The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การเขียนรายการนำเที่ยว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nongluck.cho, 2019-06-12 22:44:25

การเขียนรายการนำเที่ยว

การเขียนรายการนำเที่ยว

การเขียนรายการนำเที่ยว-
by Krujune -

ความหมายของรายการนำเที่ยว-

ภาษาอังกฤษตรงกับคำว่า Itinerary หมายถึง กิจกรรมการเดินทางท่อง

เที่ยวในแต่ละวัน ตั้งแต่วันแรกจนถึงวันสุดท้ายตามจำนวนวันที่จัดโดยมีราย
ละเอียดระบุถึง วัน เวลา สถานที่พักแรม ร้านอาหาร และแหล่งท่องเที่ยว-

การเขียนรายการนำเที่ยวน้ันต้องอาศัยทักษะความสามารถเฉพาะตัว-
ในการเขียนเพื่อกำหนดเป็นรายการเดินทางหรือรายการนำเที่ยวให้น่าสนใจ -

ควรเขียนอย่างมีเหตุผล น่าเชื่อถือ มีสีสัน สามารถเร้าอารมณ์ ทำให้ผู้อ่าน-
อ่านแล้วเกิดความรู้สึกต้องการที่จะไปเที่ยวจนถึงข้ันให้ความสนใจ สอบถาม -

และตัดสินใจ-

คุณสมบัติของผู้เขียนรายการนำเที่ยว-

1. มีความสามารถในการใช้ภาษารัดกุม-
2. มีศิลปะในการเขียนได้หลากหลายอารมณ์ความรู้สึก-
3. มีความรู้กว้างขวาง-
4. มีประสบการณ์-
5. มีความละเอียดรอบคอบ-
6. อื่นๆ (รายละเอียดในหน่วยที่ 3)-

การเขียนตารางระยะทาง-

การกำหนดตารางระยะทาง เรือ
คิดคำนวณความเร็ว 30 – 60 กม./
รถตู้
คิดความเร็วต่อระยะทาง ชม. ขึ้นอยู่กับประเภทของเรือ
(Ferry, Speed boat, Long tail boat, etc.)
80 -100 กม./ชม.

รถโค้ช เครื่องบิน
รู้ระยะทาง คิดคำนวณความเร็ว
คิดเวลาเดินทาง 70 – 90 กม./ชม. ตามตารางการบินที่ออกและถึง
(ต้องคิดดเผื่อเวลาเครื่องบิน
เลื่อนเวลา (Flight Delay)

การกำหนดตารางระยะทาง การเลือกปั๊มน้ำมัน (เพื่อเติมน้ำมัน
หยุดพัก) ควรเลือกปั๊มใหญ่ มีสิ่ง
กรณีรถวิ่งในตัวเมือง ควรเผื่อ อำนวยความสะดวกครบ
เวลารถติด การจราจร หรือช่วง
เพ่ือประหยัดเวลา ไม่แยง่ กนั ซื้อของ หรอื เข้าห้องนำ้
เทศกาล โดยเฉพาะช่วงเทศกาล

ถ้าสภาพเส้นทางขึ้นเขา เช่น ปาย การหยุดแวะเพื่อให้นักท่องเที่ยวได้
แม่ฮ่องสอน ควรคิดความเร็วต่อ ทำภาระกิจส่วนตัว - คิดคำนวณ

ระยะทาง 30 -80 กม./ชม. เวลาหยุดพักครั้งละ 15 – 30 นาที
(ขน้ึ อย่กู บั ขนาดของรถ ปริมาณ
นักท่องเท่ียว)

การกำหนดตารางระยะทาง ตารางระยะทางหรอื โปรแกรมนำเทย่ี วทีด่ ี ควร
เดนิ ทางไปถึงแล้วสามารถเทยี่ วต่อได้เลย หรือ
การรับประทานอาหารควรให้เวลา ไม่ก็ควรได้แวะทอ่ งเทยี่ วเป็นระยะๆ ไมค่ วรเดนิ
ประมาณ 60 – 90 นาที ยกเว้นมี ทางตอนเช้าเพ่อื ใหถ้ งึ ตอนเยน็ และเขา้ ทีพ่ กั เพอ่ื
การรับประทานอาหาร พร้อมชมการ
แสดง ซึ่งอาจให้เวลามากกว่านี้ พกั ผ่อนโดยไมไ่ ด้แวะเที่ยวระหวา่ งทางเลย

ควรใหค้ วามสำคญั ในเรือ่ งเวลาพกั แตล่ ะสถานที่ ต้องไม่ลืมบวกเวลาขึ้นลงจาก
แต่ละจุดแตกตา่ งกนั เช่น แหล่งทอ่ งเที่ยวท่ี ยานพาหนะ หรือเวลาเปลี่ยนถ่าย
สวยงามกว้างใหญ่ (วัดพระแกว้ พระบรม ยานพาหนะในการเดินทาง และความ
ล่าช้าส่วนตัวของลูกค้า (ลูกค้าพิการ
มหาราชวงั ) ควรให้เวลาเป็นหลกั ช่ัวโมงถงึ หลาย
ช่ัวโมงสำหรบั การไดท้ ่องเท่ยี ว ลูกค้าสูงอายุ)

สถานทท่ี อ่ งเท่ยี วเล็กๆ ไมม่ อี ะไรน่าสนในมากนกั กไ็ ม่
ควรให้เวลานานมากนกั (หรืออาจแคจ่ อดดูใกลๆ้ ก็

เพยี งพอ)

การกำหนดตารางระยะทาง

การคำนวณเวลาในการเขียนตารางระยะทางได้อย่างแม่นยำ สำคัญที่สุดอยู่ที่
“ประสบการณ์ของผู้จัดรายการนำเที่ยว”

ตัวอย่างตารางระยะทาง-

โปรแกรมเชียงใหม่-

รายการนำเที่ยว-

3.1 รายการนำเที่ยวอย่างย่อ
(Summary or Graphic Itinerary) -

เป็นรายการนำเที่ยวที่เขียน รายการเฉพาะจุดสำคัญ ๆ โดยมากจะเน้นเส้นทางท่องเที่ยว
และแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญเท่านั้นจะไม่ระบุรายละเอียดอื่น การเขียนรายการนำเที่ยว

ชนิดน้ีใชใ้นจุดประสงค์เพื่อการตลาด เพื่อการโฆษณา นิยมจัดทำมากในบริษัทจัดนำเที่ยว
ที่มีรายการนำเที่ยวมากมาย โดยมากมักเป็นแผ่นพับโบรชัวร์ ที่ต้องการแนะนำ บอกกล่าว
และชักชวนให้ซ้ือสินค้ารายการนำเที่ยวและอาจใช้เป็นเอกสารทำความตกลงระหว่างบริษัท
นำเที่ยวกับลูกค้า หรือระหว่างบริษัทนำเที่ยวกับผู้ประกอบธุรกิจผลิตสินค้าบริการท่องเที่ยว

(Suppliers) อื่น ๆ เช่น สายการบิน หรือบริษัท รถเช่า เป็นต้น

3.2 รายการนำเที่ยวสำหรับลูกค้า
(Detailed Itinerary)-

หรืออาจเรียกว่า A Detailed Passenger Itinerary หรือ Passenger Itinerary เป็น
รายการนำเที่ยว สำหรับลูกค้า โดยรายการนำเที่ยวชนิดน้ีจะมีข้อมูลอย่างละเอียด เพียง
พอที่จะให้ลูกค้าทราบได้ว่าจะต้องมีกิจกรรมระหว่างการท่องเที่ยวอย่างไรบา้ง ต้งัแต่เริ่มต้น
จนสิ้นสุดการเดินทางในแต่ละวันเพื่อให้ลูกค้าได้วางแผนเตรียมตัวสำหรับการเดินทางได้ถูก

ต้อง ตลอดจนมีข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยว

3.3 รายการนำเที่ยวสำหรับผู้ปฏิบัติงาน
(Operating Itinerary หรือ
OperatingWorking Itinerary) -

รายการนำเที่ยวชนิดน้ีจะนิยมจัดทำ สำหรับการจัดนำเที่ยวเข้าประเทศ
(Inbound Tour) ซึ่งจะเป็นรายการนำเที่ยวที่เขียนเพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับผู้นำเที่ยว

หรือ พนักงานขับรถ โดยจะมีข้อมูลที่ค่อนข้างละเอียด
โดยอาจระบุรายละเอียดของงานเฉพาะจุดสำคัญที่ ผู้ปฏิบัติงานต้องเข้าไปปฏิบัติ
ซึ่ง ประกอบด้วยข้อมูล เกี่ยวกับระยะทาง เวลา เที่ยวบิน และการติดต่อกับผู้ประกอบการ
ที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานที่ท่องเที่ยว ภัตตาคาร ร้านอาหาร โรงแรม ซึ่งจะมีชื่อและหมายเลข
โทรศัพทข์องผู้ที่จะติดต่อด้วย นอกจากน้ีอาจเพิ่มข้อมูลเกี่ยวกับวัฒนธรรมประวัติศาสตร์

ให้ผู้นำเที่ยวเป็นแนวทางในการประกอบการอธิบายแก่ลูกค้าด้วย

ตัวอย่างรายการนำเที่ยว-

ส่วนหัวรายการนำเที่ยว-

ประกอบด้วย-
1.  ชื่อรายการนำเทย่ี ว-
2.  แหลง่ ทอ่ งเที่ยว-
3.  จำนวนวนั ของรายการนำเทย่ี ว-


Click to View FlipBook Version