเชื้อ และมีการนา
คอ่ ยมขี ยะจากอุตสาหกรรม ทาใหก้ ารกาจัดโดยวธิ ี ระบบ Manifest system มาใช้ในการควบคุม
น้ี สามารถกาจัดได้ ร้อยละ ๑๐๐ เน่ืองจากเถ้า กากับดูแลการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของจังหวัด
ขยะท่เี หลือจากการเผาไม่มกี ารปนเปอ้ื นสารพิษจึง แ ล ะ ข ย า ย ก า ร จั ด เก็ บ ข ย ะ มู ล ฝ อ ย ติ ด เช้ื อ ใ ห้
สามารถนาไปใช้งานตอ่ ได้ ในช่วงสถานการณ์โควิด ครอบคลุมโรงพยาบาล/ คลินิกเอกชน โรงพยาบาลสัตว์
- ๑๙ ระบาด ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยลดลง

ฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๕

๓. การบริหารจัดการน้าเสีย โดยส้านักงาน ลดลง เพราะขยะมปี ริมาณลดลง
สิง่ แวดล้อมภาคที่ ๑๕ - บริษัทฯ มีรายได้หลักมาจากค่ากาจัดขยะ

ทางจังหวัดกาลังอยู่ระหว่างดาเนินการขอ (๓๐๐ บาท/ตัน) และรายได้อ่ืน เช่น การขาย
งบประมาณจากกองทุนสิ่งแวดล้อมเพื่อนามา ขยะ หรือขายไฟฟา้
จัดทาระบบแยกสิ่งปฏิกูลออกจากน้าเสีย หากมี
ระบบนี้จะทาใหก้ ารนานา้ เสียท่ีผ่านการบาบัดแล้ว - โดยอนุกรรมาธิการฯ สอบถามเพ่ิมเติมว่า
กลับไปใชใ้ หม่มีประสทิ ธิภาพมากยิ่งขน้ึ บริษัทจะสามารถยืนราคารายรับที่ได้จากส่วน
แบ่งค่ากาจัดขยะ ๓๐๐ บาท/ตัน ได้อีกนานแค่
ความคดิ เหน็ ของคณะอนุกรรมาธิการ ไหน และสามารถปรับราคาส่วนแบ่งได้หรอื ไม่?
- รายได้ของเทศบาลนครภูเก็ตมาจาก ค่า ซึ่งเทศบาลแจ้งว่าการปรับราคาสามารถทาได้
เก็บขนและค่ากาจัดขยะ โดยเทศบัญ ญั ติ แตต่ ้องดดู ัชนีเศรษฐกิจประกอบดว้ ย ซ่งึ ปจั จบุ ัน
กาหนดอัตราค่าเก็บขน ในอัตรา ๔๐ บาท/ ยังติดลบอยู่ เน่ืองจากสถานการณ์ Covid-19
ครัวเรือน/เดือน ส่วนค่ากาจัดขยะคิดจาก อปท. อ่ืน แ ล ะ ต้ อ ง น า เส น อ ให้ ผู้ บ ริ ห า ร ข อ ง เท ศ บ า ล
ที่นาขยะเข้ามากาจัด คิด อัตรา ตันละ ๕๒๐ พิจารณาตอ่ ไป
บาท มีสัดส่วนการแบ่งรายได้ เป็น บริษทั ๓๐๐
บาท และเทศบาล ๒๒๐ บาท ซ่ึงเทศบาลใช้ - อัตราคา่ กาจัดขยะ ๕๒๐ บาท/ตัน กาหนด
รายได้จากส่วนน้ีมาดาเนินการด้านบริหาร โดยคณะกรรมการบรหิ ารจังหวัดภูเกต็
จัดการส่ิงแวดล้อมของเทศบาล โดยเฉพาะการ
บาบัดนา้ เสยี - มีการทา MOU ระหว่างเทศบาลนครภูเก็ต
- นโยบายการยกเลิกค่า Adder จะส่ง กับ อปท. อื่น ในการจัดส่งขยะเข้ามากาจัดที่
ผลกระทบต่อรายได้ของโรงเผาขยะมูลฝอย โรงเผาฯ และเน่ืองจากภูเก็ตมีลักษณะเป็นเกาะ
จังหวัดภู เก็ต โดยบริษั ทผู้ดาเนินกิจการ จึงไม่มีปัญหาเร่ืองอปท. ไม่ดาเนินการตาม
โรงเผาขยะฯ เสนอให้คณะกรรมการควบคุม MOU เหมอื นกับทเ่ี จอใน Cluster อน่ื
กิจการพลังงาน เปลี่ยนจากระบบ Adder เป็น
ระบบ Feed-in-Tariff เหมือนโรงไฟฟ้า ซึ่งจะ - การคิดอัตราค่าเก็บขน จะแตกต่างกันไป
ทาให้โรงเผาขยะฯ สามารถดาเนินการได้ ตามประเภทการใช้อาคาร เช่น บ้านทั่วไป
อย่างม่ันคง เน่ืองจากจะได้ค่า Feed-in-Tariff ร้านค้า โรงแรม เป็นต้น ซ่ึงในบาง อปท. สถาน
ระยะยาว ๒๐ ปี ประกอบการมีการจ้างเอกชนมาดาเนินการ
- สถานการณ์ Covid-19 ส่งผลกระทบต่อ เกบ็ ขนขยะของตวั เอง
โรงเผาขยะฯ เน่ืองจาก (๑) ได้รับค่ากาจัดขยะ
ลดลง และ (๒) ค่าไฟฟ้าที่ได้จากการเผาขยะ - เทศบาลนครภูเก็ตเคยทาโรงแยกขยะ
แต่ล้มเหลว เนื่องจากองค์ประกอบของขยะ
ในความเป็นจริงไม่เป็นไปตามผลการศึกษา
ความเป็นไปได้ของโครงการ โดยยกตัวอย่าง
ถุงพลาสติกทเี่ ปอ้ื นนา้ แกง เมื่อนาไปเผาจะไมไ่ ด้

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๖

ค่าความร้อนที่ต้องการ จึงต้องทาความสะอาด ไม่ค่อยเกิดปัญหา นอกจากบางช่วงท่ีมีปริมาณ
ก่อนนาไปเผา ส่งผลให้ต้นทุนสูง จนไม่สามารถ ขยะมากเกนิ ขีดความสามารถในการกาจัด
แบกรับภาระได้
- การเปิดให้บริการโรงเผาขยะช่วงแรก
- นโยบายส่งเสริมให้คัดแยกขยะที่ต้นทาง มีการตรวจสอบจากกรมควบคุมมลพิษและ
จะไม่ส่งผลกระทบต่อโรงเผาฯ เพราะท่ีผ่านมา พบว่ามีค่าไดออกซีนเกินค่ามาตรฐาน ซึ่งได้
ปริมาณขยะในภูเก็ตไม่เคยลดลง เนื่องจากเป็น ดาเนินการแก้ไข ปัจจุบันมีค่าไดออกซีนไม่เกิน
เมืองท่องเที่ยว และองค์ประกอบของขยะส่วน ค่ามาตรฐานท่ีกาหนด และอนุกรรมาธิการฯ
ใหญเ่ ป็นขยะอินทรีย์ ได้แนะนาให้โรงเผาควรมีการควบคุมคุณภาพ
อากาศท่ีปล่อยออกจากโรงเผา ให้ได้มาตรฐาน
- เทศบาลนครภูเก็ตวางแผนกาจัดขยะติด ด้วยการวัดค่าสารปนเป้ือนอ่ืน นอกจากไดออกซีน
เชื้อท่ีมีแนวโน้มสูงขึ้น ด้วยการเปล่ียนขยะติด ด้วย เช่น เบนซนี เป็นตน้
เช้ือให้เป็นขยะท่ัวไป ด้วยวิธี Auto clave ก่อน
นาเข้าโรงเผาขยะท่ัวไป ซึ่งจะดาเนินการได้ก็ - ปัจจุบันยังไม่ได้ดาเนินการจัดเก็บขยะ
ตอ่ เมือ่ สามารถแกไ้ ขกฎหมายท่ีเกย่ี วข้องให้แล้วเสร็จ ติดเชื้อจากคลินิกแพทย์แผนไทยประยุกต์ แต่มี
นโยบายท่ีจะจัดเก็บให้ครอบคลุม รวมถึงการ
- หากเกิดเหตุท่ีบริษัทเดิมไม่ต่อสัญญ า จัดเก็บในระดับครวั เรอื นด้วย
ดาเนินการโรงเผาขยะ เทศบาลนครภูเก็ต
สามารถจัดการขยะด้วยวิธีฝังกลบ ซึ่งสามารถ - โรงเผาขยะฯ มีการบารุงรักษาด้วย Major
รองรับปริมาณขยะได้ประมาณ ๑ ปี และใน shut down ๒ คร้ัง/ปี โดยจะทาการปิดหัวเผา
ระหวา่ งนนั้ เทศบาลจะต้องรบี ดาเนินการเพ่ือหา ครั้งละ ๑ ตัว และสลับเผา และหากมีความ
บรษิ ัทผู้รบั จา้ งรายใหม่ตอ่ ไป จาเป็นทางโรงเผาจะแจ้งให้เทศบาลดาเนินการ
ฝังกลบขยะแทนในระหว่างทาการบารุงรกั ษา
- การขนส่งขยะ หากเป็นกรณี อปท. ท่ีทา
MOU ส่ ว น ให ญ่ จ ะ ม า ส่ งเว ล า ก ล า งคื น - ต่อไปเทศบาลนครภูเก็ตจะต้องออก
และสามารถเข้าส่งได้ตลอด ๒ ๔ ชั่วโมง ข้อบัญ ญั ติการคัดแยกขยะที่แหล่งกาเนิด
(เก็บค่าบริการเป็นรายเดือน) ส่วนกรณีเอกชนอ่ืน และประกาศบังคับใช้ ซึ่งทางเทศบาลคิดว่ามี
สามารถมาส่งในช่วงเวลา ๐๘.๐๐ - ๑๖.๐๐ นาฬิกา ความเป็นไปได้ เพราะปัจจุบันทางเทศบาลก็มี
(เกบ็ ค่าบริการเปน็ รายคร้งั ) ก า ร ร ณ ร ง ค์ แ ล ะ ด า เนิ น ก า ร ให้ เป็ น ตั ว อ ย่ า ง
ในบางชุมชนแลว้
- ขอ้ ร้องเรยี นส่วนมาก มักเป็นเหตุเดือดร้อน
ราคาญ เชน่ กล่ิน หรือ น้าท่หี ยดจากรถขนขยะ - เทศบาล เห็นว่าการใช้หลักความยุติธรรม
ห รือ ฝุ่น ละ อ องใน ช่ วงท่ี ก่ อ สร้างโรงเผ า เข้ามาประยุกต์ใช้ในการเก็บค่าธรรมเนียม
ก ารแ ก้ ไข ปั ญ ห าก็ จ ะ แ ก้ ไข เฉ พ าะ เร่ือ ง เก็บขนขยะในเทศบาลนครภูเก็ตอาจเป็นไป
ด้วยมาตรการที่ปรากฎใน EIA ซึ่งปัจจุบัน ค่อยข้างยาก เพราะชาวบ้านอาจจะแอบ

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๗

นาขยะของตนไปไว้ท่ีอื่นแทน เพ่ือเลี่ยงการจ่าย นาไปใช้ประโยชน์อื่น ซ่ึงเทศบาลนครภูเก็ต
ค่าธรรมเนยี มเพมิ่ ข้ึน กาลังผลักดันให้นาน้าท่ีบาบัดแล้ว ไปใช้ผลิต
น้าประปา โดยขณะนี้กาลังดาเนินการขอเงิน
- อบจ. ไม่ไดร้ ับผิดชอบภารกิจการกาจัดขยะ จากกองทุนสิ่งแวดลอ้ มเพ่อื มาดาเนินการต่อไป
อันตรายโดยตรง เน่ืองจาก อบจ. ไม่ได้ดูแล
พ้ืนท่ีโดยตรง แต่จะให้การสนับสนุนหาก อปท. ๒.๒ การบริหารจัดการน้าเสียของเทศบาล
ร้องขอ ปจั จบุ ัน อปท. ดาเนินการจดั เกบ็ และส่ง เมืองป่าตอง ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๖๕
มาท่ีเทศบาลนครภูเก็ต (เทศบาลมีสถานที่ เวลา ๐๙.๐๐ นาฬิกา
จั ด เก็ บ แ ล ะ เก็ บ ค่ า ธ ณ ร ม เนี ย ม ก า ร จั ด เก็ บ )
จ า ก นั้ น เท ศ บ า ล จ ะ ด า เนิ น ก า ร ส่ ง ไ ป ก า จั ด
ท่ีสระบุรี (จ่ายค่ากาจัด ประมาณ ตันละ
๑๕,๐๐๐ บาท, ค่าขนส่งประมาณ ๓๐,๐๐๐
บาท ต่อเท่ียว (เท่ียวละประมาณ ๑๐ ตัน)
ส่วนขยะตดิ เชื้อจะจัดสง่ ไปกาจัดทนี่ ครสวรรค์

- ในอนาคต เทศบาลนครภูเก็ตมีนโยบาย
เก็บค่าบาบัดน้าเสีย ซ่ึงกาลังดาเนินการเตรียม
ความพร้อมด้วยการทาความเข้าใจกับชาวบ้าน
และกาลังหาวิธีการให้ชาวบ้านจ่ายค่าธรรมเนียม
ด้วยความ เต็ มใจ แ ละได้ ด าเนิ น ก ารร่าง
ขอ้ บัญญัติเพือ่ เตรยี มประกาศใช้บังคับต่อไป

- ปัจจุบันเทศบาลนครภูเก็ตมีระบบรวบรวม
น้าเสียประมาณ ร้อยละ๙๒ และตามแผน
ดาเนินการของเทศบาลจะมีการขยายระบบ
รวบรวมให้ครอบคลุมพื้นที่ โดยอาจขอเงินจาก
กองทนุ สิง่ แวดล้อมมาดาเนินการ

- การแยกสิ่งปฏิกูลออกจากน้าท่ีจะเข้าสู่
ระบบบาบัด จะส่งผลต่อรับบบาบัดน้าเสียท่ีใช้
อยู่ในปัจจุบัน ควรรีบปรับปรุงรายละเอียดแล้ว
เสนอไปท่กี องทุนสิง่ แวดล้อม

- ค่า BOD ของน้าที่ผ่านการบาบัดแล้ว
ค่อนข้างตา่ มาก จึงไม่ควรปลอ่ ยทง้ิ ลงทะเล ควร

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๘

๒.๒.๒ โรงปรับปรุงคุณภาพน้าเทศบาล
เมืองปา่ ตอง

๒.๒.๑ เทศบาลเมืองปา่ ตอง ๒.๒.๓ ระบบบาบัดน้าเสียเทศบาลเมือง
ปา่ ตอง

เร่ิมเปิดดาเนินการ พ.ศ 2532
ความสามารถบาบัด ๒,๒๕๐ ลบ.ม/วัน โดยระบบ

บาบัดน้าเสียแบบตะกอนเร่ง และ คลองวนเวียน
(หลักการ : จุลินทรีย์แบบใช้ออกซิเจนย่อยสลาย
อินทรีย์ในน้าเสีย ในปัจจุบัน ระบบบาบัดน้าเสีย
สามารถบาบัด ๓๙,๐๐๐ ลบ.ม/วัน โดยมีน้าเสีย
เข้าระบบปัจจุบัน ๑๖,๕๕๕ ลบ.ม/วัน (ข้อมูล
เดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๖๕) ซ่ึงก่อนสถานการณ์
COVID - 19ระบาด ในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ พบว่ามี
ปริมาณน้าเสียเข้าระบบ ๒๕,๐๐๐ - ๒๙,๐๐๐
ลบ.ม/วนั )

ฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๙

๒.๒.๔ ระบบรวบรวมน้าเสียเทศบาล
เมอื งป่าตอง

ระบบรวบรวมน้าเสยี ๒.๒.๕ โครงการก่อสรา้ งระบบบาบัดสง่ิ ปฏิกูล
- สถานีสูบน้าเสียและอาคารดัก
นา้ เสยี (CSO&PS) จานวน ๑๗ แห่ง - บ่อหมักไรอ้ ากาศ ความสามารถ
- อาคารดักน้าเสีย (CSO) จานวน บาบดั ๔๒ ลบ.ม/วนั
๓๗ แห่ง
- ค รอ บ ค ลุ ม ส่ ว น พ้ื น ที่ เมื อ ง - งบประมาณการกอ่ สรา้ ง ร้อยละ
รอ้ ยละ ๗๔ ๖๐.๔ ล้านบาท โดยกองทนุ สิง่ แวดล้อมสนบั สนุน
แผนงานขยายระบบรวบรวมน้าเสยี รอ้ ยละ ๙๐ เทศบาลสมทบ รอ้ ยละ ๑๐

- เทศบาลฯ เตรียมเสนอโครงการ
ก่อสร้างระบบรวบรวมน้าเสียในพ้ืนท่ีกะหลิม
และควนยาง บรรจุแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการ
คุณภาพสิ่งแวดล้อมระดับจังหวัด ปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๗

ฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๐

- ความก้าวหน้าโครงการ ร้อยละ

๓๙.๓๔

๒.๒.๖ การมีส่วนร่วมของผู้ประกอบการ

ดา้ นการจดั การน้าเสยี

การมสี ว่ นรว่ มตามหลักผู้ก่อมลพษิ

เป็ น ผู้ จ่ า ย (Polluters Pay Principle ; PPP)

เร่ิมจัดเก็บค่าธรรมเนียมบาบัดน้าเสีย ต้ังแต่

ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ตามข้อบังคับสุขาภิบาลป่าตอง

เรื่อง การควบคุมการกาจัดน้าเสียเขตสุขาภิบาล

เมื องป่ าต อง อัต ราค่ าธรรม เนี ยม : สถ าน ความคิดเหน็ ของคณะอนกุ รรมาธิการ
ประกอบการขนาดเล็ก อัตรา ๒๐๐ บาท/คูหา - เทศบาลเมืองป่าตองควรวางแผนในเรื่องนี้
โรงแรม ๖๐๐ บาท/ห้อง/ปี ในปัจจุบันจัดเก็บ ในระยะยาว เน่ืองจากป่าตองเป็นเมืองท่องเท่ียวมี
ตามเทศบัญญัติ เร่ือง การควบคุมและจัดเก็บ จุดขายเป็น น้าใส ชายหาด ฯลฯ เมื่อฟื้นตัวจาก
ค่ าธรรม เนี ย ม บ าบั ด น้ าเสี ย พ .ศ . ๒ ๕ ๕ ๔ สถานการณ์ Covid-19 ปริมาณน้าเสียก็จะเพ่ิม
อตั ราคา่ ธรรมเนยี ม : ตามปรมิ าณการใชน้ ้า (บาท/ ปริมาณมากย่ิงข้นึ
ลบ.ม น้าใช)้ - ควรเข้มงวด ตรวจสอบธุรกิจขนาดใหญ่ที่มี

ปี พ.ศ ประเภท 1 ประเภท 2 โรงแรมปธรุระกเภจิ ทขน3าดใหญแร่ ะลบะบติบดาตบาัดมเตปร็นวขจอสงอตบัวใเหอ้งเปโ็นดไยปคตวาบมคมุมาคตุณรภฐาาพน
ทีอ่ ยอู่ าศัย ราชการ ธุรกจิ ขนาดเลก็

2554-2556 2.50 3.75 5.00 อย่างเคร่งครดั เพือ่ ลดปัญหาทีจ่ ะเกดิ ขึน้ ในอนาคต

2557-2562 3.00 4.25 5.50 ๐ เทศบาลเมืองป่าตองควรส่งเสริมการนาน้าที่
2563-2567 3.50 4.75 6.00 ผ่านการบาบัดแล้วมาใช้ประโยชน์ให้มากยิ่งขึ้น
2568-2571 4.00 5.25 นอกจากเทศบาลดาเนินการเองแล้ว อาจต้อง
6.50 ส่งเสรมิ ใหภ้ าคเอกชนร่วมด้วย

- จากข้อมูลที่ได้รับ น้าที่ออกจากระบบบาบัด

๒.๒.๗ การใช้ประโยชน์น้าที่ผ่านการบาบัด มีค่าสารประกอบบางอย่างมากกว่าน้าท่ีเข้าสู่
น้าเสีย ระบบบาบดั ควรตรวจสอบหาสาเหตใุ ห้พบ เพอ่ื ให้
การบาบดั ของเทศบาลมปี ระสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขึน้

- เทศบาลเมืองป่าตองให้เอกชนมาดาเนินการ

ระบบบาบัดน้าเสียแบบรายปี และยังไม่เคยมี

ปั ญ ญ าเร่ืองงบ ป ระม าณ ใน การต่อสัญ ญ า

ดาเนินการ

- เทศบาลเมืองป่าตองสามารถจัดเก็บค่าบาบัด

น้าเสียในช่วงก่อนเกิดการระบาดของ Covid 19

ป ระ ม าณ ๑ ๖ ล้ าน บ าท /ปี ส่ วน ห ลั งเกิ ด

ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๑

การระบาดของ Covid 19 สามารถจดั เกบ็ ได้เพยี ง ทราบสดั ส่วนของท่อรวบรวมนา้ เสยี ท่ีไดร้ ับอทิ ธิพล
ประมาณ ๖ ล้านบาท/ปี เท่าน้ัน ในขณะท่ีมี จากน้าทะเลหนุนกับที่ไม่ได้รับอิทธิพล เนื่องจาก
ค่าใช้จ่ายในการเดินระบบ ประมาณ ปีละ ๒๐ จะเป็นข้อมูลที่จะช่วยสะท้อนต้นทุนที่แท้จริงของ
ล้านบาท ระบบบาบดั นา้ เสยี ท่ดี าเนนิ การอยู่

- มีผ้คู ้างค่าธรรมเนียมบาบัดน้าเสียเป็นจานวน - เทศบาลเมืองป่าตอง อ้างอิงฐานข้อมูลการใช้
มาก ซ่งึ ผ้บู ริหารเทศบาลมีนโยบายให้ผ่อนชาระได้ น้าประปา มาจัดเก็บค่าบาบัดน้าเสีย โดยใช้
(แตต่ ้องพิจารณาเปน็ รายกรณี) แนวคิด ใช้น้าประปาเท่าไหร่ จ่ายค่าบาบัดน้าเสีย
เท่าน้ัน จัดเก็บผ่านการส่งใบแจ้งหน้ีไปที่บ้านแล้ว
- เทศบาลนาน้าที่ผ่านการบาบัดแล้วส่วนหนึ่ง
ประชาชนจะมาจ่ายท่ีเทศบาลด้วยตนเอง สถาน
ม าผ ลิ ต น้ าป ระ ป า RO โด ย ให้ เอ ก ช น เป็ น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ส่ ว น ให ญ่ จ ะ จ่ า ย ค่ า บ า บั ด
ดาเนินการผลิต และเทศบาลทาหน้าท่ีควบคุม แต่บ้านเรือนมีการจ่ายอยู่ที่ประมาณ ร้อยละ ๖๐
มาตรฐานการผลติ แทน เร่ิมการจัดเก็บมาต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๕ ใช้วิธี
ประชาสัมพนั ธ์ดว้ ยรถกระจายเสียง โดยเร่ิมเก็บใน
- จาหน่ายน้าประปา RO ในอัตรา ๔๕ บาท/ อัตราเหมาจ่ายก่อน เมื่อมีเทศบัญญัติใช้บังคับ จึง
ลบ.ม. มีสัดส่วนในการแบ่งรายได้ ดังนี้ เอกชน ดาเนินการเกบ็ ตามการใช้งานจริง ปัจจุบันคนท่ีไม่
ผู้ผลิตน้าประปา RO จานวน ๒๗ บาท, เทศบาล ยอมจ่ายค่าบาบัดน้าเสีย เทศบาลจะใช้วิธีส่ง
จานวน ๓ บาท และผู้จัดจาหน่าย จานวน ๑๕ จดหมายเตือน และมีระบบให้ผ่อนจ่ายได้ (แต่ต้อง
บาท โดยผู้จาหน่ายเป็นผู้ลงทุนในการจัดทาเส้น พิจารณาเปน็ รายกรณ)ี
ทอ่ สง่ นา้ เพอ่ื จาหน่าย
- รายได้รวมของเทศบาลเมืองป่าตองที่จัดเก็บ
- เนื่ อ งจ าก ป่ าต อ งเป็ น เมื อ งท่ อ งเที่ ย ว เอง ช่วงก่อนเกิดการระบาดของ Covid-19
ความพึงพอใจของนักท่องเท่ียวเป็นสิ่งสาคัญมาก
หากนักทอ่ งเทีย่ วทราบวา่ มีการนาน้า RO มาใช้ใน ประมาณ ๓๐๐ ล้านบาท/ปี แต่หลังเกิดการ
ระบาดของ Covid-19 สามารถจัดเก็บได้เพียง
ก า ร อุ ป โภ ค ห รื อ บ ริ โภ ค อ า จ ส่ ง ผ ล ต่ อ ประมาณ ๒๒ ล้านบาท/ปี เท่าน้ัน หากได้รับเงิน
ความพึงพอใจได้ อุดหนุนจากรัฐบาล ก็จะช่วยผ่อนคลายสถานการณ์
ทางการเงินของเทศบาลในชว่ งน้ไี ด้
- หากระบบกาจัดสิ่งปฏิกูลเสร็จแล้วและยังมี
ศักยภาพในการกาจัดเหลืออยู่ ควรรับกาจัดส่ิง - เทศบาลป่าตองมีการจัดเก็บขยะ ๒ แบบ คือ
ปฏกิ ูลจาก อปท. อน่ื ด้วย จ้ า ง เอ ก ช น ด า เนิ น ก า ร ส่ ว น ห น่ึ ง แ ล ะ เท ศ บ า ล
ดาเนินการอีกส่วนหนึ่ง ส่วนขยะติดเชื้อ เทศบาล
- ปัญหาในการรวบรวมน้าเข้าระบบ เกิดจาก จะดาเนินการจัดเก็บแล้วส่งไปรวมที่เทศบาลนคร
ทรายและดินจากภเู ขาซงึ่ มีมากในพื้นท่ปี า่ ตอง เมื่อ ภูเกต็ โดยมีอัตราการเก็บขยะจากบา้ นพกั อาศยั อยู่
ทรายหรือดินมาสะสมบริเวณเวียร์ (Weir) เป็น ที่ ๔๐ บาท/เดือน ส่วนโรงแรม จะใช้จานวนห้อง
จานวนมาก น้าก็จะไหลข้ามเวียร์ไป ทาให้น้าไม่ x ๔๐ บาท/เดือน ซง่ึ สามารถจัดเกบ็ ค่าธรรมเนยี ม
เข้าระบบบาบัด
จัด เก็บ ขยะได้ป ระมาณ ร้อยละ ๗ ๐ ท้ั งนี้
- ค่าใช้จ่ายในการเดินระบบบาบัดน้าเสีย สถานประกอบการท่ตี อ้ งขอตอ่ ใบอนญุ าตประกอบ
ส่วนใหญ่เป็นค่าใช้จ่ายคงที่ (FIX.) จะมีเพียง กิจการรายปี จะถูกระบุเง่ือนไขหลังใบอนุญาต

ค่าสารเคมีท่ีใช้ในการบาบัดเท่าน้ันที่สามารถ
ปรับเปลีย่ นได้ตามสถานการณจ์ รงิ

- เทศบาลเมืองป่าตองควรมีการสารวจเพ่ือให้

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๒

ตอนก่อสร้าง เร่ืองการจ่ายค่าธรรมเนียมจัดเก็บ ๒.๓ การบริหารจดั การขยะในพนื ท่ตี า้ บลสาคู
ข ย ะ ให้ เป็ น ห น่ึ ง ใน เง่ื อ น ไ ข ก า ร ต่ อ ใบ อ นุ ญ า ต ณ องค์การบริหารส่วนต้าบลสาคู อ้าเภอถลาง
ประกอบการรายปี จังหวัดภูเก็ต ในวันพฤหัสบดีที่ ๑๖ มีนาคม ๒๕๖๕
เวลา ๐๙.๐๐ นาฬกิ า
- เทศบาลมีการนาขยะมาจัดทาปุ๋ยอินทรีย
ซ่ึงได้รับความนิยมจากประชาชนเป็นอย่างมาก
และอนุกรรมาธิการฯ ได้เสนอให้นาสิ่งปฏิกูลท่ีได้
จากระบบแยกสงิ่ ปฏิกูลมาใช้ในการทาปยุ๋ ดว้ ย

- เทศบาลมี การน าแนวคิ ดเรื่ องเศรษฐกิ จ

หมุนเวียนมาใช้ประกอบการดาเนินการ โดยเริ่ม
จาก ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ท่ี มี ค ว า ม พ ร้ อ ม
ส่วนผู้ประกอบการทั่วไปจะทาการประชาสัมพันธ์
เพ่ือสร้างการรับรู้ของประชาชนว่า “ป่าตอง
เป็นหม้อข้าวของทุกคน ทุกคนต้องช่วยกัน ป่าตอง
จึงจะพัฒนาได้อย่างสมบูรณ์ โดยเทศบาลเห็นว่า
ก า ร ส ร้ า ง ก า ร รั บ รู้ ดั ง ก ล่ า ว ม า ใ ช้ ใ น ก า ร จู ง ใ จ
จะได้ผลมากกวา่ เหตผุ ลอนื่

๒.๓.๑ ประวตั ิความเป็นมา
สาคูในอดีตว่าตาบลสาคู เริ่มต้ังแต่

สมัยโบราณแต่ไม่ทราบแน่ชัด ยังมีการเล่ากันว่า
สมัยก่อนมีสระน้าขนาดใหญ่สาหรับให้โคได้กินน้า
ตอ่ มาชาวบ้านอพยพกันมาตั้งถิ่นฐานบ้านเรอื นอยู่
จึงเรยี กว่าบ้าน "สระโค" ต่อมามกี ารเรียกชอ่ื เพ้ียน
มาเป็น "สาคู" และได้เรียกชื่อ"บ้านสาดู" ต่อมา
ภายหลังมีการจัดตั้งข้ึนเป็นตาบลสาดู จึงเรียกว่า
“ตาบลสาคู” จนมาถงึ ปัจจบุ นั

๒.๓.๒ รายรับ - รายจ่าย การจัดการมูลฝอย
ปี ๒๕๖๓ รายรับ ๑,๐๑๖,๙๗๐

บาท และรายจา่ ย ๖,๘๙๖,๐๐๐
ปี ๒๕๖๔ รายรับ ๘๐๐,๐๐๐ บาท

รายจ่าย ๖,๗๔๐,๐๐๐ บาท

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๓

ประมาณการรายรับปี ๒๕๖๕ ๒.๓.๔ การเก็บขนขยะมูลฝอยในพื้นท่ี
จานวนเงิน ๘๐๐,๐๐๐ บาท องคก์ ารบริหารส่วนตาบลสาคู

องค์การบริหารส่วนตาบลสาคู ได้ องค์การบริหารส่วนตาบลสาคูมี
จัดตั้งงบประมาณ ในข้อบัญ ญั ติงบประมาณ การจัดเกบ็ ขยะ ๒ รูปแบบ ดังนี้
รายจ่ายประจาปี ๒๕๖๕ ในการบรหิ ารจัดการขยะ
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้นาชุมชนกลุ่มต่าง ๆ ๑) ดาเนินการจ้างเหมาเอกชน
และประชาชนในตาบลสาคูได้รับความรู้เก่ียวกับ ในการจัดเกบ็ ขยะมลู ฝอยในพืน้ ที่ โดยใช้รถอัดท้าย
การคัดแยกขยะในครัวเรือน รวมถึงมีความตระหนัก
ในการเก็บขนขยะ จานวน ๒ คัน และ รถบรรทุก
ในการคดั แยกขยะ และการนาขยะมูลฝอยกลับมา ๖ ล้อ จานวน ๑ คัน และยังมีรถกระบะเสริมข้าง
ใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และเพ่ือ จานวน ๑ คัน ครอบคลุมทั้ง ๕ หมู่บ้าน และจัดเก็บ
การรณรงค์ให้เกิดระบบการบริหารจัดการขยะ ในทุกวนั
เปียกในครวั เรือน ดังน้ี
๒) สถานประกอบการดาเนินการ
- โครงการฝึกอบรมการคัดแยก จ้างเหมาเอกชนท่ีได้รับการอนุญาตจากองค์การ
ขยะ จานวนเงนิ ๕๐,๐๐๐ บาท บรหิ ารส่วนตาบลสาคใู ห้เขา้ ดาเนินการเก็บขนขยะ
มลู ฝอยได้
- โครงการส่งเสริมการรักษาความ
สะอาดในชุมชน (Big Cleaning Day) จานวน ๒.๓.๕ การบริหารจดั การขยะมลู ฝอย
๕๐,๐๐๐ บาท ๑ ) ก ารด าเนิ น ก ารต าม แ ผ น

- จ้างเหมาเอกชนเก็บขนขยะมูล รณรงค์แยกก่อนทิ้งองค์การบริหารส่วนตาบลสาคู
ฝอย ๓,๘๐๐,๐๐๐ บาท ได้ดาเนนิ การตามแผนรณรงคแ์ ยกกอ่ นทิง้ ดงั นี้

- จ้างเหมาเอกชนรักษาความ - ดาเนินกิจกรรม “แยกขยะ

สะอาด ถนน ทางเทา้ และทส่ี าธารณะ ๘๕๐,๐๐๐ ก่อนท้ิง” มีการอบรมให้ความรู้จัดทาถังขยะเปียก
- โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ ท้ัง ๕ หมู่บ้าน และโรงเรียนทุกแห่งในพื้นท่ีตาบล
สาคูจดั ทาถงั ขยะเปยี กครัวเรือน และขยะอันตราย
และศึกษาดูงานของอาสาสมัครท้องถ่ินรักษ์โลก แลกของใช้ในครัวเรือน เพ่ือเป็นการรณรงค์
๕๐,๐๐๐ บาท

รวมเป็นเงิน ๔,๘๐๐,๐๐๐ บาท
ซ่ึงขาดทนุ ร้อยละ ๙๐

๒.๓.๓ ข้อบังคับตาบลสาคู เรื่อง การกาจัด
มูลฝอย ส่ิงปฏิกูล และส่ิงเปรอะเป้ือน ประกาศ
เมอ่ื วนั ท่ี ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๓๙

ฝ่ายเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๔

และประชาสัมพันธ์ให้เด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง จังหวัดภูเก็ต
ได้รับรู้และเกิดการมีส่วนร่วมในการจัดการขยะใน ๒.๓.๖ ฐานขอ้ มลู ปรมิ าณขยะมูลฝอย
ครัวเรือนด้วยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง ตามแผน
รณรงคแ์ ยกกอ่ นท้งิ

- ดาเนินการรณรงคโ์ ดยใชส้ ือ่
ประชาสัมพันธ์ เสริมสร้างจิตสานึกการคัดแยก
ขยะภายใต้แนวคิด “ร่วมกันเปล่ียน ร่วมกันแยก
ขยะก่อนทิ้ง” ตามนโยบายของปลัดกระทรวงมหาดไทย

ผ่ านช่ องทาง Social Media เช่ น Facebook, Line,
Wepsite ของอบต.สาคู และจัดทาไวนิลประชาสัมพันธ์
พร้อมสอ่ื แผ่นพบั เพ่ือให้ประชาชนทราบโดยทั่วกัน

- การรณรงค์จัดทาถังขยะ
เปี ย ก ค รั ว เรื อ น อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห าร ส่ ว น ต า บ ล ส า คู
ได้ดาเนินการรณรงค์ให้เกิดระบบการบริหาร
จดั การขยะเปียก ภายในสานักงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โรงเรยี น หน่วยงานราชการ ในตาบลสาคู

- หมู่บ้านนาร่องการคัดแยก
ขยะในตาบลสาคู จานวน ๒ หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ ๓
บ้านสาคู และหมู่ที่ ๔ บ้านในทอน มีการดาเนินการ
คัดแยกขยะในครัวเรือน และหมักปุ๋ยอินทรีย์
เพ่ือนามาใช้ปลูกผักกินเองในครัวเรือน รวมท้ัง
ได้ดาเนินการคัดแยกขยะและกิจกรรม ๕ ส.
ภายในสานักงาน โดยทุกส่วนราชการร่วมกัน
ดาเนินงาน และนาขยะที่ได้ไปเข้าร่วมกิจกรรม
ตลาดนัดรีไซเคิล ณ บริเวณท่ีว่าการอาเภอถลาง

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๕

๒.๓.๗ แนวโน้มและคาดการณ์การเกิดขยะ - การจัดการขยะท่ีมีรายรับน้อยกว่ารายจ่าย
ในอนาคต ค่อนข้างมาก ทาให้ อบต. ต้องมีการวางแผน
ในการคิดค่าธรรมเนียมใหม่ โดยจะเร่ิมตั้งแต่
๒.๓.๘ ปญั หาและอุปสรรค การขออนุญาตก่อสร้างอาคาร โดยจะแบ่งแยก
ประเภทตามประเภทของอาคาร และคิดค่าขยะ
ความคิดเห็นของคณะอนกุ รรมาธกิ าร ตามประเภทของกจิ การ/ อาคารแทน
- จากข้อมูลท่ีนาเสนอมีจานวนครัวเรือน
มากกว่าประชากร เน่ืองจาก อบต. สาคู มีที่ตั้งอยู่ - เนื่องจากระยะทางในการขนขยะไปโรงเผา
ใกล้สนามบิ น ภูเก็ต มากกว่า อบ ต . ไม้ข าว ขยะที่เทศบาลนครภูเก็ตค่อนข้างไกล (ประมาณ
(แตส่ นามบินอย่ใู นพนื้ ท่ี อบต.ไมข้ าว) แรงงานทีม่ า
ทางานที่สนามบินจึงนิยมมาพักอยู่ที่ อบต.สาคู ๓๐ กิโลเมตร) ทาให้ อบต. มีต้นทุนในการขนส่ง
จึ ง เกิ ด ที่ พั ก ใน ลั ก ษ ณ ะ บ้ า น เช่ า ใน พ้ื น ที่ เพ่ิมมากขึ้น เป็นไปได้หรือไม่ท่ี อบจ. จะช่วย
คอ่ นข้างมาก (หลายหอ้ งแจง้ ยืน่ รายเดยี ว) สนับสนุนเรอื่ งค่าขนส่ง

- การคิดอัตราค่าธรรมเนียมจัดเก็บขยะของ
อบต. ในปจั จบุ นั ยกตัวอย่างเชน่ ขยะไม่เกนิ ๑๐๐
ลิตร ต่อเดือน คิดค่าธรรมเนียม ๑๐๐ บาท ขยะ
ไม่เกิน ๒๐๐ ลิตร ต่อเดือน คิดค่าธรรมเนียม
๑๕๐ บาท และขยะไม่เกิน ๓๐๐ ลติ ร ตอ่ เดือนคิด
ค่าธรรมเนียม ๒๐๐ บาท อัตราดังที่ยกตัวอย่าง
ไม่ ไ ด้ ส ร้ า ง แ ร ง จู ง ใจ ใน ก า ร ล ด ป ริ ม า ณ ข ย ะ ล ง
เน่ืองจากสร้างความรู้สึกย่ิงมีขยะมากย่ิงคุ้มกับ
ค่าธรรมเนียม ควรต้องปรับให้เกิดความรู้สึกย่ิงมี

ขยะเยอะยง่ิ ต้องจ่ายแพงแทน
- อัตราการเกิดขยะต่อคนต่อวันค่อนข้างสูง

(๑.๔๓ กิโลกรัมต่อคนต่อวนั ) คดิ ว่าเนื่องจากหารด้วย
ประชากรตามทะเบียนราษฎร์เท่าน้ัน ทั้งท่ีมี
จ า น ว น ป ร ะ ช า ก ร แ ฝ ง ใน พื้ น ที่ ค่ อ น ข้ า ง ม า ก
(มากกว่าประมาณ ๓ เท่า) หากหารด้วยจานวน
ประชากรท้งั หมดจริงๆ อาจจะมีอตั ราการเกิดขยะ
ท่ีน้อยกว่านี้ก็เป็นไปได้ อีกอย่างคือ หากสามารถ
รณ รงค์ให้มีการคัดแยกขยะที่แห ล่งกาเนิด
ก็อาจจะช่วยปริมาณขยะท่ีแท้จริงที่ต้องกาจัด
ลดลง

- ขยะมรสุม มีลักษณะคล้ายยางและน้ามัน

เป็นเศษเล็ก ๆ และมีปริมาณต่อปีค่อนข้างมาก
แต่ยังไม่มีการเก็บสถิติไว้ ดังนั้น อบต. ควรมี
การจัดเก็บปริมาณของขยะมรสุมไว้ด้วย เพื่อเป็น

ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๖

ประโยชน์ในการขอจัดสรรงบประมาณสนับสนุน อย่างไรก็ตาม ในขณ ะท่ีคนอ่ืน พยายามจะ
จากรัฐบาลหรือแหล่งทุนอ่ืนต่อไป เน่ืองจากไม่ได้ ปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรม
เป็นขยะทเี่ กดิ จากพนื้ ที่ แต่เปน็ ขยะทม่ี าจากท่อี น่ื เลกิ ๑๖.๐๐ น.

- มีอัตราค่าธรรมเนียมขยะ ๓๐ บาท ต่อ --------------------------
ครัวเรอื น (๒๐ กวา่ ปมี าแล้ว)

- เสนอให้มีการรณรงค์คัดแยกขยะเพิ่มเติมให้
ครอบคลุมพื้นที่ในทุกหมู่ ของ อบต.

- การแยกองค์ประกอบขยะ ของ อบต. ยังไม่

ถกู วิธี (ใช้วิธีนบั จานวน) ขอแนะนาให้ปรับเปลี่ยน
การเก็บ ข้ อมู ล จากวิธีการนั บ จาน วน เป็ น
การช่ังน้าหนักแทน เนื่องจากในการจัดการขยะ
ในทุกขั้นตอนจะใช้น้าหนักของขยะเป็นตัวอ้างอิง
ไมอ่ ย่างน้นั จะเกิดการเขา้ ใจผิด เชน่ ขอ้ มูลท่ี อบต.
นาเสนอ มีสัดส่วนของพลาสติกเยอะมาก ซ่ึงหาก
ใช้วิธีชั่งน้าหนัก อาจจะมีสัดส่วนไม่มาก แต่เมื่อดู
จากข้อมูลท่ี อบต. เสนอ ทาให้เข้าใจผิดว่า อบต.
มีปัญหาเร่ืองปริมาณพลาสติกเยอะมาก ซ่ึงจะ
ทาให้การวางระบบจดั การขยะผิดพลาดได้

- ควรนาแผนที่ภาษีมาประกอบการพิจารณา
จดั เก็บค่าธรรมเนียมด้วยด้วย เพราะการนาแผนท่ี

ภาษีมาใช้ จะทาให้ อบต. สามารถเก็บค่าขยะ
ไดต้ ามกิจการทีป่ ระกอบจริง

- เสนอให้นาธุรกิจขนาดใหญ่ มาเข้าร่วม
โครงการคัดแยกขยะด้วย

- เสนอ หลักคิด “ต้องผลิตขยะให้น้อยท่ีสุด”
อัตราการเก็บขยะของ อบต. ในปัจจุบัน เหมือน
ส่งเสริมให้เกิดความรู้สึกถ้ามีขยะเยอะย่ิงคุ้ม
ค่าบริการ ควรเปล่ียนอัตราการเก็บให้รู้สึกว่า
“ย่ิงผลิตขยะเยอะยิ่งต้องจา่ ยแพง” แทน

- ควรลองใช้โอกาสที่ อบต. มีชาวต่างชาติ
อาศยั อยู่เยอะ มาใช้ในการปรับเปลยี่ นทศั นคติ

- ความเห็นของ อบต. ประเด็น “ความเป็น

ธรรม ” ใน หั วข้ อ ปั ญ ห าแ ละ อุ ป ส รรค คื อ
พฤติกรรมของประชาชนบางส่วนยังคงเดิม ไม่
เปลี่ยนแปลง แม้วา่ จะรณรงคห์ รือขอความร่วมมือ

ฝา่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๗

ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๘

ผจู้ ัดทาสรปุ
นางสาววรยิ า โควสุรตั น์
นิติกรปฏิบตั กิ าร
กลมุ่ งานคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
นางสาวฑฆิ ัมพร ฝาชยั ภูมิ
วิทยากรชานาญการ ตรวจ/ทาน ๑

ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๙

ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ ารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม โทร. ๐ ๒๘๓๑ ๙๑๖๒ – ๓ ๑๕
%ถ


Click to View FlipBook Version