ขอ้ บงั คบั เกยี่ วกับการทางาน
ของ
บรษิ ทั แคนาเดียน โซลาร์ แมนูแฟคเจอริง่ (ประเทศไทย) จากดั
สถานทีต่ ้ัง สานักงาน 168/2 หม่ทู ี่ 4 ตาบล บอ่ วนิ อาเภอศรีราชา
จังหวัดชลบุรี โทรศพั ท์ 033-678-530
ประเภทกจิ การ ผลิตจาหน่าย โซลาร์เซลล์ ประหยดั พลังงาน โซลาร์โมดลู
และส่วนประกอบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ท่เี ปน็ แผน่ โซลาร์เซลล์เป็นหลกั
สารบญั
หมวด บทท่วั ไป หนา้
หมวด 1 การว่าจา้ ง 1
หมวด 2 วันทางาน เวลาทางานปกติ และเวลาพกั 2
หมวด 3 วันลา และหลกั เกณฑก์ ารลา 5
หมวด 4 วนั หยดุ และหลกั เกณฑก์ ารหยดุ 7
หมวด 5 หลักเกณฑก์ ารทางานล่วงเวลา และทางานในวันหยุด 11
หมวด 6 วนั และสถานที่ทีจ่ ่ายค่าจา้ ง ค่าลว่ งเวลา ค่าทางานในวันหยดุ 13
หมวด 7 และค่าล่วงเวลาในวนั หยุด
วินัย และโทษทางวินยั 16
หมวด 8 การร้องทกุ ข์ 17
หมวด 9 การเลิกจา้ ง การพ้นสภาพการเป็นพนกั งาน คา่ ชดเชย 27
หมวด 10 และคา่ ชดเชยพิเศษ
สขุ ภาพอนามัยน และความปลอดภยั 29
หมวด 11 สภาพการบังคับ และการประกาศใช้ 33
หมวด 12 34
หมวด 1
บทท่ัวไป
วัตถุประสงค์ เพ่ือให้การดาเนินการของบริษัทฯ เป็นไปด้วยความเรียบร้อย เหมาะสม และบรรลุตามวัตถุประสงค์
บริษัทฯจึงได้กาหนดข้อบังคับนี้ขึ้นโดยมีความมุ่งหมายจะให้พนักงานของบริษัทฯ ได้นาไปยึดถือเป็นแนวทางในการ
ปฏิบัติ ตลอดจนมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้ และตระหนักถึงหน้าท่ีความรับผิดชอบของตนในฐานะท่ีเป็นพนักงาน
ของบริษัทฯ รวมท้ังการปฏิบัติของบริษัทฯ ต่อพนักงานและส่ิงที่ซึ่ง บริษัทฯ คาดหวังจากพนักงานเป็นการตอบแทน
การจ้าง ท้ังน้ี เพ่ือเป็นการเสริมสร้าง และรักษาไว้ซึ่งความเข้าใจอันดี ระหว่างพนักงานด้วยกันเอง ระหว่างพนักงาน
กับผู้บังคับบัญชา และระหว่างผู้บังคับบัญชา เพื่อความมีประสิทธิภาพในการทางานร่วมกันอย่างมีความสุขประสบ
ความสาเร็จ และบรรลุเป้าหมายตามวตั ถปุ ระสงคข์ องบรษิ ัทฯ ทุกประการ
คาจากดั ความ ตามข้อบังคบั นี้
“บริษัทฯ” หมายถึง บรษิ ัท แคนาเดยี น โซลาร์ แมนูแฟคเจอรงิ่ (ประเทศไทย) จากดั และสาขาของบริษัทฯ
“พนักงาน” หมายถึง บุคคลผู้ได้รับการจ้างให้ทางานกับบริษัทฯ โดยได้รับการแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่ง
และปฏบิ ัตหิ นา้ ทตี่ ามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
“ผู้บังคับบัญชา” หมายถึง พนักงานที่ได้รับแต่งตั้งจากบริษัทฯ ให้ดารงตาแหน่งหัวหน้างานส่วนใด
ส่วนหนึ่งท้ังในด้านการปฏิบัติงาน และการควบคุมการดาเนินงานให้เป็นไปตามระเบียบข้อบังคับของบริษัทฯ
และระเบียบปฏบิ ตั ิ ซึ่งผ้บู ังคบั บัญชาระดบั สูงขึ้นไปกาหนด
1
หมวด 2
การว่าจ้าง
นโยบายข้อความในหมวดนี้รวมถึงกระบวนการว่าจ้าง อันได้แก่ การสรรหา คัดเลือก บรรจุแต่งตั้ง
และโยกยา้ ยพนกั งานเมื่อมตี าแหน่งว่าง บริษัทฯ จะพยายามสรรหา คดั เลือก และบรรจแุ ตง่ ตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่ง
ที่ว่างนัน้ โดยพิจารณาบุคคลภายในที่มีคณุ สมบตั เิ หมาะสมก่อน แตอ่ ย่างไรก็ตามบรษิ ัทฯ ทรงไว้ซึง่ สทิ ธิ และอานาจใน
การท่ีจะพิจารณา สรรหา คัดเลือก และบรรจุแต่งต้ังบุคคลในตาแหน่งต่าง ๆ จากบุคคลภายนอกได้ตามท่ีเห็นสมควร
และเหมาะสม
ข้อกาหนดเก่ยี วกบั การจา้ งงาน
การจ้างบุคคลเข้าทางานต้องเป็นไปตามอัตรากาลังคนที่ได้กาหนดไว้เท่านั้น การเพิ่ม หรือการลดอัตรา
กาลังคนใหเ้ ป็นไปตามทีไ่ ดร้ ับอนมุ ตั โิ ดยกรรมการผู้จดั การ หรอื บคุ คลใดทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
กรรมการผู้จัดการ หรือผู้ที่ได้รับมอบอานาจโดยการแต่งต้ังเป็นผู้มีอานาจในการสรรหา ทดสอบสัมภาษณ์
คัดเลือก บรรจุ แตง่ ต้ัง ใหเ้ ขา้ ทางาน โยกยา้ ย เปลีย่ นแปลงหน้าที่ การงาน หรอื ให้ออกจากงาน
บริษัทฯ ทรงไว้ซึ่งสิทธิที่จะให้พนักงานไปทางานนอกสถานที่ได้ โดยบริษัทฯ จะปฏิบัติให้เป็นไปตามเง่ือนไข
ของความจาเป็น ความเหมาะสม หรือการจ้างงานของแต่ละตาแหน่ง โดยไม่ขัดต่อกฎหมายแรงงานประเภทของ
พนกั งาน เพ่ือประโยชน์ในการบรหิ ารงานบรษิ ทั ฯจาแนกประเภทของพนักงานไวด้ ังนี้
พนักงานรายเดอื น คอื พนกั งานที่บรษิ ทั ฯ ตกลงจา้ งโดยกาหนดคา่ จ้างเปน็ รายเดือน
พนักงานรายวัน คือ พนักงานท่ีบริษัทฯ ตกลงจ้างโดยกาหนดค่าจ้างเป็นรายวัน ซึ่งจะไม่ได้รับค่าจ้างใน
วันหยดุ ประจาสัปดาห์
พนักงานตามผลงาน คือ พนักงานท่ีบริษัทฯ ตกลงจ้างโดยกาหนดค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณ
เป็นหนว่ ย
2
พนกั งานทดลองงาน คือ พนักงานท่ีบรษิ ัทฯ มหี นงั สือใหท้ ดลองงานไมเ่ กนิ 119 วัน
พนักงานตามสญั ญาจ้างพเิ ศษ คือ พนักงานทบ่ี ริษทั ฯ ทาสญั ญาจา้ งในกรณตี ่าง ๆ
ผลงาน หรือสิ่งประดิษฐ์ใด ๆ อันสืบเนื่องจากการทางาน หรือที่ค้นพบในระหว่างการเป็นพนักงานของบริษัทฯ
ทุกกรณี จะตกเปน็ สมบัติของบริษัทฯ ท้ังหมด โดยพนกั งานไม่มีสิทธิไดร้ ับผลตอบแทนใด ๆ เปน็ พิเศษ อีกทง้ั ไม่มีสิทธิ
จาหน่าย จ่าย โอนให้แก่บุคคลหรือนิติบุคคลอ่ืนใด เว้นแต่จะได้รับความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรจากบริษัทฯ
ก่อนการโยกย้าย การแต่งตั้ง หรือการถอดถอนพนักงาน เพื่อให้การดาเนินงานของบริษัทฯ เป็นไปอย่างราบร่ืนมี
ประสิทธิภาพ บริษัทฯ มีอานาจใช้ดุลพินิจโดยเด็ดขาดในการโยกย้ายพนักงานใด ๆ จากหน่วยงานหรือส่วนใดส่วน
หน่ึงไปยังอีกหน่วยงานหรือส่วนอ่ืนๆ ภายในบริษัทฯ หรือสาขาของบริษัทฯ นอกจากนี้บริษัทฯ มีอานาจเปลี่ยนแปลง
ความรับผิดชอบของพนักงาน และอาจแต่งต้ังพนักงาน หรือถอดถอนพนักงานจากตาแหน่งใด ๆ ตามท่ีบริษัทฯ
เหน็ สมควร พนักงานซงึ่ ทางบรษิ ัทฯ ไดโ้ ยกยา้ ย แตง่ ตง้ั หรอื ถอดถอนน้ี มีสทิ ธิได้รับคา่ จา้ งผลประโยชน์ และสวสั ดิการ
ตามตาแหน่งใหม่ของพนักงานน้ัน โดยบรษิ ัทฯ จะปฏบิ ัตติ ามกฎหมายแรงงาน การลาออก พนกั งานทม่ี ีความประสงค์
จะลาออกจากการเป็นพนักงานจะต้องแสดงความจานงค์ด้วยการเขียนแบบแจ้งการลาออกล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน
โดยยื่นต่อผู้บังคับบัญชาโดยตรง การลาออกถึงจะมี ผลบังคับใช้ หากพนักงานกระทาการฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ียวกับการ
ทางาน บริษัทฯ จะเรียกร้องค่าเสยี หายท่ีเกิดข้ึน การรักษาความลับ พนักงานจะรักษาความลับซึ่งข่าวสาร และข้อมูล
ใด ๆ ของบริษัทฯ ตลอดจนข้อมูลที่เกี่ยวกับเทคนิค อุตสาหกรรม ธุรกิจการค้า การเงิน หรือเรื่องอื่นใดท่ีพนักงานได้
ทราบมา เนื่องจากการเป็นพนักงานของบริษัทฯ โดยพนักงานจะไม่นาข่าวสาร และข้อมูลดังกล่าวไปใช้ หรือเปิดเผย
ให้ผู้อื่นใด หรือแสวงหาประโยชน์ไม่ว่าจะด้วยวิธีใด ในประการท่ีน่าจะทาให้บริษัทฯ เส่ือมเสียช่ือเสียง ได้รับความ
เสียหาย หรือเสียประโยชน์ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม ท้ังน้ี ให้การดังกล่าวมีผลผูกพันพนักงานท้ังในระหว่าง
การเปน็ พนกั งานของบริษัทฯ และรวมถงึ ระยะเวลาหลังจากท่สี ญั ญาจา้ งไดส้ ้นิ สุดลงแลว้ ไมว่ า่ จะดว้ ยกรณใี ดกต็ าม
3
อน่ึง หากพนักงานฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ียวกับการทางานในส่วนนี้ไม่ว่าจะเป็นกรณีใดก็ตาม อันเป็นเหตุให้
บริษัทฯ ได้รับความเสียหาย ต้องเส่ือมเสียชื่อเสียง พนักงานจะถูกลงโทษทางวินัยในสถานหนักหรืออาจถูกบริษัทฯ
เลิกจ้างได้ นอกจากนี้ พนักงานจะต้องรับผดิ ชดใช้คา่ เสยี หายท่ีเกิดจากการฝ่าฝืนข้อบังคบั เกย่ี วกับการทางานในส่วนน้ี
ตามความเสียหายทเ่ี กดิ ขน้ึ จรงิ กับทางบรษิ ทั ฯ นบั แตว่ ันท่ีได้รบั แจง้ เปน็ หนังสือจากบริษัทฯ
การคิดค้นใหม่ พนักงานตกลงว่าทรัพย์สินทางปัญญา ผลงาน ส่ิงประดิษฐ์ หรือสิ่งต่าง ๆ ท่ีถูกประดิษฐ์หรือคิดค้นขึ้น
โดยพนักงาน ไมว่ ่าจะเปน็ เพียงคนเดยี วหรือเป็นกลุ่มคณะ ในระหวา่ งทยี่ ังเป็นพนักงานของบริษัทฯ ทุกกรณี พนักงาน
จะต้องแจ้งต่อบริษัทฯ โดยทันทีท่ีผลงาน สิ่งประดิษฐ์ใด ๆ หรือส่ิงต่าง ๆ ที่ถูกประดิษฐ์หรือคิดค้นข้ึน อนึ่ง ทรัพย์สิน
ทางปัญญา ผลงาน ส่ิงประดิษฐ์ หรือส่ิงต่าง ๆ ที่ถูกประดิษฐ์หรือคิดค้นข้ึนโดยพนักงานดังกล่าว จะตกเป็นสมบัติ
ของบริษทั ฯ ทง้ั ส้ิน โดยพนกั งานไม่มสี ิทธิกลา่ วอ้างหรือดาเนินการตามกฎหมายใด ๆ เพื่อให้ไดม้ าซ่ึงความเป็นเจ้าของ
ทั้งไม่มีสิทธิได้รับผลตอบแทนใด ๆ เป็นพิเศษ และไม่มีสิทธิจาหน่ายจ่ายโอนทาสาเนาคัดลอกไม่ว่ากรณีใด ๆ
เพื่อใหแ้ กบ่ ุคคล หรอื นติ ิบุคคลอน่ื ใด
อนึ่ง หากพนักงานฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทางานในส่วนนี้ไม่ว่าจะเป็นกรณีใดก็ตาม อันเป็นเหตุให้
บริษัทฯ ได้รับความเสียหาย ต้องเส่ือมเสียช่ือเสียง พนักงานจะถูกลงโทษทางวินัยในสถานหนัก หรืออาจถูกบริษัทฯ
เลกิ จา้ งได้ นอกจากน้ี พนักงานจะต้องรับผดิ ชดใช้คา่ เสยี หายท่ีเกดิ จากการฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ยี วกบั การทางานในส่วนน้ี
ตามความเสียหายทเี่ กดิ ขึน้ จริงกับทางบริษทั ฯ
พนักงานจะไม่เข้าไปมีส่วนร่วมในกิจการท่ีมีลักษณะท่ีเป็นการแข่งขันซ่ึงไม่ใช่ธุรกิจของบริษัทฯ ขณะท่ีพนักงาน
ปฏิบัติงานให้กับบริษัทฯ ห้ามพนักงานมีส่วนร่วมไม่ว่าในลักษณะใดก็ตาม ในกิจการของธุรกิจอื่น ๆ ในทานองแข่งขัน
กับบริษัทฯ ไม่ว่าจะโดยได้รับค่าตอบแทนหรือไม่ก็ตาม นอกจากน้ี พนักงานจะไม่ได้รับอนุญาตให้มี ส่วนเกี่ยวข้อง
หรือมธี ุรกิจรว่ มทั้งทางตรง และทางออ้ มกับบรษิ ัทอน่ื ๆ ท่ีอยใู่ นลักษณะงาน หรอื ประกอบธรุ กจิ ประเภทเดียวกัน หรอื
4
ที่มีลักษณะเป็นการแข่งขันกับบริษัทฯ ไม่ว่าจะเป็นเจ้าของ ผู้ถือหุ้น ที่ปรึกษา หรือกรรมการ ภายในขอบเขตของ
ประเทศไทย นับแต่สญั ญาจา้ งส้นิ สดุ ลงไมว่ ่าจะส้ินสดุ ลงด้วยกรณีใดก็ตาม
อนึ่ง หากพนักงานฝ่าฝืนข้อบังคับเก่ียวกับการทางานในส่วนนี้ไม่ว่าจะเป็นกรณีใดก็ตาม อันเป็นเหตุให้
บริษัทฯ ได้รับความเสียหาย ต้องเส่ือมเสียชื่อเสียง พนักงานจะถูกลงโทษทางวินัยในสถานหนัก หรืออาจถูกบริษัทฯ
เลิกจ้างได้ นอกจากน้ี พนักงานจะต้องรับผิดชอบ และชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดจากการฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับ
การทางานในส่วนน้ี ตามความเสียหายที่เกดิ ข้ึนจริงกับทางบริษทั นับแต่วนั ทีไ่ ด้รับแจ้งเปน็ หนงั สอื จากบริษัทฯ
การทดลองงาน บริษัทฯ กาหนดให้มีการทดลองงานโดยจะมีเง่ือนไข และหลักเกณฑ์เป็นไปตามสัญญาจ้าง
ทดลองงาน
หมวด 3
วันทางาน เวลาทางานปกติ และเวลาพัก
1. บรษิ ทั ฯ กาหนดวันทางาน เวลาทางานปกติ และเวลาพักไว้ดังน้ี
1.1 สานักงาน/โรงงาน สาหรับพนักงานท่ีทางานประจาประเภท Exempt วันทางานปกติ คือ วันจันทร์
ถึง ศกุ ร์ โดยจะมวี นั หยดุ ประจาสัปดาห์ คอื วนั เสาร์ และวนั อาทติ ย์ ตามปฏิทิน
เวลาทางานปกติ คอื 08.30 – 18.00 น.
เวลาพกั คอื 12.00 – 13.00 น.
วันหยุดประจาสัปดาห์ คือ วันเสาร์ และวันอาทิตย์ และสาหรับพนักงานที่ทางานประจาประเภท Exempt
จะไม่มีสิทธิได้รับค่าทางานล่วงเวลาในวันทางานปกติ ค่าทางานในวันหยุด และค่าทางานล่วงเวลา
ในวันหยดุ แตส่ ามารถสะสมช่ัวโมงการทางานเพ่ือใช้เป็นวนั ลาได้ตามชว่ั โมงทส่ี ะสมไว้จริง ทง้ั นี้ หากมเี หตผุ ลท่ีจาเป็น
หรอื กรณีพเิ ศษต้องที่จะต้องการขออนมุ ตั คิ ่าล่วงเวลาเปน็ ตวั เงนิ จะต้องไดร้ ับการอนมุ ัติจากกรรมการผจู้ ัดการก่อน
5
1.2 โรงงาน สาหรับพนักงานโรงงานที่ทางานเปน็ กะประเภท DL และ IDL พนกั งานกะจะมชี ั่วโมงการทางาน
วันละไม่เกิน 8 ช่ัวโมง การทางานในรอบสัปดาห์จะมีเวลาทางานปกติรวมแล้วไม่เกินสัปดาห์ละ 48 ชั่วโมง และจะมี
วนั หยดุ ประจาสปั ดาห์สลบั กันไป
กะที่ 1 เวลาทางานปกติ คือ 08.30–17.30 น.
เวลาพักต่อวนั ระหว่างเวลาทางาน คือ
ชว่ งท่ี 1 เวลา 10.00-10.10 น.
ชว่ งที่ 2 เวลา 11.20-12.00 น. หรอื 12.00-12.40 น.
ชว่ งที่ 3 เวลา 15.00-15.10 น.
กะที่ 2 เวลาทางานปกติ คือ 20.30–05.30 น.
เวลาพกั ตอ่ วันระหว่างเวลาทางาน คือ
ช่วงท่ี 1 เวลา 22.00-22.10 น.
ชว่ งท่ี 2 เวลา 23.20-24.00 น. หรือ 24.00-00.40 น.
ชว่ งท่ี 3 เวลา 03.00-03.10 น.
หมายเหตุ : บริษัทฯ สามารถจะจัดทากาหนดเวลาการทางาน ชนิดใหม่ที่แตกต่างกับที่กล่าวมานี้ได้หากมี
ความจาเป็นที่จะต้องกระทาเช่นนั้น และในกรณีดังกล่าวบริษัทฯ จะแจ้งให้พนักงานทราบล่วงหน้าถึงช่ัวโมงการ
ทางาน ซึง่ จะตอ้ งไมเ่ กินกวา่ ชัว่ โมงทางานตามปกติเชน่ น้ัน
2. พนกั งานทุกคนต้องปฏิบตั ิตามกาหนดเวลาทางานท่ี บริษทั ฯ แจง้ ให้ทราบอย่างเคร่งครดั
3. บริษัทฯ สงวนสิทธิในการเปลี่ยนแปลงแก้ไขวันทางาน เวลาทางาน วันหยุด และเวลาพักได้ตามความเหมาะสมกบั
การบริหาร บางส่วน บางแผนก หรือทั้งหมดได้ ถ้าบริษัทฯ เห็นว่าการเปล่ียนแปลงเช่นน้ันเป็นการสมควรเพื่อเสริม
6
สมรรถภาพในการทางานเพ่ือเหตุอื่นใด โดยแจ้งให้พนักงานทราบล่วงหน้า โดยบริษัทฯ จะปฏิบัติให้ถูกต้องตาม
พระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. 2518
4. การมาทางานสาย และการออกจากสถานที่ทางานไปก่อนเวลาเลกิ งาน
4.1 การมาสาย พนักงานผใู้ ดทเี่ กรงวา่ จะมาสาย หรอื มาทางานช้ากว่าเวลาเข้างานท่ีกาหนดไว้ จะต้อง ติดต่อ
ทางโทรศัพท์มายงั ผู้บังคับบัญชาโดยดว่ น และหลังจากท่ีมาถงึ บริษัทฯ แลว้ จะต้องย่นื จดหมายแสดงถึงสาเหตุของการ
มาสายน้นั ต่อผู้บงั คบั บญั ชาทนั ที
4.2 การเลิกงานก่อนเวลาท่ีกาหนด พนักงานทป่ี ระสงค์จะเลกิ งานก่อนเวลาเลกิ งานน้นั จะต้องไดร้ บั อนญุ าต
จากผู้บงั คับบญั ชาล่วงหน้า โดยกรอกแบบฟอร์มขออนญุ าตตามทีก่ าหนดไวท้ ุกครั้งไป
4.3 ช่ัวโมงการทางานในกรณีท่ีมาทางานสาย หรือเลิกงานก่อนเวลาเลิกงานนั้นให้ปฏิบัติโดยถือเอาเวลา
30 นาทเี ป็นเกณฑ์ และเมื่อครบ 8 ชั่วโมงแล้วใหถ้ ือว่าได้ขาดงาน 1 วัน
หมวด 4
วันลาและหลักเกณฑ์การลา
1. ประเภทการลา บริษทั ฯ กาหนดประเภทการลาไวด้ งั นี้
1.1 ลาปว่ ย
1.2 ลาเพื่อคลอดบุตร
1.3 ลาเพื่อทาหมนั
1.4 ลาเพื่อรับราชการทหาร
1.5 ลาเพอ่ื การฝกึ อบรม หรือพฒั นาความรู้ความสามารถ
2. หลักเกณฑ์การลา
7
2.1 การลาปว่ ย
2.1.1 พนักงานมีสิทธิลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริงโดยได้รับค่าจ้างเท่ากับค่าจ้างในวันทางาน
ปีหน่ึงไม่เกิน 30 วันทางาน วันลาป่วยของพนักงาน ซ่ึงจะเกิดขึ้นได้ต่อเม่ือพนักงาน เจ็บป่วย บาดเจ็บ
หรอื ป่วยด้วยเหตุอ่ืน ๆ จนทาใหไ้ มส่ ามารถทางานไดโ้ ดยไมท่ ราบล่วงหนา้
2.1.2 การลาป่วยต้องแจ้งโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ซึ่งโดยปกติแล้ว จะต้องกระทาภายใน
2 ช่ัวโมงแรกของเวลาทางานปกติในวันแรกที่ต้องหยุดงาน โดยให้พนักงาน หรือบุคคลอื่นติดต่อแจ้งให้
บรษิ ัทฯ หรือผ้บู งั คับบัญชาของตนทราบดว้ ยวธิ ีใดวิธีหนึ่ง ถา้ ไม่อาจทาได้จะต้องแจ้งโดยเร็วท่ีสดุ และต้องย่ืน
ใบลาตามแบบฟอรม์ ของบริษัทฯ ต่อผูบ้ ังคับบัญชาโดยตรงของตนภายใน 2 ชวั่ โมงหลงั จากเร่ิมงานในวันแรก
ท่ีกลับเข้าทางาน
2.1.3 กรณีการลาป่วยเกิดข้ึนภายหลังจากท่ีมาทางานแล้ว ให้ขออนุมัติการลาต่อ ผู้บังคับบัญชา
โดยตรงของตน
2.1.4 การลาป่วยตั้งแต่ 3 วันทางานขึ้นไป บริษัทฯ จะให้พนักงานแสดงใบรับรองของแพทย์แผน
ปัจจุบันช้ันหนึ่ง หรือของสถานพยาบาลของทางราชการก็ได้ เช่น สถานีอนามัย ในกรณีที่พนักงานไม่อาจ
แสดงใบรับรองแพทย์ หรือของสถานพยาบาลดังกล่าวได้ ให้พนักงานช้ีแจงให้บริษัทฯ ทราบ ถ้าบริษัทฯ
จัดแพทยไ์ วใ้ หแ้ ล้ว ใหแ้ พทยน์ ้ันเปน็ ผอู้ อกใบรบั รอง เว้นแตพ่ นักงานไมส่ ามารถให้แพทยน์ ั้นตรวจได้
2.1.5 พนักงานที่ลาป่วยโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรบ่อยคร้ัง และบริษัทฯ พิสูจน์ได้ว่าไม่ป่วยจริง
บรษิ ทั ฯ จะพิจารณาโทษทางวินัยตามความเหมาะสมซึง่ จะพจิ ารณาเป็นกรณีไป
2.1.6 การลาป่วยท่ีเป็นเท็จ นอกจากจะเป็นการแจ้งรายงานข้อมูลไม่จริงต่อผู้บังคับบัญชาแล้ว
ยงั ถือวา่ เป็นความผดิ ทร่ี า้ ยแรงต่อบรษิ ทั ฯ ฐานกระทาทจุ รติ ซ่งึ บริษัทฯ จะพจิ ารณาลงโทษตามระเบียบ
2.1.7 การลาป่วยหรือจานวนวันลาป่วย จะนาไปประกอบการพิจารณาเงนิ เดอื น/ค่าจา้ งประจาปี
8
2.1.8 ในกรณีลาป่วย และไม่ได้นอนพักท่ีห้องพยาบาลของบริษัทฯ พนักงานสามารถลาได้
คร้ังละอยา่ งน้อย 4 ช่ัวโมง
2.1.9 วันที่พนักงานไม่สามารถทางานได้เน่ืองจากประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยท่ีเกิดข้ึนเนื่องจาก
การทางาน หรือลาคลอดบตุ ร ไมถ่ อื เป็นวนั ลาปว่ ย
2.2 การลาเพื่อคลอดบตุ ร
2.2.1 พนักงานหญิงที่มีครรภ์มีสิทธิลา เพ่ือคลอดบุตรก่อน และหลังคลอดครั้งหนึ่งไม่เกิน
เก้าสิบแปดวัน (รวมวันหยุด) บริษัทฯ จ่ายค่าจ้างในวันทางานให้แก่พนักงานซ่ึงลาคลอดตลอดระยะเวลา
ทล่ี า แตไ่ มเ่ กนิ สี่สิบหา้ วนั โดยลาลว่ งหน้าอยา่ งน้อย 30 วัน
2.2.2 เน่ืองจากการคลอด แม้ว่าจะได้หยุดตามเวลาท่ีได้รับอนุญาตให้ลาคลอดตามข้อ 1 แล้วก็ตาม
แต่ยังไม่สามารถจะมาปฏิบัติงานได้ บริษัทฯ จะอนุญาตให้ลาหยุดเพิ่มเติมได้อีกไม่เกิน 30 วัน โดยไม่ได้รับ
ค่าจา้ ง
2.2.3 กรณีฉุกเฉิน พนักงานไม่สามารถยื่นใบลาล่วงหน้าได้ตามระเบียบ ให้พนักงานแจ้งให้
ผู้บงั คบั บัญชาทราบถงึ เหตผุ ลโดยวธิ ีใดวธิ ีหน่ึงทันที เช่น ทางโทรศพั ท์ หรือจะใหญ้ าติ หรอื ค่สู มรสมาแจ้งการ
ลาแทน
2.2.4 ถ้าพนักงานหญิงมีครรภ์มีใบรับรองของแพทย์แผนปัจจุบันช้ันหนึ่ง แสดงว่าไม่อาจทางานใน
หน้าท่ีเดิมได้ ให้มีสิทธิขอให้บริษัทฯ เปลี่ยนงานในหน้าท่ีเป็นการช่ัวคราวก่อน หรือหลังคลอดได้โดยบริษัทฯ
จะพจิ ารณาเปลยี่ นงานให้แกพ่ นักงานน้นั ตามท่เี ห็นสมควร
2.3 การลาเพ่ือทาหมนั
2.3.1 บริษัทฯ อนุญาตให้พนักงานลาเพ่ือทาหมันได้ และมีสิทธิลาเนื่องจากการทาหมันโดยได้รับ
ค่าจ้าง ทงั้ น้ี จานวนวันลาใหเ้ ป็นไปตามระยะเวลาทีแ่ พทยแ์ ผนปจั จบุ นั ชนั้ หนง่ึ เปน็ ผ้กู าหนด
9
2.3.2 พนักงานท่ีจะลาเพื่อทาหมัน จะต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วัน
เมอ่ื ไดร้ ับการอนุมัติจงึ จะลาได้
2.3.3 เม่ือกลับเข้าทางานในวันแรกพนักงานจะต้องย่ืนหนังสือรับรองแพทย์ต่อผู้บังคับบัญชา
เพ่ือเปน็ หลักฐานประกอบการลา
2.4 การลาเพ่ือรบั ราชการทหาร
2.4.1 ในกรณีที่ทางราชการได้ออกหมายเรียกตัวพนักงาน เพ่ือเข้ารับราชการทหารในการเรียกพล
เพ่ือตรวจสอบ เพ่ือการฝึกวิชาทหาร หรือเพื่อทดสอบความพร้อมโดยพนักงานจะได้รับค่าจ้างในวันทางาน
ตลอดระยะเวลาทีล่ า แต่ปีหนง่ึ ไมเ่ กนิ 60 วนั (โดยนบั ต่อเนอื่ ง และรวมทัง้ วนั หยดุ )
2.4.2 การลาเพอื่ รบั ราชการกรณีเรียกระดมพล เพื่อเตรียมความพร้อม พนักงานจะต้องแจ้งให้บริษัท
ฯ ทราบภายใน 7 วนั หลังจากรบั ทราบ หรอื ไดร้ บั หมายเรียก
2.4.3 พนักงานต้องกลับเข้าทางานภายใน 3 วันทางาน นับจากวันที่พนักงานพ้นหน้าที่ทางราชการ
ทหาร หากพ้นกาหนดระยะเวลาดังกลา่ วแล้วพนักงานไม่มีการติดต่อกับบริษัทฯ โดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือ
ปฏิเสธที่จะเข้าทางานในตาแหน่งที่บริษัทฯ เสนอให้ (โดยตาแหน่ง และค่าจ้างไม่ต่ากว่าเดิม) ให้ถือว่า
พนักงานผู้นั้นได้สละสิทธิในการที่จะทางานกับบริษัทฯ และถือว่าพนักงานผู้น้ันลาออกจากการเป็นพนักงาน
ของบรษิ ัทฯ โดยสมัครใจ
2.4.4 กรณีพนกั งานท่ีถกู เกณฑ์ทหารกองประจาการ หากกลบั มาบริษทั ฯ จะพจิ ารณาเปน็ พิเศษ
2.5 การลาเพ่ือการฝึกอบรม และพัฒนาความรคู้ วามสามารถ
2.5.1 การลาเพ่ือฝึกอบรมหรือพัฒนาความรู้ ให้พนักงานมีสิทธิลาเพ่ือการฝึกอบรม หรือพัฒนา
ความรู้ความสามารถ ในกรณีดังตอ่ ไปนี้
10
1) เพ่ือประโยชน์ต่อการแรงงาน และสวัสดิการสังคม หรือการเพิ่มทักษะความชานาญ
เพือ่ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพในการทางานของพนักงาน
2) การสอบวัดผลทางการศึกษาที่ทางราชการจัด หรืออนุญาตให้จัดข้ึนแต่ไม่รวมไปถึงการ
ลาศึกษาต่อให้พนักงานย่ืนใบลาล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน เม่ือบริษัทฯ อนุญาตแล้วจึงจะหยุดงาน
เพอ่ื การดังกล่าวไดโ้ ดยไมไ่ ดร้ ับค่าจา้ ง เวน้ แตพ่ นกั งานจะใช้สทิ ธลิ าพักร้อน
2.5.3 พนักงานต้องย่ืนใบลาล่วงหน้าเพ่ือให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาอนุมัติเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 7 วัน
โดยจะต้องระบุถึงเหตุที่ลาโดยชัดแจ้ง รวมท้ังมีเอกสารประกอบการขออนุมัติ เช่น หนังสือตอบรับการเข้า
ฝึกอบรม รายละเอียดหลักสูตร ฯลฯ ทั้งน้ี รวมตลอดปีพนักงานมีสิทธิลาได้ไม่เกิน 30 วัน หรือ 3 คร้ัง
อยา่ งใดอย่างหนึ่ง
2.5.4 บริษัทฯ อาจไม่อนุญาตให้พนักงานลาเพื่อการฝึกอบรม หรือพัฒนาความรู้ความสามารถ
ในกรณีดังต่อไปนี้
1) ในปีที่ลานั้น พนักงานเคยได้รับอนุญาตให้ลาเพ่ือการฝึกอบรม หรือพัฒนาความรู้
ความสามารถมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่าสามสิบวัน หรือสามครง้ั หรอื
2) บริษัทฯ ได้แสดงให้เห็นว่าการลาของพนักงานอาจก่อให้เกิดความเสียหาย
หรือกระทบตอ่ การประกอบธุรกิจของบริษัทฯ
2.6 การลากิจธุระอันจาเป็น พนักงานสามารถลากิจธุระอันจาเป็นได้โดยพนักงานต้องยื่นใบลาล่วงหน้า
7 วันทางาน และจะต้องได้รับการอนุมัติการลาจากหัวหน้างาน หรือผู้บังคับบัญชา หรือผู้จัดการเสียก่อน
ถึงจะมีสิทธิลากิจธุระอันจาเป็นได้ แต่ปีหน่ึงต้องไม่เกิน 12 วันทางาน โดยพนักงานจะได้รับค่าจ้างตาม
กฎหมายแรงงาน 3 วนั ในปีปฏิทิน
11
หมวด 5
วนั หยดุ และหลักเกณฑก์ ารหยุด
1. วนั หยุดประจาสปั ดาห์
1.1 วันเสาร์ และวันอาทติ ย์
1.2 ตามปฎทิ นิ วนั หยุดของบริษัทฯ สามารถจะจัดทากาหนดเวลาการทางานชนิดใหม่ทแ่ี ตกตา่ งกบั ทีก่ ล่าวมา
น้ีได้ หากมีความจาเป็นท่ีจะต้องกระทาเช่นนั้น และในกรณีดังกล่าวบริษัทฯ จะแจ้งให้พนักงานทราบล่วงหน้าถึง
ช่ัวโมงการทางานซ่ึงจะต้องไม่เกินกว่าชั่วโมงทางานตามปกติ โดยบริษัทฯ จะปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแรงงาน
สัมพันธ์ พ.ศ. 2518
2. วันหยดุ ตามประเพณี
บริษัทฯ กาหนดให้มีวันหยุดตามประเพณีปีหนึ่งไม่น้อยกว่า 13 วัน ท้ังน้ี อาจมีการเปล่ียนแปลงวันหยุดได้ตาม
ความเหมาะสมในแต่ละปี โดยรวมวันแรงงานแห่งชาติด้วย และพนักงานจะได้รับค่าจ้างเท่ากับค่าจ้างในวันทางาน
ซึ่งบริษัทฯ จะประกาศให้ทราบ ลว่ งหน้าภายในเดือนธันวาคมของทุกปี ถา้ วันหยุดตามประเพณีตรงกบั วนั หยุดประจา
สปั ดาหใ์ ห้หยดุ ชดเชยวนั หยดุ ตามประเพณีวันนัน้ ไปหยุดในวนั ทางานถดั ไป
3. วันหยดุ พักผ่อนประจาปี (ลาพักร้อน)
3.1 ในปีต่อ ๆ ไปกาหนดดงั นี้
3.1.1 ในปีที่ 1 – 3 พนกั งานมีสิทธหิ ยดุ พักผ่อนประจาปีได้ 6 วันทางานโดยไดร้ บั คา่ จ่าง
3.1.2. ในปีท่ี 3 – 6 พนักงานพนกั งานมีสทิ ธหิ ยุดพกั ผอ่ นประจาปีได้ 7 วนั ทางานโดยได้รับค่าจ่าง
3.1.3. ในปีท่ี 6 – 10 พนักงานมีสทิ ธหิ ยุดพักผ่อนประจาปีได้ 8 วนั ทางานโดยได้รบั ค่าจ่าง
3.1.4. ในปที ี่ 10 ขึ้นไปพนักงานมสี ิทธหิ ยุดพกั ผ่อนประจาปไี ด้ 10 วันทางานโดยได้รบั ค่าจ้าง
12
3.3 การสะสมในกรณีที่พนักงานไม่สามารถใช้วันหยุดพักผ่อนประจาปีใด ๆ ได้หมดสิ้นในปีนั้น ๆ ให้ยกยอด
นาไปใช้ภายในครึ่งปีแรกของปถี ัดไปได้ อยา่ งไรก็ตามเมื่อยกยอดมาแล้ว วนั หยดุ พักผ่อนประจาปีในปีที่ยกยอดมารวม
แลว้ ต้องไม่เกนิ 12 วนั ทางาน
3.4 บริษัทฯ จะเป็นผู้กาหนดวันหยุดพักผ่อนประจาปีให้แก่พนักงานแต่ละคน โดยพนักงานที่ประสงค์จะใช้
สิทธิจะต้องยื่นใบลาล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วันทางาน และจะหยุดได้ก็ต่อเม่ือได้รับการอนุมัติจากผู้บังคับบัญชาเป็น
ลายลกั ษณอ์ กั ษรแล้วเท่าน้นั มิฉะน้ัน จะถอื ว่าขาดงานละท้ิงหนา้ ท่ี
3.5 การหยุดพักผ่อนประจาปีแตล่ ะคร้ังจะต้องหยุดไมน่ อ้ ยกว่า 0.5 ช่ัวโมง
3.6 หากพนักงานลาออก จะไม่นับวันลาพักร้อนของเดือนน้ัน ยกเว้นลาออกภายในวันท่ี 25 ของเดือน
เป็นต้นไป พนักงานจะต้องใช้วันลาพักร้อนให้หมดก่อนท่ีจะลาออก หากเป็นเพราะความลักษณะของหน้างานที่
ปฏิบัติงานอยู่ หรือสาเหตุจากบริษัทฯ ทาให้พนักงานไม่สามารถลาพักร้อนได้ จานวนวันลาพักร้อน ท่ีเหลือจะคิด
คานวณเป็นเงิน และจ่ายให้พร้อมกับเงินเดือนงวดสุดท้าย โดยคานวณจาก เงินเดือนขั้นพ้ืนฐานหารด้วย 30 วัน
คณู จานวนวันลาพกั ผอ่ นประจาปี (ลาพกั ร้อน) ที่เหลอื
หมวด 6
หลกั เกณฑ์การทางานล่วงเวลา และทางานในวนั หยุด
ในกรณที ่ีงานมีลักษณะ หรอื สภาพของงานต้องทาติดต่อกันไป ถา้ หยดุ จะเสียหายแก่งาน หรอื เปน็ งานฉุกเฉิน
บริษัทฯ จะให้พนักงานทางานล่วงเวลาในวันทางาน หรือทางานในวันหยุด รวมถึงล่วงเวลาในวันหยุดได้เท่าท่ีจาเป็น
โดยไมต่ ้องไดร้ บั ความยินยอมจากพนกั งานก่อน
ในกรณีท่ีมิใช่งานตามวรรคหน่ึง บริษัทฯ อาจให้พนักงานทางานล่วงเวลาในวันทางาน หรือทางานในวันหยุด
รวมถงึ ล่วงเวลาในวันหยดุ ไดเ้ ป็นครัง้ คราว โดยจะต้องไดร้ บั ความยินยอมจากพนกั งานก่อนเป็นแตล่ ะคราวไป
13
การทางานล่วงเวลาในวันทางาน ทางานในวันหยุด และล่วงเวลาในวันหยุด สาหรับงานตามวรรคสองต้อง
ไมเ่ กินสัปดาห์ละ 36 ช่ัวโมง
งานขนส่งทางบก บริษัทฯ จะให้พนักงานทาหน้าท่ีขับขี่ยานพาหนะ ทางานล่วงเวลา เม่ือได้รับความยินยอม
เป็นหนังสือจากพนักงานแล้ว โดยจะทางานล่วงเวลาไม่เกินวันละ 2 ช่ัวโมง เว้นแต่มีความจาเป็นอันเกิดจากเหตุ
สุดวิสัย อบุ ตั ิเหตุ หรือปญั หาการจราจร
พนักงานซึ่งได้รับคาสั่งให้ทางานล่วงเวลา หรือทางานในวันหยุดกรณีดังกล่าวถ้าไม่อาจปฏิบัติงานได้ต้องแจ้ง
ผู้บังคับบัญชาทราบล่วงหน้าถึงเหตุผลความจาเป็น หากไม่แจ้งให้ทราบล่วงหน้าหรือไม่ได้รับอนุมัติ ให้ถือเป็นการขัด
คาส่งั หรอื การละทงิ้ หน้าที่ หรอื ขาดงาน
การทางานล่วงเวลา การทางานในวันหยุด และทางานล่วงเวลาในวันหยุด เมื่อได้รับอนุมัติจากกรรมการ
ผู้จัดการหรือผู้ได้รับมอบอานาจแทนแล้ว พนักงานของบริษัทฯ จะได้รับค่าทางานล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด
ค่าทางานลว่ งเวลาในวนั หยดุ ตามกฎหมาย
หลักเกณฑ์การทางานลว่ งเวลา
1. การทางานล่วงเวลา หมายความว่า การทางานนอกหรือเกินเวลาทางานปกติ หรือเกินช่ัวโมงทางานในแต่ละวัน
ที่นายจ้างลกู จา้ งตกลงกันในวันทางาน หรือวนั หยดุ แล้วแต่กรณี
การทางานในวันหยุด หมายความว่า การทางานในวันหยุดในเวลาปกติ
การทางานลว่ งเวลาในวันหยุด หมายความว่า การทางานนอก หรอื เกินเวลาทางานปกติในวนั หยดุ
2. ถ้าใหพ้ นกั งานทางานเกินเวลาทางานปกตใิ นวันทางาน พนักงานจะต้องไดร้ ับคา่ ล่วงเวลาในอตั รา ดังน้ี
ไม่น้อยกว่าหน่ึงเท่าครึ่ง (1.5 เท่า) ของอัตราค่าจ้างต่อช่ัวโมงในวันทางานตามจานวนช่ัวโมงที่ทาหรือไม่น้อย
กว่าหน่ึงเท่าคร่ึงของอัตราค่าจ้างต่อหน่วยในวันทางานตามจานวนผลงานท่ีทาได้สาหรับพนักงานซึ่งได้รับค่าจ้างตาม
ผลงานโดยคานวณเปน็ หน่วย
14
3. ถา้ ให้พนักงานทางานในวนั หยุดเกินเวลาทางานของวันทางาน พนักงานจะไดร้ ับคา่ ล่วงเวลาในวนั หยดุ ในอัตรา ดงั น้ี
ไม่น้อยกว่าสามเท่า (3.0 เท่า) ของอตั ราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางานตามจานวนช่วั โมงท่ีทา หรือไม่น้อยกวา่
สามเทา่ ของอัตราคา่ จา้ งต่อหน่วยในวนั ทางานตามจานวนผลงานทไ่ี ด้สาหรบั พนกั งานซึง่ ได้รับคา่ จา้ งตามผลงานโดย
คานวณเปน็ หน่วย
4. ค่าทางานในวันหยดุ
4.1 พนกั งานทมี่ สี ทิ ธิไดร้ บั คา่ จา้ งในวนั หยุด วนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ วันหยุดตามประเพณี และวันหยุดพกั ผ่อน
ประจาปี ถ้ามาทางานในวันหยุดดังกล่าวจะได้รับค่าทางานในวันหยุดเพิ่มข้ึนอีกไม่น้อยกว่าหน่ึงเท่า (1.0 เท่า) ของ
อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางานตามจานวนช่ัวโมงท่ีทาหรือไม่น้อยกว่าหน่ึงเท่า (1.0 เท่า) ของอัตราค่าจ้าง
ตอ่ หนว่ ยในวันทางานตามจานวนผลงานท่ที าได้ สาหรบั พนักงานซง่ึ ได้รับค่าจ้างตามผลงาน โดยคานวณเป็นหนว่ ย
4.2 พนักงานที่ไม่มีสิทธ์ิได้รับค่าจ้างในวันหยุดประจาสัปดาห์ ถ้ามาทางานในวันหยุดดังกล่าวจะได้รับ
ค่าทางานในวันหยุด ไม่น้อยกว่าสองเท่า (2.0 เท่า) ของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทางานตามจานวนช่ัวโมงที่ทา
หรือไมน่ ้อยกวา่ สองเทา่ (2.0 เท่า) ของอตั ราค่าจา้ งต่อหนว่ ยตามจานวนผลงานทีท่ าได้ สาหรับพนักงานซง่ึ ไดร้ ับค่าจ้าง
ตามผลงานโดยคานวณเปน็ หนว่ ย
5. การคานวณอัตราค่าจ้างปกติต่อชั่วโมง หากเป็นพนักงานรายเดือนให้เอาสามสิบไปหารค่าจ้างเป็นค่าจ้างหนึ่งวัน
และเอาจานวนชั่วโมงการทางานปกติไปหารอีกทีหน่ึง และหากเป็นพนักงานรายวัน ค่าจ้างหนึ่งวันหารด้วยจานวน
ชวั่ โมงการทางานปกติได้คา่ จา้ งออกมาเป็นรายชัว่ โมง
6. พนักงานซึง่ มีอานาจหน้าท่หี รือซึ่งบริษัทฯ ให้ทางานอย่างหน่ึงอย่างใดดังต่อไปน้ี ไม่มีสทิ ธไิ ด้รับค่าล่วงเวลา และค่า
ล่วงเวลาในวนั หยุด แต่พนักงานซ่ึงบริษทั ฯ ให้ทางานตาม (3) (4) (5) (6) (7) (8) หรือ (9) มสี ิทธไิ ด้รบั ค่าตอบแทนเป็น
เงินเทา่ กบั อตั ราคา่ จา้ งตอ่ ชั่วโมงในวันทางานตามจานวนช่ัวโมงท่ีทา
15
(1) พนักงานซ่ึงมีอานาจหน้าท่ีทาการแทนบริษัทฯ สาหรับกรณีการจ้าง การให้บาเหน็จ หรือ
การเลกิ จา้ ง
(2) งานเรข่ าย หรอื ชักชวนซื้อสนิ คา้ ซงึ่ บริษัทฯ ไดจ้ า่ ยค่านายหนา้ จากการขายสนิ คา้ ให้แก่พนักงาน
(3) งานขบวนการจัดงานรถไฟ ซึง่ ไดแ้ กง่ านทท่ี าบนขบวนรถ และงานอานวยความสะดวกแก่การเดินรถ
(4) งานเปดิ ปิดประตนู า้ หรือประตรู ะบายน้า
(5) งานอ่านระดับนา้ และวดั ปรมิ าณน้า
(6) งานดับเพลิง หรืองานป้องกันอันตรายสาธารณะ
(7) งานท่ีมีลักษณะ หรือสภาพต้องออกไปทางานนอกสถานท่ี และโดยลักษณะ หรือสภาพของงานไม่อาจ
กาหนดเวลาทางานทแี่ นน่ อนได้
(8) งานอยเู่ วรเฝา้ ดแู ลสถานท่ีหรือทรัพยส์ ินอนั มใิ ช่หน้าที่การทางานปกติของพนักงาน
(9) งานอื่นตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
พนกั งานตาม (1) (2) ไม่มสี ทิ ธิไดร้ ับค่าทางานในวันหยดุ เว้นแต่บรษิ ทั ฯ ตกลงจ่ายค่าทางานในวันหยดุ ให้แก่พนักงาน
หมวด 7
วันและสถานท่ีท่ีจา่ ยค่าจ้าง คา่ ล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวนั หยดุ
บริษัทฯ กาหนดจ่ายค่าจ้างในวันทางาน ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลาในวันหยุด
ประจาเดือนจะตัดรอบเงินเดือนตั้งแต่วันท่ี 26 ของเดือนท่ีแล้วถึงวันที่ 25 ของเดือนนี้ ให้แก่พนักงานในวันทางาน
ปกติเดือนละ 1 ครั้ง ไม่เกินวันท่ี 5 ของเดือนถัดไป โดยจ่ายให้ ณ ท่ีทาการของบริษัทฯ หรือจ่ายผ่านธนาคาร ซ่ึงให้
พนักงานเปดิ บัญชอี อมทรัพยก์ ับธนาคารทบ่ี ริษทั ฯ ไดแ้ จง้ ใหพ้ นกั งานทราบ และที่พนักงานตกลงกัน
ในกรณีเลิกจ้างก่อนถึงกาหนดเวลาจ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าล่วงเวลา ในวันหยุด
บรษิ ัทฯ จะจา่ ยเงนิ ดงั กล่าวใหแ้ กพ่ นักงานภายใน 7 วนั นับตั้งแตว่ นั ท่ีเลกิ จ้าง
16
หมวด 8
วินยั และโทษทางวินัย
1. บรษิ ทั ฯ ไดก้ าหนดหลักเกณฑต์ ่าง ๆ ในหมวดน้ขี ึน้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ดังต่อไปน้ี
1.1 เพื่อเป็นแนวทางของผู้บังคับบัญชาในการพิจารณา ส่งเสริม แก้ไข หรือปรับปรุงความประพฤติของ
ผ้ใู ตบ้ ังคับบญั ชา
1.2 เพ่ือใหเ้ กดิ ความเปน็ ธรรมต่อพนักงานในเร่ืองวนิ ยั ในการปฏบิ ตั ิของบริษทั ฯ
1.3 เพ่ือเปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ิเกย่ี วกบั วนิ ยั อันจะนาไปสคู่ วามเจรญิ ก้าวหนา้ ของพนักงาน และบรษิ ทั ฯ
1.4 เป็นส่วนช่วยส่งเสริมให้การดาเนินกิจการของบริษัทฯ บรรลุถึงวัตถุประสงค์ด้วยความมีระเบียบ
เป็นธรรม ถูกตอ้ งตามกฎหมาย และก่อให้เกิดความสงบสขุ ในการทางานรว่ มกัน
2. นโยบาย บรษิ ทั ฯ ไดว้ างนโยบายในเร่อื งวินยั ของพนกั งานไว้ดังน้ี
2.1 ผู้บังคับบัญชาจะต้องพยายามป้องกันมิให้เกิดปัญหาในการลงโทษทางวินัย ด้วยการใช้หลักเกณฑ์
การบริหารบคุ คล หรือการปกครองที่ดี
2.2 ตามปกตแิ ลว้ การดาเนินการลงโทษทางวินัยจะทาเป็นขนั้ ตอน เพ่อื ให้พนักงานได้มีโอกาสปรับปรุงตนเอง
นอกเสียจากความผิดนนั้ มีลักษณะร้ายแรง
3. วินัยพนักงานเพ่ือความเป็นระเบียบเรียบร้อย และมีประสิทธิภาพในการทางานร่วมกัน พนักงานจะต้อง
ปฏบิ ัติตามระเบยี บดังต่อไปนี้
3.1 วนิ ยั ท่วั ไป
3.1.1 ประพฤติตนเป็นพลเมืองดีอยู่ในระเบียบ และกฎเกณฑ์ของสังคมไม่ประพฤติชั่ว กระทา หรือ
รว่ มกันกระทาการใด ๆ อันเปน็ การผดิ กฎหมายของบ้านเมอื งทงั้ ใน และนอกบริเวณบริษัทฯ
3.1.2 เช่อื ฟงั และปฏิบตั ติ ามคาสัง่ อนั ชอบด้วยกฎหมายของผบู้ ังคบั บญั ชา
17
3.1.3 ปฏิบตั ติ ามระเบยี บขอ้ บังคบั และกฎเกณฑ์ตา่ ง ๆ ของบรษิ ัทฯ ท่ีกาหนดไว้โดยเคร่งครดั
3.1.4 แจ้งการเปล่ียนแปลงสถานภาพของตนเองให้บริษัทฯ ทราบในกรณีเปล่ียน ช่ือ/นามสกุล
ท่ีอยู่อาศัย สมรส/หย่าร้าง มีบุตร บุคคลในครอบครัวเสียชีวิต เปล่ียนบัตรประจาตัวประชาชน ท้ังน้ี ภายใน
สิบหา้ วันนับจากวนั ท่ีเปล่ยี นแปลงในแตล่ ะกรณี
3.1.5 รกั ษาความสะอาด ไมท่ ้งิ สง่ิ ของหรือสิง่ ปฏิกลู ใด ๆ นอกภาชนะที่บรษิ ทั ฯ จดั ไว้
3.1.6 ช่วยกันดแู ลประหยัดการใชว้ สั ดุอุปกรณเ์ ครื่องมือเคร่ืองใช้พลังงาน และสิง่ อื่น ๆ ให้สิน้ เปลือง
น้อยท่ีสุด
3.1.7 ไม่มาทางานสาย ไม่กลับก่อนเวลา หรือไม่ลาหยุดงานโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือเป็น
การพร่าเพร่ือ
3.1.8 การลาหยุดงานทุกประเภทตามระเบียบข้อบังคับเก่ียวกับการทางาน หรือตามประกาศของ
บริษัทฯ จะต้องได้รับการอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา หรือจากผู้มีอานาจหน้าท่ี ในการอนุมัติการลาหยุดงาน
เสยี ก่อนจึงจะมีสิทธลิ าหยุดงานได้
3.1.9 ไม่ช่วยเหลือ สนับสนุน ชักจูง รู้เห็นเป็นใจ หรือเพิกเฉยต่อการกระทาความผิดของพนักงาน
อืน่
3.1.10 หา้ มรับจา้ งทางานให้ผู้อืน่ หรอื ดาเนินธรุ กจิ ใด ๆ อันอาจเป็นผลกระทบกระเทือนเวลาทางาน
หรือกิจการของบริษทั ฯ
3.1.11 ห้ามนาสิ่งของ เครื่องมือเครื่องใช้ หรือผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ไปใช้ประโยชน์ส่วนตัวหรือใช้
เพอ่ื การอืน่ ซ่งึ ไมเ่ ก่ยี วข้องกบั กิจการของบรษิ ทั ฯ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต
3.1.12 ไม่ประพฤติตน หรือกระทาการใด ๆ ให้บริษัทฯ เสื่อมเสียช่ือเสียง หรืออาจได้รับ
ความเสียหาย
18
3.1.13 ระมัดระวังดูแลรักษาสิ่งของ หรือทรัพย์สินของบริษัทฯ และต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
เม่ือทาสงิ่ ของหรอื ทรพั ยส์ ินของบริษัทฯ เสยี หายหรือสญู หาย
3.1.14 ห้ามปิดประกาศ โฆษณา ขีดเขียนข้อความ แจกใบปลิว เผยแพร่เอกสาร หรือส่ิงตีพิมพ์ใด ๆ
ในบริเวณของบริษัทฯ โดยมิได้รับอนุญาต รวมท้ังการปลด ทาลาย ขีดเขียน เพิ่มเติมเอกสาร ประกาศ หรือ
คาส่ังใด ๆ ของบรษิ ทั ฯ ดว้ ย
3.1.15 ไมเ่ ปดิ เผยข้อมลู หรือปกปิดข้อเท็จจริงอันอาจเปน็ เหตุใหบ้ ริษทั ฯ ไดร้ ับความเสยี หาย
3.1.16 ไม่ดูหม่ิน หรือหม่ินประมาทบุคคลอ่ืน หรือเหยียดหยามผู้บังคับบัญชา หรือลูกค้าหรือผู้มา
ติดตอ่ หรือกระทาอืน่ ๆ ท่เี ป็นการอันไมส่ มควร
3.1.17 หากพนักงานหญิงต้ังครรภ์ให้แจง้ ต่อผู้บงั คบั บญั ชาเป็นลายลกั ษณ์อักษร
3.1.18 หา้ มพนักงานปฏิเสธการตรวจโรค และตรวจสุขภาพโดยไม่มเี หตผุ ลอนั สมควร
3.2 ระเบียบการเขา้ หรือออกบริเวณบรษิ ัทฯ
3.2.1 พนักงานที่บริษัทฯ กาหนดให้บันทึกเวลาทางาน ต้องบันทึกเวลาด้วยตนเองทุกครั้งเม่ือเข้า
ทางาน เลิกงาน และ/หรือ ตามระเบียบที่บริษัทฯ กาหนดห้ามบันทึกเวลาแทนผอู้ ื่น หรือรู้เห็นเป็นใจให้ผ้อู น่ื
บันทกึ เวลาให้
3.2.2 พนักงานท่ีเขา้ มาในบริเวณของบริษัทฯ จะต้องแตง่ กายให้สภุ าพเรยี บร้อย
3.2.3 พนักงานที่จะออกจากสถานท่ีทางานในระหว่างเวลาทางาน และเวลาพักของตนเอง ไม่ว่า
กรณีใดต้องปฏิบัติตามระเบียบท่ีบริษัทฯ กาหนดทุกครั้ง และในกรณีท่ีเป็นการออกจากบริษัทฯ โดยไม่
กลับมาอกี ใหบ้ ันทกึ เวลาดว้ ย
3.2.4 ต้องแสดงบัตรประจาตัวพนักงานต่อยามรักษาการณ์เมื่อผ่านเข้าบริษัทฯ หรือเม่ือเจ้าหน้าท่ี
รกั ษาความปลอดภัยขอใหแ้ สดง
19
3.2.5 นอกจากการทางานตามหน้าท่ี ห้ามเข้ามา หรอื อยู่ภายในสถานทีท่ างานโดยไม่ได้รับอนญุ าต
3.2.6 การนาสิ่งของ หรือทรัพย์สินของบริษัทฯ ออกจากบริษัทฯ ไม่ว่ากรณีใดก็ตามจะต้องแสดง
ใบอนุญาตนาส่ิงของ หรือทรัพย์สินที่จะนาออกน้ันตอ่ และต้องให้เจ้าหน้าท่ีรกั ษาความปลอดภัยตรวจส่ิงของ
ทนี่ าติดตัวเข้ามา หรอื เมือ่ ออกจากบริษทั ฯ
3.2.8 ไม่ใช้เวลาทางานต้อนรับ หรือพบปะผู้มาเยือนในธุรกิจส่วนตัว หากจาเป็นต้องได้รับอนุญาต
จากผ้บู ังคับบัญชาก่อน และให้ใชส้ ถานที่ตามท่ีบริษัทฯจดั ไว้ โดยใชเ้ วลาเท่าท่ีจาเปน็
3.2.9 ห้ามนาสตั ว์เลี้ยงใด ๆ เขา้ มาในบริเวณบริษัทฯ
3.2.10 ห้ามนาเข้าหรือใช้เสพ หรือมีไว้ครอบครองซ่ึงอาวุธ ยาเสพติด สิ่งมึนเมา หรือส่ิงที่ผิด
กฎหมายภายในบรเิ วณบริษทั ฯ
3.2.11 หา้ มพนักงานท่ีอยใู่ นลกั ษณะมึนเมาเข้ามาภายในบรษิ ัทฯ
3.3 การมาทางาน
3.3.1 พนกั งานต้องมาทางานอย่างปกติ และสม่าเสมอตามวนั เวลาทางานท่ีบรษิ ัทฯ กาหนด
3.3.2 พนกั งานต้องปฏิบตั ติ ามระเบียบในเรอื่ งการลงเวลาเขา้ และออกงานโดยเคร่งครดั
3.3.3 พนกั งานตอ้ งปฏบิ ัตติ ามระเบียบวา่ ด้วยการลา หรอื การหยุดงานโดยเคร่งครดั
3.3.4 พนักงานตอ้ งปฏบิ ัติตามกาหนดการ และเวลาในเรื่องการเข้าทางาน การออกไป และการกลับ
เขา้ มาในการปฏิบัติงานนอกบริษทั ฯ และการเลกิ งาน
3.3.5 พนกั งานห้ามทาบัตรบันทึกเวลาชารุด สญู หาย หรอื แกไ้ ขขอ้ ความใด ๆ
3.4 การปฏบิ ัตหิ นา้ ที่
3.4.1 พนักงานต้องปฏิบัติตามคาสั่ง เมื่อบริษัทฯ มีคาส่ังให้โยกย้ายพนักงานไปประจาหน่วยงานใด
ไมว่ ่าจะเป็นการชว่ั คราวหรือเปน็ การถาวร
20
3.4.2 พนกั งานต้องปฏิบัตหิ น้าท่อี ยา่ งเตม็ ความสามารถ ดว้ ยความซ่อื สตั ย์สจุ ริต และขยันหม่ันเพียร
3.4.3 พนักงานต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความตั้งใจ สุขุมรอบคอบ และด้วยความพร้อมทั้งร่างกาย และ
จิตใจ เย่ยี งวิญญูชนพงึ ปฏิบัติ
3.4.4 พนกั งานต้องใชเ้ วลาในการทางานทัง้ หมดของตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ อ่ งานตามหนา้ ที่
3.4.5 พนักงานต้องไม่ทางานให้กับบุคคล หรือองค์กรอ่ืนใด อันอาจกระทบต่อการทางานให้แก่
บริษัทฯ ทัง้ น้ี ไมว่ า่ จะไดร้ บั คา่ จา้ ง หรอื ผลประโยชนต์ อบแทน หรือไม่
3.4.6 พนักงานต้องไม่เสพสุรา หรือยาเสพติด หรืออยู่ในอาการมึนเมาภายในบริเวณบริษัทฯหรือ
ขณะปฏิบตั หิ น้าท่ี
3.4.7 ห้ามพนักงานปิดประกาศ นัดพบ ประชุม อภิปรายภายในบริษัทฯ รวมท้ังจาหน่ายจ่ายแจก
เอกสารภายในบริษทั ฯ โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าตจากกรรมการผู้จดั การ
3.4.8 หา้ มนาบุคคลภายนอกเข้ามาภายในบรเิ วณบรษิ ัทฯ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต
3.4.9 หา้ มสบู บหุ รีภ่ ายในบริเวณบริษทั ฯ เวน้ แตส่ ถานทท่ี ่บี รษิ ทั ฯ ไดก้ าหนดไว้
3.4.10 หา้ มฝ่าฝนื ระเบยี บการแตง่ ชุดทางาน
3.4.11 ห้ามใชเ้ คร่อื งมอื เครอ่ื งจกั ร โดยไม่มีหนา้ ท่ีเก่ยี วข้อง
3.4.12 หา้ มรบั ประทานอาหาร หรือของขบเคี้ยวในเวลาทางาน
3.4.13 หา้ มละทิง้ หนา้ ท่ี หรือขาดงาน โดยมิมเี หตุอันสมควร
3.4.14 ห้ามทาประการอ่ืนอันไม่สมควรแก่การปฏิบัติหน้าที่ของตนให้ลุล่วงไปโดยถูกต้อง
และสุจรติ
3.4.15 พนักงานจะต้องปฏบิ ตั ิหน้าท่ี หรือความรบั ผิดชอบตามทีผ่ บู้ ังคบั บัญชากาหนด
21
3.4.16 พนักงานจะต้องปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา ในกรณีเลื่อนตาแหน่ง โยกย้าย หรือ
การมอบหมายงาน
3.4.17 พนักงานจะตอ้ งพงึ รกั ษาสุขภาพของตนให้พร้อมทจ่ี ะทางานให้กบั บรษิ ัทฯ
3.4.18 พนกั งานจะตอ้ งปฏบิ ัตติ ามระเบียบของพนักงานรักษาความปลอดภัย
3.4.19 พนักงานจะตอ้ งปฏิบตั ิตามทีผ่ บู้ งั คบั บญั ชากาหนด วิธกี ารใช้วัสดอุ ปุ กรณ์ในการทางาน
3.4.20 พนักงานจะต้องสวมใสห่ รอื ใช้อุปกรณค์ วามปลอดภยั และสุขอนามยั
3.4.21 กรณีที่พนักงานแสดงเจตนาท่ีจะทางานล่วงเวลา หรือทางานในวันหยุดแล้วแต่กรณีแต่ไม่มา
ปฏิบัติงานน้ันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร และส่งผลให้บริษัทฯ ได้รับความเสียหาย บริษัทฯอาจจะพิจารณา
โทษทางวินัยตามข้อบงั คับเกี่ยวกับการทางาน
3.4.22 ห้ามนอน หรือหลบั ในพนื้ ทท่ี างาน ที่มีเคร่อื งจักร หรือทางรถว่ิง
3.4.23 หา้ มวิง่ หรือหยอกล้อเล่นกนั ขณะปฏิบตั ิงาน
3.4.24 ห้ามพนกั งานซ่ึงปว่ ยโรคติดตอ่ เข้ามาภายในบรษิ ทั ฯ เวน้ แตจ่ ะได้รบั อนุญาต
3.4.25 ตรวจพบสารเสพติด สุรา หรือมีอาการมึนเมาในขณะปฎิบัติงาน หรืออยู่ภายในพ้ืนท่ี
บริษทั ฯ ทง้ั ในเวลางาน และนอกเวลางาน
3.5 การรักษาความลบั ของบริษทั ฯ
3.5.1 พนักงานต้องรักษาความลับของลูกค้าของบริษัทฯ และพนักงานอื่น หรือบุคคลที่เกี่ยวข้องกับ
บริษัทฯ
3.5.2 พนกั งานต้องรักษาความลบั และชอื่ เสียงของบรษิ ทั ฯ
3.5.3 พนักงานตอ้ งไม่เปดิ เผยคา่ จ้าง หรือเงนิ เดอื น อัตราการข้นึ เงินเดอื นของตนเองหรอื ของผู้อ่ืนจะ
โดยเจตนาหรือไมเ่ จตนาก็ตาม ทาให้พนักงานผูไ้ มม่ ีหนา้ ท่ี เกีย่ วขอ้ งได้ทราบ
22
3.6 การรกั ษาผลประโยชนข์ องบริษัทฯ
3.6.1 พนักงานต้องไม่เข้าไปเก่ียวข้องในการประกอบธุรกิจอื่นใดอันอาจมีผลกระทบกระเทือนถึง
ประโยชน์ของบรษิ ัทฯ หรือเปน็ การแขง่ ขนั กบั บรษิ ทั ฯ
3.6.2 พนักงานต้องไม่ปฏิบัติส่ิงใดอันเป็นการขัดต่อผลประโยชน์ของบริษัทฯ ไม่ว่าทางตรง
และทางออ้ ม
3.6.3 พนกั งานตอ้ งรกั ษา และเสรมิ สร้างช่ือเสียงอนั ดีงามของบรษิ ัทฯ
3.6.4 พนักงานต้องรกั ษาผลประโยชน์ของบรษิ ัทฯ โดยถอื เสมอื นว่าเป็นผลประโยชนข์ องตนเอง
3.7 การใช้ และการระวงั รกั ษาทรพั ย์สินของบรษิ ทั ฯ
3.7.1 พนักงานต้องไม่สูบบุหร่ี หรือก่อให้เกิดประกายไฟในสถานที่ซึ่งเก็บวัตถุไวไฟ หรือวัตถุซึ่งเป็น
เชือ้ เพลงิ ภายในบริเวณบริษัทฯ หรอื ขณะปฏบิ ตั หิ น้าที่ ยกเวน้ สถานทซ่ี ่ึงจัดไว้ให้
3.7.2 พนกั งานตอ้ งไมน่ าอปุ กรณ์ทรัพยส์ ินของบรษิ ัทฯ ไปใชน้ อกเหนือจากการทางานให้แกบ่ รษิ ัทฯ
3.7.3 พนักงานต้องระวังทรัพย์สินของบริษัทฯ มิให้สูญหายหรือถูกทาลายไป แม้จะไม่ใช่หน้าท่ี
โดยตรงของตน
3.7.4 พนักงานต้องศึกษา และทาความเข้าใจถึงวิธีการใช้ และคาแนะนาในด้านความปลอดภัยของ
ทรพั ย์สนิ ของบรษิ ทั ฯ กอ่ นทจ่ี ะใช้เสมอ
3.7.5 พนักงานต้องใช้ และบารุงรักษาทรัพย์สินของบริษัทฯ เสมือนบุคคลท่ัวไปพึงใช้ และ
บารุงรกั ษาทรัพยส์ ินของตนเอง
3.7.6 พนักงานต้องปฏิบัติตามคาสัง่ หรอื ระเบียบเกีย่ วกับความปลอดภยั ในการทางาน
3.8 ความซอ่ื สัตย์สุจริต
23
3.8.1 พนักงานต้องไม่เปล่ียนแปลง ปลอม แก้ไข ตัดทอน หรือทาลายเอกสารต่าง ๆ ของบริษัทฯ
หรือเอกสารทีม่ กี ารเกย่ี วขอ้ งระหวา่ งบรษิ ทั ฯ กับพนักงานโดยไม่มีอานาจหนา้ ทที่ จี่ ะกระทาการดังกล่าว
3.8.2 พนักงานต้องแจ้งข้อมูลส่วนตัวของตนตามที่บริษัทฯ ต้องการแก่บริษัทฯ ตามความเป็นจริง
และถ้าข้อมูลที่ได้แจ้งไว้แล้วไม่ถูกต้องตามความเป็นจริงไม่ว่าด้วยเหตุผลใด พนักงานต้องรายงานข้อมูลที่
ถกู ต้องให้บรษิ ัทฯ ทราบโดยเรว็ ท่ีสุด
3.8.3 พนักงานต้องให้ความร่วมมือกับบริษัทฯ ในการสอบสวนเรื่องราวต่าง ๆ ท่ีบริษัทฯ ต้องการ
และในการร่วมมือดงั กลา่ วพนกั งานจะต้องกระทาการตา่ ง ๆ ดว้ ยความสุจริต
3.8.4 พนักงานต้องไม่อาศัยอานาจหน้าที่ หรือโอกาสในการทางานกับบริษัทฯ เพื่อแสวงหา
ประโยชน์ใด ๆ อันขัดต่อจรรยาบรรณวิชาชีพของตน ระเบียบประเพณีในการทางาน กฎหมาย หรือขัดต่อ
ผลประโยชน์ของบริษัทฯ
3.8.5 พนักงานต้องไม่แจ้งข้อความเท็จ หรือลาป่วยเท็จต่อผู้บังคับบัญชา หรือบริษัทฯ
3.8.6 พนักงานตอ้ งยนิ ยอมใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีรกั ษาความปลอดภยั ของบรษิ ัทฯ ตรวจในกรณที ีเ่ กิดความ
สงสัยว่าจะมสี ่ิงของทีผ่ ดิ กฎหมาย หรือได้มาจากการกระทาผดิ กฎหมาย หรอื อาวุธอยูใ่ นตวั พนักงาน
3.8.7 พนักงานต้องไมป่ กปดิ หรอื บิดเบือนความจริงเพ่อื ได้มาซง่ึ ประโยชนข์ องตน และผู้อ่ืน
3.8.8 พนกั งานตอ้ งไมแ่ จ้งหรือให้ข้อความอนั เป็นเท็จต่อผบู้ ังคบั บัญชา
3.8.9 พนักงานตอ้ งรกั ษาไวซ้ ่ึงงานในหน้าทใี่ นลักษณะสรา้ งเสริม หรอื รกั ษาไว้ซง่ึ ประสทิ ธภิ าพในการ
ปฏิบัตงิ าน และไม่จงใจ หรือเจตนาปฏิบตั ิงานใหล้ ่าช้า
3.8.10 พนักงานจะต้องบริการลูกค้าเต็มความสามารถ หรือจะต้องรักษาผลประโยชน์ของบริษัทฯ
อย่างสูงสดุ
3.9 ความประพฤติ
24
3.9.1 พนกั งานต้องไม่ทาการทะเลาะววิ าท หรือใชก้ าลังประทษุ รา้ ยซ่งึ กันและกนั ในบริเวณบรษิ ัทฯ
ความในข้อนี้หมายความรวมถึงสถานที่อ่ืน เมื่อบริษัทฯ จัดงานหรือมีงานนอกสถานท่ีบริษัทฯ หรือ
ในขณะทางานนอกสถานทแ่ี ละรถรบั -ส่ง
3.9.2 พนกั งานต้องเปน็ ผู้ตรงตอ่ เวลาในการนัดหมายอนั เก่ยี วกบั การปฏิบัติงาน
3.9.3 พนักงานต้องใช้จ่ายเงินทองที่เหมาะสมกับสถานภาพทางการเงินของตน โดยไม่ปล่อยให้
ตนเองมีหนีส้ ินล้นพ้นตวั
3.9.4 พนักงานต้องไม่พกอาวุธ หรือครอบครองสิ่งผิดกฎหมายเข้ามาในบริษัทฯ หรือในขณะปฏิบัติ
หน้าท่ี
3.9.5 พนักงานต้องประพฤติตนให้อยู่ในศีลธรรมอันดี หรือไม่ประพฤติชั่วร้ายอย่างร้ายแรงทั้งใน
และนอกบริเวณบริษัทฯ
3.9.6 พนักงานต้องเชื่อฟัง และปฏิบัติตามคาส่ังอันชอบธรรม หรือชอบด้วยกฎหมายของ
ผบู้ งั คบั บัญชา หรือบรษิ ทั ฯ ทง้ั คาสัง่ ด้วยวาจา และลายลักษณ์อกั ษร รวมถงึ การส่ือขอ้ ความอื่นๆ
3.9.7 พนักงานต้องเป็นผู้มีสัมมาคารวะ ไม่พูดจาไม่สุภาพ ก้าวร้าว หรือแสดงข้อความหรือแสดง
กิรยิ าอาการเปน็ การส่อเสยี ด เหยยี ดหยาม ประณาม หรือดหู มน่ิ พนักงานอ่นื หรือผ้บู งั คบั บญั ชา
3.9.8 พนักงานต้องไม่ยุยง ส่งเสริม หรือสนับสนุนให้เกิดการแตกแยกความสามัคคี การทะเลาะ
วิวาท หรือการทาร้ายร่างกายในหมู่พนักงานของบริษัทฯ หรือระหว่างพนักงานของ บริษัทฯ กับ
บุคคลภายนอก
3.9.9 พนักงานต้องไม่กระทาการใด ๆ อันเป็นการผิดกฎหมายที่มีโทษทางอาญาโดยเจตนาถึงแม้ว่า
จะไม่ถูกดาเนินคดีกต็ าม เช่น เลน่ การพนัน
25
3.9.10 พนักงานต้องไม่เล่นการพนันในบริเวณบริษัทฯ หรือในบริเวณบ้านพักของบริษัทฯ
ไม่ว่าจะเป็นเวลาทางาน หรือนอกเวลาทางานก็ตาม หรือห้ามเล่นการพนันในขณะปฏิบัติหน้าที่ไม่ว่าใน
หรือนอกสถานที่ทางาน หรือส่งเสริมให้มีการเล่นการพนัน หรือมีหนี้สินจากการเล่นการพนัน หรือถูกจับกุม
เนอ่ื งจากเลน่ การพนนั ในสถานที่ทางาน
3.9.11 พนักงานต้องไม่กระทาการล่วงเกินทางเพศซ่ึงกัน และกันในเวลาทางาน หรือนอกเวลา
ทางาน หรอื ในสถานทที่ างาน หรือในบรเิ วณบ้านพกั ของบรษิ ทั ฯ หรือบนรถรบั - สง่ พนกั งาน
4. การรักษาความปลอดภัย
เพ่ือที่จะดารงไว้ซึ่งความปลอดภัยของตนเอง และของผู้อ่ืน พนักงานต้องเคารพ และปฏิบัติตามข้อกาหนด
ต่าง ๆ ที่กล่าวไว้ข้างล่าง และผู้บริหารจะต้องไม่ยอมให้พนักงานฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามข้อกาหนดดังกล่าวนี้เป็นอันขาด
กลา่ วคือ
4.1 พนกั งานของบรษิ ัทฯ ทกุ คน จะตอ้ งใช้เครอื่ งแบบ และหมวกท่บี รษิ ัทฯ กาหนดให้เสมอ
4.2 เพื่อความปลอดภัย ห้ามพนักงานไว้ผมยาวเกินไป หรือในกรณีที่ไว้ผมยาว จะต้องรวบมัดไว้
ให้เป็นระเบียบ
4.3 สาหรับพนักงานท่ีทางานเกี่ยวกับเคร่ืองจักร ตามปกติโดยทั่วไปแล้ว สถานการณ์ และลักษณะการ
ปฏิบัติงานจาเป็นจะต้องใช้หมวก เฮลเมท (Helmet) แว่นตาท่ีโปร่งใส ถุงมือ ท่ีอุดหู และรองเท้าที่มีความปลอดภัยที่
บริษัทฯ กาหนดไว้
4.4 สาหรับพนักงานที่ทางานเกี่ยวกับการเช่ือมโลหะน้ัน จะต้องใช้แว่นตาท่ีป้องกันมิให้แสง จากการ
เชื่อม ARC เข้าตา จะต้องสวมถุงมือหนัง เครื่องป้องกันร่างกาย รองเท้าท่ีมีความปลอดภัย และผ้ากันเป้ือนท่ีปิด
หน้าอก เพอ่ื ป้องกนั ประกายไฟตา่ ง ๆ อันอาจจะเกิดขน้ึ อีกด้วย
26
4.5 ในขณะท่ีพนักงานปฏิบัติงานโดยใช้รถยก Forklift และปั้นจั่นต่าง ๆ น้ัน จาเป็นท่ีจะต้องนา รถ Forklift
และรถป้นั จนั่ เหล่าน้ันออกไปใหห้ ่างจากพนักงานคนอ่นื ๆ คือ ใหอ้ ยูใ่ นความปลอดภัย นอกเขต
4.6 เก่ียวกับเคร่ืองจักร และเคร่ืองมือในการขนส่งจะให้ทางานไปได้ด้วยดี จะต้องใช้บุคคลที่มีคุณวุฒิมา
ปฏบิ ัติงานน้ัน ห้ามมใิ ห้ใชพ้ นักงานผอู้ ืน่ ท่ไี ม่มคี ุณวุฒิน้ันมาทางาน และใช้เคร่อื งมอื นนั้ เป็นอนั ขาด
4.7 รายละเอียดของการปฏิบัติงาน จาเป็นจะต้องใช้เครื่องอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ผู้บังคับบัญชาได้กาหนไว้เป็น
มาตรการรกั ษาความปลอดภยั อีกด้วย
5. บทลงโทษ
วินัยของพนักงานตามท่ีระบุมานี้พนักงานมีหน้าท่ีต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด และมีผลบังคับใช้รวมถึง
บรเิ วณบ้านพักหรอื รถรบั - สง่ พนักงานด้วย ถา้ พนักงานผู้ใดปฏิบตั ิ หรอื ละเวน้ การปฏิบตั ิใด ๆ อันถอื ว่าเปน็ การฝ่าฝืน
วินัยดังกล่าวจะต้องถูกพิจารณาลงโทษทางวินัยตามลักษณะแห่งความผิด หรือความหนักเบาของการกระทาผิด หรือ
ความร้ายแรงที่เกิดข้ึน การลงโทษจะเป็นไปตามข้อหน่ึงข้อใด หรือหลายข้อรวมกันก็ได้ตามบทลงโทษทางวินัย
โดยบริษทั ฯ กาหนดบทลงโทษทางวนิ ยั ไว้ 4 ประการดังน้ี
5.1 การตกั เตือนด้วยวาจา โดยบนั ทึกเปน็ หนังสือไว้เป็นหลกั ฐาน
5.2 การตักเตอื นเปน็ หนังสือ
5.3 พักงานโดยไมจ่ า่ ยคา่ จ้าง และไมจ่ ่ายสวัสดกิ าร
5.4 การเลกิ จ้างโดยไม่จ่ายคา่ ชดเชย
6. การเลิกจ้างโดยไมจ่ ่ายคา่ ชดเชย ผ้มู อี านาจลงโทษมีหลกั เกณฑ์ในการพจิ ารณาพนักงานผ้กู ระทาผดิ ดังนี้
6.1 ทุจรติ ต่อหนา้ ที่ หรอื กระทาความผดิ อาญาโดยเจตนาแกบ่ ริษัทฯ
6.2 จงใจทาใหบ้ รษิ ัทฯ ได้รบั ความเสยี หาย
6.3 ประมาทเลินเล่อเป็นเหตใุ ห้บริษทั ฯ ได้รับความเสียหายอย่างรา้ ยแรง
27
6.4 ฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทางาน หรือระเบียบ หรือคาส่ังของบริษัทฯ อันชอบด้วยกฎหมาย
และเป็นธรรม และบริษัทฯ ได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว เว้นแต่กรณีท่ีร้ายแรงบริษัทฯ ไม่จาเป็นต้องตักเตือน หนังสือ
เตือนใหม้ ผี ลบังคับไดไ้ มเ่ กนิ หน่ึงปีนบั แต่วันที่ พนกั งานไดก้ ระทาผดิ
6.5 ละทิง้ หน้าทีเ่ ปน็ เวลาสามวนั ทางานตดิ ตอ่ กนั ไม่ว่าจะมวี นั หยุดคัน่ หรือไมก่ ต็ ามโดยไม่มีเหตุอนั สมควร
6.6 ได้รับโทษจาคุกตามคาพิพากษาถึงท่ีสุดให้จาคุก ในกรณีถ้าเป็นความผิดที่ได้กระทาโดย ประมาท
หรอื ความผิดลหโุ ทษตอ้ งเป็นกรณีท่ีเปน็ เหตุใหบ้ รษิ ัทฯ ได้รับความเสยี หาย
7. ในกรณีท่ีพนักงานทาผิดวินัย บริษัทฯ จะมีคาส่ังพักงานระหว่างสอบสวนเป็นหนังสือโดยระบุสาเหตุความผิด
และกาหนดระยะเวลาพักงานเพื่อสอบสวนได้ไม่เกนิ เจ็ดวนั โดยจะแจง้ ใหพ้ นกั งานทราบก่อนพักงานในระหว่างการพัก
งาน บริษัทฯ จะจ่ายเงินใหแ้ ก่พนักงานตามอัตราท่ีกาหนดไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของค่าจ้างในวันทางาน เม่ือการ
สอบสวนเสร็จส้ิน แล้วปรากฏว่าพนักงานไม่มีความผิด บริษัทฯ จะจ่ายค่าจ้างให้แก่พนักงานเท่ากับร้อยละห้าสิบของ
คา่ จ้างในวันทางานนับแต่วนั ที่พนักงานถูกสง่ั พักงานพร้อมดว้ ยดอกเบ้ียร้อยละสิบหา้ ต่อปี
ทางบริษัทฯ ขอสงวนสิทธิที่จะเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมกฎระเบียบข้อบังคับในการทางานของบริษัทฯ เพ่ือความ
เหมาะสม ตามสภาพของสถานการณ์ภายหน้า โดยบริษัทฯ จะปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายแรงงาน ผู้มีอานาจ
พิจารณาและดาเนนิ การลงโทษทางวนิ ยั คอื กรรมการผจู้ ดั การ หรอื ผบู้ งั คบั บญั ชาแต่ละแผนกเปน็ ผูล้ งโทษ หรอื บุคคล
ท่ีไดร้ บั การมอบหมาย
หมวด 9
การร้องทุกข์
1. บริษทั ฯ กาหนดหลกั เกณฑ์การร้องทกุ ข์โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ ดังน้ี
1.1 เพอ่ื เสรมิ สร้างความสัมพนั ธอ์ นั ดรี ะหว่างบรษิ ัทฯ กับพนักงาน
28
1.2 เพ่ือลด หรอื ขจดั ปญั หาข้อข้องใจอนั จะสง่ ผลกระทบตอ่ ขวญั และกาลังใจของพนักงาน
1.3 เพือ่ ให้มีการวินจิ ฉัยการลงโทษทางวนิ ัยอยา่ งเท่ียงธรรม และถกู ตอ้ ง
2. ระเบยี บปฏบิ ัตวิ ่าด้วยการรอ้ งทุกข์
2.1 ขอบเขต และความหมายของข้อร้องทุกข์
บริษัทฯ มีความปรารถนาท่ีจะให้การทางานของพนักงานเป็นไปด้วยความเข้าใจที่ดีระหว่างบริษทั ฯ
กับพนักงานอันจะยังประโยชน์สุขด้วยกันทั้งสองฝ่าย ดังน้ัน ในกรณีท่ีพนักงานมีปัญหาอย่างใดอย่างหนึ่ง
ซงึ่ เปน็ ผลมาจากการทางาน หรือสภาพการทางาน หรือไมไ่ ด้รับความเปน็ ธรรมในเร่ืองใด ๆ พนักงานมีสิทธิท่ี
จะยนื่ คาร้องทุกข์เป็นการสว่ นตวั ได้
2.2 วิธกี าร และขนั้ ตอนการร้องทกุ ข์
พนกั งานท่ีตอ้ งการย่นื คารอ้ งทกุ ข์ ให้ดาเนินการดงั ตอ่ ไปน้ี
2.2.1 ให้พนักงานยื่นคาร้องทุกข์เป็นหนังสือ ระบุถึงสาเหตุ ระบุถึงวิธีการแก้ไขคาร้องทุกข์
และลงลายมือชื่อด้วยตนเอง ยื่นตอ่ ผ้บู ังคับบัญชาภายใน 7 วัน นับแต่วนั ทมี่ ีขอ้ ร้องทุกข์เกดิ ขึ้น
2.2.2 พนกั งานผ้มู ขี อ้ รอ้ งทุกขจ์ ะต้องเป็นผยู้ ื่นข้อร้องทุกข์ดว้ ยตนเอง ท้งั น้ี บริษัทฯ จะไม่รับพจิ ารณา
ในกรณที พี่ นกั งานผูอ้ ืน่ เปน็ ผยู้ ่นื ร้องทกุ ขแ์ ทน
2.3 การสอบสวน และการพจิ ารณาข้อรอ้ งทกุ ข์
2.3.1 เมื่อผู้บังคับบัญชาระดับสูงท่ีได้รับคาร้องทุกข์จากพนักงานแล้ว จะดาเนินการหาทางยุติ
และช้ีแจงด้วยวาจา หรืออาจตอบเป็นหนังสือแก่พนักงานผู้ย่นื คาร้องทุกข์ภายใน 14 วันทางานนับแต่วันที่ได้
รับคารอ้ งทุกขน์ ้ัน
2.3.2 กรณีพนักงานผู้ย่ืนคาร้องทุกข์ ไม่ได้รับคาตอบจากผู้บังคับบัญชาระดับสูงตามข้อ 2.3.1
ภายในกาหนดเวลาดังกล่าว หรือได้รับคาตอบแล้วแต่ยังไม่เป็นที่น่าพอใจให้พนักงานย่ืนอุทธรณ์ร้องทุกข์
29
ต่อผู้บังคับบัญชาระดับบริหารอีกคร้ังภายใน 7 วัน นับตั้งแต่วันที่ได้รับทราบผลตาม ข้อ 2.3.1
โดยผู้บังคับบัญชาระดับบริหารท่ีได้รับคาอุทธรณ์ร้องทุกข์ดังกล่าวจะวินิจฉัย และแจ้งผลให้พนักงานทราบ
ภายใน 14 วนั ทางาน นับแต่วนั ที่ไดย้ ื่นอทุ ธรณ์รอ้ งทกุ ข์ และผลการวินจิ ฉัยของผู้บังคับบญั ชาระดบั บริหารถือ
วา่ เป็นอนั ส้นิ สดุ
2.4 กระบวนการยุติข้อรอ้ งทกุ ข์
2.4.1 กรณีท่ีพนักงานไม่ดาเนินการภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในระเบียบ ให้ถือว่าไม่มี
ข้อร้องทุกข์ หรืออุทธรณ์ร้องทุกข์เกิดข้ึน หรือข้อร้องทุกข์ หรืออุทธรณ์น้ันเป็นอันสิ้นสุดแล้วแต่กรณี
แต่อย่างไรก็ดีระยะเวลาท่ีกาหนดไว้ในระเบียบนี้อาจจะขยายออกไปได้เม่ือมีการตกลงยินยอ มกันระหว่าง
พนกั งานผรู้ อ้ งทุกขก์ ับผบู้ ังคับบัญชาระดบั บริหาร
2.4.2 ผู้มีอานาจในการวินิจฉัยข้อร้องทุกข์ตามข้อ 2.3.1, 2.3.2 จะต้องพิจารณาแก้ไขปัญหาด้วย
ความยุติธรรมเพ่ือก่อให้เกิดประโยชน์ร่วมกันระหว่างพนักงานกับบริษัทฯ ท้ังน้ี พนักงานอาจขอคาปรึกษา
จากผู้จัดการแผนกเก่ียวกับปัญหา และคาร้องทุกข์ของพนักงาน และแนวปฏิบัติในการร้องทุกข์ท่ีถูกต้องได้
ตลอดเวลา
2.5 ความคุ้มครองผยู้ ืน่ รอ้ งทกุ ข์ และผู้เกย่ี วขอ้ ง
บริษัทฯ ยึดหลักความเสมอภาค และความยุติธรรมตลอดจนมุ่งเน้นความสัมพันธ์อันดีภายในองค์กรเป็น
สาคัญ ดังนั้น พนักงานผู้ย่ืนร้องทุกข์ และผู้เก่ียวข้องกับ ข้อร้องทุกข์ บริษัทฯ จะให้การเอาใจใส่ และพิจารณาด้วย
ความเป็นธรรมเพอื่ ดารงไวซ้ ่งึ บรรยากาศการแรงงานสัมพันธ์ทด่ี ี
30
หมวด 10
การเลิกจ้าง การพน้ สภาพการเปน็ พนกั งาน คา่ ชดเชย และค่าชดเชยพิเศษ
1. นโยบาย
1.1 ถึงแม้ว่าบริษัทฯ มีความปรารถนาอย่างย่ิงที่จะให้พนักงานทุกคนได้ทางานกับบริษัทฯ อย่างผาสุก
และประสบความสาเร็จในหน้าที่การงาน แต่อาจจะมีบางคร้ังคราวที่พนักงานท่ีประสงค์จะออกจากบริษัทฯ หรือทาง
บรษิ ัทฯ อาจมคี วามจาเปน็ ท่ีจะต้องเลิกจ้างด้วยเหตผุ ลต่างๆ ตามแต่กรณี
1.2 เม่ือพนักงานผู้ใดพ้นสภาพการเป็นพนักงานไม่ว่ากรณีใด ๆ ก็ตาม พนักงานจะต้องส่งคืนทรัพย์สินของ
บริษัทฯ ที่พนักงานได้เบิกไปใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ และพนักงานผู้ใดมีหน้ีสินของ บริษัทฯ จะต้องใช้หนี้สินต่าง ๆ
ตอ่ บริษทั ฯ
1.3 พนักงานที่ประสงค์จะลาออกต้องแจ้งเป็นลายลักษณ์อักษรต่อผู้บังคับบัญชาโดยตรงของตนล่วงหน้า
พนักงานทดลองงานยนื่ ก่อนล่วงหนา้ 7 วัน พนกั งานทีผ่ ่านการทดลองงานแล้วย่ืนกอ่ นลว่ งหนา้ ไมน่ ้อยกวา่ 30 วัน
2. การเลิกจ้าง และการพ้นสภาพการเป็นพนักงาน การเลิกจ้าง และการพ้นสภาพการเป็นพนักงานจะมีขึ้น
ในกรณีตอ่ ไปน้ี
2.1 ตาย
2.2 ลาออก
ในกรณีท่ีสัญญาจ้างไม่มีกาหนดระยะเวลาบริษัทฯ หรือพนักงานอาจบอกเลิกสัญญาจ้างโดยบอกกล่าว
ล่วงหน้าเป็นหนังสือให้อีกฝ่ายหน่ึงทราบในเม่ือถึง หรือก่อนจะถึงกาหนดจ่ายค่าจ้างคราวหน่ึงคราวใดเพ่ือให้เป็นผล
เลกิ สญั ญากนั เมอ่ื ถงึ กาหนดจา่ ยค่าจ้างคราวถัดไปข้างหนา้ ก็ได้แตไ่ มจ่ าเปน็ ต้องบอกกล่าวล่วงหน้าเกนิ สามเดือน
2.3 เลิกจ้างในระหว่างทดลองงาน
2.4 เลกิ จ้างเพราะเหตุผดิ วินัย
31
2.5 เลิกจ้างในกรณใี ดกรณีหนึ่ง ดงั ต่อไปนี้จะไดค้ ่าชดเชย
2.5.1 เลิกจ้างเน่ืองจากคนล้นงาน โดยปรากฏว่ามีคนมากกว่างาน และทาให้บริษัทฯ เกิดความ
สญู เปล่า หรือกรณีท่บี รษิ ัทฯ เห็นว่ามคี วามจาเปน็ ทจ่ี ะต้องยุบหนว่ ยงานนน้ั
2.5.2 เลิกจ้างเนื่องจากสขุ ภาพของพนกั งานไมเ่ หมาะสม
2.5.2.1 เมื่อพนักงานลาป่วยเกิน 30 วันทางาน ในรอบปี ยกเว้นการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น
เนอ่ื งจากการทางาน
2.5.3 เลิกจา้ งเนื่องจากผลงานไม่เปน็ ทพี่ อใจ หรือไม่อยใู่ นมาตรฐานของบรษิ ทั ฯ
2.5.4 เลิกจ้างเน่ืองจากมีพฤติกรรมไมน่ ่าไว้วางใจ หรือขาดคุณสมบัติของพนกั งาน
2.5.5 เลกิ จ้างเน่อื งจากพนักงานท่ีมสี ขุ ภาพไม่สมบูรณ์ หรอื หยอ่ นความสามารถ
2.5.6 เกษยี ณอายุ 60 ปี (นบั ตามบตั รประชาชน)
2.5.7 พนักงานที่เปน็ โรคจิต หรอื มพี ฤติกรรมท่มี ีจิตบกพร่อง
3. ค่าชดเชย
3.1 พนกั งานท่ีถกู เลกิ จ้างในกรณีดงั ต่อไปนี้ จะไมไ่ ดค้ ่าชดเชย
3.1.1 พนักงานที่ถูกเลิกจ้างเพราะการลงโทษทางวินัยตามความในข้อ 5 ของหมวด 8
ในขอ้ บงั คบั นี้
3.1.3 การจา้ งท่ีมีกาหนดระยะเวลาจะกระทาไดส้ าหรับการจา้ งงานในโครงการเฉพาะที่มิใชง่ านปกติ
ของธุรกิจ หรือการค้าของบริษัทฯ ซ่ึงต้องมีระยะเวลาเริ่มต้นและส้ินสุดของงานที่แน่นอน หรือในงานอันมี
ลักษณะเป็นคร้ังคราวท่ีมีกาหนดการสิ้นสุด หรือความสาเร็จของงาน หรือในงานท่ีเป็นไปตามฤดูกาล และได้
จ้างในช่วงเวลาของฤดูกาลน้ัน ซึ่งงานน้ันจะต้องแล้วเสร็จ ภายในเวลาไม่เกินสองปีโดยบริษัทฯ
และพนักงาน ได้ทาสัญญาเปน็ หนงั สือไว้ต้ังแตเ่ มอื่ เรมิ่ จ้าง
32
3.2 พนกั งานทถี่ กู เลกิ จา้ งจะไดค้ า่ ชดเชยตามอายงุ านดังต่อไปน้ี
(1) พนักงานซ่ึงทางานติดต่อกันครบหน่ึงร้อยยี่สิบวันแต่ไม่ครบหน่ึงปีให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตรา
สุดท้ายสามสิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานสามสิบวันสุดท้ายสาหรับพนักงานซึ่งได้รับค่าจ้าง
ตามผลงานโดยคานวณเปน็ หนว่ ย
(2) พนักงานซ่ึงทางานติดต่อกันครบหน่ึงปีแต่ไม่ครบสามปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
เกา้ สบิ วนั หรือไม่นอ้ ยกว่าค่าจ้างของการทางานเก้าสิบวนั สดุ ทา้ ย สาหรับพนกั งานซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงาน
โดยคานวณเป็นหนว่ ย
(3) พนักงานซึ่งทางานติดต่อกันครบสามปีแต่ไม่ครบหกปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
หน่ึงร้อยแปดสิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานหน่ึงร้อยแปดสิบวันสุดท้าย สาหรับพนักงาน
ซ่งึ ได้รับค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเปน็ หน่วย
(4) พนักงานซ่ึงทางานติดต่อกันครบหกปีแต่ไม่ครบสิบปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
สองร้อยสี่สิบวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานสองร้อยส่ีสิบวันสุดท้ายสาหรับพนักงาน ซึ่งได้รับ
คา่ จ้างตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย
(5) พนักงานซ่ึงทางานติดต่อกันครบสิบปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามร้อยวัน
หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานสามร้อยวันสุดท้ายสาหรับพนักงานซ่ึงได้รับค่าจ้างตามผลงาน โดย
คานวณเปน็ หน่วย
(6) พนักงานซ่ึงทางานติดต่อกันครบยี่สิบปีขึ้นไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสี่ร้อยวัน
หรอื ไมน่ ้อยกวา่ ค่าจา้ งของการทางานสรี่ อ้ ยวนั สดุ ท้ายสาหรบั พนักงานซึ่งได้รบั ค่าจา้ งตามผลงานโดยคานวณเป็นหนว่ ย
33
การเลิกจ้างตามข้อ 3.2 หมายความวา่ การกระทาใดที่บริษทั ฯ ไมใ่ ห้พนักงานทางานต่อไป และไม่จา่ ยค่าจ้าง
ให้ไม่ว่าจะเป็นเพราะเหตุส้ินสุดสัญญาจ้าง หรือเหตุอื่นใด และหมายความรวมถึงกรณีท่ีพนักงานไม่ได้ทางาน และ
ไม่ไดร้ ับค่าจ้างเพราะเหตุทบี่ ริษทั ฯ ไมส่ ามารถดาเนินกจิ การตอ่ ไป
3.3 ในกรณที ่บี ริษัทฯ จะเลกิ จ้างพนกั งานเพราะเหตทุ ่ีบรษิ ัทฯ ปรบั ปรุงหนว่ ยงานกระบวนการผลิต การจาหนา่ ย หรือ
การบริการ อันเน่ืองมาจากการนาเคร่ืองจักรมาใช้ หรือเปล่ียนแปลงเครื่องจักรหรือเทคโนโลยี ซ่ึงเป็นเหตุให้ต้องลด
จานวนพนักงาน ใหบ้ ริษทั ฯ แจ้งวันทจ่ี ะเลิกจ้างเหตุผลของการเลิกจ้าง และรายชอ่ื พนักงานต่อพนักงานตรวจแรงงาน
และพนกั งานทจ่ี ะเลกิ จ้างทราบล่วงหนา้ ไม่น้อยกวา่ หกสบิ วนั กอ่ นวนั ทจี่ ะเลกิ จ้าง
ในกรณที บ่ี รษิ ทั ฯ ไม่แจง้ แกพ่ นกั งานท่ีจะเลกิ จา้ งทราบล่วงหน้า หรือแจ้งลว่ งหนา้ นอ้ ยกว่าระยะเวลาท่ีกาหนด
ตามข้อ 3.3 ให้บริษัทฯ จ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าแก่พนักงานเท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย
หกสิบวัน หรือเท่ากับค่าจ้างของการทางานหกสิบวันสุดท้ายสาหรับพนักงานซ่ึงได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณ
เป็นหนว่ ย
ในกรณีท่ีมีการจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามข้อ 3.3 แล้ว ให้ถือว่าบริษัทฯ
ไดจ้ ่ายสินจ้างแทนการบอกกลา่ วล่วงหน้าตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ด้วย
ในกรณีที่บริษัทฯ เลิกจ้างพนักงานตามข้อ 3.3 หากพนักงานนั้นทางานติดต่อกันครบหกปีข้ึนไปโดยรวม
วันหยุด วันลา และวันท่ีบริษัทฯ สั่งให้หยุดงานเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ ให้บริษัทฯ จ่ายค่าชดเชยพิเศษเพิ่มข้ึนจาก
ค่าชดเชยตามข้อ 3.2 สาหรับการทางานท่ีเกินหกปีแก่พนักงานซ่ึงเลิกจ้างน้ันไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสิบห้าวนั
ต่อการทางานครบหนึ่งปี หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานสิบห้าวันสุดท้ายต่อการทางานครบหนึ่งปี สาหรับ
พนักงานซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย แต่ค่าชดเชยตามข้อน้ี รวมแล้วต้องไม่เกินค่าจ้างอัตรา
สุดท้ายสามร้อยหกสิบวัน หรือไม่เกินค่าจ้างของการทางานสามร้อยหกสิบวันสุดท้าย สาหรับพนักงานซึ่งได้รับค่าจ้าง
34
ตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย เพื่อประโยชน์ในการคานวณค่าชดเชยพิเศษ เศษของระยะเวลาทางานท่ีมากกว่า
หนง่ึ ร้อยแปดสบิ วนั ใหน้ บั เป็นการทางานครบหนึง่ ปี
3.4 ในกรณีที่บริษัทฯ ย้ายสถานประกอบกิจการไปต้ัง ณ สถานที่อ่ืน อันมีผลกระทบสาคัญต่อการดารงชีวิตตามปกติ
ของพนักงานหรือครอบครัว บริษัทฯ จะแจ้งให้พนักงานทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสามสิบวันก่อน วันย้ายสถาน
ประกอบกิจการ ในการนี้ ถ้าพนักงานไม่ประสงค์จะไปทางานด้วยให้พนักงานบอกเลิกสัญญาได้ โดยพนักงานมีสิทธิ
ไดร้ บั คา่ ชดเชยพเิ ศษไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละห้าสบิ ของอัตราค่าชดเชยที่พนักงานมสี ทิ ธิไดร้ บั ตามข้อ 3.2
ในกรณีท่ีบริษัทฯ ไม่แจ้งให้พนักงานทราบการย้ายสถานประกอบกิจการล่วงหน้าตามข้อ 3.4 วรรคหน่ึง
ให้บริษทั ฯ จ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวลว่ งหนา้ เท่ากับคา่ จ้างอตั ราสดุ ท้ายสามสบิ วันหรือเท่ากับคา่ จ้างของ
การทางานสามสิบวันสุดทา้ ยสาหรับพนักงานซึ่งไดร้ บั คา่ จ้างตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วยด้วย
พนักงานมีสิทธิย่ืนคาขอให้คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณาภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีบริษัทฯ
ยา้ ยสถานประกอบกจิ การวา่ เป็นกรณที ี่บรษิ ัทฯ ตอ้ งบอกกลา่ วล่วงหน้า หรอื พนักงานมสี ทิ ธบิ อกเลิกสัญญาโดยมีสิทธิ
ไดร้ ับค่าชดเชยพเิ ศษตามขอ้ 3.4 วรรคหนึ่งหรือไม่
การบอกเลิกสัญญาตามข้อ 3.4 วรรคหนึ่งดังกล่าวน้ี พนักงานต้องใช้สิทธิภายในสามสิบวันนับแต่วันที่
บริษัทฯ ย้ายสถานประกอบกิจการ หรือนับแต่วันท่ีคาวินิจฉัยของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงาน หรือคาพิพากษา
ของศาลเปน็ ทสี่ ดุ
หมวด 11
สขุ ภาพอนามยั เพื่อความปลอดภยั
1. บททั่วไป
35
พนักงานจะต้องให้ความร่วมมือกับบริษัทฯ เก่ียวกับการปฏิบัติตามข้อเสนอ และคาแนะนาต่าง ๆ
ท่ีเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยเพ่ือความปลอดภัย เพ่ือจะสามารถป้องกันอันตราย และดารงรักษาสุขภาพให้ดี
อยเู่ สมอ
2. การตรวจเช็คสุขภาพอนามัย
บริษัทฯ จะทาการตรวจเช็คสุขภาพอนามัยปีละหนึ่งครั้ง โดยจะมีแพทย์แผนปัจจุบันช้ันหน่ึงมาทาการตรวจ
โรค และหากตรวจพบว่าป่วยเป็นโรคจะสั่งห้ามมิให้ปฏิบัติงาน หรือจากัดให้อยู่ภายในขอบเขตที่กาหนดไว้ต่อไป
หากพนักงานปฏิเสธไม่ยอมรับการตรวจโรค และตรวจสุขภาพโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร บริษัทฯ จะถือว่าพนักงาน
ฝา่ ฝืนข้อบงั คบั ฯ
3. เก่ียวกับการใชร้ ถยนตต์ ่าง ๆ
3.1 พนักงานของบริษัทฯ สามารถใช้รถของบริษัทฯ ได้ในกรณีท่ีผู้บังคับบัญชาโดยตรงได้มีคาสั่งให้ไป
ปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วงโดยเร็วเท่าน้ัน และจะต้องเป็นกรณีที่ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง และฝ่ายบริการธุรกิจทั่วไป
เห็นชอบแล้ว
3.2 การเร่ิมต้นปฏิบัติหน้าที่นั้นให้นับเวลาที่ได้เริ่มออกจากสถานท่ีจอดรถท่ีกาหนดไว้ จนถึงเวลาที่ได้ปฏิบัติ
ธรุ กิจเสรจ็ เรยี บรอ้ ย และไดน้ าเอารถมาจอดไว้ ณ สถานที่ที่บรษิ ัทกาหนดให้จอดเท่านัน้
3.3 ในกรณีที่พนักงานนารถไปใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต หรือนารถไปตามท่ีตา่ ง ๆ นอกเส้นทาง และนากลับไป
บ้านตน หากเกิดอุบัติเหตุข้ึน การซ่อมแซมให้คืนอยู่ในสภาพดีทั้งหมด ผู้ขับข่ีรถคันน้ัน จะต้องรับผิดชอบทั้งหมด
บริษทั ฯ จะไม่รบั ผดิ ชอบซ่อมแซมใหเ้ ป็นอนั ขาด
36
หมวด 12
สภาพการบังคบั และการประกาศใช้
ระเบียบขอ้ บงั คบั น้ใี ช้ต่อพนักงานทกุ คน
บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคาสั่งท่ีซ่ึงมีผลบังคับใช้ในบริษัทฯ ก่อนหน้าวันที่ประกาศใช้บังคับ และมี
ข้อความแตกต่างไปจากข้อบังคับน้ีให้ยกเลิกข้อความเฉพาะในส่วนที่ ขัดแย้งกับข้อบังคับนี้ และให้ใช้ระเบียบ
ขอ้ บังคับน้ีแทน
ประกาศ ณ วนั ท่ี 1 สิงหาคม 2560 เปน็ ต้นไป
Mr. Zheng Fei
กรรมการผจู้ ัดการ
37