The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศูนย์สิ่งแวดล้อม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by randr.noo, 2021-12-26 22:19:09

ศูนย์สิ่งแวดล้อม

ศูนย์สิ่งแวดล้อม

ศูนย์การจดั การส่งิ แวดลอ้ ม
เทศบาลเมอื งชลบุรี

Chonburi Municipality Environmental Management Center

1

2

ศูนยก์ ารจดั การส่งิ แวดล้อม
เทศบาลเมืองชลบรุ ี

ความเป็นมา

เทศบาลเมอื งชลบรุ ี ไดด้ ำ�เนนิ การจดั ตั้งศนู ยก์ ารจัดการสิง่ แวดลอ้ มขึน้ เมื่อ ปี พ.ศ. 2554
โดยใช้สถานที่ศูนย์บริการสาธารณสุขหลังเก่า และได้ดำ�เนินการไปแล้วบางส่วน แต่ปัจจุบันน้ี
ศูนย์บริการสาธารณสุขหลังเก่าได้ปรับปรุงสำ�หรับการให้บริการรักษาผู้ป่วยโรคไต ทำ�ให้ศูนย์
การจัดการสิ่งแวดล้อมต้องย้ายสถานท่ีดำ�เนินการ โดยได้ย้ายสถานที่ดำ�เนินการมาท่ีว่างบริเวณ
ข้างบ้านพักผู้อำ�นวยการกองสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อม เพื่อให้การดำ�เนินโครงการเป็นไป
อย่างต่อเนื่องและย่ังยืนในด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม เพราะเนื่องจากในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี
เป็นศูนย์รวมของการพาณิชย์ เศรษฐกิจ การพัฒนาเทคโนโลยี การศึกษา ศูนย์การค้า อาหาร
มตี ลาดสด ตลาดสนิ คา้ เกษตรกรรม แหลง่ อาหารทะเลสดๆ และอาหารแปรรปู จ�ำ นวนมาก ประกอบ
กับการพัฒนาสาธารณูปโภคในด้านต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จึงทำ�ให้มีประชาชนจากต่างจังหวัด
เข้ามาอาศัยอยู่และทำ�งานเป็นจำ�นวนมาก ทำ�ให้เกิดปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นโดยมีขยะเฉลี่ย
วันละประมาณ 45 ตัน ซ่ึงส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม โดยปัญหาท่ีสำ�คัญ คือ การจัดการขยะ
มูลฝอย ประชาชนขาดจิตสำ�นึกในการทิ้งขยะ ไม่มีการคัดแยกขยะก่อนนำ�ไปทิ้ง ก่อให้เกิดปัญหา
ตามมา คือ ปัญหาขยะล้นเมือง เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค ทำ�ให้สภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม
และนับวันปัญหาเหล่านี้จะทวีความรุนแรงมากข้ึน ทัศนียภาพของบ้านเมืองไม่สวยงาม ก่อให้เกิด
มลพิษต่างๆ ได้ ดังนั้นหากไม่มีการจัดการสิ่งแวดล้อมท่ีดีหรือขาดการจัดการส่ิงแวดล้อมอย่าง
มีประสิทธิภาพแล้วนั้น เทศบาลเมืองชลบุรีต้องประสบกับปัญหาส่ิงแวดล้อมเส่ือมโทรม ท้ังนี้
การปรับปรุงและพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้นน้ันต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชน สถาน
ประกอบการ และหน่วยงานตา่ งๆ ในเขตเทศบาลเมอื งชลบรุ ีเปน็ ส�ำ คัญ
ปัจจุบันเทศบาลเมืองชลบุรีไม่มีสถานท่ีกำ�จัดขยะของเทศบาล ต้องจ้างบริษัทเอกชน
กำ�จัด ทำ�ให้มีภาระค่าใช้จ่ายในการกำ�จัดปีละกว่า 10 ล้านบาท และมีแนวโน้มท่ีจะเพิ่มขึ้น
ดังนั้นกองสาธารณสุขและส่ิงแวดล้อม จึงมีความตระหนักและเล็งเห็นความสำ�คัญในการจัดการ
ส่ิงแวดล้อมและเพ่ือให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการดูแลรักษาสภาพแวดล้อมร่วมกัน และเพ่ือให้
การดำ�เนินงานศนู ย์การจดั การสง่ิ แวดล้อมเป็นไปอย่างต่อเนอ่ื ง จงึ ได้จัดทำ�โครงการด�ำ เนนิ งานศนู ย์
การจัดการสง่ิ แวดลอ้ มข้นึ เพ่อื เป็นแหลง่ เรยี นรู้ สาธิต ศึกษา และแลกเปลย่ี นความรู้ ประสบการณ์
การจัดการขยะและส่ิงแวดล้อมต่างๆ ในเขตเทศบาลหรือท้องถิ่นอ่ืนๆ เพื่อเป็นการลดปริมาณ
ขยะในครัวเรือนให้น้อยลง และให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการจัดการขยะและรักษาสภาพ
สง่ิ แวดล้อมให้ยั่งยืนต่อไป

3

วัตถปุ ระสงค์

1. เพ่อื ให้มกี ารดำ�เนินงานศูนย์การจดั การสง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
2. เพ่ือให้มแี นวทางหรอื ใชว้ ธิ กี ารทเ่ี หมาะสมในการจัดการส่ิงแวดล้อมและขยะมลู ฝอย
3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชน และชุมชน มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
สงิ่ แวดลอ้ มและขยะมูลฝอยในพ้นื ที่
4. เพ่ือเปน็ แหลง่ การเรยี นรู้ และสามารถเขา้ ศึกษาดงู านในกระบวนการจดั การ
สิ่งแวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

กจิ กรรมภายในศูนยก์ ารจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ประกอบดว้ ย

1. การรับซอื้ - ขาย ขยะรีไซเคิล
2. การทำ�น้ําหมักจุลินทรีย์ชวี ภาพ (อเี อ็ม)
3. การทำ�ปยุ๋ ตะกรา้
4. การท�ำ ปุ๋ยวงขอบซีเมนต์
5. การเล้ยี งไส้เดอื น
6. ศูนยร์ วบรวมขยะอนั ตรายจากชมุ ชน

ศูนย์รวบรวม การรับซ้อื - ขาย การทำ�นาํ้ หมกั
ขยะอันตราย ขยะรไี ซเคลิ จุลนิ ทรีย์ชวี ภาพ
จากชุมชน
ศนู ยก์ ารจดั การ (อเี อ็ม)
สง่ิ แวดลอ้ ม

การเลีย้ งไส้เดือน การทำ�ป๋ยุ ตะกรา้

การทำ�ปุ๋ย
วงขอบซเี มนต์

4

การรับซ้อื -ขาย ขยะรไี ซเคิล

ขขยยะะกมาํ ลาจังลาก้นไเหมนือง? !
มาช่วยกธันนลาดคขารยขะยแะรยไี กซขเยคะลิ รไี ซเคิล

ทุกวนั น้ีคนไทยกวา่ 65 ลา้ นคน สรา้ งขยะได้มากถึง 14 ลา้ นตันต่อปี ขยะสว่ นใหญ่มาจาก
วัสดุท่ีเราไม่ได้ใช้ประโยชน์แล้ว เช่น เศษกระดาษ ขวดพลาสติก กระป๋อง เศษแก้วฯลฯ ถ้าเรานำ�
เอาขยะเหล่านี้มากองรวมกันก็คงสูงเท่ากับตึกหลายสิบชั้นทีเดียว แต่เชื่อไหมว่าเราสามารถจัดเก็บ
และกำ�จดั ขยะได้ไมถ่ งึ 70% ของขยะท่เี กดิ ขึ้น ขยะจงึ ตกคา้ งอยตู่ ามสถานท่ีต่างๆ และสร้างปัญหา
มลพิษต่อตวั เราและชมุ ชน

ขยะ คอื เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้า เศษวัตถุ ถงุ พลาสตกิ ภาชนะท่ใี ส่
อาหาร เถ้า มูลสัตว์ ซากสัตว์หรือสิ่งอื่นใดท่ีเก็บกวาดจากถนน ตลาด ที่เลี้ยงสัตว์หรือท่ีอ่ืน และ
หมายความรวมถงึ มลู ฝอยติดเชอ้ื มลู ฝอยท่ีเป็นพษิ หรอื อนั ตรายจากชมุ ชน

สรุป ขยะก็คือ ของเหลือทิ้งจากการใช้สอยในกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำ�วันและการ
ทำ�งาน ทั้งที่เป็นของกินและของใช้ ดังน้ันถ้าเราไม่กินทิ้งกินขว้างและใช้ของทุกอย่างให้คุ้มค่าท่ีสุด
หรอื รู้จกั ซ่อมแซม ดัดแปลงของให้เกิดประโยชนใ์ หม่ กจ็ ะชว่ ยให้มีขยะนอ้ ยลง

ประเภทขยะ

เราแบง่ ขยะได้เป็น 4 ประเภท
1. ขยะอินทรีย์ หรือ ขยะย่อยสลายได้ เช่น เศษวัชพืช เศษอาหาร เปลือกผลไม้ ฯลฯ
สามารถน�ำ ไปหมกั ทำ�ป๋ยุ ได้
2. ขยะรีไซเคิล เป็นขยะท่ีสามารถนำ�ไปขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ/
อโลหะ ฯลฯ
3. ขยะทั่วไป เป็นขยะท่ีย่อยสลายไม่ได้ และ ไม่สามารถนำ�ไปรีไซเคิลได้ เช่น โฟม
ซองบะหมี่สำ�เร็จรูป เศษหนิ เศษปูน ฯลฯ

5

4. ขยะอันตรายหรือขยะมีพิษ เช่น กระป๋องยาฆ่าแมลง หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย และ
ขยะติดเชื้อ ฯลฯ ขยะเหลา่ นี้ต้องเก็บรวบรวมและน�ำ ไปก�ำ จดั ใหถ้ กู วิธี
ขยะรีไซเคิลหรือขยะที่ขายได้ คือ ขยะที่สามารถนำ�กลับมาใช้ใหม่ได้ โดยนำ�ไปผ่าน
กระบวนการแปรรูปในระบบอุตสาหกรรม ซึ่งอยู่ปะปนกับขยะมูลฝอยที่เราสร้างข้ึน สามารถ
แบ่งประเภทได้เป็น 4 ประเภท คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก และโลหะ/อโลหะ ซ่ึงเราสามารถ
คดั แยกและน�ำ กลับมาใชไ้ ด้อกี คร้งั หนึง่ โดยขยะแต่ละประเภทสามารถยอ่ ยไดม้ ากมาย

การรบั ซือ้ – ขาย ขยะรไี ซเคิล

ศนู ยก์ ารจัดการสิง่ แวดลอ้ ม เทศบาลเมอื งชลบรุ ี ได้ดำ�เนนิ การรบั ซ้อื – ขาย ขยะรไี ซเคิล
ทุกวันพฤหัสบดี

6

การทำ�นํา้ จลุ นิ ทรีย์ชีวภาพ (อเี อ็ม)

EM ย่อมาจาก Effective Microorganisms หมายถึง กลุ่มจุลินทรีย์ท่ีมีประสิทธิภาพ
ซึ่ง Dr.Teruo Higa ผู้เช่ียวชาญสาขาพืชสวนมหาวิทยาลัยริวคิว เมืองโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น ได้
ค้นพบเมอื่ พ.ศ. 2526
อีเอ็ม หรือน้ําจุลินทรีย์ มีลักษณะเป็นของเหลว สีนํ้าตาลดำ� มีกลิ่นอมเปรี้ยวอมหวาน
ค่าพีเอชอยู่ท่ีประมาณ 3.5 ประกอบด้วยจุลินทรีย์ท่ีมีชีวิตจำ�นวนมากกว่า 80 ชนิด จึงไม่สามารถ
ใช้ร่วมกับสารเคมี หรือยาปฏิชีวนะและยาฆ่าเชื้อต่างๆ ได้อีเอ็ม ไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
เช่น คน สัตว์ พืช และแมลงที่เป็นประโยชน์ แต่ช่วยปรับสภาพความสมดุลของส่ิงมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม ถ้านำ�ไปใช้ในการล้างตลาด จะช่วยกำ�จัดกล่ินเหม็น ลดจำ�นวนสัตว์และแมลงพาหะ
นำ�โรค ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นอย่างมาก อีเอ็ม จะทำ�งานในท่ีมืดได้ดี ดังน้ัน การล้างตลาด
ควรกระท�ำ ในชว่ งเวลาเย็น เพ่อื ให้การกำ�จัดสง่ิ สกปรกท้งั หลายเปน็ ไปอยา่ งเต็มประสิทธภิ าพ

วสั ดุ/อุปกรณ์

1 . หัวเชอ้ื จลุ ินทรยี ช์ วี ภาพ (อเี อ็ม) 2. กากน้าํ ตาล (โมลาท) 3. พด.2
หรือน้าํ ตาลทรายแดง

5. เปลือกผลไม้
4. นํ้าสะอาด

6. ภาชนะส�ำ หรับใชห้ มกั (ควรเป็นพลาสติก มีฝาเกลียวปิดสนทิ )
7

ข้ันตอนการหมกั นา้ํ จลุ นิ ทรยี ์ (EM) (หวั เชอ้ื )

ข้ันตอนแรก
ใสเ่ ปลือกผลไม้ 5 กิโลกรัม ตอ่ กากนํา้ ตาล (โมลาท) 2.5 กิโลกรมั เทใส่ลงไปคนให้ละลาย
ขัน้ ตอนที่สอง
เม่อื ผสมผสานเขา้ กันดี จากนัน้ กป็ ดิ ฝาใหม้ ดิ ชดิ แลว้ ให้หมักทิง้ ไว้ประมาณ 2 เดอื น

ขน้ั ตอนการหมกั ขยายน้ําจุลนิ ทรีย์

1. ใชถ้ งั พลาสติกสฟี า้ ขนาด 240 ลติ ร ใส่น้าํ ลงไปในถังประมาณ 2 ใน 3 ของถัง ถ้าหาก
ใช้นํา้ ประปาควรใสถ่ งั เปิดฝาทงิ้ ไว้ 2 วัน เพื่อให้คลอรีนระเหยไปเสยี กอ่ น
2. สว่ นผสม ใชห้ วั เชอ้ื ทีห่ มักแลว้ ข้างตน้ 1 ลิตร
ผลไม้ 5 - 6 กโิ ลกรัม
กากนา้ํ ตาล (โมลาท) 2.5 กโิ ลกรมั
พด.2 1 ซอง
หมายเหตุ พด.2 ตอ้ งผสมน้ําเปล่ากอ่ นสัก 10 – 15 นาที กอ่ นใสถ่ งั หมกั
3. จากน้ันคนให้เข้ากัน โดยใช้ไม้คนเวียนจากซ้ายไปขวา หมักทิ้งไว้ประมาณ 7 วัน ก็
สามารถน�ำ มาใชไ้ ด้
หมายเหตุ ควรเปลีย่ นผลไม้ใหมท่ กุ ๆ 20 – 25 วัน

การนำ�ไปใช้ประโยชน์

นํา้ จลุ ินทรียท์ ี่ได้นัน้ จะมกี ลิน่ หอมปราศจากกลิน่ เหมน็ น้าํ จุลินทรีย์หรือขยะหอมท่ีได้
นั้นจะดูสีสันไม่สวย แต่เมื่อพูดถึงประโยชน์ในการใช้งานแล้ว มีมากมายหลายประการด้วยกัน เช่น
ถา้ สว้ มเตม็ หรอื ทอ่ ระบายนาํ้ อดุ ตนั เพยี งแคเ่ ทนา้ํ จลุ นิ ทรยี ธ์ รรมชาตลิ งไปจลุ นิ ทรยี น์ น้ั จะไปชว่ ยยอ่ ย
สลายอินทรยี ์ท่ตี กคา้ ง และจะท�ำ ให้ส้วมไม่เต็มเรว็


8

การหมักทำ�ปุ๋ยอนิ ทรยี ์ในครวั เรอื น
ตามวธิ กี ารของ

“Takakura Home Method”

วิธีการหมักทำ�ปุ๋ยแบบ Takakura Home Method เป็นวิธีการท่ีนำ�เข้ามาเผยแพร่
โดยผู้เชี่ยวชาญจากญี่ปุ่นผ่านทางโครงการความร่วมมือของเมืองคิตะกิวชู ประเทศญี่ปุ่น กับ
กรุงเทพมหานคร เป็นวิธีการท่ีทำ�ได้ง่าย ค่าใช้จ่ายต่ํา ปุ๋ยหมักท่ีได้มีคุณภาพดี การทำ�ปุ๋ยหมักวิธี
น้ีสามารถนำ�ขยะเศษอาหารใส่ลงไปในภาชนะ หมักทำ�ปุ๋ยได้ทุกวัน เน้นการใช้จุลินทรีย์ท่ีต้องการ
ออกซิเจนในการย่อยสลายขยะอินทรีย์ภายใต้สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม ดังนั้นภาชนะท่ีใช้จึงควร
มลี กั ษณะโปรง่ อากาศถา่ ยเทได้สะดวก
การหมักทำ�ปุ๋ยตามวิธีการน้ีจำ�เป็นต้องมีการเตรียมหัวเช้ือ ซึ่งเราจะใช้วัตถุดิบที่มีจุลินทรีย์อยู่เป็น
จ�ำ นวนมากรอบๆ ตวั เรา พร้อมในการยอ่ ยสลายขยะอินทรียต์ อ่ ไป

ข้นั ตอนการทำ�หวั เช้อื ปยุ๋ หมัก ประกอบดว้ ย นาํ้ หวั เชอ้ื +กองวตั ถุดิบ

1. การทำ�นํ้าหัวเชอ้ื แบ่งเป็น 2 ส่วน คอื การดองเค็มและดองหวาน
การดองเค็ม
เตรียมภาชนะประมาณ 5 ลติ ร
เกลือประมาณ 15 กรัม
นาํ้ ประปาประมาณ 4 ลิตร เขย่าใหเ้ ขา้ กัน
ใส่ใบผกั เปลอื กผกั และผลไม้ เชน่ มะเขอื ยาว แตงกวา ผกั กาดขาว ผกั กาดหอม
องุ่น มะละกอ ฟักทอง เขย่าให้เข้ากัน ปิดฝาภาชนะด้วยถุงพลาสติก วางท้ิง
ไว้ 5-7 วนั

9

การดองหวาน
เตรยี มภาชนะ ประมาณ 20 ลิตร
กากนา้ํ ตาลประมาณ 50 กรมั
นา้ํ ประปาประมาณ 15 ลติ ร
เขย่าให้เขา้ กนั
ใสอ่ าหารหมกั ดอง โยเกริ ต์ เต้าเจี้ยว ข้าวหมาก กากเหล้า ถ่วั เน่า ยีสต์
ใชถ้ ุงพลาสตกิ ปิดฝา แลว้ เขยา่ วางทงิ้ ไว้ 5-7 วัน

หมายเหตุ อาจมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สะสมและทำ�ให้ถุงพองขึ้นได้ ซึ่งไม่
ถือว่าล้มเหลว ถ้ามีกล่ินหวานอมเปร้ียวและกลิ่นแอลกอฮอล์ก็ถือว่า
สำ�เร็จ แต่ถ้าล้มเหลวจะมีกล่ินเหม็น ในกรณีสูตรน้ําเกลือให้ทำ�ใหม่
และเพิ่มเกลืออกี

2. ผสมนา้ํ หวั เช้อื กบั กองวัตถุดบิ
ขั้นท่ี 1. สรา้ งกองวตั ถุดิบ
- แกลบประมาณ 1 ลบ.ม.
- ร�ำ ข้าวประมาณ 1 ลบ.ม.
- รำ�ข้าว : แกลบ = 1:1 คลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กัน

ข้ันท่ี 2. ผสมน้าํ หัวเชอ้ื กับกองวตั ถุดบิ
- น�ำ นาํ้ และหวั เชอ้ื ทง้ั สองชนดิ ราดลงไป และปรบั
ความชน้ื ใหอ้ ยใู่ นชว่ ง 40-60% โดยก�ำ หวั เชอื้ ทผี่ สมแลว้ ดวู า่
จบั เปน็ กอ้ นและไมม่ ีน้าํ ไหลออกมา

10

ขน้ั ท่ี 3. ปล่อยให้หมกั ยอ่ ยสลาย
- กองรวมกันเป็นส่ีเหล่ียมคางหมู ใช้ผ้าหรือ
หนังสือพิมพ์ที่ระบายอากาศได้ดีคลุมทั้งกองไว้ (ระวังอย่า
ให้แมลงเขา้ ไป)
- รกั ษาอณุ หภมู ภิ ายในไวท้ ี่ 60-80 องศาเซลเซยี ส
*ถา้ แหย่มอื เข้าไม่ได้แสดงวา่ เกนิ กว่า 80 องศาเซลเซยี ส ถ้า
เกินกว่า 80 องศาเซลเซยี ส ให้แผ่ออกระบายความร้อน
- ถ้าผิวหน้าทั้งกองมีเชื้อสีขาวขยายตัวอยู่ทั่วก็
แสดงว่าเสร็จแลว้ ประมาณ 3 วันกไ็ ดห้ วั เชือ้ จากนัน้ ก็ผึ่งให้
แหง้ (ถ้าผง่ึ แหง้ ได้ดกี ็เก็บหวั เชอ้ื เอาไวไ้ ด)้
การทำ�ภาชนะ จะทำ�ภาชนะขึ้นมาเพอื่ ใหเ้ กดิ การหมกั ไดด้ ี
1. เตรยี มภาชนะ เปน็ โครงสร้างท่ีอากาศเขา้ ได้สที่ ศิ ทาง (มรี ู) ขนาดประมาณ 60 ลิตร
2. บุภายในภาชนะ นำ�กล่องกระดาษหรือพรมบุไว้ภายใน ป้องกันหัวเชื้อหกหรือแมลง
เขา้ ดา้ นใน
3. ใสห่ วั เช้อื ประมาณ 60% (6 ส่วน) แลว้ คลุมดว้ ยผ้า

11

การทำ�ปยุ๋ หมัก
1. ห่ันขยะให้ชิ้นเลก็ ลง ใสล่ งในภาชนะแล้วคลกุ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กัน
- ควบคุมความช้นื ในชว่ ง 40-60%
- คลุมผิวหน้าด้วยหัวเช้ือ จนไม่เห็นขยะ ใช้ผ้าคลุมภาชนะหรือปิดปากถุงโปร่ง เพื่อ
ใหเ้ กิดความรอ้ น
- ให้คลุกเคลา้ ท่ัวๆวันละ 1 คร้ัง เป็นการกระตุน้ การย่อยสลาย ปกตจิ ะถกู ย่อยสลาย
ภายใน 1-2 วนั และไม่หลงเหลือรูปร่างให้เห็นอีก
- ถา้ หัน่ ย่ิงเล็ก กจ็ ะยิ่งยอ่ ยไดเ้ รว็
- ลดความชน้ื ให้นอ้ ยลง เชน่ บีบน้ําออก
- ถา้ เป็นขา้ วจบั ตัวเปน็ ก้อนได้งา่ ยให้พรมนํ้าจนแตกก็จะย่อยสลายไดด้ ี
- ในผกั จะมนี ้าํ อย่มู าก หากเศษผกั มาก กใ็ ห้ใชห้ วั เชอ้ื ทีค่ อ่ นขา้ งแหง้
- ถา้ ความชน้ื มาก การยอ่ ยสลายจะช้าและมีกลน่ิ เหมน็ ต้องระวงั
- อุณหภมู ิการหมักจะสงู ถึง 40-50º C ถ้าคลกุ เคล้ากจ็ ะมไี อน้ําระเหยขน้ึ มาแสดงว่า
มีสภาพดี (เมอื่ อุณหภมู สิ ูง ก็จะชว่ ยระเหยน้าํ ทีม่ มี ากออกไป)
- เปลือกส้ม เปลือกหัวหอม เศษใบชา พวกนี้ให้ตากแห้งเก็บไว้ เม่ือต้องการปรับ
ความชื้นกน็ ำ�มาใช้ได้
2. ตักป๋ยุ หมักออกมา ปล่อยใหห้ มกั ตอ่ จนสมบรู ณ์
- ทุกครั้งที่ใส่ขยะก็ต้องคลุกเคล้าทุกคร้ัง ถ้ารู้สึกว่าเหนียวคลุกเคล้าลำ�บาก ให้ตัก
ออกประมาณ 80-90% ของทั้งหมด
- ตักออกมาให้เช็คความช้ืนว่าประมาณ 40-60% หรือไม่ ถ้าแห้งไปให้พรมนํ้าเพ่ิม
เพ่อื ปรับความช้นื
- นำ�ปุ๋ยใส่กล่องกระดาษหรือถุงท่ีระบายอากาศได้ดี วางทิ้งไว้ 2 สัปดาห์ ก็จะหมัก
ได้สมบูรณ์

วธิ กี ารใช้ปยุ๋ หมกั
กรณกี ารใชง้ านโดยผสมกับดิน
ปุ๋ยท่ีหมักยังไม่สมบูรณ์จะมีสภาพที่อินทรีย์สารยังย่อยสลายได้ไม่หมด ดังน้ันแม้จะนำ�ไป
ใชง้ านก็จริงเชือ้ หมักยังคงทำ�งานต่อไป ถ้านำ�ปุ๋ยหมกั ผสมกับดินหลังผสมแลว้ ใหท้ ้ิงไวป้ ระมาณ 2-3
สัปดาหข์ ้ึนไป เพื่อใหเ้ ชื้อหมกั สงบตัวลง แลว้ จึงคอ่ ยปลกู ต้นไม้หรือหว่านเมล็ดพชื ถ้าไม่พักทง้ิ ไว้ จะ
เกิดกรดฟีนอลหรือสารอินทรยี อ์ นื่ ท่อี าจเปน็ อันตรายต่อรากพชื ได้
กรณีใส่ปุย๋ ให้ตน้ ไม้
หลงั จากปลกู พชื แลว้ ใหห้ วา่ นปยุ๋ หมกั คลมุ ไวบ้ นดนิ หรอื ขดุ รอ่ งกวา้ งประมาณ 10 ซม. เปน็
วงรอบตน้ ไม้(ชว่ งทีร่ ากงอกย่ืนออกไป) แล้วหวา่ นป๋ยุ หมกั ลงในร่อง

12

ปยุ๋ วงขอบซีเมนต์

การท�ำ ปยุ๋ หมกั ใชเ้ องทบ่ี า้ นหรอื แยกขยะอนิ ทรยี อ์ อกจากขยะทว่ั ไปตง้ั แตค่ รวั เรอื น สามารถ
ลดปรมิ าณขยะทตี่ อ้ งเกบ็ และน�ำ ไปก�ำ จดั ลงไดเ้ กอื บครงึ่ ซง่ึ นนั่ หมายถงึ การลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การ
ขยะมูลฝอยลงไปในตัว ในธรรมชาติกองก่ิงไม้ใบหญ้าและวัสดุธรรมชาติก็จะเกิดการย่อยสลายตาม
ธรรมชาติ และเกดิ การหมกั

การทำ�ป๋ยุ วงขอบซีเมนต์

1. นำ�บ่อปูนซีเมนต์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 80-100 เซนติเมตร สูง 50 เซนติเมตร
มาวางบนอฐิ หรอื ลกู ปนู ใหข้ อบลา่ งของบอ่ ปนู ซเี มนตอ์ ยสู่ งู จากพน้ื ดนิ 15 เซนตเิ มตร
2. น�ำ ใบไมแ้ หง้ หรอื เศษวสั ดเุ หลอื ใชท้ างการเกษตรใสใ่ นบอ่ ปนู ซเี มนตใ์ หส้ งู 40 เซนตเิ มตร
3. นำ�เศษอาหารมาเทใส่ โดยความสูงของเศษอาหารไม่ควรเกิน 30 เซนติเมตร เม่ือใส่
เศษอาหารลงไปใบไม้แห้งท่ีย่อยแล้วที่อยู่ด้านล่างจะยุบตัวลง แล้วนำ�ใบไม้แห้งที่
ย่อยแล้วมาเททับอีกคร้ัง โดยให้มีความสูงประมาณ 15 - 20 เซนติเมตร หรืออาจ
ใส่เศษอาหารเป็นช้ันๆ ก็ได้ โดยใส่เศษอาหารสูงประมาณ 10 เซนติเมตร แล้วนำ�
ใบไม้แห้งที่ย่อยแล้วมาเททับอีกครั้ง โดยให้มีความสูงประมาณ 10-15 เซนติเมตร
ทงิ้ ไว้ประมาณ 30 วนั กจ็ ะไดป้ ยุ๋ อินทรีย์
4. ใช้พลั่วตักปุ๋ยอินทรีย์ซึ่งกองอยู่ด้านล่างของบ่อปูนซีเมนต์ไปใช้งานได้เลย ในระหว่าง
ชว่ งเวลาการหมกั กองปุย๋ จะยบุ ตัวลง เราสามารถน�ำ เศษ
อาหารมาเติมลงไปแล้วก็นำ�ใบไม้ที่ย่อยมาเททับตาม
ข้นั ตอนท่ี 3 เปน็ ชัน้ ๆ ได้เรื่อยๆ
ขอ้ ควรระวงั ไม่ใสข่ ยะท่ัวไป เช่น ถุงพลาสตกิ โฟม ควรใชข้ ยะอนิ ทรยี ์
การเลอื กพื้นทสี่ ำ�หรบั การทำ�ปยุ๋ หมกั
สถานทที่ จี่ ะใชห้ มกั ปยุ๋ ควรใหห้ า่ งจากบา้ นหรอื รว้ั บา้ นเลก็ นอ้ ย
แต่ไม่ควรหา่ งมากเกนิ ไป เพราะจะไมส่ ะดวกเวลานำ�วัสดตุ า่ งๆ ไปใสใ่ น
ถงั หมกั บ้านเราแดดค่อนขา้ งจัด ควรตงั้ ไว้ใตร้ ม่ ไม้เพื่อให้มีแดดรำ�ไร ถงั
หมกั หรอื คอกหมกั ควรตง้ั อยบู่ นพนื้ ดนิ ไมค่ วรตงั้ บนพนื้ ปนู หรอื คอนกรตี
เพราะจะชว่ ยใหน้ า้ํ สว่ นเกนิ ซมึ ลงดนิ ได้ และจะไดป้ ระโยชนจ์ ากไสเ้ ดอื น
หนอนและจลุ นิ ทรยี ท์ ม่ี อี ยใู่ นดนิ ลกั ษณะของปยุ๋ หมกั ทสี่ ามารถน�ำ ไปใช้
งานได้ ปยุ๋ หมักทมี่ คี ุณภาพดจี ะมีลักษณะรว่ นซยุ มีสนี า้ํ ตาลด�ำ หรอื สดี ำ�
คอ่ นขา้ งแหง้ มกี ลนิ่ หอมเหมอื นดนิ ไมเ่ กดิ ความรอ้ นภายในกองหมกั แลว้

13

ขั้นตอนการเลยี้ งไสเ้ ดือน

การเลี้ยงไส้เดือนดินมขี ้ันตอนตา่ งๆ ดงั น้ี

1. การเตรยี มบ้านไสเ้ ดอื นดิน

ในการเลี้ยงไสเ้ ดือนดนิ อันดับแรกจะต้องเตรยี มบ้านใหไ้ สเ้ ดือนดนิ ก่อน ซ่งึ จะใชภ้ าชนะ
ท่ีหาได้ง่ายในท้องถ่ิน เช่น ถังพลาสติก กะละมังพลาสติก ล้ินชักพลาสติก หรือบ่อซีเมนต์ เป็นต้น
(ส�ำ หรับเทศบาลเมืองชลบรุ ีใชล้ น้ิ ชักพลาสติกเปน็ ทีอ่ ยอู่ าศยั ของไสเ้ ดือน)
การเตรียมบา้ นให้ไสเ้ ดือนดนิ นน้ั ประกอบดว้ ย 2 ส่วน ไดแ้ ก่
- สว่ นที่ 1 ใชส้ ำ�หรับรวบรวมนาํ้ หมกั มูลไสเ้ ดือน ไม่ต้องเจาะรกู ้นภาชนะ
- ส่วนท่ี 2 ใช้สำ�หรบั เลี้ยงไส้เดือน เจาะรทู ี่กน้ ภาชนะหรอื ต่อกอ๊ กนา้ํ เพอ่ื ให้น้าํ หมัก
มูลไส้เดือนไหลผา่ นได้ ถ้าเปน็ ถงั พลาสติก หรือกะละมงั พลาสติก ภาชนะสว่ นนี้จะ
มขี นาดใหญก่ ว่าภาชนะส่วนแรกเลก็ นอ้ ยเพอื่ ใหส้ ามารถวางซ้อนได้

2. การสรา้ งบา้ นไส้เดือน

น�ำ ภาชนะสว่ นที่ 1 ไว้ลา่ งสุดเพือ่ เปน็ ทรี่ วบรวมนํา้ หมักมลู ไสเ้ ดอื นดนิ จากน้ันน�ำ ภาชนะ
ส่วนท่ี 2 ซ่ึงมีขนาดใหญ่กว่าส่วนที่ 1 มาวางซ้อนเพื่อเป็นท่ีสำ�หรับเลี้ยงไส้เดือนดิน ซึ่งสามารถ
ซ้อนได้ 2-3 ชัน้ หรอื ตามความเหมาะสม การเจาะรทู ีก่ ้นภาชนะชว่ ยให้น้ําหมักไหลรวมอย่ทู ่ีภาชนะ
สว่ นท่ี 1

3. การเตรยี มทอี่ ยไู่ ส้เดอื นดิน

การเตรียมที่อยูไ่ ส้เดอื นดนิ หรือการเตรยี มสว่ นผสมเพ่อื ใชร้ องพนื้ สำ�หรับเล้ียงไสเ้ ดอื นดนิ
นัน้ ประกอบด้วย

ดินร่วน 1 ส่วน มลู วัว 1 สว่ น ขยุ มะพรา้ ว 1 สว่ น

นำ�ส่วนผสมเพ่ือใช้รองพ้ืนสำ�หรับเล้ียงไส้เดือนมาผสมตามอัตราส่วนข้างต้นให้เข้ากัน
และรดน้าํ พอช่มุ

14

น�ำ ดนิ ทผี่ สมแลว้ ใสภ่ าชนะทจ่ี ะเลยี้ งสงู ประมาณ 3-5 นวิ้ (ตามความเหมาะสมของภาชนะ)
ตงั้ ทง้ิ ไวใ้ นทร่ี ม่ ประมาณ 20 วนั เพอื่ ลดความเปน็ กรดของดนิ ใหเ้ หมาะสม จากนน้ั น�ำ ไสเ้ ดอื นมาเลยี้ ง
ในอตั ราส่วน 50-100 ตัว ต่อ 0.1 ตร.เมตร ตอ้ งหมนั่ ตรวจเช็คบริเวณผิวดนิ หากแหง้ เกินไปตอ้ งใช้
กระบอกฉดี นํา้ พรมผวิ ดนิ ให้ชมุ่ ชืน้ อยู่เสมอ

4. การให้อาหารไส้เดือน

อาหารสำ�หรับเลี้ยงไส้เดือนดิน ได้แก่ มูลฝอยอินทรีย์ต่างๆ เช่น เศษผัก เศษผลไม้ หรือ
เศษอาหารต่างๆ เปน็ ต้น
วิธีการให้อาหารไส้เดือนดิน ควรให้อาหารทีละน้อยและใช้วิธีขุดหลุมฝังเศษอาหารโดย
เวียนเป็นวงกลม ดังนั้น จึงต้องทำ�สัญลักษณ์ไว้ว่าฝังเศษอาหารลงตรงไหนไปแล้ว เพราะไส้เดือน
จะปล่อยเมือกใส่อาหาร เพ่ือให้กรดอะมิโนท่ีหล่ังออกมากับเมือกของไส้เดือนย่อยเศษอาหาร โดย
ใช้เวลาประมาณ 2-3 วนั แลว้ จึงคอ่ ยกินอาหารดังกล่าว

5. สภาพแวดลอ้ มท่มี อี ทิ ธพิ ลต่อไสเ้ ดอื น

- อุณหภูมิที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงไส้เดือนอยู่ระหว่าง 12-25 ºC ถ้าอุณหภูมิต่ํา
หรือสงู กว่านี้ไสเ้ ดอื นจะไม่ขยายพันธ์ุ หรอื ไมเ่ พ่มิ จำ�นวน
- ไส้เดือนดนิ เปน็ สัตว์ทไ่ี ม่ชอบแสงแดด จงึ จำ�เป็นตอ้ งมีภาชนะทบึ ปดิ กนั แสง
- ไส้เดือนดินต้องการความช้ืนอย่างเพียงพอสำ�หรับการเจริญเติบโต ไม่ควรให้แฉะ
เกนิ ไปหรือมีนํ้าขงั มากเกินไป
- ไส้เดือนดินชอบอาศัยอยู่บริเวณที่มีการถ่ายเทของอากาศได้สะดวก แต่ในบางครั้ง
สามารถอยใู่ นสภาพท่มี อี อกซเิ จนตํ่า คาร์บอนไดออกไซด์สูงได้
- ไสเ้ ดือนดินสามารถเจรญิ ได้ดใี นดินทม่ี ีสภาพ เปน็ กลาง

6. ศตั รูของไสเ้ ดอื นดนิ

ศัตรูของไส้เดือนดิน เช่น ไรแดง มด หนู นก กบ ก้ิงกือ ตะเข็บ หอย งู ตัวอ่อนแมลง
ปีกแข็ง จ้ิงจก ตุ๊กแก แมงกระชอน จ้ิงหรีด ดังนั้น ในการเลี้ยงจึงจำ�เป็นต้องมีตาข่ายป้องกัน
แมลงและสตั ว์ตา่ งๆ เขา้ ไปกินไส้เดือน

15

ศนู ย์รวบรวมขยะอนั ตรายจากชมุ ชน

ขยะอนั ตราย หรอื ท่ีเรียกว่าขยะมพี ษิ

หมายถึง ขยะ วัสดุท่ีไม่ใช้แล้ว ผลิตภัณฑ์เส่ือมสภาพ หรือภาชนะบรรจุต่างๆ ท่ีมีองค์
ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุ/สารอันตรายที่มีลักษณะเป็นสารพิษ สารไวไฟ สารเคมี ที่กัดกร่อนได้
สารกมั มันตรงั สี และสารทที่ ำ�ใหเ้ กดิ โรค เปน็ ต้น

อะไรคอื ของเสยี อนั ตรายจากชมุ ชน

ขยะอนั ตรายจากชมุ ชน มชี ่อื ภาษาองั กฤษวา่ Household Hazardous Waste มกั พบได้
จากกจิ กรรมตา่ ง ๆ ภายในชมุ ชน ท้ังจากบา้ นเรอื น ท่ีพักอาศัย อาคารส�ำ นักงาน รา้ นคา้ ต่าง ๆ ดงั นี้

ตวั อย่างขยะอนั ตรายทพี่ บเปน็ ประจ�ำ ในบา้ นเรอื นของเรา ได้แก่

16

พิษภัยของขยะอันตรายเขา้ สู่ร่างกายไดอ้ ย่างไร

ทางปาก ทางจมกู ทางผิวหนัง
โดยการรบั ประทานเข้าไป โดยการสูดดมเอาไอ ผง โดยการสัมผัสหรือจบั ต้อง
โดยตรงทัง้ โดยต้ังใจและโดย
หรอื ละอองสารพิษ สารพิษซ่งึ สามารถซึม
ไมต่ ั้งใจ เขา้ สรู่ ่างกาย เข้าสผู่ ิวหนงั ได้

เกดิ อาการอย่างไร เม่ือเราได้รบั สารพิษมากเกนิ ไป

เกดิ ผดผื่น ระคายเคอื ง ผิวหนงั ไหม้

หายใจไม่ออก หนา้ มดื วงิ เวยี น มะเร็ง

อัมพาต ผลต่อทารก ตาย
17

การคัดแยกและการเกบ็ รวบรวมขยะของเสยี อนั ตราย

ไม่ทิ้งขยะอันตรายปะปนกับขยะทั่วไป ไม่นำ�ไปถอดแยก เผา ฝังดินหรือทิ้งลงท่อระบาย
น้าํ เพราะจะทำ�ใหส้ ารพิษมกี ารปนเปอื้ นในสิ่งแวดล้อมได้โดยง่าย
สำ�หรับในเขตเทศบาลเมืองชลบุรี จะมีจุดท้ิงของเสียอันตรายต้ังวางอยู่ตามบริเวณต่างๆ
ในเขตชมุ ชนและมีการเกบ็ รวบรวมใส่ภาชนะเกบ็ รวบรวมของเสียอันตราย แล้วนำ�ส่งไปกำ�จัดต่อไป

ภาชนะรองรับมูลฝอยอันตรายของเทศบาลเมืองชลบุรี

รถจดั เกบ็ มลู ฝอยอนั ตรายและซากเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ สท์ ่ไี มใ่ ชแ้ ล้ว
18

กล่องเกบ็ หลอดไฟฟลูออเรสเซน็ ตท์ ่ีช�ำ รุดและไม่ใช้แลว้
การกำ�จัดมูลฝอยอันตรายและซากเคร่ืองใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ท่ีไม่ใช้แล้ว โดยส่ง
กำ�จัดท่ีบริษทั เอกชนทไ่ี ด้รับการรับรองมาตรฐานในการก�ำ จดั มูลฝอยท่ีถกู หลักสุขาภิบาล

19

เอกสารอา้ งอิง

กรมควบคมุ มลพษิ . คู่มือการปฏิบตั ิงานของเจา้ หน้าทีอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ในการเก็บรวบรวม ขนส่งและกำ�จัดของเสยี อันตรายจากชมุ ชน.กรุงเทพฯ.๒๕๕๐
กรมควบคุมมลพษิ . คูม่ อื ประชาชนเพือ่ การคดั แยกขยะอนั ตรายจากชุมชน.กรุงเทพฯ.
๒๕๕๓
กรมควบคมุ มลพษิ . คมู่ อื ประชาชน เพอ่ื การลด คดั แยกและการใชป้ ระโยชนข์ ยะมลู ฝอย
ชุมชน. กรุงเทพฯ. ๒๕๕๐

20

ทปี่ รึกษา

นายฉัตรมงคล หอมเลศิ นลนิ ผู้อ�ำ นวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดลอ้ ม
Mr. CHATMONGKON HOMLIRDNALIN Director of Division of Public Health
and Environment
นางณัฎชภรณ์ ศรีนพรัตนกลุ หวั หน้าฝา่ ยงานบริหารสาธารณสุข
Mrs. NATCHAPORN SRINOPARATANAKUL Subdivision of Public Health Administration

ผู้รวบรวมและจัดทำ� หัวหน้างานเผยแพร่และฝึกอบรม
Head of Health Information and
นางสาวมณฑา สเี งนิ Training Section
Miss Montha SRINGOEN เจา้ พนกั งานสขุ าภบิ าล 5
Sanitary District Officer
นายวโิ รจน ์ กังวานสมวงศ ์ ผ้ชู ่วยนกั วชิ าการสุขาภบิ าล
Mr. WIROTE KANGWANSOMWONG Assistant Sanitation Officer
นางสาวเนตรนภา ชำ�ปฏิ
Miss NETNAPA CHOMPATI

21

22



กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
เทศบาลเมอื งชลบุรี


Click to View FlipBook Version